ลอยกระทง
รรักวักัฒษนธ์ นรำ�้รม
กรมส่งเสริมวฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
ลอยกระทง
รกั ษ์ น้าํ รักวัฒนธรรม
โดย
กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม
กระทรวงวัฒนธรรม
ช่อื หนังสอื : ลอยกระทง (ฉบับปรบั ปรงุ )
พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑ : ตุลาคม ๒๕๕๙
พิมพค์ รัง้ ท่ี ๒ : ตลุ าคม ๒๕๖๐
ลำ�ดบั หนงั สือ : ๑๑/๒๕๖๐
จำ�นวนพิมพ์ : ๑๐,๐๐๐ เลม่
ผู้จดั พมิ พ์ : กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม
กระทรวงวฒั นธรรม
พมิ พท์ ี่ : สำ�นกั งานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ค�ำ นยิ มของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม
ประเทศไทยได้รักษาสืบทอดประเพณีลอยกระทงซ่ึงเป็นประเพณี
ในฤดูน้ำ�หลาก ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสอง จนกลายเป็นประเพณีที่สร้าง
ภาพลกั ษณข์ องประเทศ เน่อื งจากสะท้อนให้เหน็ ถึง ภมู ปิ ญั ญา วิถีชีวติ และ
วัฒนธรรมไทยอันงดงาม ทั้งการแต่งกาย ศิลปกรรม การประดิษฐ์กระทง
การประดบั ประทปี โคมไฟในยามค�ำ่ คนื พธิ กี รรม มหรสพ ศลิ ปะการแสดงพน้ื ถน่ิ
และการละเล่นรื่นเริง นอกจากน้ันยังเป็นศูนย์รวมการส่งเสริมคุณงาม
ความดีและค่านิยมท่ีดีแก่สมาชิกในสังคม เช่น การประกวดนางนพมาศ
การประกวดประดิษฐ์กระทง และการร่วมแรงร่วมใจในการจัดงานให้งดงาม
ยง่ิ ใหญ่ เพอ่ื รกั ษาประเพณวี ฒั นธรรมไทยในทอ้ งถน่ิ ใหม้ ชี อ่ื เสยี งในระดบั ประเทศ
กระทรวงวัฒนธรรม มีนโยบายท่ีจะส่งเสริมประเพณีลอยกระทง
มรดกไทยอนั ทรงคณุ ค่า ของชมุ ชนทจ่ี ะสรา้ งรายได้ ชอื่ เสียงและเอกลักษณ์
ของชุมชน ตลอดจนเผยแพร่และสรา้ งความนยิ มสปู่ ระทศสมาชิกในอาเซียน
และสงั คมโลกตอ่ ไป
กระผมจงึ หวังวา่ หนังสือ “ลอยกระทง รกั ษน์ ำ้� รักวัฒนธรรม” เลม่ นี้
จะทำ�ให้ผู้อ่านเข้าใจ ในประเพณีลอยกระทงของไทย และร่วมเป็นส่วนหน่ึง
ของการอนุรกั ษม์ รดกไทยอันงดงาม สู่มรดกโลกสบื ไป
(นายวรี ะ โรจน์พจนรัตน์)
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวัฒนธรรม
ค�ำ นยิ มของปลดั กระทรวงวฒั นธรรม
ปัจจุบันประเพณีลอยกระทงของไทย ถือเป็นอีกเทศกาลหน่ึง ซึ่งเป็นที่ช่ืนชอบ
ของนักท่องเที่ยว ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศ หลายพื้นที่ได้จัดงานลอยกระทง
อย่างสวยงามและยง่ิ ใหญ่ ทำ�ใหป้ ระเพณีน้เี ปน็ ท่รี ูจ้ ักกนั อย่างแพร่หลายมากข้นึ
อย่างไรก็ดี ประเพณีท่ีจะสืบทอดต่อเนื่องไปยังอนุชนรุ่นหลังได้นั้น ผู้ปฏิบัติต้อง
เห็นคุณค่า ความหมายและสาระส�ำ คญั ทม่ี ีอย่ใู นประเพณีน้ัน ๆ ด้วย ประเพณีลอยกระทง
ก็เช่นเดียวกัน การท่ี กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดพิมพ์หนังสือ
“ลอยกระทง รกั ษน์ ้�ำ รักวฒั นธรรม” เพ่อื เผยแพรส่ าระความรู้อันเกยี่ วเนอื่ งกับประเพณี
ลอยกระทง และส่ือถึงการช่วยกันรักษานำ้� ซ่ึงมีคุณต่อมนุษยชาติขณะเดียวกันก็ร่วมกัน
อนุรักษ์ประเพณีท่ีดีงามของเราไปด้วยน้ัน จึงเป็นส่ิงท่ีผมหวังว่า จะทำ�ให้ผู้อ่านได้รับ
ความรู้ ความเข้าใจ และช่วยกนั สืบสานประเพณีลอยกระทงของเราใหด้ ำ�รงอยูต่ อ่ ไป
(นายกฤษศญพงษ์ ศิร)ิ
ปลัดกระทรวงวฒั นธรรม
ค�ำ น�ำ
ประเพณลี อยกระทง ตรงกับวนั เพ็ญขน้ึ ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๒ เปน็ ประเพณที ่ีสำ�คัญ
เก่าแก่ของไทย ซึ่งอยู่ในช่วงน้ำ�หลาก มีที่มาจากพิธีกรรมเกี่ยวกับ “นำ้�” ซ่ึงเป็นปัจจัย
ส�ำ คญั ในชวี ติ และวฒั นธรรมของคนไทย ถงึ แมจ้ ดุ มงุ่ หมายหรอื ความเชอ่ื ในการลอยกระทง
จะมีความแตกต่างกัน แต่ความหมายท่ีเหมือนกันของประเพณีน้ีคือ การแสดงออกถึง
“ความกตญั ญ”ู รจู้ กั ส�ำ นกึ ถงึ คณุ ของน�้ำ ซง่ึ นบั เปน็ สง่ิ ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วฒั นธรรมทดี่ งี าม
อย่างหน่ึงของไทย
ปัจจุบันประเพณีลอยกระทงถูกดัดแปลงไปบ้างจากที่เคยปฏิบัติมาในอดีต
การใหค้ วามส�ำ คญั ของความหมาย คณุ คา่ สาระ แนวปฏบิ ตั ิ ของประเพณลี อยกระทงลดลง
ดงั นัน้ กรมส่งเสริมวฒั นธรรม จึงไดจ้ ดั พิมพห์ นังสือ “ลอยกระทง รกั ษ์น้ำ� รักวฒั นธรรม”
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่ความหมาย คุณค่า สาระสำ�คัญ แนวทางปฏิบัติและ
องคค์ วามรปู้ ระเพณลี อยกระทงของทอ้ งถน่ิ ทงั้ ๔ ภาค ของประเทศไทย นอกจากนน้ั หนงั สอื
“ลอยกระทง รักษ์นำ้� รักวัฒนธรรม” ยังแนะนำ�ขนบธรรมเนียมปฏิบัติที่ถูกต้องงดงาม
ของประเพณลี อยกระทงเปน็ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อเผยแพรค่ ณุ ค่า สาระ และ
ความสำ�คัญของประเพณีลอยกระทง รวมไปถึงการประพฤติปฏิบัติตามประเพณีท่ีดีงาม
ของไทยและเป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ที่ดงี ามทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยหวังเปน็
อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื เลม่ นจี้ ะไดร้ วบรวมแนวทางปฏบิ ตั แิ ละสรา้ งความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งเกยี่ วกบั
ประเพณลี อยกระทงสืบต่อไป
(นางพมิ พ์รวี วัฒนวรางกูร)
อธิบดกี รมส่งเสรมิ วัฒนธรรม
สารบญั
ประเพณีลอยกระทง.................................................................... ๘
ลอยกระทงมมี าแตเ่ มอ่ื ไร ท�ำ เพอ่ื อะไร..........................................๙
วตั ถปุ ระสงคข์ องการลอยกระทง................................................๑๓
ต�ำ นานและนทิ านเกย่ี วกบั ประเพณลี อยกระทง.......................... ๑๖
นางนพมาศคอื ใคร มาจากไหน มตี วั ตนจรงิ หรอื ไม่
และท�ำ ไมกระทงจงึ เปน็ รปู ดอกบวั .............................................๒๒
คณุ คา่ ของประเพณลี อยกระทง................................................. ๒๕
สาระของประเพณลี อยกระทง................................................... ๓๐
กจิ กรรมทพ่ี งึ ปฏบิ ตั .ิ ................................................................. ๓๑
น�ำ้ คอื ชวี ติ ................................................................................ ๓๔
บทสรปุ .................................................................................... ๓๕
ลอยกระทง 7
ประเพณลี อยกระทง
ประเพณีลอยกระทง นับเป็นอีกประเพณีหน่ึงของไทยท่ี
เปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดี ทงั้ ในหมชู่ าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ถอื เปน็ เทศกาล
แห่งความรื่นเริงสนุกสนานที่มีคุณค่า สาระ และมีจุดมุ่งหมาย
ที่หลากหลาย ซึ่งไม่เพียงแต่ประเทศไทยเท่านั้นที่มีประเพณีนี้
ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ราชอาณาจักรกัมพูชา
และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก็มีการลอยกระทง
คล้าย ๆ กับของไทยจะต่างกันเฉพาะเรื่องรายละเอียด พิธีกรรม
และความเช่ือในแต่ละท้องถิ่น แม้แต่ของไทย การลอยกระทงก็มา
จากความเชอื่ ท่หี ลากหลายเช่นกนั
การลอยกระทง ที่ปฏิบัติกันอยู่ มักจะทำ�กันในคืนวันเพ็ญ
เดือน ๑๒ หรอื วนั ขึ้น ๑๕ ค�ำ่ เดอื น ๑๒ ซง่ึ เป็นวันพระจันทรเ์ ต็มดวง
และเป็นช่วงท่ีน้ำ�หลากเต็มตล่ิง โดยจะมีการนำ�ดอกไม้ ธูป เทียน
หรือสิ่งของใส่ลงในสิ่งประดิษฐ์รูปต่าง ๆ
ทไ่ี มจ่ มน�ำ้ เชน่ กระทง เรอื แพ ดอกบวั ฯลฯ
แล้วนำ�ไปลอยตามลำ�นำ้� โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์ และความเชอ่ื
ท่แี ตกตา่ งกันไป
8 ลอยกระทง
ลอยกระทง
มีมาแตเ่ ม่อื ไร ท�ำ เพื่ออะไร
จากเอกสารเผยแพรช่ ือ่ “ลอยกระทง ขอขมาธรรมชาต”ิ
ของ นายสุจิตต์ วงษเ์ ทศ ได้กลา่ วไวว้ ่า ลอยกระทง เป็นพิธกี รรม
รว่ มกนั ของผคู้ นในชมุ ชนทง้ั สวุ รรณภมู ิ หรอื ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก
เฉียงใต้ท่ีมีมาแต่ยุคดึกดำ�บรรพ์ เพื่อขอขมาต่อธรรมชาติ อันมีดิน
และน�ำ้ ทห่ี ลอ่ เลย้ี ง ตลอดจนพชื และสตั วท์ เ่ี กอ้ื กลู ใหพ้ ชื พนั ธธ์ุ ญั ญาหาร
อุดมสมบูรณ์ มนุษย์จึงมีชีวิตเจริญเติบโตขึ้นได้แต่ไม่มีหลักฐาน
ยนื ยนั แน่นอนว่าลอยกระทงเร่ิมมีมาแต่เม่ือไร แต่พิธีกรรมเก่ียวกับ
“ผี” ผู้มีอำ�นาจเหนือธรรมชาติ มีอยู่กับผู้คนในชุมชนสุวรรณภูมิ
ไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปมี าแลว้ ตง้ั แต่กอ่ นรบั ศาสนาพุทธ-พราหมณ์
จากอนิ เดยี
ผีสำ�คัญยุคแรก ๆ คือ ผีนำ้� และ ผีดิน ซ่ึงต่อมาเรียกชื่อ
ด้วยคำ�ยกย่องว่า “แม่พระคงคา” กับ “แม่พระธรณี” มีคำ�
พ้นื เมืองน�ำ หน้าว่า “แม”่ ทห่ี มายถงึ ผ้เู ป็นใหญ่
ผู้คนในสุวรรณภูมิรู้ว่าที่มีชีวิตอยู่ได้ก็เพราะ น้ำ� และ ดิน
เป็นสำ�คัญ และ น้ำ� เป็นสิ่งสำ�คัญที่สุด เพราะเป็นบ่อเกิดของ
ส่ิงมีชวี ิต ดังน้ัน เมื่อคนเรามีชีวติ อยู่รอดได้ปีหน่ึง จงึ ทำ�พธิ ีขอขมา
ทไ่ี ดล้ ว่ งล�ำ้ กำ�้ เกินโดยรู้เทา่ ไม่ถึงการณ์ เชน่ เหยียบย่ำ� ถา่ ยของเสยี
ลอยกระทง 9
หรือทำ�สิ่งอื่นใดที่ไม่เหมาะสมเสียครั้งหนึ่ง ขณะเดียวกันก็ทำ�พิธี
บชู าพระคณุ ไปพรอ้ มกนั ดว้ ยการใชว้ สั ดทุ ล่ี อยน�ำ้ ไดใ้ สเ่ ครอ่ื งเซน่ ไหว้
ใหล้ อยไปกับนำ�้ อาทิ ตน้ กลว้ ย กระบอกไม้ไผ่ กะลามะพร้าว ฯลฯ
และช่วงเวลาที่เหมาะสมท่ีคนเราเรียนรู้จากประสบการณ์ธรรมชาติ
คือ ส้ินปีนักษัตรเก่า ข้ึนปีนักษัตรใหม่ ตามจันทรคติท่ีมีดวงจันทร์
เป็นศูนย์กลาง เพราะเป็นสิ่งที่มีอำ�นาจทำ�ให้เกิดน้ำ�ขึ้น น้ำ�ลง
ซงึ่ วันสน้ิ ปนี ักษัตรเกา่ ก็คือ วนั เพญ็ ขนึ้ ๑๕ ค�ำ่ กลางเดือน ๑๒
เพราะเป็นชว่ งทน่ี �้ำ ขึ้นสงู สดุ
10 ลอยกระทง
ลอยกระทง 11
และเม่ือพ้นไปจากนีก้ ็เร่ิมขึน้ ปนี กั ษตั รใหม่ เรยี กเดอื นอ้าย
แปลว่าเดือนหนง่ึ ตามค�ำ โบราณนบั หน่งึ สอง สาม ฯลฯ วา่ อ้าย
ย่ี สาม เป็นต้น และเม่ือเทียบช่วงเวลากับปฏิทินตามสุริยคติท่ีมี
ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางก็จะตกราวเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
ของทกุ ปี และหลังจากรบั ศาสนาพทุ ธ-พราหมณจ์ ากอนิ เดยี เม่ือราว
๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว ราชสำ�นักโบราณในสุวรรณภูมิก็ได้ปรับพิธีกรรม
“ผี” เพ่ือขอขมานำ้�และดินให้เข้ากับศาสนาที่รับเข้ามาใหม่ ทำ�ให้
ความหมายเดิมเปลย่ี นไป กลายเป็นการลอยกระทง เพอ่ื บชู า
พระพุทธเจ้าและเทวดา ซึ่งในส่วนนี้มีพยานหลักฐานเก่าสุด คือ
รูปสลักพิธีกรรมทางน้ำ� คล้ายลอยกระทงท่ีปราสาทหินบายนใน
นครธม ท�ำ ขึ้นราวหลัง พ.ศ. ๑๗๐๐ แตส่ ำ�หรบั ชมุ ชนชาวบ้านทว่ั ไป
ก็ยังเข้าใจเหมือนเดิม คือ ขอขมาแม่พระคงคาและแม่พระธรณี
ดังมีหลักฐานปรากฏอยู่ในเอกสารของลาลูแบร์ชาวฝรั่งเศสท่ีบันทึก
พิธีชาวบ้านในกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เอาไว้หลายตอน เช่น “ประชาชนพลเมืองจะแสดงความขอบคุณ
แมค่ งคาดว้ ยการตามประทปี โคมไฟขนาดใหญ่ (ในแมน่ �ำ้ ) อยหู่ ลายคนื ...
เราจะไดเ้ หน็ ทง้ั ล�ำ แมน่ �ำ้ เตม็ ไปดว้ ยดวงประทปี ลอยน�้ำ ......” เปน็ ตน้
12 ลอยกระทง
วตั ถปุ ระสงคข์ องการลอยกระทง
วตั ถปุ ระสงคข์ องการลอยกระทงคอ่ นขา้ งมคี วามหลากหลาย
ข้นึ กบั ประเพณี และความเชือ่ ของแต่ละทอ้ งถ่ิน ซึง่ พอสรปุ ได้ ดงั น้ี
๑. เพื่อบูชาพระพทุ ธเจา้ ในวนั เสด็จกลบั จากเทวโลก
เม่อื ครั้งเสดจ็ ไป จำ�พรรษาอย่บู นสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์
เพอื่ ทรงเทศนาอภิธรรมโปรดพทุ ธมารดา
๒. เพ่ือบูชาพระเกศแก้วจฬุ ามณี
บนสวรรค์ชั้นดาวดงึ ส์ ซง่ึ เป็นทีบ่ รรจุ
พระเกศาของพระพุทธเจา้
๓. เพ่ือบชู ารอยพระพุทธบาท
ทีป่ ระทับรอยพระบาท ประดษิ ฐาน
ไว้บนหาดทรายริมฝ่ัง
แม่น้ำ�นัมมทานที
ในอนิ เดีย
ลอยกระทง 13
14 ลอยกระทง
๔. เพื่อบูชาพระอุปคุตเถระ ที่บำ�เพ็ญบริกรรมคาถาใน
ท้องทะเลลึกหรือสะดือทะเลซึ่งตำ�นานเล่าว่าเป็นพระเถระที่มี
อทิ ธฤิ ทธ์ิมาก สามารถปราบพญามารได้
๕. เพื่อบชู าท้าวพกาพรหมบนสวรรคช์ ั้นพรหมโลก
๖. เพื่อแสดงความขอบคุณพระแม่คงคาซึ่งเป็นแหล่งน้ำ�
ให้มนุษยไ์ ด้ใชป้ ระโยชน์ตา่ งๆ
๗. เพือ่ ขอขมาต่อพระแม่คงคาท่มี นุษย์ไดท้ ิ้งสง่ิ ปฏกิ ลู ลงไป
๘. เพือ่ ระลึกถึงพระคณุ ของบรรพบุรษุ ทีล่ ่วงลับไปแลว้
๙. เพอื่ สะเดาะเคราะหห์ รอื ลอยทุกข์โศกโรคภยั ต่าง ๆ คลา้ ย
พิธลี อยบาปของพราหมณ์
๑๐. เพื่ออธษิ ฐานขอสง่ิ ท่ีปรารถนา
ลอยกระทง 15
เกย่ี วตกำ�ับนปารนะเแพลณะนลี อิทยากนระทง
มีนิทานและตำ�นานท่ีเก่ียวข้องกับประเพณีลอยกระทง
หลายเร่อื งดังจะขอยกตวั อย่าง ดังนี้
เรื่องแรก ว่ากันว่าการลอยกระทง มีต้นกำ�เนิดมาจาก
ศาสนาพทุ ธนน่ั เอง กล่าวคอื ก่อนท่พี ระพทุ ธองคจ์ ะตรัสรูเ้ ป็นสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ประทับอยู่ใต้ต้นโพธิ์ ใกล้แม่นำ้�เนรัญชรา
กาลวันหนึ่ง นางสุชาดาอุบาสิกาได้ให้สาวใช้นำ�ข้าวมธุปายาส
(ข้าวกวน/หงุ ดว้ ยน�้ำ ผ้ึงหรือน�ำ้ อ้อย) ใส่ถาดทองไปถวาย
16 ลอยกระทง
เมอ่ื พระองค์เสวยหมดแล้ว กท็ รงตั้งสัตยาธษิ ฐานวา่ ถา้ หาก
วันใดจะสำ�เร็จเป็นพระพุทธเจ้า ก็ขอให้ถาดลอยทวนน้ำ� ด้วยแรง
สัตยาธิษฐานและบุญญาภินิหาร ถาดก็ลอยทวนน้ำ�ไปจนถึงสะดือ
ทะเล แล้วก็จมไปถูกขนดหางพญานาคผู้รักษาบาดาล พญานาค
ตืน่ ขนึ้ พอเห็นว่าเป็นอะไร ก็ประกาศกอ้ งวา่
บัดน้ไี ดม้ ีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอุบัติขึ้น
ในโลกอีกองค์แล้ว ครั้นแล้วเทพยดาทั้งหลาย
และพญานาคก็พากันไปเขา้ เฝ้าพระพุทธเจา้
และพญานาคกไ็ ดข้ อใหพ้ ระพทุ ธองค์
ประทบั รอยพระบาทไวบ้ นฝงั่ แมน่ ำ้�
เนรญั ชรา เพ่อื พวกเขาจะไดข้ น้ึ มา
ถวายสักการะได้ พระองค์ก็ทรง
ท�ำ ตาม สว่ นสาวใช้ก็น�ำ ความ
ไปบอกนางสุชาดา ครนั้ ถึงวนั นัน้
ของทุกปี นางสุชาดากจ็ ะน�ำ
เครื่องหอมและดอกไมใ้ สถ่ าด
ไปลอยนำ�้ เพ่อื ไปนมสั การรอย
พระพุทธบาทเป็นประจำ�เสมอมา
และต่อ ๆ มากไ็ ดก้ ลายเปน็
ประเพณลี อยกระทง
ตามท่ีเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน
ลอยกระทง 17
เรือ่ งทีส่ อง ตามตำ�ราพราหมณ์ คณาจารยก์ ล่าวว่า พธิ ีลอย
ประทีป หรือตามประทีปนี้ แต่เดิมเป็นพิธีทางศาสนาพราหมณ์
ทำ�ขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้าทั้งสามคือ พระอิศวร พระนารายณ์ และ
พระพรหม คกู่ บั ลอยกระทง กอ่ นจะลอยกต็ อ้ งมกี ารตามประทปี กอ่ น
ซึ่งตามคัมภีร์โบราณอินเดียเรียกว่า “ทีปาวลี” โดยกำ�หนด
ทางโหราศาสตร์ว่าเมื่อพระอาทิตย์ถึงราศีพิจิก และพระจันทร์อยู่
ราศีพฤษภเมื่อใด เมื่อนั้นเป็นเวลาตามประทีป และเมื่อบูชาไว้
ครบกำ�หนดวันแล้ว ก็เอาโคมไฟน้ันไปลอยน้ำ� ต่อมาชาวพุทธ
เห็นเป็นเร่ืองดี จึงแปลงเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทและการรับ
เสด็จพระพุทธเจ้า โดยมักถือเอาเดือน ๑๒ หรือเดือนยี่เป็ง
เป็นเกณฑ์ (ยีเ่ ปง็ คอื เดอื นสอง ตามการนบั ทางลา้ นนา ท่ีนับเดือน
ทางจนั ทรคติ เรว็ กวา่ ภาคกลาง ๒ เดอื น)
18 ลอยกระทง
เรอื่ งทสี่ าม เปน็ เรอื่ งของพมา่ เลา่ วา่ ครง้ั หนง่ึ ในสมยั พระเจา้
อโศกมหาราช ทรงมพี ระประสงค์จะสรา้ งเจดียใ์ หค้ รบ ๘๔,๐๐๐ องค์
แต่ถูกพระยามารคอยขัดขวาง พระองค์จึงไปขอให้พระอรหันต์
องคห์ น่งึ คอื พระอุปคุตช่วยเหลอื พระอปุ คตุ จึงไปขอรอ้ งพญานาค
เมอื งบาดาลใหช้ ว่ ย พญานาครบั ปากและปราบพระยามารจนส�ำ เรจ็
พระเจ้าอโศกมหาราชจึงสร้างเจดีย์ได้สำ�เร็จสมพระประสงค์ ตั้งแต่
นั้นมา เมื่อถงึ วนั เพญ็ เดอื น ๑๒ คนท้งั หลายกจ็ ะทำ�พธิ ีลอยกระทง
เพื่อบูชาคุณพญานาค เรื่องนี้ บางแห่งก็ว่า พญานาคก็คือ
พระอุปคุตที่อยู่ที่สะดือทะเล และมีอิทธิฤทธิ์มาก จึงปราบมารได้
และพระอปุ คตุ นเ้ี ปน็ ทน่ี บั ถอื ของชาวพมา่ และชาวพายพั ของไทยมาก
ลอยกระทง 19
เรื่องที่ส่ี เกิดจากความเชื่อแต่ครั้งโบราณในล้านนา
ว่าเกิดอหิวาต์ระบาดที่อาณาจักรหริภุญชัย ทำ�ให้คนล้มตายเป็น
จำ�นวนมาก พวกที่ไม่ตายจึงอพยพไปอยู่เมืองสะเทิมและหงสาวดี
เป็นเวลา ๖ ปี บางคนก็มีครอบครัวอยู่ที่นั่น ครั้นเมื่ออหิวาต์ได้สงบ
ลงแลว้ บางสว่ นจงึ อพยพกลบั และเมือ่ ถงึ วนั ครบรอบทีไ่ ดอ้ พยพไป
ก็ได้จัดธูปเทียนสักการะพร้อมเครื่องอุปโภคบริโภคดังกล่าวใส่
สะเพา (อา่ นวา่ “สะ-เปา หมายถงึ ส�ำ เภาหรอื กระทง) ล่องตามลำ�น้ำ�
เพอื่ ระลึกถงึ ญาตทิ ม่ี ีอยูใ่ นเมอื งหงสาวดี ซึง่ การลอยกระทงดงั กล่าว
20 ลอยกระทง
จะทำ�ในวันยี่เป็ง คือ เพ็ญเดือน ๑๒ เรียกกันว่า การลอยโขมด
แต่มิได้ทำ�ทั่วไปในล้านนา ส่วนใหญ่เทศกาลยี่เป็งน้ี ชาวล้านนา
จะมีพิธีตั้งธัมม์หลวง หรือการเทศน์คัมภีร์ขนาดยาวอย่างเทศน์
มหาชาติและมีการจุดประทีปโคมไฟอย่างกว้างขวางมากกว่า
(การลอยกระทง ที่ทางโบราณล้านนาเรียกว่า ลอยโขมด นี้ คำ�ว่า
“โขมด” อ่านว่า ขะ-โหฺมด เป็นชื่อผีป่า ชอบออกหากินกลางคืน
และมีไฟพะเหนียงเห็นเป็นระยะ ๆ คล้ายผีกระสือ ดังนั้น จึงเรียก
เอาตามลกั ษณะกระทงทจ่ี ดุ เทยี นลอยในน�ำ้ เหน็ เงาสะทอ้ นวบั ๆ แวม ๆ
คล้ายผโี ขมดว่า ลอยโขมด ดงั กล่าว)
ลอยกระทง 21
นางนพมาศ
คือใคร มาจากไหน มตี วั ตนจรงิ หรอื ไม่
และทำ�ไมกระทงจึงเปน็ รูปดอกบัว
22 ลอยกระทง
ในสมยั รชั กาลที่ ๓ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เปน็ ชว่ งทบ่ี า้ นเมอื ง
มน่ั คง การศกึ สงครามลดลงเกอื บหมด การคา้ กม็ ง่ั คง่ั ขน้ึ โดยเฉพาะ
กับจีน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้ฟื้นฟู
ประเพณีพิธีกรรมสำ�คัญเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของราชอาณาจักร
และด้วยความจำ�เป็นในด้านอื่น ๆ อีก จึงได้ทรงพระราชนิพนธ์
หนังสอื ตำ�ราทา้ วศรีจฬุ าลักษณ์ หรือ นางนพมาศ ขนึ้ มา โดย
สมมุติให้ฉากของเรื่องเกิดขึ้นในยุคพระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย ซ่ึงตำ�รา
ดังกล่าวได้พูดถึงนางนพมาศว่าเป็นพระสนมเอกของพระร่วง ที่ได้
คิดประดิษฐ์กระทงใบตองเป็นรูปดอกบัวกมุทขึ้น ด้วยเห็นว่าเป็น
ดอกบัวพิเศษที่บานในเวลากลางคืนเพียงปีละครั้ง สมควรทำ�เป็น
กระทงแตง่ ประทปี ลอยไปถวายสักการะรอยพระพทุ ธบาท ซง่ึ เมือ่
พระรว่ งเจา้ ไดท้ อดพระเนตรเหน็ กร็ บั สง่ั ถามถงึ ความหมาย นางกไ็ ด้
ทลู อธบิ ายจนเป็นทีพ่ อพระราชหฤทัย พระองคจ์ ึงมพี ระราชด�ำ รสั วา่
“แต่นี้สืบไปเบื้องหน้าโดยลำ�ดับ กษัตริย์ในสยามประเทศ
ถงึ กาลก�ำ หนดนกั ขตั ฤกษ์ วนั เพญ็ เดอื น ๑๒ ใหท้ �ำ โคมลอยเปน็
รปู ดอกบวั อทุ ศิ สกั การบชู าพระพทุ ธบาทนมั มทานที ตราบเทา่
กัลปาวสาน” ด้วยเหตุนี้ จึงเกิด กระทง ทำ�ด้วยใบตองแทน
วัสดุอื่น ๆ แล้วนิยมใช้ลอยกระทงมาแต่คราวนั้นตราบจนทุกวันนี้
รวมถึงการทำ�กระทงเป็นรูปดอกบัว ซึ่งตำ�ราท้าวศรีจุฬาลักษณ์
หรือนางนพมาศนี้ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพทรงเชื่อว่าเป็น
พระราชนพิ นธ์ของพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว
ลอยกระทง 23
เน่ืองจากสำ�นวนโวหารมีลักษณะร่วมกับวรรณกรรม
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ อีกท้ังยังมีข้อความหลายตอนท่ีแสดง
ใหเ้ หน็ วา่ แตง่ สมยั กรงุ สโุ ขทยั ไมไ่ ด้ เชน่ การอา้ งถงึ อเมรกิ นั ปนื ใหญ่
เป็นต้น ดงั นนั้ นางนพมาศจึงเปน็ เพียง “นางในวรรณคดี” มไิ ด้
มีตัวตนอยู่จริง
นอกจากนี้ ในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยและเอกสารร่วมสมัย
ก็ไม่มีปรากฏชื่อ “ลอยกระทง” แม้แต่ในศิลาจารึกของพ่อขุนราม
คำ�แหงกม็ ีแตช่ ื่อ “เผาเทยี น เล่นไฟ” ที่มีความหมายอยา่ งกวา้ ง ๆ
วา่ การทำ�บุญไหว้พระ โดยไม่มีคำ�ว่า “ลอยกระทง” อยู่ในศิลาจารึก
นี้เลย ส่วนเอกสารและวรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยาสมัยแรก ๆ ก็มี
แต่ชื่อ ชักโคม ลอยโคม แขวนโคม และลดชุดลอยโคมลงน้ำ�
ในพิธีพราหมณ์ของราชสำ�นักเท่านั้น และแม้แต่
ในสมัยกรุงธนบุรีก็ไม่มีชื่อนี้ จนถึงยุคต้น
กรุงรัตนโกสินทร์จึงมีปรากฏชัดเจน
ในพระราชพงศาวดารแผ่นดิน
รชั กาลท่ี ๓ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์
และเรอื่ งนางนพมาศ พระราชนพิ นธ์
รัชกาลที่ ๓ ซ่งึ กห็ มายความวา่
ค�ำ วา่ “ลอยกระทง” เพง่ิ ปรากฏ
ในตน้ กรุงรัตนโกสินทรน์ ี้เอง
24 ลอยกระทง
คุณค่าของประเพณีลอยกระทง
การทป่ี ระเพณลี อยกระทงยังคงมี
ความสำ�คัญและดำ�รงต่อเนื่องมาถึงทุกวันนี้
และได้กลายเป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่ง
ของไทยไปแล้วนั้น เชื่อว่าคงเป็นเพราะ
ประเพณีลอยกระทงยังมีคณุ คา่
ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่
ครอบครวั ชมุ ชน
สงั คมและศาสนา
กลา่ วคอื
ลอยกระทง 25
คุณค่าต่อครอบครัว ทำ�ให้สมาชิกในครอบครัวได้มีโอกาส
ทำ�กิจกรรมด้วยกัน เช่น ร่วมกันประดิษฐ์กระทงไปลอย อีกทั้ง
ได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อน้ำ�ที่ให้คุณประโยชน์แก่เรา
ในดา้ นตา่ ง ๆ หรอื บางทอ้ งถน่ิ กเ็ ปน็ การแสดงความระลกึ ถงึ บรรพบรุ ษุ
ผู้ล่วงลับ
26 ลอยกระทง
คุณค่าต่อชุมชน ทำ�ให้เกิดความรัก ความสมัครสมาน
สามัคคีในชุมชน เช่น ช่วยกันประดิษฐ์กระทงไปประกวด อันเป็น
การชว่ ยสง่ เสริมการช่างผมี ือท้องถิ่นทางออ้ ม หรอื ทำ�ให้ไดม้ ีโอกาส
พบปะสงั สรรค์ และสนกุ สนานรว่ มกัน
ลอยกระทง 27
คุณค่าต่อศาสนา ได้ช่วยกันทำ�นุบำ�รุงศาสนา เช่น ทาง
ภาคเหนอื ทมี่ กี ารท�ำ บญุ ใหท้ าน การถอื ศลี ทว่ี ดั หรอื การลอยกระทง
เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทก็นำ�มาซ่ึงการน้อมรำ�ลึกถึงพระธรรม
คำ�สงั่ สอนของพระพทุ ธเจ้า
28 ลอยกระทง
คุณค่าต่อสังคม ทำ�ให้มีความเอื้ออาทรต่อสิ่งแวดล้อม
ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของแม่น้ำ�ลำ�คลองที่ได้ใช้สอย และ
อำ�นวยประโยชน์ต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยอาจจะช่วยกัน
ขุดลอกคูคลองใหส้ ะอาด ไมท่ ิ้งสง่ิ ปฏิกูลลงไป
ลอยกระทง 29
สาระของประเพณลี อยกระทง
กตญั ญรู ู้คุณ : ความหมายทีด่ งี ามของประเพณลี อยกระทง
ความกตัญญูเป็นค่านิยมสำ�คัญท่ีคนไทยทุกกลุ่มยึดถือ
คนไทยโบราณ เชอ่ื วา่ การลอยกระทงเปน็ การขอขมาน�้ำ หรอื แมค่ งคา
ซงึ่ หลอ่ เลยี้ งชวี ติ และอ�ำ นวยประโยชนต์ า่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ น�ำ้ ส�ำ หรบั
อุปโภค บริโภค หรือนำ้�ท่ีหล่อเลี้ยงพืชพันธุ์ธัญญาหาร ด้วยความ
สำ�นึกในบุญคุณของนำ้�จึงได้กำ�หนดวันเพ่ือแสดงความกตัญญูข้ึน
ปีละคร้ัง
นอกจากนค้ี นไทยบางกลมุ่ ยงั มคี วามเชอ่ื ทตี่ า่ งกนั ออกไป เชน่
เชื่อว่าการลอยกระทง เป็นการแสดงความกตัญญูต่อพระพุทธเจ้า
บางกลมุ่ เชอ่ื วา่ เปน็ การลอยเพอ่ื บชู าบรรพบรุ ษุ แตไ่ มว่ า่ แตล่ ะกลมุ่ จะ
มีความเชอื่ เชน่ ไร ความหมายรวมของประเพณนี ีก้ ค็ อื ความกตัญญู
ซ่งึ เปน็ คณุ ธรรมท่เี ป็นคณุ ลกั ษณะเฉพาะของคนไทยโดยแท้
30 ลอยกระทง
กิจกรรมที่พึงปฏบิ ตั ิ
๑. รว่ มกันทำ�ความสะอาดแมน่ �ำ้ ลำ�คลอง
ท้งั กอ่ นและหลงั งานลอยกระทงเพอ่ื อนรุ กั ษแ์ มน่ �ำ้
ใหใ้ สสะอาดเปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม
๒. สรา้ งกุศล
ด้วยการทำ�บญุ
ทำ�ทาน หรอื
ปฏิบตั ธิ รรม
ตามสมควร
ลอยกระทง 31
๓. ประดิษฐ์กระทง
ดว้ ยวสั ดุในทอ้ งถิ่น
หรอื วัสดุทไี่ มท่ ำ�ลาย
สง่ิ แวดล้อม
๔. จัดกิจกรรม การละเล่น หรือการแสดง
ตามประเพณที อ้ งถน่ิ เพื่อใหอ้ นุชนรนุ่ หลงั ได้เรยี นรู้
และภาคภูมิใจในวฒั นธรรมของตน
32 ลอยกระทง
๕. ไม่ควรเล่นพลุ ดอกไมเ้ พลงิ
หรือวสั ดทุ จี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ อันตราย
ในทีส่ าธารณะหรอื ชมุ ชน
๖. ไม่เมาสุราอาละวาด
หรอื ทะเลาะวิวาทกบั ผูอ้ ื่น
โดยเฉพาะเมาไม่ขบั
ลอยกระทง 33
นำ้�คอื ชีวิต : อีกหน่ึงคณุ คา่ ของ
ประเพณีลอยกระทงท่ีควรสืบสาน
ไมว่ า่ ประเพณลี อยกระทงจะมปี ระวตั ทิ ม่ี ายาวนานอยา่ งไร มกี ารแตกแขนง
ทางความคดิ ออกไปอยา่ งไร แตส่ ง่ิ ส�ำ คญั ทส่ี ดุ ของประเพณนี ก้ี ค็ อื “น�ำ้ ” เรายงั คงจะ
ต้องใช้นำ้�ไนการประกอบพิธีดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นนำ้�ในแม่นำ้� คู คลอง หรือ
สระน�ำ้ ในโรงแรม ในสวนสาธารณะตา่ งมคี วามส�ำ คญั ทง้ั สน้ิ เพราะมนษุ ยแ์ ละสตั ว์
ล้วนต้องใช้นำ้�ในชีวิตประจำ�วันไม่สามารถขาดได้ นำ้�จึงคือชีวิต ดังท่ีพระบาท
สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระราชดำ�รัสไว้เม่อื
วนั ท่ี ๑๗ มนี าคม ๒๕๒๙ ณ พระต�ำ หนกั จติ รลดารโหฐาน วา่ “...หลกั ส�ำ คญั วา่
ตอ้ งมนี �ำ้ บรโิ ภค น�ำ้ ใช้ น�ำ้ เพอ่ื การเพาะปลกู เพราะวา่ ชวี ติ อยทู่ น่ี น้ั ถา้ มนี �ำ้
คนอยไู่ ด้ ถา้ ไมม่ นี �ำ้ คนอยไู่ มไ่ ด้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยไู่ ด้ แตถ่ า้ ไมม่ ไี ฟฟา้ ไมม่ นี �ำ้
คนอยไู่ มไ่ ด.้ ..”
เราจงึ ควรรว่ มมอื รว่ มใจกนั รณรงคร์ กั ษาความสะอาดของแมน่ �ำ้ ล�ำ คลอง
แหล่งนำ�้ ในชุมชน ตลอดจนแหล่งนำ�้ ตามธรรมชาติทว่ั ๆ ไป เปน็ การแต่งตวั ให้
แม่นำ�้ และแต่งตัวให้ชุมชนด้วยความรักและความกตัญญู เพ่อื ต้อนรับเทศกาล
“ลอยกระทง” เทศกาลแหง่ ความรน่ื เรงิ ในคนื วนั จนั ทรง์ ามทส่ี ดุ ในรอบปี ซง่ึ จะท�ำ ให้
ประเพณลี อยกระทงยงั คงไวซ้ ง่ึ สาระคณุ คา่ และงดงามควรแกก่ ารสบื สานตอ่ ไป
34 ลอยกระทง
บทสรุป
ดว้ ยประวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาอนั ยาวนานของประเพณลี อยกระทงยอ่ ม
เป็นส่งิ แสดงให้เห็นว่าประเพณีน้มี ีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวไทยมาต้งั แต่
อดตี จวบจนกระทง่ั ถงึ ปจั จบุ นั ทกุ วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ ค�ำ่ เดอื น ๑๒ อนั เปน็ ชว่ งเวลา
ทพ่ี ระจนั ทรเ์ ตม็ ดวงทอแสงนวลอยเู่ หนอื ล�ำ น�ำ้ และขณะเดยี วกนั ณ รมิ ฝง่ั น�ำ้ เรา
จะได้เห็นภาพของประชาชนต่างพากันต้ังจิตอธิษฐานเพ่ือขอส่ิงท่ีมุ่งหวัง และ
ขอขมาแม่นำ้�ท่ีหล่อเล้ียงชีวิตมาตลอดท้ังปีไปกับกระทงท่ีประดิษฐ์ข้ึนด้วย
ความงดงาม เม่ือแสงเทียนจากกระทงนับร้อยนับพันใบลอยกระทบผิวนำ้�
เหมือนจะแข่งความสว่างไสวกับแสงจันทร์วันเพ็ญ ได้ทำ�ให้ความสวยงามของ
ค�ำ่ คนื แหง่ ประเพณลี อยกระทงเปน็ ทโ่ี จษจนั ไปทว่ั โลก และดงึ ดดู ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี ว
มารว่ มชน่ื ชมและสมั ผสั กบั วฒั นธรรมประเพณอี นั งดงามของไทย เราคนไทยจงึ มไิ ด้
เป็นเพียงผ้ตู ้อนรับนักท่องเท่ยี วแต่หากคือผ้ทู ่จี ะธำ�รงรักษาสาระคุณค่าท่แี ท้จริง
ของประเพณลี อยกระทง ประเพณที แ่ี สดงถงึ ความกตญั ญตู อ่ สายน�ำ้ ใหค้ งอยสู่ บื ไป
ลอยกระทง 35
36 ลอยกระทง
ลอยกระทง 37
38 ลอยกระทง
ลอยกระทง 39
คณะผ้จู ัดท�ำ
ที่ปรกึ ษา อธบิ ดกี รมส่งเสรมิ วฒั นธรรม
รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม
นางพมิ พ์รว ี วัฒนวรางกูร รองอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม
นายประดษิ ฐ ์ โปซิว ทีป่ รกึ ษาโครงการ
นายสมเกยี รต ิ พันธรรม
นางอรุณี คงเสร ี
คณะทำ�งาน นักวิชาการวัฒนธรรมชำ�นาญการพิเศษ
นักวิชาการวัฒนธรรมช�ำ นาญการพิเศษ
นางสาวปราณิสา เตียวพิพิธพร นักวชิ าการวฒั นธรรมช�ำ นาญการพิเศษ
นางสลกั จิตร ศรชี ัย นกั วชิ าการวัฒนธรรมชำ�นาญการ
นายสชุ าต ิ คณานนท์ นักวชิ าการวัฒนธรรมชำ�นาญการ
นางชลิตา รตั นวานชิ นักวชิ าการวัฒนธรรมชำ�นาญการ
นายสิระ ภาสอาจ นักวชิ าการวฒั นธรรมปฏิบัตกิ าร
นางสาวภธิตา เหมทานนท์ นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัตกิ าร
นางสาวพนิ ท์ปภา พันธ์ุพรหม นกั วิชาการวัฒนธรรม
นางสาวอัญญณัฐ ภกู ระทาน นกั วิชาการวฒั นธรรม
นางสาวรัฐพร พวงบปุ ผา นักวชิ าการวัฒนธรรม
นายวนพล หล่อมณีสุวรรณ
นางสาวนภัสวรรณ์ มณฑา
ภาพประกอบ
นายโอม รชั เวทย์
นายสละ นาคบ�ำ รุง
นายมนสั หัสดำ�
ขอขอบคณุ
กลุ่มประชาสมั พนั ธ์ ส�ำ นักงานเลขานุการกรม
การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย (สนับสนนุ ภาพ)
ผูส้ นับสนุนข้อมูลทุกท่าน
40 ลอยกระทง
LOY KRATHONG
TRADITION
Message
Thai people observe Loy Krathong festival during the time when there
is a high water level over the country, on the full moon night of the 12th lunar
month. As the most fascinating water-based cultural event reflecting local
wisdom, way of living and refined culture, it represents a good image of Thailand.
Loy Krathong festival is a time to show the true artistic value of rituals,
costume, arranging flowers, fine arts, folk dance, folk theatre and other festive
entertainments including light decoration. As a matter of fact, Loy Krathong
celebrations are laden with value. It promotes solidarity and cooperation among
community members as seen in the merry making activities. These include
contest of various kinds: Krathong designs, Nang Noppamas, and the cooperative
effort to organize such a good old local tradition into a broader concept of
nationwide annual celebration of Loy Krathong festival.
The Ministry of Culture has developed cultural policy directed at the
promotion of Loy Krathong festival as a local cultural asset to gain increased
revenue, fame and cultural identity at the national level, the ASEAN level and
the global level.
On behalf of the Ministry of Culture, I am pleased that the Department
of Cultural Promotion has published the book of Loy Krathong festival as a
means of developing a deeper understanding of the intrinsic value, the meaning
and the legendary account of Loy Krathong festival. This is the real achievement
for public awareness of preserving Thai cultural heritage and promoting it to
be enlisted as the world cultural heritage.
(Vira Rojpojchanarat)
Minister of Culture
Message
Loy Krathong is currently one of the most favoured festivels of Thailand
among the Thais and foreign visitors. It is celebrated all over the country both
in the cities and in the most remote rural hamlets in its true spirit of merriment
which has made it more popular than ever.
Loy Krathong plays the role of transmitting Thai custom and tradition to
the young generation. All the children and youth should appreciate traditional
Thai values and choose what they consider the best way to uphold and maintain
Loy Krathong festival as the Thai cultural heritage.
The Department of Cultural Promotion deems it necessary to publish
a booklet on Loy Krathong tradition: “Preserve Water and Conserve Culture”
It points out the true value as shown in the spirit of Thai cultural and environmental
awareness. It reflects the gratitude the Thais pay to water as a precious resource
of life in an agricultural society. It is hoped that this book in both the English
language and in the Thai language will promote good understanding of Loy
Krathong tradition, which should be continually preserved and promoted.
(Kitsayapong Siri)
Permanent Secretary for Culture
Ministry of Culture
Preface
Loy Krathong is a significant ancient tradition of Thailand which takes
place on the full moon evening of the 12th lunar month when the rivers reach the
highest level. The origin of this tradition derives from ceremony in connection
with “water” which is an essential factor of Thai people. Even though the
objectives or the beliefs of Loy Krathong may differ but a common meaning
of this tradition is the expression of “gratitude” to the value of water which
reflects elegant Thai culture.
At present, Loy Krathong tradition has been modified in some manners
from past practices while Thai people give decreasingly significance this
tradition’s meaning, value, substance and desirable practice.
The Department of Culture Promotion has therefore published the
booklet on Loy Krathong Tradition : “Preserve Water and Conserve Culture”
in order to disseminate the meaning, value, substance, practice and knowledge
on the local Loy Krathong Tradition in the four regions of Thailand. In addition,
this publication also provides the guidance for the correct practices of the
tradition in both Thai and English version. Moreoevr, government, public and
local sectors can apply this proper practices in order to inherit Loy Krathong
festival as joyful tradition on full moon of the 12th lunar month. Hopefully, this
booklet gather proper guidance and correct understanding of Loy Krathong
Tradition.
(Pimravee Watthanavarangkul)
Director-General
Department of Cultural Promotion
Loy Krathong Tradition
Loy Krathong Tradition is a ceremony to honor the
Goddess of the river. In Thailand, it is annually held on
full moon day in November. Krathongs are small vessels
or cups often made of cut banana stems, leaf and contain
flowers, candles and joss sticks. They are released in the
rivers and left to float downstream. Upon releasing the
Krathongs, people ask for forgiveness to the Goddess of
the river for polluting her. It is one of the religious customs
in Thailand. During this period, at the end of the rain season,
most areas around rivers and canals are flooded. This occurrence
sparked an old Thai saying; in the 11th lunar month there
is flooding and in the 12th lunar month the (stagnant) flood
waters are retreating. This period is a time for rejoicing
as the weather is changing for the better. The rain
season is more or less over and the winter or cool
season is beginning. The moon is also at
its brightest this time of the year.
At present, Loy Krathong Tradition
is a major celebration in Thailand.
Loy Krathong ๕
Objectives
The objectives are various depending on different
customs and beliefs.
1. To pay homage to the Lord Buddha’s descent from
the second heaven (where Indra dwells) after staying in a
Buddhist monastery during the Buddhist lent in order to
preach a sermon to his royal mother.
2. To pay homage to the heavenly Pagoda containing
the Lord Buddha’s top knot cut off at his self-ordination.
3. To pay homage to the Lord Buddha’s foot print on
the bank of the Nammatha River in India.
4. To pay tribute to the senior disciple Upakut, who
found his recluse in the ocean (a belief inherited from
Myanmar; the priest had supernatural powers in conquering
the God of Evil).
5. To pay homage to God Phaka Prom living in the
third heaven.
6. To thank the Goddess Mae Khongkha, the Mother
of Water, which a source of water for human use.
7. To worship the Goddess Mae Khongkha, the Mother
of Water, asking for forgiveness for polluting her.
๖ Loy Krathong
8. To remind the benevolence of ancestors
9. To float one’s sufferings away, this practice is
similar to the Sin Floating Rite of Brahmin.
10. To ask for blessing.
Upakut
Loy Krathong ๗
Loy Krathong Tradition:
Expression of Gratitude
Thai people express their gratitude to the Goddess of
Water for nourishing their lives by celebrating Loy Krathong.
However, depending on beliefs, Loy Krathong is also
cerebrated to express gratitude to the Lord Buddha or paying
homage to ancestors. To make a long story short one can
say Loy Krathong Tradition is about expressing gratitude.
๘ Loy Krathong
Values of
Loy Krathong Tradition
1. Family Value : relationships between family
members are tightened as family members are celebrating
together.
2. Community Value : communities are more
harmonious by joining in the Loy Krathong activities.
3. Religious Value : Buddhist practices such as
merit making, practicing dharma and sermons are essential
parts of Loy Krathong celebration; therefore, they
contribute to strengthen religious beliefs.
4. Social Value : raising awareness in water
resources conservation.
Loy Krathong ๙