The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

PLC เรื่องสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ครูประเสริฐศรี สุทธิพันธ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

PLC เรื่องสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ครูประเสริฐศรี สุทธิพันธ์

PLC เรื่องสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ครูประเสริฐศรี สุทธิพันธ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Keywords: PCL

รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนร้ดู ้วยกระบวนการ
ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)

ช่ือกลุ่ม ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ

๑. ชอื่ -นามสกุล (Model teacher) นางประเสริฐศรี สุทธิพันธ์
๒. สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั การอาชีพนวมนิ ทราชินมี ุกดาหาร สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ
ประเดน็ ปญั หาทเี่ ลือกนามาเป็นเป้าหมาย การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพสือ่ การจดั การเรยี นรอู้ อนไลน์
รหัสวชิ า 30204-2001 วชิ าพ้นื ฐานธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั (Business Digital Basic)

เรยี น ผอู้ านวยการ ผ่านหัวหน้างานบคุ ลากร, รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
เพ่ือโปรดพิจารณา
๑) รบั ทราบ
๒) ใหค้ วามเหน็ ข้อเสนอแนะ
๓) อนุญาตให้เผยแพร่รายงาน

ลงชอื่ ………………………………… ลงชอ่ื ………….…………………
(นางประเสริฐศรี สทุ ธิพันธ์) (นางสดุ ารัตน์ วงศ์คาพา)
ครูผ้รู ายงาน
หัวหน้าสาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ
เรียนเสนอ. รองผ้อู านวยการฝา่ ยบรหิ ารทรัพยากร

ลงชอื่ …………………………………
(นางชญาภา ขาคม)
หวั หน้างานบคุ ลากร

เรียนเสนอ. ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั การอาชพี นวมินทราชนิ ีมกุ ดาหาร
............................................................................................................................. ......

……………………………………
(นายพลู ศักดิ์ ศรีวรมย)์
รองผู้อานวยการฝา่ ยฝ่ายบริหารทรัพยากร

คาส่งั ผอู้ านวยการสถานศึกษา
 อนญุ าตเผยแพร่  ไม่อนุญาต เพราะ................................................................................

………………………………………
(นายวชิ า อาญาเมือง)

ผ้อู านวยการวทิ ยาลยั การอาชีพนวมนิ ทราชนิ มี ุกดาหาร



คานา

รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC) ชุดน้ี ใช้เป็นส่วนหน่ึงของการจัดการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการ
รวมตัวกันเป็นกลุ่มของครู เพ่ือเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ตามแนวทางชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนให้มีความรู้
มีทักษะ และการประยุกต์ใช้ท่ีเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และเป็น
ไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
โดยหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาแหน่งครู มีวิทยฐานะและ
เลื่อนวิทยฐานะ ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๓/ว๒๑ ลงวันท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐
ได้กาหนดให้ครูที่ต้องการมีและเลื่อนวิทยฐานะในชั่วโมงปฏิบัติงานต้องมีชั่วโมงการมีร่วมส่วนในชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในแต่ละปีไม่นอ้ ยกวา่ ๕๐ ชั่วโมง

จึงหวงั เปน็ อย่างย่ิงว่ารายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการชุมชน

การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ซ่ึงเป็นรายงานการสร้างและ

หาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล
(Business Digital Basic) ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดการเรียนรู้ ที่จะใช้เป็นแนวทาง
ในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้มีความรู้ ทักษะฝีมือมีความสามารถ มีประสบการณ์ในงานอาชีพตาม
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ระดับการศึกษา และบรรลุจุดประสงค์และสมรรถนะของที่หลักสูตร
รายวิชาท่กี าหนด

นางประเสริฐศรี สุทธพิ ันธ์



สารบญั

หน้า

ความคิดเหน็ ของผูเ้ กยี่ วขอ้ ง............................................................................................................. ๑

คานา................................................................................................................................................ ๒

สารบญั ............................................................................................................................................. ๓

ช่อื เรื่อง............................................................................................................................................. ๔

ความเปน็ มา และความสาคัญของปญั หา......................................................................................... ๔

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ....................................................................................................................... ๔

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ.............................................................................................................................. 6

กลุม่ เป้าหมาย................................................................................................................................... 6

นวัตกรรม..................................................................................................................... .................... 6

ระยะเวลาดาเนนิ งาน........................................................................................................................ 6

วิธีดาเนนิ งานดว้ ยกระบวนการชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC)……………......……....………………. 7

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล...................................................................................................................... 7

สรปุ ผลการดาเนินงาน...................................................................................................................... 8

บรรณานุกรม............................................................................................................................. ....... 10

ภาคผนวก................................................................................................. ........................................

ภาคผนวก ก. แผนปฏิบัตกิ ารชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) 11

ภาคผนวก ข. ส่อื การจดั การเรยี นรู้ออนไลน์ รหสั วิชา 30204-2001 วิชาพนื้ ฐานธรุ กิจดิจิทัล 14

(Business Digital Basic)

ภาคผนวก ค. เอกสารการเผยแพร่ / หนังสอื ตอบรับ 20

ภาคผนวก จ. ผลการวัดผลและประเมนิ ผล 21



รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนร้ดู ้วยกระบวนการ
ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)

ช่ือเรื่อง “การสร้างและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001

วชิ าพนื้ ฐานธรุ กจิ ดจิ ิทัล (Business Digital Basic)”

ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา

การเตรยี มความพรอมใหกับผูเรยี นในการศึกษายุคศตวรรษที่ 21 สูการเปนพลเมืองที่ดี ควรมีทั้ง
ทักษะดานความรู ทักษะดานอารมณ และคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีจาเปนครอบคลุม 3 มิติ ไดแก
1) ทักษะในการดารงชีวิต เชน การอานเขียน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร การเงิน วัฒนธรรม 2) ความสามารถในการแกปญหาที่ซับซอน เชน การคิดเชิงวิพากษ การคิด
วิจารณญาณ ความคิด สรางสรรค การส่ือสารและการทางานเปนทีม และ 3) บุคลิกภาพท่ีมีคุณภาพ
เชน การมีจิตอาสา ความเปนผูนา ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม การปรับตัว ความใฝรู ความคิดริเร่ิม
(World Economic Forum, 2016; วิจารณ พานิช, 2555) การเตรียมความพรอมใหกับผูเรียน
ในการศึกษายคุ ศตวรรษท่ี 21 ดังกลาวสวนหนึง่ เปนหนาทขี่ องสถานศึกษา และผูสอน

ผลสารวจเด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรท่ีเปล่ียนแปลงจากการศึกษาไทย เพื่อสะท อน
มุมมองและทัศนคติของเด็กและเยาวชนที่มีตอระบบการเรียนการสอนของประเทศไทยในปจจุบัน จากเด็ก
และเยาวชนอายุ 14-18 ป พบวา รอยละ 54.8 ระบุเด็กไทยไมไดเรียนในส่ิงท่ีอยากเรียน คาถามลาดับ
แรกท่ีเด็กอยากจะถามผูสอนมากท่ีสุดเปนคาถามเก่ียวกับวิธีการสอนของผูสอน รอยละ 25.0 เชน ทาไม
ผูสอนไมหาวิธีการสอนท่ีสนุกและไมนาเบ่ือ ทาไมเวลาสอนตองอานตามหนังสือ ผูสอนมาสอนหนังสือหรือ
มาอานหนังสือใหผูเรียนฟง และทาไมสอนในหองเรียนไมรูเร่ืองแตสอนพิเศษรูเร่ือง โดยเด็กและเยาวชน
มากกวา 2 ใน 3 อยากใหเปล่ียนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนของระบบการศึกษาในปจจุบัน เพราะ
หลักสูตรการสอนเนนเนื้อหาทฤษฎีมากกวาการนาไปประยุกตใชในชีวิตประจาวัน สงผลใหเม่ือพิจารณา
ความสุขตอรูปแบบการเรยี นการสอนตามระบบการศึกษาในปจจุบัน พบวาเด็กและเยาวชนมีความสุขเฉลี่ย
เทากับ 5.78 จากคะแนนเต็ม 10 (สานกั งานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพเยาวชน, 2557)

ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ บุคคลในสังคมที่กาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หลักสูตรระยะส้ันและหลักสูตรนอกระบบอ่ืน และปริญญาตรี
สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ในประเภทวิชาเกษตรกรรม คหกรรม เทคโนโลยีสาร สนเทศและ
การส่ือสาร ประมง พณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ ศิลปกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมท องเที่ยว และ
อุตสาหกรรมส่ิงทอ จานวนทั้งสิ้น 1,761,767 คน ท่ีศึกษาอยู ในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท้ังสถานศึกษารัฐบาลและสถานศึกษาภาคเอกชน รวม 911 แห ง
(สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2561) ผูเรียนอาชีวศึกษาเหลาน้ีมีหนาท่ีในการศึกษาเลาเรียน
ทากจิ กรรมที่เก่ยี วของกบั การเรียน และใชชวี ติ อยูในสงั คม เพอื่ น และอาจารย ในสถานศึกษา หลายคนตอง
เดนิ ทางไปเรียนและใชชีวิตอยูตางถิ่น หางไกลจากภูมิลาเนาเดิม ผูเรียนเหลาน้ีมีความปรารถนาท่ีจะสาเร็จ
การศึกษา และทางานเลี้ยงดูตนเองและครอบครัวใหมีความสุข และปราถนาใหการดาเนินชีวิตของการ
เปนผูเรียนอาชีวศึกษาเปนไปอยางมีความสุข เนื่องจากการไดหลุดพนจากกรอบและขอบังคับของการเปน
ผูเรียนระดับมัธยมศึกษา ผูเรียนอาชีวศึกษาคาดหวังวาการใชชีวิตในสถานศึกษาอาชีวศึกษาจะทาใหมี
ความสุขโดยเฉพาะความสุขที่ได รับจากกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นระหว างการจัดการเรียนการสอนนอกและใน
ช้ันเรียน ที่ผูเรียนอาชีวศึกษาอาจคาดหวังวาจะสงผลใหเรียนรูอยางมีความสุข และมีความสุขท่ีจะเรียนรู



มากขึ้นกวาการเปนนักเรียนสอดคลองกับจิราภรณ สรรพวีรวงศ และคณะ (2559) ที่กลาววาความสุข
เปนสวนหนึ่งของการใชชีวิตในสถานศึกษาของผูเรียน เปนชวงวัยท่ีมีการปรับตัวอย างมากกับการ
เปลี่ยนแปลงดานตางๆ เชน การอยูในสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรียนท่ีแตกตางไปจากระดับ
มัธยมศึกษา ซ่ึงสงผลตอการใชชีวิต การทากิจกรรมและการเขาสังคม การอยูรวมกับเพ่ือนผูเรียนคนอ่ืนๆ
ที่มาจากตางถ่ินและมีพื้นฐานการเลี้ยงดู ความคิด และพฤติกรรมหลากหลายแตกตางกันไป จึงเปนเร่ือง
สาคัญและจาเปนที่สถานศึกษาตองใหความสาคัญกับการออกแบบระบบการเรียน การทากิจกรรมเสริม
หลักสูตร การจัดสิ่งแวดลอม และสิ่งเอ้ืออานวยความสะดวกในชีวิตใหไดผูสาเร็จการศึกษาที่มีความพรอม
ทง้ั ความรู มีทักษะเฉพาะในแตละสาขาที่เรียนและมีชีวิตท่ีเปนสุข เพราะผูเรียนอาชีวศึกษาอยูในวัยที่กาลัง
สดใส มพี ลังสมอง พลังใจ พลังกายในการพัฒนาส่ิงตางๆ ขึ้นมาตามที่ผูเรียนไดคิดไดจินตนาการรวมกันกับ
ผูสอนและเพื่อนในสถาศกึ ษา (จริ าภรณ สรรพวีรวงศ และคณะ, 2559)

อยางไรก็ตามในความเปนจริงแลวชีวิตของคนเราจะมีความสมหวังและมีความสุขอยูตลอดเวลา
ยอมเปนไปไดยาก จะเห็นไดวาตลอดทางทั้งกอนการเปนผูเรียนอาชีวศึกษา ระหวางการเปนผูเรียน
อาชีวศึกษา และหลังจากสาเร็จการศึกษา มีปจจัยหลายอยางท่ีทาใหการใชชีวิตในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ไมเปนไปอยางท่ีต้ังใจอาจนามาซึ่งความไมสุข เชน การเลือกสถานศึกษา การสอบแขงขันเพ่ือเขาเรียนใน
สถาศึกษาท่ีตองการ การเดินทางไปเรียน การใชชีวิตอยูตางถ่ินหางไกลจากภูมิลาเนาเดิม การใชชีวิตอยูใน
สังคม เพ่ือน และอาจารย การทากิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการเรียน การประเมินผลการการเรียน รวมท้ังกฎ
เกณฑ และเง่ือนไขหลายอยางจากปจจัยภายนอกที่มาเปนตัวกาหนดใหผูเรียนตองจัดการและผานไปใหได
รวมถึงสถานการณทีไ่ มคาดคิดที่ทาใหสถานศึกษาตองงดการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติอยางการ
ระบาดของไวรัสโควิด 19 ในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน(พฤษภาคม 2563) และยังไมชัดวาจะส้ินสุดลง
เม่ือใด ทาใหสถานศึกษาในสังกัดของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต อง
เตรียมพรอมจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนดวยวิธีออนไลนเตม็ รูปแบบตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
แทนการสอนและจัดกิจกรรมในช้ันเรียนปกติ เปนการเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ
การประเมินผลการการเรียนแบบท่ีไมเคยเกิดข้ึนมากอน สถานศึกษา ผูบริหาร ผูสอน และผูเรียน
อาชีวศึกษาตองปรับตัวเพือ่ รบั มอื กับการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้

ดงั นั้น ผวู้ จิ ัยจึงสร้างและหาประสทิ ธิภาพสือ่ การจัดการเรียนรอู้ อนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001
วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) เพื่อการเตรียมความพรอมใหกับผูเรียนในการศึกษายุค
ศตวรรษที่ 21 สูการเปนพลเมืองท่ีดี ควรมีท้ังทักษะดานความรู ทักษะดานอารมณ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ

1. เพื่อสร้างสอ่ื การจดั การเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล
(Business Digital Basic)

2. เพ่ือหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ส่ือการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา
30204-2001 วชิ าพนื้ ฐานธุรกจิ ดจิ ทิ ัล (Business Digital Basic)

3. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา
30204-2001 วชิ าพนื้ ฐานธุรกิจดจิ ทิ ลั (Business Digital Basic)



ประโยชนท์ ี่ได้รบั

๑. ได้ส่ือการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล
(Business Digital Basic)

2. ได้สื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล
(Business Digital Basic) ท่ีมีประสทิ ธิภาพ

๔. ได้แบบประเมินความพึงพอใจของสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001
วชิ าพนื้ ฐานธุรกิจดจิ ิทัล (Business Digital Basic)

กล่มุ เปา้ หมาย

ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ ๑ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ของวทิ ยาลัยการอาชพี นวมินทราชนิ มี กุ ดาหาร ท่ีลงทะเบียนเรยี นรายวิชารหัสวชิ า 30204-2001 ช่ือวิชา
พืน้ ฐานธรุ กจิ ดจิ ิทัล (Business Digital Basic) ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖3 จานวน 37 คน

นวัตกรรม

สือ่ การจดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วชิ าพน้ื ฐานธรุ กจิ ดิจทิ ัล (Business
Digital Basic)

ชื่อเวบ็ ไซต์ gg.gg/30204-2001

ระยะเวลา

วันที่ 1 กรกฎาคม ๒๕๖3 ถึง 28 ตลุ าคม ๒๕๖3 ตามแผนปฏิบตั กิ ารชมุ ชนการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ที่กาหนด

วธิ ีดาเนนิ การด้วยกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC)

๑. ประชมุ พิจารณากาหนดปัญหาในการดาเนนิ งานโครงการ PLC
๒. จดั ทาแผนปฏิบตั งิ านการดาเนินโครงการ PLC
๓. ดาเนินงานตามแผนงานโครงการ PLC ทก่ี าหนด
๔. ตดิ ตาม ตรวจสอบ สงั เคราะห์ ปรับปรุงการดาเนนิ งาน
๕. ดาเนินงานตามแนวทางที่ปรับปรุง
๖. สรปุ ผล รายงานผลการดาเนินโครงการ PLC



ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

๑. สื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล
(Business Digital Basic) จะประกอบดว้ ย

1.1 Content หมายถึง เนื้อหาความรู้แบบออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือ
วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ที่มีการประสานความร่วมมือในการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ร่วมกับสถานประกอบการ เพ่ือให้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ โดยใช้ Google
site (gg.gg/30204-2001)

1.2 Collaborate หมายถึง การที่ผู้เรียนสามารถทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้ใน
ขณะที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์เกิดการปฏิสัมพันธ์ เป็นส่วนของการสนับสนุนให้เกิดการโต้ตอบระหว่าง
ผู้เรียนกับบทเรียนในกระบวนการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนได้ติดต่อ สอบถาม ปรึกษาหารือ และแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ ระหวา่ งตัวผเู้ รยี นกบั ครู อาจารย์ผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกับเพ่ือน ร่วมช้ันเรียนคนอ่ืน ๆ อัน
เป็นเครอื่ งมอื หรอื ช่องทางทใี่ ช้ในการตดิ ต่อส่อื สารระหว่างผสู้ อื่ สารและผรู้ บั สารน้ันเอง โดยใช้ padlet

1.3 Create หมายถึง การสร้างสรรค์ช้ินงานตามจินตนาการของตนเองหลังเรียนรู้
หรือระหว่างกลุ่ม ผู้เรียนร่วมกันระดมความคิดหาสาเหตุและเสนอหาทางแก้ไข โดยผู้สอนจะทาหน้าท่ีช่วย
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด ความกระตือรือร้นในการแสวงหาคาตอบ และจะต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้เรียน
อน่ื ๆจนเกิดการสร้างสรรค์ ช้ินงาน หรือผลงานข้นึ มาได้

1.4 Environment หมายถึง การจัดสิ่งแวดล้อมท่ีดีที่เป็นบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการ
เรียนรู้สาหรับการเรียน แบบออนไลน์ควรต้องขยายโอกาสในการเข้าถึงเนื้อหาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง
ผู้เรียนสามารถเรียกดูเน้ือหา ตามความสะดวกของผู้เรียนในสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลาย ทาให้เกิดการ
เรียนรู้ได้ตามสภาพแวดล้อมที่ผู้เรียน พร้อมและมีความเหมาะสม ตลอดจนการช่วยสนับสนุนให้เกิด
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่หาความรู้ รับรู้อย่างกว้างขวางเพ่ิมมากยิ่งขึ้น โดยไม่จากัดเวลาและ
สถานท่เี รยี นรู้

1.5 Emerging Technology หมายถึง บทเรียนนี้จะสามารถตอบสนองเทคโนโลยี
ใหม่ สามารถใช้ เครื่องมือออนไลน์สาหรับใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน หรือผู้เรียนกับ
ผู้สอนผ่านทาง แอพพลิเคชั่น Google Classroom เมล์หรือเว็บบอร์ด ตลอดจนสนับสนุนการส่งงานและ
ตรวจงานผ่านเครือข่าย ซงึ่ จะทาใหผ้ เู้ รยี นได้ เรยี นรู้จากงานของเพื่อนด้วยการใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือ
อปุ กรณ์อ่ืน ๆ ชว่ ยให้มเี วลาในการปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผู้เรยี น

1.6 Evaluation หมายถึง การประเมินผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยใช้แฟ้ม
สะสมผลงาน (Portfolio assessment) และ Progress Chart รายงานความก้าวหน้าทางการเรียนแบบ
real-time เป็นวิธีการประเมินท่ีส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพจริงมีความสมบูรณ์ สะท้อนศักยภาพท่ี
แท้จริงของผู้เรียนมากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวมผลงานจากการปฏิบัติจริง ท้ังในช้ันเรียนหรือใน
ชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ต่างๆ มาจัดแสดงอย่างเป็นระบบ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
สะท้อนให้เห็นถึงความพยายาม เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธิ์ผลของการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน การวางแผนดาเนินงาน



2. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา
30204-2001 วชิ าพน้ื ฐานธุรกจิ ดจิ ิทลั (Business Digital Basic) มีค่าดชั นีความสอดคล้องเฉล่ียเท่ากับ
๑.๐๐ แสดงว่าแบบสอบถามความพึงพอใจ/ความคิดเห็นของผู้เรียน มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ
จุดประสงคก์ ารจดั การเรยี นรสู้ ามารถนาไปใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลรวบรวมได้

3. หาประสทิ ธภิ าพส่อื การจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์ รหสั วชิ า 30204-2001 วชิ าพ้นื ฐานธรุ กจิ
ดจิ ิทัล (Business Digital Basic)

3.๑ ผลการใช้สื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพื้นฐานธุรกิจ
ดิจิทัล (Business Digital Basic) ท่ีสร้างข้ึน จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประสิทธิภาพของส่ือการจัดการ
เรียนรู้ ฝึกทักษะด้วยตนเอง ท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ ๘๓.๙๔/๘๒.๗๓ สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ๗๕/๗๕
จึงสรุปได้ว่าส่ือการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business
Digital Basic) ฝกึ ทักษะดว้ ยตนเองชุดน้มี ปี ระสิทธิภาพในการพัฒนาความร้ขู องผูเ้ รียนรู้

3.๒ ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิเคราะห์จาก
การเปิดตารางค่า t ท่ี df = ๑๐  = .๐๕ เท่ากับ ๑.๘๑ แต่ค่า t ท่ีคานวณได้เท่ากับ ๘.๐๔ ซ่ึงมีค่า
มากกว่าค่า t จากตารางแสดงว่า ค่าเฉล่ียของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มีความแตกต่างกัน
อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .๐๕ จงึ สรุปไดว้ ่าสือ่ การจัดการเรยี นร้อู อนไลน์ รหสั วิชา 30204-2001
วชิ าพ้ืนฐานธรุ กิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ฝึกทักษะด้วยตนเอง วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business
Digital Basic) ในคร้ังน้ีทาให้ผูเ้ รียนรู้มคี วามรู้สงู ข้ึนจริง

3.๓ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ใช้สื่อการ
จัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic)
อยู่ในระดับมากท่ีสดุ มีคา่ เฉลีย่ ความพึงพอใจเทา่ กับ 4.75 และมคี ่าเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.45

สรุปผลการดาเนนิ การ

ดา้ นผ้เู รียน
ผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลงั เรยี นด้วยใชส้ ื่อการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์ รหสั วิชา

30204-2001 วิชาพน้ื ฐานธุรกจิ ดิจิทลั (Business Digital Basic) สร้างขึ้นสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมี
นยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .๐๕

ผู้เรยี นมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการเรยี นรู้โดยใช้สอื่ การจดั การเรียนรอู้ อนไลน์ รหัสวชิ า
30204-2001 วชิ าพ้นื ฐานธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั (Business Digital Basic) อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด

ผูเรยี นมีทักษะในการศึกษายุคศตวรรษที่ 21

ด้านครผู ู้สอน
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ตามหลักสูตร

มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการจัดการศึกษาและ
การประเมินผลการเรียนของหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแล จัดการเรียนการสอนรายวิชาได้
ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ พัฒนาทักษะการสอน วิธีการสอน ปรังปรุง พัฒนาส่ือการจัดการเรียนรู้ออนไลน์
ร่วมกับสมาชิกในกลุ่มท่ีมีความรู้ ปรึกษาหารือ หาวิธีการแก้ไขปัญหา โดยการสอดแทรกหลักคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เข้าไปในการเรียนการสอน เตรียมความพรอมใหกับผูเรียนใน
การศึกษายุคศตวรรษที่ 21 สูการเปนพลเมืองที่ดี มีทั้งทักษะดานความรู ทักษะดานอารมณ และ



คุณลักษณะอันพึงประสงคที่จาเปนครอบคลุม 3 มิติ และสามารถนาความรู้ ทักษะวิชาชีพไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพและชีวติ ประจาวันได้

ด้านประเมนิ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ผ่านเกณฑท์ ่กี าหนดทุกคน

ดา้ นใช้ส่อื การจัดการเรยี นร้อู อนไลน์
สื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

(Business Digital Basic) จะประกอบด้วย เนื้อหาความรู้ กิจกรรมในขณะเรียนรู้ การสร้างสรรค์
ชิ้นงานตามจิตนาการของตนเองหลังเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา การวัดผลและ
ประเมินผลตามสภาพจริงโดยใช้แฟ้มสะสมผลงานออนไลน์ (E-Port Florio) เป็นสื่อการจัดการ
เรียนรู้ออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic)
ท่ีมีประสิทธิภาพ ๘๓.๙๔/๘๒.๗๓ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ คือ ๗๕/๗๕ สามารถนาไปใช้ในการจัดการ
เรยี นร้ทู ่ที าให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์การเรยี นร้สู งู ข้นึ ได้จริง

๑๐

บรรณานุกรม

สานกั พฒั นาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชีวศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (๒๕๖๑) แนวทางการขับเคล่อื นขบวนการชนุ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ
กรงุ เทพมหานคร

เรวณี ชัยเชาวรตั น์ (๒๕๖๑) ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี
จงั หวดั อุดรธานี

๑๑

ภาคผนวก ก

แผนการดาเนนิ งานโครงการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)
กลมุ่ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

วิทยาลยั การอาชีพนวมินทราชนิ มี กุ ดาหาร

๑P๒LC ๐๒

แผนปฏบิ ัติการชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ

(Professional Learning Community Action Plan: PLC-AP)

วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชนิ ีมุกดาหาร

วันท่ี 15 กรกฎาคม 2563 สถานท่ี หอ้ งพกั ครสู าขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

เวลาประชุมเรม่ิ . 16.30 น. เวลาสนิ้ สดุ 18.30 น.

จานวนผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ๖ คน

กลุม่ ชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ

รายชอื่ สมาชกิ กลุ่ม PLC (Buddy teacher)

๑) นางสุดารตั น์ วงศ์คาพา ๒) นางประภาพร ผิวเรืองนนท์

๓) นางประเสรฐิ ศรี สุทธิพนั ธ์ ๔) สบิ เอกอกิ ศล โสดา

๕) นางสาวณัฏฐาวรีย์ เสือแก้ว ๖) นายวัชรนิ ทร์ พนั ธ์สาโรง

ครูรุ่นพ่ี (Senior teacher)/ ปราชญท์ ้องถนิ่ นายอดลุ ศรีภักดี

ผู้อานวยการ/รองผอู้ านวยการ ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) นายพูลศักด์ิ ศรวี รมย์

ประเด็นปญั หาทเี่ ลือกนามาเปน็ เป้าหมาย การสร้างและหาประสิทธิภาพสือ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์

แผนปฏิบัตกิ าร ครัง้ ที่ (วงรอบ) ๑-๑5 (1 กรกฎาคม ๒๕๖3 ถึง 28 ตุลาคม ๒๕๖3)

ลาดับ กจิ กรรม บทบาท วนั เดือน ปี

1 ประชุมจดั กาหนดแนวทางการดาเนนิ งาน สมาชกิ ในกลุม่ 1 ก.ค. 2563

กลุ่มชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) 16.30-18.30 น.
คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ

2 ประชมุ รว่ มกนั พิจารณาเลือกปญั หา สมาชกิ ในกลุ่ม 8 ก.ค. 2563

เปา้ หมาย และร่วมกนั หาแนวทางในการ 16.30-18.30 น.
แกป้ ญั หา

3 จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการชุมชนการเรยี นรทู้ าง Model teacher ร่วมกับสมาชกิ 15 ก.ค. 2563
วิชาชพี (PLC) ในกลุ่ม 16.30-18.30 น.

4 สร้างสือ่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ Model teacher 22 ก.ค. 2563

ของครใู นสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ ๑. นางสดุ ารัตน์ วงศ์คาพา 16.30-18.30 น.
รหสั วชิ า 20204-2102

วชิ าประมวลผลคา

๒. นางประภาพร ผวิ เรอื งนนท์

รหสั วชิ า 20204-2003

วชิ าคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

๓. นางประเสรฐิ ศรี สุทธิพันธ์

รหัสวิชา 30204-2001

วชิ าพนื้ ฐานธรุ กจิ ดิจทิ ลั

๔. สบิ เอกโกศล โสดา

รหสั วชิ า 3204-2004

วชิ าระบบจดั การฐานข้อมลู

๑๓

แผนปฏบิ ัติการ คร้ังท่ี (วงรอบ) ๑-๑5 (1 กรกฎาคม ๒๕๖3 ถงึ 28 ตลุ าคม ๒๕๖3) ตอ่

ลาดับ กิจกรรม บทบาท วัน เดอื น ปี

๕. นางสาวณัฏฐาวรีย์ เสือแก้ว

รหัสวิชา 30001-2001

วชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อการจัดการอาชพี

๖.นายวัชรินทร์ พนั ธส์ าโรง

รหัสวชิ า 3204-2003

วชิ าการส่อื สารขอ้ มลู และ

เครอื ข่าย

5 แลกเปลยี่ นเสนอแนะสะท้อนการสรา้ ง สมาชกิ ในกลุ่ม 29 ก.ค. 2563

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ 16.30-18.30 น.

ของครูในสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ

6 สร้างแบบทดสอบแลกเปล่ยี นเสนอแนะ Model teacher และสมาชิก 5 ส.ค. 2563

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในกลมุ่ 16.30-18.30 น.

7 ลงมือปฏิบตั ิการสอน/ฝึก/จดั กจิ กรรม Model teacher 10 ส.ค.-21 ส.ค.63

16.30-18.30 น.

8 สรปุ สังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียน Model teacher 26 ส.ค. 2563

การสอนออนไลนข์ องครใู นสาขาวิชา 16.30-18.30 น.

คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ

9 สังเกตการสอนในชน้ั เรยี น สมาชกิ ในกล่มุ 2 ก.ย. 2563

16.30-18.30 น.

10 ประชมุ สะท้อนผลตอ่ การสงั เกตชนั้ เรียน สมาชกิ ในกล่มุ 9 ก.ย. 2563

16.30-18.30 น.

11 สรุป สงั เคราะห์การจัดการเรียนการสอน Model teacher 16 ก.ย. 2563

ออนไลน์จากสมาชิกในทมี จดุ ออ่ น 16.30-18.30 น.

จดุ เด่นของการดาเนนิ การ

12 สรปุ รปู แบบทีป่ รบั ปรุงจากบทเรยี นท่ไี ด้ Model teacher 23 ก.ย. 2563

ทดลองใช้แลว้ แลว้ ลองปฏบิ ัติการสอน 16.30-18.30 น.

13 สร้างแบบประเมินความพงึ พอใจของผ้เู รียน Model teacher และสมาชกิ 30 ก.ย. 2563

ทม่ี ตี อ่ การจดั การเรยี นรกู้ ารสอนออนไลน์ ในกลมุ่ 16.30-18.30 น.

ของครูในสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ

14 หาประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนการ Model teacher 7 ต.ค. 2563

สอนออนไลนข์ องครใู นสาขาวิชา 14 ต.ค. 2563

คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 16.30-18.30 น.

15 สรปุ ผลการดาเนินงาน Model teacher และสมาชิก 21 ต.ค. 2563

ในกลุ่ม 28 ต.ค. 2563

16.30-18.30 น.

๑๔

ภาคผนวก ข.

สื่อการจัดการเรยี นรู้ออนไลน์
รหัสวิชา 30204-2001 วชิ าพน้ื ฐานธรุ กิจดจิ ทิ ลั

(BusinessDigital Basic)

๑๕
Content เนอื้ หาความรู้แบบออนไลน์ รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชาพ้ืนฐานธุรกิจ
ดจิ ิทลั (Business Digital Basic) โดยใช้ Google site (gg.gg/30204-2001)

Collaborate ผู้เรียนสามารถทากิจกรรมร่วมกับเพ่ือนได้ในขณะท่ีเรียนด้วยบทเรียน
ออนไลน์เกิดการปฏิสัมพันธ์ เป็นส่วนของการสนับสนุนให้เกิดการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับบทเรียนใน
กระบวนการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนได้ติดต่อ สอบถาม ปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างตัว
ผู้เรียนกับครู อาจารย์ผู้สอน และระหว่างผู้เรียนกับเพื่อน ร่วมชั้นเรียนคนอ่ืน ๆ อันเป็นเคร่ืองมือหรือ
ช่องทางทีใ่ ชใ้ นการตดิ ต่อส่อื สารระหว่างผูส้ ่อื สารและผ้รู ับสารน้ันเอง โดยใช้ padlet

๑๖

Create การสร้างสรรค์ชิ้นงานตามจินตนาการของตนเองหลังเรียนรู้หรือระหว่างกลุ่ม
ผู้เรียนร่วมกันระดมความคิดหาสาเหตุและเสนอหาทางแก้ไข โดยผู้สอนจะทาหน้าท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียน
เกิด ความกระตือรือร้นในการแสวงหาคาตอบ และจะต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้เรียนอ่ืนๆจนเกิดการ
สรา้ งสรรค์ ชน้ิ งาน หรือผลงานขน้ึ มาได้

๑๗
Environment การจัดสง่ิ แวดล้อมทดี่ ที ี่เป็นบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้สาหรับการ
เรียน แบบออนไลน์ โดยไม่จากัดเวลาและสถานทเี่ รียนรู้ จดั กิจกรรมส่ิงอานวยความสะดวก จัดบรรยากาศ
สภาพแวดล้อม ท่ีส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีความสุข และเป็นผู้
เสริมแรง ชแี้ นะแนวทางใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ ปฏิบตั ิ และค้นพบคาตอบด้วยตนเอง

gg.gg/30204-2001
รหัสวิชา 30204-2001 วิชาพ้นื ฐานธรุ กิจดจิ ิทัล

ตวั อยา่ งเกียรตบิ ัตร รายหน่วยการเรียนรู้

ตัวอย่างเกยี รติบัตร รายวชิ า
Emerging Technology บทเรียนนี้จะสามารถตอบสนองเทคโนโลยีใหม่ สามารถใช้
เคร่ืองมือออนไลน์สาหรับใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน หรือผู้เรียนกับผู้สอนผ่านทาง

๑๘
แอพพลิเคช่ัน Google Classroom เมล์หรือเว็บบอร์ด ตลอดจนสนับสนุนการส่งงานและตรวจงานผ่าน
เครือขา่ ย ซงึ่ จะทาใหผ้ ู้เรยี นได้ เรยี นรจู้ ากงานของเพอื่ นด้วยการใชส้ มารท์ โฟน แท็บเล็ต หรือ อุปกรณ์อ่ืน ๆ
ช่วยใหม้ ีเวลาในการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผ้เู รียนกบั ผ้เู รียน

Evaluation การประเมินผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน
(Portfolio assessment) Progress Chart รายงานความก้าวหน้าทางการเรียนแบบ real time เป็น
วธิ กี ารประเมนิ ทส่ี ่งเสริมใหก้ ารประเมินตามสภาพจริงมีความสมบูรณ์ สะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียน

๑๙

มากขึ้น โดยการให้ผเู้ รยี นได้เก็บรวบรวมผลงานจากการปฏิบัติจริง ทั้งในช้ันเรียนหรือในชีวิตท่ีเกี่ยวข้องกับ
การเรยี นรตู้ ามสาระการเรยี นร้ตู ่างๆ มาจัดแสดงอยา่ งเป็นระบบ

๒๐

ภาคผนวก ค.

เอกสารการเผยแพร่ / หนงั สือตอบรบั

















๒๑

ภาคผนวก จ.

ผลการวดั ผลและประเมนิ ผล

๒๒

ผลการวัดผลประเมินผล

รหสั 30204-2001 ชื่อวิชาพ้ืนฐานธุรกิจดจิ ทิ ัล
(Business Digital Basic) (2-2-3)

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง(ปวส.) พุทธศกั ราช 2563
ระดับชน้ั /กลมุ่ ปวส.1/1, 1/2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล
จานวน 4 ช่วั โมง/สัปดาห์ รวม 72 ชัว่ โมง/ภาคเรยี น จานวน 3 หนว่ ยกิต

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

เกณฑ์การประเมนิ ผล แบบอิงเกณฑ์ ดังน้ี

คะแนน ๘๐–๑๐๐ ไดร้ ะดบั คะแนน ๔ คะแนน ๖๐-๖๔ ได้ระดบั คะแนน ๒
คะแนน ๗๕-๗๙ ได้ระดบั คะแนน ๓.๕ คะแนน ๕๕-๕๙ ได้ระดบั คะแนน ๑.๕
คะแนน ๗๐-๗๔ ได้ระดับคะแนน ๓ คะแนน ๕๐-๕๔ ไดร้ ะดับคะแนน ๑
คะแนน ๖๕-๖๙ ได้ระดบั คะแนน ๒.๕ คะแนน ๐-๔๙ ไดร้ ะดบั คะแนน ๐

ผลการประเมินผล 0 ม.ส. ข.ร. ผ. ม.ผ. คะแนน
00 200
จานวน ผลการเรียน 00 400 เฉลย่ี ( ̅ )
76.50
ผเู้ รียน 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 78.30
10 2 4 1 1 0 0 0
27 11 5 5 2 0 0 0

คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน

จานวน ผลการพฒั นาผู้เรียนใหม้ คี ุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์

ผ้เู รียน ไม่ผา่ นเกณฑ์จานวน รอ้ ยละ ผา่ นเกณฑจ์ านวน รอ้ ยละ

8 0 0.00 8 100.00
100.00
23 0 0.00 23

หมายเหตุ คะแนนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รียน 18 คะแนนข้นึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ไมน่ บั
จานวนผู้เรียนทมี่ ผี ลการเรยี น ขร.


Click to View FlipBook Version