The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ

รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Keywords: กศน.

48

การตัดแตง่ และกลบเถามนั เทศ
เมือ่ มนั เทศอายุได้ 1 -2 เดอื น มันเทศจะทอดยอดออกไปนอกแปลง จึงได้ทำการตลบเถา
ท่ที อดยอดออกไปน้นั ไวบ้ นหลงั แปลง
การกำจดั วชั พืช
มีการกำจัดวัชพืช ที่ขึ้นมาภายในแปลงโดยการถอนและใช้เคร่ืองตัดหญ้าตัดบริเวณ
ทางเดนิ ระหวา่ งแปลง
การเก็บเก่ียว
เก็บเก่ียวผลผลิตเม่อื มีอายุเก้าสิบวัน (วันที่ 6 ตุลาคม 2560) โดยดูจากดินบรเิ วณโคนต้น
จะแตกแยกอกเป็นร่องและใช้จอบขุด
ครั้งท่ี 2 เริ่มทำการทดลองวันท่ี 13 ตุลาคม 2559 และสิ้นสุดในวันท่ี 15 มกราคม
2560 รวมระยะเวลาการทดลอง 91 วัน
ครั้งที่ 3 เร่ิมทำการทดลองวันท่ี 3 เมษายน 2560 และสิ้นสุดในวันท่ี 3 กรกฎาคม
2560 รวมระยะเวลาการทดลอง 92 วัน (ระหว่างวันที่วันที่ 22 มกราคม 2560 และสิ้นสุดในวันท่ี
31 มนี าคม 2560 ได้ดำเนินการปลกู ปอเทอื ง เพือ่ ทำปุย๋ พชื สดก่อน)

4. ผลการทดลอง

การศึกษาในคร้ังนี้ ผู้วิจัยการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของมันเทศ 4 สายพันธ์ุ โดยการ
ปลูกแบบวิธีเกษตรธรรมชาติ เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันเทศของมันเทศต่อการ
ปรบั ปรุงดนิ โดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ จำนวน 4 สายพันธุ์ ได้แก่ มนั ไข่ มันตอ่ เผอื ก มันเทศ สมี ่วง มนั ญ่ีปนุ่

จากการทดลองพบว่าการปลูกในครั้งท่ี 3 ให้ผลผลิตดีที่สุด ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะมีการปลูก
ปอเทืองเพ่ือทำเป็นปุ๋ยพืชสดจึงทำให้มีปริมาณของไนโตรเจนซ่ึงจะช่วยในการเจริญเติบโตของมันเทศได้ดี
ซึ่งแตกต่างจากการทดลองในคร้ังท่ี 1 ซงึ่ ผู้วจิ ัยให้ปุ๋ยหมกั จากมลู ววั เป็นหลัก ส่วนในครั้งที่ 2 นั้น เปน็ การปลูก
ต่อเน่ืองจากครั้งที่ 1 ไม่ได้ใส่ปุ๋ยชนิดใดๆ จึงอาจทำให้ผลผลิตของมันเทศไมไ่ ด้ผลประกอบกบั ดินบริเวณแปลง
ปลกู เป็นดนิ เหนียวและยงั ตอ้ งการปยุ๋ และการปรบั ปรุงดินอีกมากเพ่อื ใหส้ ภาพของดินดขี ึน้ ผลผลิตทีไ่ ด้ของมัน
เทศ จงึ มคี วามแตกตา่ งกันและยังให้ผลผลติ ไมเ่ ต็มท่ี

5. สรปุ องคค์ วามรทู้ ่ไี ดร้ บั

1. ดินที่ใช้ในการทดลองอาจยังไม่เหมาะสำหรับปลูกมันเทศ เพราะเป็นดินค่อนข้างเหนียว
และยังต้องการปยุ๋ และการปรบั ปรุงดินอีกมากเพื่อให้สภาพของดินดขี ึ้น

2. การยกแปลงครั้งน้ีเป็นการทำแปลงธรรมดารูปหลังเต่าเป็นไปตามความยาวของแปลง
ปรากฏวา่ วนั เทศทไ่ี ด้มขี นาดเลก็ เป็นส่วนมากและไม่ค่อยลงหัว

3. ทอ่ นพนั ธมุ์ นั เทศที่ตัดจากต้นมนั เทศมาขยายพันธ์ุต่อ ถ้าเป็นไปได้ควรเลือกตัดจากยอดมา
เพียง 1 ท่อนเท่านั้น ถ้าตัดยอดท่ี 2-3 จากต้นเดยี วกันจะมีผลต่อการให้ผลผลิต และยังมคี ำแนะนำเพิม่ เติมว่า
เม่อื ใช้ยอดมันเทศเปน็ ทอ่ นพนั ธน์ุ ้ัน ควรจะใช้เพียง 3 รนุ่ ควรจะเปลี่ยนมาขยายพนั ธุ์จากหวั เพือ่ ทำร่นุ ตอ่ ไป

4. การปลูกมันเทศ ไม่ควรปลกู ซ้ำที่เดิม เม่ือปลูกมันเทศไปแล้ว 1 รุ่น พื้นท่ีน้ันควรปลูกพืช
หมุนเวียน เชน่ ถ่วั เขียว ปอเทือง เม่ือถึงระยะเวลาท่ีออกดอกให้ไถกลบท้ังต้น จะได้ปุ๋ยพืชสดอย่างดี แล้วค่อย
ปลกู มันเทศตอ่ ไป

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วันท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครัง้ ที่ 21

49

การทดลองปลูกแตงโมโดยไม่ใช้ปุ๋ยตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ

โดย นายเกรกิ ธีระโคตร
ศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนมกุ ดาหาร

1. ความเปน็ มา

ด้วยประชาชนส่วนใหญ่ยังพ่ึงพาปุ๋ยเคมีและสารเคมีในการเพาะปลูก และขาดความรู้ความ
เขา้ ใจในการใช้สารเคมี การบรหิ ารจัดการดนิ ทท่ี ำการเพาะปลูก ทุกฤดูกาลทำนาหรอื การปลูกพืชเกือบทกุ ชนิด
ตอ้ งพ่ึงพาปุ๋ยเคมีและสารเคมี และเมื่อเสร็จฤดูกาลเก็บเก่ยี ว ส่วนใหญ่จะเผาตอซังข้าว เพราะมีความเชื่อว่าจะ
ชว่ ยกำจัดศัตรพู ืชในตอซังข้าว จากความเข้าใจดังกล่าวของเกษตรกร นำมาซึ่งการใช้ปุ๋ยเคมีและการเผาตอซัง
ขา้ วหลงั ฤดเู กบ็ เกี่ยว

จากกรณีปัญหาดังกล่าว ทางศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร
จึงได้จัดทำโครงการศึกษาทดลองปลูกแตงโมโดยไม่ใช้ปุ๋ยตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ ซึ่งดำเนินการปลูก
แตงโมโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ.2560 รวมระยะเวลา 6 ปี โดยใช้
กระบวนการเกษตรธรรมชาติการไถกลบตอชังข้าว และต้องการพฒั นาดิน เพ่ือให้ดนิ แสดงศักยภาพออกมาใน
รูปแบบของผลผลติ ทด่ี ี และยง่ั ยนื

2. วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ศกึ ษาทดลองปลูกแตงโมโดยไม่ใช้ป๋ยุ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ
2. เพ่ือศกึ ษาและพฒั นาศกั ยภาพของดนิ
3. เพอ่ื นำองค์ความรู้จากการทดลอง ไปเผยแพร่ให้ส่สู าธารณะ

3. วธิ ีการทดลอง

1. การเตรียมพ้นื ที่

การเตรียมแปลงโดยการไถกลบตอซังข้าว ใช้ประมาณ 14 วัน สูบน้ำเข้าแปลงเพ่ือช่วย

ยอ่ ยสลายตอซังข้าว ปลอ่ ยนำ้ ในแปลงแห้งพอประมาณ 20 วัน แล้วไถพรวนตากแดดไว้ 7 วัน ไถพรวนอกี คร้ัง

แล้วทำแปลงยกรอ่ ง

2. การเพาะกล้า

2.1 การคัดเมล็ดพันธุ์ : นำเมลด็ พันธ์ุแตงโมแชน่ ้ำไว้ 3 ชั่วโมง แลว้ คดั เมล็ดท่ีลอยน้ำออก

จากนำเมล็ดพันธุท์ ีจ่ มนำ้ มาห่อผ้าไว้ 2 คืน ดวู ่าเมล็ดเริม่ งอก แล้วจงึ นำมาเพาะในถาด

2.2 การเตรียมวัสดุเพาะ : ถาดเพาะ ตะกร้าร่อน ดินจอมปลวก ดินในแปลงท่ีจะปลูก

แตงโม ขยุ มะพร้าว และเมลด็ พนั ธแ์ุ ตงโม

2.3 การดำเนินการเพาะกล้า

- เพาะกล้าใส่ถาดหลุม โดยการผสมดินอัตรา 1:1:1 คือ ดินจอมปลวก 1 ส่วน

ดินในแปลงท่ีจะปลูกแตงโม 1 ส่วน ขุยมะพร้าว 1 ส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากัน จากน้ันนำดินที่ผสมแล้วมาร่อน

ด้วยตะกร้าร่อนดิน แล้วนำดินที่ร่อนแล้วมาใส่ถาดเพาะให้ได้ 3 แล้ว ถาดเพาะขนาด 60 หลุม จำนวน
4

15 ถาด แลว้ นำเมล็ดพันธุ์แตงโมมาวางใส่ลงในถาดเพาะ นำดินท่ีร่อนแลว้ มากลบใส่ให้เต็ม ใช้ไม้ปาดหนา้ ถาด

ให้เรยี บเสมอกัน

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

50

- อายตุ ้นกลา้ อายไุ ด้ 12 วัน ควรย้ายไปปลูกในแปลงทเี่ ตรยี มไว้ (ซึ่งการยกรอ่ งแปลง
น้นั ใหท้ ำการพร้อมกบั การเพาะกลา้ )

3. การเตรยี มแปลง
ยกแปลงเป็นร่องคู่ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 8 ร่อง ขนาดแปลงกว้าง 80 x 30 ซม.

พื้นที่แปลง 42 x 20 = 840 ตารางเมตร
4. การติดต้ังระบบน้ำหยด/คลมุ แปลง
- ใช้ระบบน้ำหยดโดยการตอ่ ท่อลงในแปลง
- ใช้พลาสติกคลุมแปลงแล้วเจาะรูด้วยกระป๋องกาแฟ (กระป๋องกาแฟเจาะรูให้รอบๆ

กระปอ๋ งใสถ่ ่านไฟให้ความรอ้ น) ระยะหา่ งระหว่างหลมุ ปลูกแตงโม 80 ซม.
5. การปลูกและดูการแลรักษา
- ปลูกแตงโม จำนวน 8 แถวๆ ละ 52 ต้น ระยะห่างของแถว 3 เมตร ระยะห่างของต้น

80 ซม.
- ให้น้ำวันละ 2 ครงั้ เชา้ เยน็ ครงั้ ละ 30 นาที
- ถ้าแปลงมคี วามช้ืนอยู่แล้ว ลดการให้นำ้ โดยการใหว้ ันละ 1 ครงั้ หรือวันเวน้ วัน ในช่วงเชา้

6. การตัดยอด
- แตงโมอายุ 14 วันหลังการปลูกแตงโมให้ตัดยอดแตงโมออกใบท่ี 3 ระยะห่างจาก

ข้อที่ 3 ห่างประมาณ 5 ซม. หลังจากตัดยอดได้ประมาณ 7-10 วัน แตงโมจะแตกยอดเป็น 3 แขนง
ความยาวของเถา 50 - 70 ซม.

7. การผสมเกสร/การหอ่ ผล
- แตงโมอายุ 32 - 35 วนั ดอกตวั ผู้จะบานเรว็ กวา่ ดอกตัวเมีย 2-3 วัน
- แตงโมอายุ 35 วัน ดอกตัวเมียจะบาน ให้ผสมเกสรดอกแตงโมท่ีข้อ 12 หรือข้อที่

15 เลอื ก ลูกทส่ี มบรู ณ์
- ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการผสมเกสรเวลาประมาณ 06.00 น.-08.00น. เป็นช่วง

ดอกสมบูรณ์ที่สุด ช่วงฤดูร้อนดอกแตงโมจะบานเร็วกว่าฤดูหนาว ถ้าล่วงเลยเวลาดังกล่าวไปการผสมเกสร
จะไม่ติดลกู แตงโมจะสลัดลกู แรกทิง้ แมจ้ ะผสมเกสร ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไป

- ในแตล่ ะหลุมไมค่ วรปลอ่ ยใหอ้ อกลกู เกิน 2 ลูก (1 หลมุ 3 เถาๆละ 1 ลกู )
- หลังจากผสมเกสรได้ 5-10 วัน (อายุ 40-45วัน) แตงโมจะติดผลและห่อผลแตงโมด้วย
กระดาษ A4
- เมื่อผลแตงโมได้อายุ 10-14 วัน (อายุ 46-50 วัน) เปลี่ยนกระดาษห่อผลแตงโมใหม่
ใหม้ ีขนาดใหญ่
- ควรระวงั ในการจบั ผลแตงโมเพราะแตงโมเป็นพชื บอบบางอ่อนแอ อาจทำให้กา้ นหักขาด
ไดง้ ่าย
8. การป้องกนั กำจัดแมลงศัตรพู ชื
- มีการสำรวจแปลงทุกๆเช้า เพื่อศึกษาดูการเจริญโตของแตงโม ศึกษาปัญหาโรคและ
แมลงศตั รพู ืช
9. การเก็บผลผลิต
- แตงโมอายุได้ 60-65 วนั เกบ็ ผลผลติ จำนวน 2 ครง้ั

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครง้ั ท่ี 21

51

10. โรคและแมลงศัตรูพชื ทพ่ี บ
โรคพืช
โรคเถาแตก ไม่ได้แก้ปัญหาโรคท่ีเกิดขึ้นกับแตงโม ปล่อยให้เป็นไปตามกระบวนการ

เกษตรธรรมชาติ
แมลงศตั รู
- แมลงเต่าแตง แมลงวันทอง
- เพลยี้ อ่อน และเพล้ยี ไฟ พบช่วงแตงโมกำลงั แตกแขนงอายุ 10-25 วนั
* ใช้วธิ ีกลในการแก้ปัญหาโรคแมลงท่ีเกิดขึ้นกับแตงโม โดยใช้กาวดักแมลง ระยะเวลา

2 สปั ดาห์ จากนนั้ เก็บออกจากแปลง เนือ่ งจากมีแมลงตัวหำ้ ตวั เบยี นมาติดทแี่ ผ่นกาวดักแมลง

4. ผลการทดลอง

1. ผลการศกึ ษาทดลองปลูกแตงโมโดยไม่ใชป้ ยุ๋ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ พบว่า
การปลูกแตงโมโดยเกษตรธรรมชาติ ในปี พ.ศ. 2555 ใช้พ้ืนท่ีในการปลูก 840 ตารางเมตร

จำนวน 416 ต้น ได้ผลผลิต จำน วน 7 7 0 กิโลกรัม และในปีต่อๆ มาผลผลิตก็เพ่ิมขึ้น เรื่อยๆ
จาก 770 กิโลกรัม เป็น 1,134 กิโลกรัม ซ่ึงเพ่ิมขึ้นทุกปี เป็นพ้ืนท่ีเดิมและจำนวนแตงโมท่ีปลูกมีจำนวน
เทา่ เดิม มีเนื้อสีแดง เมล็ดน้อย มีรสชาตหิ วาน แต่ในปีพ.ศ. 2559 มีผลผลติ จำนวนลดเหลอื 1,092 กิโลกรัม
ซึ่งคาดวา่ มาจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงทำให้มีผลกระทบต่อผลผลิตที่ได้ แต่ในปี พ.ศ.2560 ก็มีผลผลิต
เพิ่มขึ้นเป็น 1,125 กิโลกรัม สรุปการปลูกแตงโมโดยการไถกลบตอซังข้าวน้ัน ได้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุน
แต่การเจรญิ เตบิ โตค่อนขา้ งชา้ และลกู แตงโมมขี นาดเล็ก น้ำหนักเฉล่ียตอ่ ผล 2.2 - 2.7 กโิ ลกรมั

2. ผลการศึกษาศกั ยภาพของดนิ พบว่า
สภาพดินท่ปี ลูกแตงโม เป็นแปลงท่ีเคยปลูกแตงโมมาแลว้ 6 ปี และจะทำนาปลูกข้าวทุกปี

ในฤดูฝน หลังการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จจะดำเนินการไถกลบตอซังข้าว เพื่อเตรียมการปลูกแตงโม ความอุดม
สมบรู ณ์ของดนิ ไม่มีการเปล่ียนแปลงดูจากการเจริญเตบิ โตของแตงโม และผลผลติ ที่ไดไ้ มม่ คี วามแตกตา่ งกัน

3. ผลการศกึ ษาโรคแมลงศัตรูพืชของแตงโม พบว่า
เป็นการข้ึนอยูก่ ับสภาพอากาศและระบบนิเวศท่ัวๆ ไปของแปลง มีแมลงศัตรูพืชรบกวน

น้อยมาก แต่พบว่า มีโรคเถาแตก แต่มีจำนวนลดลงทุกปี

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครงั้ ที่ 21

52

การปลูกกุยช่ายขาวโดยวิธเี กษตรธรรมชาติ

โดย นางสทุ ิน ลนุ าวัน
ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนมกุ ดาหาร

1. ความเป็นมา

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร ได้เล็งเห็นความสำคัญของ
กุยช่าย ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญชนิดหนึ่ง เป็นที่ต้องการของตลาดในจังหวัดมุกดาหาร ยังไม่มีเกษตรกรที่
สามารถปลูกได้ประสบความสำเร็จ อีกท้ังเป็น ทางเลือกหน่ึงให้กับเกษตรกรที่ต้องการพืชทางเลือกใหม่ ท่ีใช้
กระบวนการปลูกโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ การปรับปรงุ ดนิ โดยใช้ปุ๋ยหมักจากมลู สตั ว์ ปุ๋ยหมักจากใบไม้และการ
ใชป้ ยุ๋ พืชสด เพ่ือเป็นการพฒั นาดนิ ใหม้ ีความอดุ มสมบรู ณ์ในการปลกู พชื ต่อไป

2. วตั ถุประสงค์

1. เพือ่ ศกึ ษาการเจริญเตบิ โตของต้นกุยชา่ ย
2. เพอื่ เป็นทางเลอื กใหก้ ับเกษตรกร
3. เพ่อื นำองค์ความร้จู ากการปลกู กุยชา่ ยโดยวิธเี กษตรธรรมชาตทิ ีไ่ ด้ไปเผยแพร่องคค์ วามรู้
ใหก้ บั เกษตรกร และผู้สนใจ

3. วิธีการศึกษา

1. การเตรียมตน้ พนั ธุ์ : เหง้ากุยชา่ ย
ใช้เหง้าหรือต้นพันธ์ุ ตัดใบ ตัดรากให้ส้ันและตัดลำต้นเหลือความยาวไว้ ประมาณ

2 - 3 น้ิว ใช้กรรไกรตดั ก่ิงหรือมดี ทีค่ ม เพอื่ ไมใ่ หล้ ำต้นบอบชำ้
2. การเตรียมแปลง :
1. ปรับปรุงดินด้วยการปลูกปอเทือง โดยการหว่านในแปลง แล้วไถกลบเมื่อปอเทือง

ออกดอกเตม็ ที่ ประมาณ 45-50 วัน ปล่อยทงิ้ ไวป้ ระมาณ 1 เดือนไถกลบอีกครั้ง
2. ใส่ปุ๋ยหมักมูลสัตว์ 10 กโิ ลกรัม /1 แปลง หลงั จากปลกู กุยชา่ ยได้ 1 เดือน
3. คลมุ แปลงดว้ ยฟางขา้ ว
4. ในรอ่ งทางเดินระหวา่ งแปลงใส่ฟางขา้ ว ใบไม้แหง้
5. ขนาดแปลงปลูก 9 x 1.20 เมตร การทำแปลง ยกสงู 30 เซนตเิ มตร จากนั้นได้

ทำรอ่ งในแปลงลึก 45 ซม. เพ่อื ใส่ใบไมแ้ หง้ แลว้ กลบทำแปลงให้เรียบรอ้ ยและเปน็ การบำรงุ ดนิ ทห่ี ลากหลายวิธี
6. ระยะห่างระหว่างแปลง 80 เซนติเมตร

3. การปลกู :
1. ใชเ้ หง้าหรอื ตน้ พนั ธ์ุ 1 ต้น/1 หลมุ
2. ระยะหา่ งตอ่ ต้นต่อแถว ใช้ระยะ 20x20 เซนติเมตร แปลงหนง่ึ ปลูก 4 แถว

แถวละ 40 ต้น
3. ปลูกกุยช่ายอายุได้ 4 เดือน ตัดกุยช่ายเขียวคร้ังท่ี 1 แล้วปล่อยให้เขียวอีก

ประมาณ 45-60 วัน จึงตัดเขียวครั้งท่ี 2 การตัดกุยช่ายให้ตัดลำต้นให้ชิดโคลน โดยใช้มีดหรือเคี่ยวท่ีคมและ
ใหต้ ัดขาดคร้ังเดียวพรอ้ มกัน เพื่อป้องกนั การบอบช้ำของต้นกุยชา่ ยและปอ้ งกันการติดโรคพืชทสี ามารถเกิดข้ึนได้

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครัง้ ท่ี 21

53

พรวนดินรอบโคลน ใส่ปุ๋ยหมักมูลสัตว์ในแปลง จำนวน 10 กิโลกรัม/1 แปลง หลังจากนั้นได้เลิกใส่ปุ๋ยหมัก
มลู สตั ว์ มาใชป้ ุ๋ยหมกั จากใบไม้

4. การผลติ กยุ ชา่ ยขาว
1. เมื่อตัดกุยช่ายเขียวคร้ังท่ี 2 แล้ว ให้นำภาชนะทึบแสงมาครอบต้นกุยช่ายไว้ทันที

เพื่อไม่ให้ตน้ กุยช่ายโดนแสงแดด และไม่ให้อากาศเข้าสูต่ ้นกุยช่ายในช่วยท่ีครอบทำกุยช่ายขาว โดยใชก้ ระถาง
พลาสติกดำหรอื กระถางดนิ เผา

2. คลมุ แปลงกุยช่ายขาวดว้ ยแสลนเพอื่ พรางแสง สงู จากพื้นประมาณ 50เซนตเิ มตร -
1 เมตร

3. ครอบกระถางพลาสติกดำ ครอบไว้ประมาณ 10- 12 วนั สามารถตัดกุยช่ายขาวได้
กุยช่ายจะมีความยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตร

4. เมื่อตัดขาวแล้วปลอ่ ยให้ตน้ กุยช่ายเจริญเติบโตเป็นกยุ ช่ายเขียวประมาณ 45-60 วนั
จึงตัดเพือ่ ครอบขาวอีก ทำสลบั กันไปจนกวา่ ต้นกุยช่ายหยุดการเจรญิ เตบิ โต (ประมาณ 3- 4 ป)ี

5. รอื้ แสลน (ผา้ กรองแสง) ออกจากแปลง เมื่อตดั กุยชา่ ยขาวเรยี บร้อย เพือ่ ปล่อยใหต้ ้น
กุยชา่ ยเขยี วเจริญเติบโตไดร้ บั แสงแดด

5. การดูแลรกั ษา
1. รดน้ำเช้า-เย็น รดน้ำด้วยสายยาง ควรรดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ กะประมาณความพอดี

ด้วยสายตา โดยใช้นำ้ จากแหล่งน้ำจากธรรมชาติ (แม่น้ำโขง)
2. กำจัดวัชพชื ดว้ ยการถอนดว้ ยมอื 2 สัปดาห์ /1 ครัง้
3. คลุมแปลงและตามรอ่ งทางเดนิ ด้วยดว้ ยฟางข้าวและใบไมแ้ หง้
4. พรวนดินในแปลงทุก 2 เดือน หรือหลังจากตดั กยุ ช่ายเขียวเพอ่ื ทำเป็นตน้ กุยชา่ ยขาว
5. ควรสับหน้าดินบริเวณรองทางเดินและรอบๆ ด้านข้างแปลงเพ่ือให้อากาศถ่ายเทใน

แปลง 2 สัปดาห์ / 1 ครง้ั
6. การรดน้ำกุยช่ายขาว ให้รดน้ำเหมือนกับการรดน้ำกุยช่ายเขียว โดยรดน้ำผ่าน

กระถางครอบ วันละ 2 ครง้ั เช้า – บ่าย
(การพรวนดินกุยช่ายเพื่อทำกุยช่ายขาวไม่ควรพรวนบ่อยเพราะจะทำให้ต้นกุยช่าย

แตกกอเรว็ สง่ ผลทำใหล้ ำต้นกยุ ชา่ ยเล็ก ตลาดไมต่ ้องการ)

4. ผลการศึกษา

จากการศึกษาการปลูกกุยช่ายโดยวิธเี กษตรธรรมชาติ พบว่า
1. ต้นกุยช่ายเจริญเตบิ โตแตกกอดี ลำต้นและใบอวบแขง็ แรง มีสเี ขยี วเขม็ ประมาณ จำนวน
60 - 90 ตน้ /1 กอ
2. ผลผลิตกุยช่ายขาวไดน้ ำ้ หนัก 5- 7 กอ /กิโลกรัม โดยเฉลย่ี 6 กอ / กิโลกรมั น้ำหนกั ท้ัง
แปลง ประมาณ 25 - 30 กิโลกรมั /แปลง
3. เก็บผลผลิตได้ระยะเวลา 4 ปี/การปลูก 1 ครง้ั
4. ไม่พบตน้ กยุ ชา่ ยมโี รคพืชและโรคแมลงรบกวน ในการปลูกพื้นท่เี ดมิ
5. สามารถขยายพันธไ์ุ ด้ดจี ากตน้ พนั ธ์เุ ดมิ

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครง้ั ท่ี 21

54

การปลกู ฝรั่งกมิ จโู ดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ

โดย นางสาวกรรณกิ า สืบดี
ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสุรินทร์

1. ความเปน็ มา

ฝรั่ง” ถือเป็นไม้ผลท่ีมีถ่ินกำเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นผลไม้ท่ีค่อนข้างจะคุ้นเคยกับ
ชีวิตประจำวันของคนไทยและเป็นไม้ผลท่ีมีขายตลอดทั้งปี มีรสชาติดี ราคาไม่แพง มีคุณค่าทางอาหารสูง
โดยเฉพาะวติ ามนิ ซแี ละวิตามนิ เอ

ฝร่ัง จัดเป็นไม้ผลขนาดกลาง มีก่ิงเหนียว มีลักษณะลำต้นเป็นไม้ทรงพุ่ม สูง 3-5 เมตร
สามารถเจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพดิน และทนต่อความแล้ง และน้ำขังได้เล็กน้อย แต่ถ้าปลูกในดินร่วนซุย
มีอินทรียวัตถุมากและมีการระบายน้ำได้ดี ก็จะย่ิงให้ผลผลิตดี สามารถให้ผลผลิตได้ประมาณ 8-10 เดือน
หลังปลูก ผลสามารถเก็บได้ในช่วง 4-5 เดือน หลังติดดอก ซ่ึงผลท่ีได้จะติดผล โดยท่ัวไปจะให้ผลได้ในช่วง
ปลายฤดูแลง้ ถึงต้นฤดฝู น คอื ชว่ งเดือนมนี าคม-มถิ ุนายน ข้ึนอย่กู บั ความสมบูรณ์ และสายพนั ธุท์ ่ปี ลกู

2. วิธกี ารทดลอง
การปลูกฝรั่งโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ มีวิธีการคือ งดใช้สารเคมีทุกชนิดในกระบวนการปลูก

โดยใช้หลกั การปรับปรงุ ดนิ โดยการปลูกพืชตระกลู ถั่วรอบๆโคนตน้ ฝรั่งเพื่อป้องกันวัชพืชและรกั ษาความชุ่มชื้น
ให้กับดิน หากดินยังไม่มีอินทรียวัตถุแนะนำให้ใช้ปุ๋ยหมักร่วมด้วย การปลูกดอกไม้สีสดใสเพ่ือล่อแมลงและ
สร้างสมดุลให้กับธรรมชาติเพ่ิมการผสมเกสรของดอกให้ติดผลมากข้ึน หม่นั ตรวจดูแปลงเป็นประจำและรกั ษา
แปลงให้สะอาดอย่เู สมอโดยการตดั หญา้ และหญ้าท่ีตดั กจ็ ะย่อยสลายไปเปน็ อนิ ทรีย์วัตถใุ หก้ ับดนิ

3. ผลการทดลอง

จากการคลุมดินถั่วเขียวมีประโยชน์หลายประการ คือ ช่วยป้องกันการชะล้างของหน้าดิน
และรักษาความช่มุ ชืน้ ของดนิ เป็นการอนุรักษด์ นิ และน้ำ ช่วยทำให้หน้าดินอ่อนนุ่ม ร่วนซุย สะดวกต่อการชอน
ไชของ รากพืช ช่วยรักษาอุณหภูมิของดินมิให้เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ช่วยป้องกันวัชพืช ช่วยกระตุ้นให้
จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เพ่ิมข้ึนทั้งชนิดและปริมาณ นอกจากน้ีวัสดุคลุมดินจะค่อยๆ ย่อยสลายและปลดปล่อย
ธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใช้เศษพืชคลุมดิน ซึ่งประโยชน์ต่างๆของการคลุมดิน จะช่วยส่งเสริมให้พืช
เจริญเตบิ โตดแี ละให้ผลผลิตดี อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยทำให้ดินความอ่อนนุ่มและรว่ นซุยตลอดฤดูปลกู

4. สรุปผล

จากสภาพพ้ืนท่ีแปลงปลูกฝร่ังกิมจูของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน
สุรินทร์ได้มีการพัฒนาดินโดยวิธีเกษตรธรรมชาติมาเป็นระยะเวลา ๖ ปี จัดได้ว่าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์
สามารถปลูกฝรั่งได้โดยไม่มีการใช้ปุ๋ยหมักอีกต่อไปและใช้หลักเกษตรธรรมชาติเท่านั้นในกระบวนการปลูก
ซ่ึงทำใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทไ่ี รส้ ารเคมี ลดต้นทุนในการใชป้ ๋ยุ และใช้สารเคมที กุ ชนดิ ปลอดภยั ท้งั ผู้ผลิตและผบู้ ริโภค

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครง้ั ที่ 21

55

การทดลองปลกู หอมแดงโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

โดย นางสาววาสนา มะโนคำ
ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนอตุ รดติ ถ์

1. ความเป็นมา

หอมแดงเป็นพืชผักเศรษฐกิจที่สำคัญ ชนิดหนึ่งและสามารถทำรายได้ให้เกษตร กรได้เป็น
จำนวนมากแหลง่ ปลูกท่ีสำคญั ในภาคเหนือไดแ้ กจ่ ังหวัดเชยี งใหม่ เชียงราย ลำพูน พะเยา อุตรดิตถ์ โดยเฉพาะ
ในอำเภอลับแล จงั หวัดอุตรดิตถม์ ีการปลูกหอมแดงทีม่ ีการใชส้ ารเคมีปยุ๋ และสารเคมีในการป้องกนั กำจัดแมลง
ศัตรูพืชเป็นจำนวนมากเพราะมีความสะดวก รวดเร็ว ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของตัวเกษตรกรและ
ผบู้ รโิ ภครวมถึงผลผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม ระบบนเิ วศ

ศูนย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนอุตรดิตถ์ จึงได้ทดลองปลูกหอมแดงโดย
วิธีเกษตรธรรมชาติเพ่ือศึกษาทดลองการเจริญเติบโตของหอมแดงรวมทั้งผลผลิตโดยรวมท่ีได้รับและเผยแพร่
องค์ความรู้ใหก้ ับเกษตรกรที่สนใจปลูกหอมแดงโดยวิธีเกษตรธรรมชาตเิ พื่อให้เกษตรกรได้ลดการใชป้ ุ๋ยเคมีและ
สารเคมี ลดต้นทุนการเพาะปลกู รู้จักนำทรัพยากรที่อยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้บริโภคพืชผกั ท่ีปลอดภัย
ทั้งผู้ปลกู และผบู้ ริโภคมีสุขภาพและคุณภาพชีวติ ทด่ี ี

2. วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือศึกษาการเจรญิ เติบโตของหอมแดงและผลผลิตหอมแดงที่ปลกู โดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ
2. เพอื่ รวบรวมองคค์ วามร้แู ละเผยแพรอ่ งคค์ วามรสู้ เู่ กษตรกรเครอื ข่าย

3. วธิ ีการทดลอง

1. การเตรยี มแปลงปลกู
- ตัดหญ้า
- ตีหน้าดินลกึ ประมาณ ๓ – ๕ เซนติเมตร
- ขน้ึ แปลงความกว้าง 1 เมตร ความยาว 15 ความสูง 20 เซนตเิ มตร
- ปรบั แตง่ แปลงพร้อมปลกู หอมแดง

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้งั ท่ี 21

56
2. การเตรียมพนั ธ์หุ อมแดง

-ใชพ้ นั ธห์ุ อมแดงท่ีปลกู ด้วยวิธีเกษตรอินทรยี ์

3. การปลูก
- ปลกู ระยะหา่ ง ๒๐ เซนติเมตร
- หลงั ปลูกคลมุ ด้วยฟางขา้ ว

4. การใหน้ ำ้ / การดแู ลรกั ษา
- รดนำ้ วนั ละ ๑ ครั้ง
- ตรวจแปลงเช้าเย็นเพือ่ สำรวจดูโรคและแมลงศัตรูพืชท่เี ข้ามาในแปลงผกั

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้งั ท่ี 21

57
5. การปอ้ งกนั และกำจดั วชั พชื

- ป้องกันกำจัดวัชพืชโดยการถอนใชว้ ัสดคุ ลุมแปลงโดยใชฟ้ างขา้ ว
6. การเกบ็ เกย่ี วผลผลิตและการเกบ็ รักษา
- เก็บเกี่ยวหอมแดงเมือ่ อายุ ๖๕ วนั หลังปลูกนำไปแขวนไวใ้ นรม่ ในท่อี ากาศถา่ ยเทได้ดี
ประมาณ ๓๐ วันจนแห้งจากนั้นนำไปมัดเปน็ คู่แขวนเกบ็ ไว้สำหรบั รบั ประทานหรือเก็บไวท้ ำพนั ธุ์

4. ผลการทดลอง

จากการทดลองปลูกหอมแดงโดยวธิ เี กษตรธรรมชาตใิ นฤดูกาลน้ีพบว่าหอมแดงมกี ารเจรญิ เติบโต
ได้ดี แข็งแรง ไม่มีโรคและแมลงรบกวน ผลผลิตที่ได้หอมแดงมีขนาดหัวที่พอเหมาะหัวแกร่ง แน่น สีแดง
ธรรมชาติได้ผลผลิตหอมแดงสดจำนวน ๑๓๐ กิโลกรัมนำไปแขวนไว้ในท่ีทีอ่ ากาศถา่ ยเทได้ดจี นแห้งเป็นเวลา
๓๕ วันแล้วนำมามัดเปน็ คู่ไดห้ อมแดงแห้งจำนวน ๘๕ .๕ กิโลกรัม

5. แนวทางการพัฒนาการปลูกคร้ังต่อไป

ทดลองปลกู หอมแดงทั้งปเี พอื่ ศึกษาการเจริญเตบิ โตและผลผลิตโดยรวมและนำองคค์ วามรู้
ไปถ่ายทอดและแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกบั เกษตรกรเครอื ขา่ ย

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้ังท่ี 21

58

การศึกษาการเจริญเติบโตของกะหล่ำปลีดว้ ยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ
โดยใชป้ ยุ๋ หมกั ท่แี ตกตา่ งกัน

โดย นางอนงคว์ รรณ ขันทะลี
ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนเชยี งราย

1. ความเป็นมา
ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนเชียงราย สังกัดสำนักงานส่งเสริม

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาท
ภารกิจในการสง่ เสริมอาชีพให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดนในพ้ืนท่ี ส่ีจังหวัดภาคเหนือได้แก่ จังหวดั พะเยา
เชียงราย เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน อีกทั้งยังเป็นสถานศึกษาที่มุ่งส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรในสังกัด
มีการศึกษาทดลองวิจัย และพัฒนาอาชีพท่ีสอดคล้องกับอาชีพในชุมชนเพื่อนำผลจากการทดลอง วิจัย
ไปเผยแพร่ให้แก่ประชาชนท่ีเข้ามาศึกษาดูงานศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนเชียงราย
และในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ซึ่งสถานศึกษาได้ส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดศึกษาหาความรู้ในด้านเกษตรธรรมชาติ
และทดลองปลูกพชื ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ ในฐานการเรียนรู้ภายในศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทย
บริเวณชายแดนเชียงรายทต่ี นเองรับผิดชอบ

จึงมีความสนใจในเร่ืองของการศึกษาปัญหาของเกษตรกรในเขตภาคเหนือท่ีนิยมปลูก
กะหล่ำปลีและใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีในปริมาณที่สูงอีกทั้งยังนิยมปลูกบนภูเขา ซึ่งมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
เป็นอย่างมากและสารเคมียังไหลลงพ้ืนท่ีลุ่มสะสมตามแหล่งน้ำต่างๆ ส่งผลให้สุขภาพของผู้ผลิตและผู้บริโภค
และกระทบต่อระบบนิเวศเป็นวงกว้าง และได้ทำการทดลองการศึกษาการเจริญเติบโตของกะหล่ำปลีด้วย
วิธเี กษตรธรรมชาติโดยใช้ปุย๋ หมกั ทีแ่ ตกตา่ งกนั เพื่อใหผ้ ู้ทีเ่ ข้ามาศึกษาดูงานไดศ้ กึ ษา แลกเปลย่ี นเรียนรู้ รวมท้ัง
มพี ฤตกิ รรมของตนเองในการลดละเลิกสารเคมี ตลอดจนนำไปปรบั ใชใ้ นครอบครัวและชมุ ชนของตนได้

2. วตั ถุประสงค์
เพอื่ ศึกษาประสทิ ธิภาพของปยุ๋ หมกั ทมี่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของกะหลำ่ ปลี

3. วธิ ีการทดลอง
1. ศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้เร่ืองการปลกู กะหลำ่ ปลี และการเตรยี มดนิ โดยใช้ปยุ๋ หมกั ชนิด

ตา่ งๆ จากเอกสารทางวิชาการและจากอินเทอร์เนต็
2. เตรียมแปลงปลูกผักขนาด 1 x 2.5 เมตร จำนวน 16 แปลง แบ่งเป็น 4 กลุ่ม (T1-T4)

กลุ่มละ 4 แปลง เตรยี มดินแตกต่างกนั คือ T1 ใส่ปุ๋ยหมักจากใบไม้แห้ง T2 ไม่ใส่ปุ๋ย T3 ใส่ปุ๋ยหมักจากมูลวัว
และ T4 ใสปุ๋ยหมักจากมูลไก่ แปลง T1 T3 และ T4 ใส่ปุ๋ยหมักในอัตราส่วน 4 กิโลกรัมต่อหน่ึงแปลงและใส่
กอ่ นปลูกกะหลำ่ ปลหี น่ึงคร้ัง โดยใส่ปุ๋ยหมักคลุกเคลา้ กับดินให้เสมอกันตลอดทั้งแปลง จากน้ันรดนำ้ และเตรียม
ปลกู กะหล่ำปลตี อ่ ไป

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครงั้ ท่ี 21

59

3. นำต้นกล้ากะหล่ำปลีท่ีเพาะในถาดหลุม อายุต้นกล้า 20 วัน ลงปลูกในแปลงทดลอง 10 ต้น
ต่อแปลง ระยะหา่ งระหว่างต้น 40 เซนตเิ มตร ปลูกต้นกล้าลงในหลุมแล้วใช้ดินกลบรากใหแ้ น่น ใช้ฟางข้าวคลุม
แปลงเพอ่ื คลมุ ดินให้มีความช่มุ ชืน้

4. การใหน้ ำ้ โดยใช้ระบบสปรงิ เกอร์ วนั ละ 1 ครัง้ ในตอนเช้าของทุกวนั สว่ นการดูแลรักษา
กำจัดวัชพชื โดยใช้วิธีการถอนหญา้ จำนวน 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลาการปลูก

5. การเก็บข้อมลู การเจรญิ เตบิ โตของผลผลติ กะหล่ำปลีในแปลงทดลอง ดำเนินการดังน้ี
1. ช่ังน้ำหนักของผลผลิตเป็นรายต้นของทุกตน้ บันทึกข้อมูลเป็นกโิ ลกรมั แล้วหาค่าเฉลี่ย

น้ำหนักทง้ั 4 แปลง
2. วดั ความยาวของรากกะหล่ำปลีเป็นรายต้นทุกตน้ บันทึกข้อมูลเป็นนิ้ว แล้วหาคา่ เฉล่ีย

ความยาวทงั้ 4 แปลง

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้ังท่ี 21

60

4. ผลการทดลอง
ผลการทดลองปลกู กะหล่ำปลี ทีเ่ ตรยี มดนิ ดว้ ยการไมใ่ ส่ปุ๋ย ใสป่ ุ๋ยหมักใบไมแ้ ห้ง ใส่ปุ๋ยหมักมูล

วัว และ ใส่ปุ๋ยมลู ไก่ พบว่า กะหลำ่ ปลที ่ีปลูกในดนิ ท่ีเตรียมดว้ ยการใส่ปุ๋ยหมกั จากใบไมแ้ หง้ มกี ารเจริญเติบโตดี
ทสี่ ดุ เม่อื พิจารณาจากน้ำหนกั ผลผลิตและความยาวของราก ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้

1. น้ำหนักเฉลีย่ ของผลผลติ กะหล่ำปลี จำนวน 4 แปลง พบวา่ กะหล่ำปลที ี่เตรยี มดินดว้ ยการ
ใส่ปุ๋ยหมักจากใบไม้แห้ง มีน้ำหนักผลผลิตโดยเฉล่ียมากท่ีสุด คือ 1.11 กิโลกรัม รองลงมา คือ ผลผลิต
กะหล่ำปลีที่เตรียมดินด้วยการใส่ปุ๋ยหมักจากมูลไก่ มีน้ำหนักผลผลิตโดยเฉล่ีย 0.88 กิโลกรัม ผลผลิต
กะหล่ำปลีท่ีเตรียมดินด้วยการใส่ปุ๋ยหมักจากมูลวัว มีน้ำหนักผลผลิตโดยเฉล่ีย 0.80 กิโลกรัม และผลผลิต
กะหล่ำปลีท่ีไมใ่ ส่ป๋ยุ มนี ำ้ หนกั ผลผลติ โดยเฉลย่ี นอ้ ยที่สุด คือ 0.63 กโิ ลกรมั

2. ความยาวเฉลี่ยของรากกะหล่ำปลี จำนวน 4 แปลง พบว่า รากของกะหล่ำปลีที่เตรียมดิน
ด้วยการใส่ปุ๋ยหมักจากใบไม้แห้ง มีความยาวของรากโดยเฉลี่ยยาวที่สุด คือ 6.56 นิ้ว รองลงมา คือ รากของ
กะหล่ำปลี ทเี่ ตรียมดินด้วยการใสป่ ยุ๋ หมักจากมลู ไก่ มีความยาวของรากโดยเฉล่ีย 5.49 นวิ้ รากของกะหล่ำปลี
ทเ่ี ตรียมดินด้วยการใส่ปยุ๋ หมักจากมลู วัว มีความยาวของรากโดยเฉลี่ย 5.04 น้ิว และรากของกะหลำ่ ปลีท่ีไมใ่ ส่
ปุ๋ยสั้นทส่ี ุด มีความยาวของรากโดยเฉลย่ี ส้ันท่ีสดุ คอื 5.00 นวิ้

5. สรุปองค์ความรู้ท่ีไดร้ ับ
จากผลการทดลองสรุปได้ว่า แปลงกะหลำ่ ปลีทีป่ ลูกในดินท่ีเตรียมดนิ ด้วยการใส่ปุ๋ยหมักจาก

ใบไม้แห้ง มีการเจริญเติบโตดีท่ีสุด คือน้ำหนักเฉล่ียมากท่ีสุด และความยาวของรากยาวท่ีสุด อาจเป็นเพราะ
การใส่ปุ๋ยหมักจากใบไม้ทำให้ดินร่วนซุยมากขึ้น ส่งผลให้รากของกะหล่ำปลียาว และมีการเจริญเติบโตได้ดี
ทำใหผ้ ลผลิตมีนำ้ หนักดกี วา่ แปลงทเ่ี ตรยี มดินด้วยการใส่ปุ๋ยหมกั ชนดิ อ่ืน

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

61

การทดลองปลูกเมลอ่ นโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ

โดย นางใกลร้ ่งุ ทองดี
ศูนย์ฝกึ วิชาชีพจงั หวดั กาญจนบรุ ี“สามสงฆท์ รงพระคณุ ”

1. ความเปน็ มา

เมล่อนเป็นพืชท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีสารต้านอนุมูลอิสระที่สำคัญ ประกอบด้วย
วติ ามินซี วิตามินเอ เบต้าแคโรตนี มแี คลเซ่ียม ฟอสฟอรัส มีแครอรี่ตำ่ จึงเป็นผลไม้ที่นิยมบรโิ ภคสูง ประกอบ
กับเมล่อนเป็นพืชอายุส้ันเก็บผลผลิตได้เร็ว ทำให้เกษตรกรสนใจปลูกกันมาก แต่เมล่อนก็เป็นพืชที่มีโรคและ
แมลงรบกวนมากเช่นกัน เกษตรกรหลายรายใช้วิธีการปลูกในโรงเรือนซ่ึงมีต้นทุนในการสร้างโรงเรือนท่ีสูง
การปลูกนอกโรงเรอื นเป็นวธิ ีการทป่ี ระหยัดค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงเรือน ในขณะเดียวกันกม็ ีอัตราเส่ียงเรื่อง
ของโรคแมลงรบกวน เมล่อนท่ีปลูกนอกโรงเรือนจึงใช้สารเคมีท้ังยาฆ่าแมลงและสารป้องกันโรค ตลอดจน
ปุ๋ยเคมีในปริมาณมาก ซึ่งเป็นท่ีทราบถึงพิษภัยของสารเคมีทางเกษตรกนั ดีแล้วอย่างกว้างขวาง ศนู ยฝ์ ึกวิชาชีพ
จังหวัดกาญจนบุรี “สามสงฆ์ทรงพระคุณ”มีบทบาทภารกิจในการสาธิต ทดลอง วิจัยโดยยึดหลักเกษตร
ธรรมชาติ จึงไดท้ ำการศึกษาทดลองปลูกเมล่อนโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

2. วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตและปริมาณผลผลิตของเมลอ่ นทีป่ ลูกโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ

3. วธิ กี ารทดลอง

การดำเนินการทดลองครง้ั นไี้ ด้ ดำเนินการ 3 ระยะ ดังน้ี
ระยะแรก
1. ศกึ ษาวิธกี ารปลูกเมลอ่ นจากเอกสาร อนิ เทอร์เนต็ และสอบถามเกษตรกร
2. เพาะเมล่อนพันธ์หิมาลัย จำนวน 400 เมล็ด ใช้วัสดุเพาะประกอบด้วยดิน 2 ส่วน
ขุยมะพร้าว 1 ส่วน ปุ๋ยหมักจากเศษพืช 1 ส่วน ผสมให้เข้ากันบรรจุลงถาดเพาะ บ่มเมล็ดเมล่อนด้ายการแช่
นำ้ อุ่น 1 คืน นำเมล็ดเพาะในถาดหลมุ หลุมละ 1 เมลด็
3. เตรียมแปลงขนาด กว้าง 1.20 เซนติเมตร ความยาว 17 เมตร ด้วยการยกแปลง
สับย่อยดนิ เก็บเศษวัชพืชออก คลุมพลาสติก จำนวน 4 แปลง

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครัง้ ท่ี 21

62

4. การดแู ลตน้ กลา้ ใชส้ มนุ ไพรฉีดพ่น
5. การปลูก ต้นกล้าเมล่อนพันธ์ุหิมาลัย อายุ 13 ปลูกลงแปลงด้วยการเจาะพลาสติก
ระยะห่างระหว่างแถว 50 เซนติเมตร ระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ปลูก 2 แถว ต่อแปลง แปลงละ 66 ต้น
จำนวน 2 แปลง เนื่องจากต้นกล้าได้รับความเสียหายจากโรคเน่าคอดิน หนอนกัดกินยอดกินใบในเวลา
กกลางคืน เต่าแตง เหลือตน้ ที่ปลกู ลงแปลงได้เพียง 2 แปลง
ระยะท่ี 2 หลังจากต้นกล้าที่เพาะไว้ได้รับความเสียหายจากโรค แมลง เหลือปลูกลงแปลงได้
เพียง 2 แปลง จงึ ดำเนินการ ดงั นี้
6. ทำการปลกู อีก 2 แปลง โดยใช้พันธุ์ Cat 697 ด้วยการแช่น้ำอุ่น 1 คืน นำเมล็ดมาหอ่ ผ้า
ใส่ถุงพลาสติกผูกปากถุง ทิ้งไว้ 1 แล้วนำเมล็ดหยอดลงดิน ระยะระหว่างแถว 50 เซนติเมตร ระหว่างต้น
50 เซนติเมตร หยอด 2 แถวต่อแปลง เม่อื เมลอ่ นเจริญเตบิ โต ถูกด้วงเตา่ แตงทำลายจงึ ป้องกนั ด้วยการฉีดพ่น
สมุนไพร ใช้วิธีการตัดขวดพลาสติกและแก้วน้ำพลาสติกนำเจาะรูนำมาครอบต้นเมล่อน และ
ใช้ซองขนมท่ีด้านในเคลอื บนำมาแขวนเพ่ือให้เกิดการสะท้อนแสง สภาพของเมล่อนแคระแกรน มโี รครากเน่า
เตา่ แตงทำลาย
ระยะที่ 3 เน่ืองจากเมล่อนแปลงที่ 3 และแปลงท่ี 4 แคระแกรน ถูกโรค แมลงเข้าทำลาย
จึงดำเนนิ การ
๗. เพาะกล้าเมล่อน เป็นคร้ังท่ี 2 ใช้พันธุ์เลดี้กรีน และพันธ์ุ Cat 697 โดยเพาะในกระบะ
พลาสตกิ เมอ่ื มีใบจรงิ 1 – 2 ใบ จงึ ย้ายลงปลกู ในถงุ พลาสติก
8. ขดุ แปลงท่ี 3 และแปลง ท่ี 4 อีกครงั้ ด้วยการขุดดินดา้ นล่างขึน้ มาดา้ นบน
9. ตน้ กลา้ อายุ 25 วัน ทำการปลกู ลงแปลงด้วยวธิ กี ารขุดเป็นหลมุ ขนาดใหญ่ ใส่ดินรว่ นผสม
ปุ๋ยหมัก สัดส่วน 1 ต่อ 1 ลงในหลมุ แปลงที่ 3 ปลูกพันธุ์เลด้ีกรนี 44 ต้น และแปลงท่ี 4 ปลกู พันฺธุ์เลด้ี-กรีน
24 ตน้ พันธ์ Cat 697 20 ตน้
10. วิธีการปฏิบัติดูแลประกอบด้วย รดน้ำด้วยสายยาง กำจัดวัชพืชด้วยการใช้มือถอน
ใช้จอบถาก ปกั ไมค้ ้าง ผกู ตน้ เมล่อนกับไมค้ า้ ง ขงึ เชือก แตง่ แขนง ผสมเกสร
11. การเก็บขอ้ มลู ดว้ ยการจดบันทึก ภาพถ่าย วัดความยาวราก วัดขนาดความยาวและความกว้าง
ของผลเปน็ เซนติเมตร

ภาพการศึกษารากเมล่อน ภาพการวดั ความยาวรากเมล่อน

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันที่ 14-16 กมุ ภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งที่ 21

63

ภาพดนิ ดา้ นล่างและรากเมล่อนท่ีไม่สามารถเจรญิ เติบโตผา่ นดินทแ่ี น่นแขง็ ได้

ภาพผลเมลอ่ นพนั ธ์เุ ลดีก้ รีน

4. ผลการทดลอง

ผลการทดลองปลูกเมล่อนโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ พบว่าเมล่อนที่ปลูกมีสภาพแคระแกรน
ถูกทำลายได้รับความเสียหายจากหนอนกัดกินใบในระยะเป็นต้นกล้า และด้วงเต่าแตงจะทำลายทุกระยะ
การเจริญเติบโต จะมีมากชว่ งที่เป็นใบอ่อนเมล่อนตายด้วยโรคเน่าคอดินในระยะเป็นต้นกล้าและตายด้วยโรค
รากเนา่ ในทุกชว่ งการเจริญเตบิ โต

- แปลงที่ไดร้ ับความเสียหายทงั้ แปลง จำนวน 1 แปลง
- แปลงทีเ่ จริญเตบิ โต เกบ็ ขอ้ มูลได้ จำนวน 1 ต้น จำนวน 1 แปลง
- แปลงทีเ่ จรญิ เตบิ โต เกบ็ ขอ้ มลู ได้ ให้ผลผลติ จำนวน 2 แปลง จำนวน 2 ผล สรุปผลดงั น้ี
1. ความยาวตน้ เฉลยี่ 38.33 เซนติเมตร
2. ความยาวของผล เฉลีย่ 5.5 เซนตเิ มตร
3. ความกวา้ งของผล เฉล่ีย 5.5 เซนติเมตร
4. ความยาวของราก 40 เซนติเมตร

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กุมภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครง้ั ที่ 21

64

ตารางขอ้ มูล การศึกษาทดลองปลกู เมลอ่ นโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ

สง่ิ ท่ีศกึ ษา แปลงท่ี 1 แปลงที่ 2 แปลงท่ี 3 แปลงท่ี 4
ความยาวของต้น 49 เซนติเมตร - 38 เซนตเิ มตร 38 เซนตเิ มตร
ความยาวของผล 8 เซนติเมตร - 6 เซนตเิ มตร
ความกว้างของผล 7 เซนติเมตร - - 4 เซนตเิ มตร
ความยาวของราก 40 เซนตเิ มตร - -
- -

5. สรุปองค์ความรู้ทีไ่ ดร้ บั

จากการศึกษาทดลองปลูกเมล่อนโดยวิธีเกษตรธรรมชาติสรุปได้ว่าการปลูกเมล่อนโดยวิธี
เกษตรธรรมชาติกอ่ นทำการปลูกควรศกึ ษาสภาพดินให้ดีก่อน โดยเฉพาะดินท่ีอยดู่ ้านล่างทีม่ ีการอัดตัวแน่นจน
แขง็ และหาวิธที เี่ หมาะสมในการพัฒนาดนิ

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กจิ กรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้งั ที่ 21

65

คณะผู้จัดทำ

ที่ปรึกษา

1. นายสังข์ กาญจนเพม่ิ พูน ผ้อู ำนวยการ ศฝก.

2. นางไพจติ ร คงแก้ว รองผ้อู ำนวยการ ศฝก.

3. นางทิพวรรณ สิทธิรงั สรรค์ ครูเชี่ยวชาญ

ผทู้ ำวิจยั
1. นางสาวสภุ าพร สาครเย็น ศนู ยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแกว้

2. นายกรนิ ทร์ เฉลมิ วิสุตมก์ ลุ ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว้
3. นายเกริก ธรี ะโคตร ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร
4. นางสทุ นิ ลุนาวัน ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนมุกดาหาร

5. นางสาวกรรณิกา สบื ดี ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนอุสุรนิ ทร์
6. นางสาววาสนา มะโนคำ ศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนอตุ รดติ ถ์

7. นางอนงคว์ รรณ ขันทะลี ศูนย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนเชยี งราย
8. นางใกล้ร่งุ ทองดี ศูนยฝ์ ึกวชิ าชีพจังหวัดกาญจนบรุ ี “สามสงฆ์ทรงพระคุณ”

ผรู้ วบรวมและเรียบเรยี งเอกสาร
1. นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง ครชู ำนาญการพิเศษ

2. นางสาวทพิ ยว์ มิ ล หมนื่ เตียง นักวชิ าการเกษตร
3. นางสาวฐิตริ ตั น์ อบุ ล นกั วชิ าการเกษตร

ผจู้ ดั ทำเลม่ เอกสาร
นายพรพทิ ักษ์ คณุ ความดี

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวิชาการเกษตรธรรมชาติ วันท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งที่ 21

66

ขอ้ มลู ผลงานวิจัยเกษตรธรรมชาติของสถานศึกษา
สำหรบั จัดทำโฟมบอร์ด ในการจัดนทิ รรศการผลงานวจิ ัย

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจดั กิจกรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ท่ี 14-16 กุมภาพันธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ คร้ังที่ 21

67

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

68

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

69

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

70

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

71

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

72

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

73

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

74

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกจิ กรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งท่ี 21

75

คณะผู้จัดทำ

ทป่ี รึกษา ผอู้ ำนวยการ ศฝก.
รองผอู้ ำนวยการ ศฝก.
1 นายสังข์ กาญจนเพม่ิ พนู
2 นางไพจิตร คงแก้ว ครเู ช่ียวชาญ
3 นางทพิ วรรณ สทิ ธิรังสรรค์

ผูเ้ กบ็ รวบรวมข้อมลู ครชู ำนาญการพเิ ศษ
นักวชิ าการเกษตร
1 นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง
2 นางสาวฐติ ริ ัตน์ อุบล นกั วชิ าการเกษตร
นกั วชิ าการเกษตร
3 นางสาวทพิ ยว์ ิมล หมน่ื เตยี ง
4 นางสาวเยาวเรศ เกรียงไกรพบสขุ

ผู้วเิ คราะห์ เรียบเรยี งข้อมลู และจดั พมิ พ์เอกสาร

นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง ครชู ำนาญการพเิ ศษ

------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานผลการจัดกิจกรรมเสวนาวชิ าการเกษตรธรรมชาติ วนั ที่ 14-16 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ในงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครงั้ ท่ี 21

คนเราถ้าพอใจในความต้องการ
...กม็ คี วามโลภน้อย...

เมอ่ื มคี วามโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอื่นน้อย
ถา้ ทุกประเทศมคี วามคดิ ว่าทาอะไรต้องพอเพยี ง
หมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก

...คนเรากอ็ ย่เู ป็ นสุข...

พระราชดารสั พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลท่ีเขา้ เฝา้ ฯ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑


Click to View FlipBook Version