ปัจจุบัน รูปแบบธุรกิจที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสะดวกสบายได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ผู้บริโภคยุคใหม่
ธุรกิจจัดส่งอาหารออนไลน์ (online food delivery) หรือการสั่งอาหารออนไลน์เป็นหนึ่งในธุรกิจใหม่ภายใต้
เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม (Platform Economy) ที่มาพร้อมกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล ธุรกิจนี้มี
อัตราการเติบโตสูงทั่วโลกด้วยจุดขายที่จูงใจผู้บริโภคผ่านการนำเสนอทางเลือกใหม่ ๆ ในการรับประทานอาหาร
Statista (2020) ประเมินว่าในปีพ.ศ. 2563 ธุรกิจจัดส่งอาหารออนไลน์ของโลกจะมีมูลค่าสูงถึง
4,136,178 ล้านบาท สำหรับในประเทศไทย ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าในปีพ.ศ. 2561 ธุรกิจสั่งอาหาร
ออนไลน์มีมูลค่าตลาดสูงถึง 35,000 ล้านบาท โดยมีอัตราการเติบโต ร้อยละ 14 จากปีก่อน (Kasikorn
Research Center, 2019) อย่างไรก็ดี ด้วยลักษณะของธุรกิจที่เป็นการสั่งอาหารผ่านระบบออนไลน์
ทำให้เป็นเรื่องยากที่จะทำให้ผู้บริโภคลดขยะได้ที่ต้นทาง แตกต่างจากการไปซื้ออาหารที่ร้านด้วยตนเองที่ผู้บริโภค
สามารถนำภาชนะส่วนตัวไปใส่อาหารและเครื่องดื่มเพื่อลดการสร้างขยะบรรจุภัณฑ์ได้ อีกทั้งธุรกิจจัดส่งอาหาร
ออนไลน์ได้กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการบริโภควิถีใหม่มากจนเกินไปด้วยการนำเสนอโปรโมชั่นส่วนลดค่าอาหาร
ต่างๆ เมื่อผู้บริโภคหันมาสั่งอาหารออนไลน์แทนการออกไปทานที่ร้านอาหาร สิ่งที่ตามมา คือ ปริมาณขยะบรรจุ
ภัณฑ์จำนวนมหาศาล ส่วนใหญ่เป็นบรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง อาทิ กล่องพลาสติก แก้วพลาสติก
ช้อนส้อม หลอด ถุงพลาสติก อีกทั้งยังมีซองเครื่องปรุงต่าง ๆ ที่หลายครั้ง ผู้บริโภคไม่ได้ใช้และมักจะถูกทิ้งใน
ท้ายที่สุด ที่น่าเป็นห่วงกว่านั้น คือ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังมิได้มีการคัดแยกขยะที่ต้นทางและยังขาดระบบรองรับ
การเก็บขยะแบบแยกประเภทในเมืองใหญ่ ทำให้ขยะพลาสติกถูกทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยอื่น ๆ เพิ่มสูงขึ้นอย่าง
มาก
ปัญหาความสำคัญของขยะจากฟู้ดเดลิเวอรี่
คือประชาชนส่วนใหญ่ทิ้งเศษอาหารปะปนมากับขยะพลาสติก
ไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดมาจาก
หลายปัจจัย เช่น การขาดความตระหนักรู้ว่าควรคัดแยก
อย่างไร การนิยมความสะดวกสบายจากการที่ไม่ต้องเก็บล้าง
และความกังวลว่าจะติดเชื้อไวรัสโควิด-19 หากไปสัมผัส
ภาชนะหรือช้อนส้อมของผู้ที่ติดเชื้อ เป็นต้น เนื่องด้วยขยะ
พลาสติกเหล่านี้ปนเปื้อนเศษอาหาร จึงไม่สามารถนำไป
รีไซเคิล แปรรูปเป็นพลังงาน หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
เพื่อเพิ่มมูลค่า (Upcycle) ตามแนวคิดของเศรษฐกิจ
หมุนเวียน (Circular Economy)
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจึงจำเป็นต้องนำขยะ
พลาสติกที่ปนเปื้อนเหล่านี้ไปกำจัดโดยการเทกองหรือ
ฝังกลบเช่นที่ผ่านมา ซึ่งเพิ่มภาระให้กับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจาก
ขยะเหล่านี้หากจัดการไม่ถูกต้อง อาจรั่วไหลสู่สิ่ง
แวดล้อม เช่น แม่น้ำ ทะเล ฯลฯ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ
สัตว์ทะเลได้ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดของโรค
โควิด-19 ทำให้การดำเนินโครงการหรือ Initiative
ต่างๆ เกี่ยวกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy) ต้องเดินถอยหลัง
ต้นกำเนิดปัญหาขยะจาก
ฟู้ดเดลิเวอรี่
ปัญหาขยะจากฟู้ดเดลิเวอลี่ มาจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรค ' โควิด - 19 'ที่ เกิด
ขึ้นต่อเนื่องหลายระลอกและ มีการแพร่ระบาด
ไปในวงกว้างอย่างรวดเร็วจนก่อให้เกิดเป็น
ภาวะวิกฤตซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม
ทำ ใ ห้ ก า ร ดำ เ นิ น ธุ ร กิ จ ข อ ง พ่ อ ค้ า แ ม่
ข า ย แ ล ะ ร้ า น อ า ห า ร ต้ อ ง มี ก า ร ป รั บ
ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ ยุ ค ส มั ย เ ป ลี่ ย น
พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต สู่ วิ ถี ชี วิ ต ใ ห ม่
( N E W N O R M A L ) ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ
เ ดิ น ท า ง อ อ ก ไ ป ไ ห น ไ ด้ แ ล ะ มี ค ว า ม
ห ว า ด ก ลั ว เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ที่
รุ น แ ร ง ข อ ง โ ค วิ ด - 1 9 แ ล ะ ห นึ่ ง ใ น
ท า ง อ อ ก ที่ ดี คื อ ฟู้ ด เ ด ลิ เ ว อ ลี่ ต อ บ
โ จ ท ย์ ทั้ ง ค ว า ม ส บ า ย แ ล ะ ค ว า ม
ป ล อ ด ภั ย
การบริ การจัดส่ งอาหารถึงที่
ธุรกิจอาหารเดลิเวอรี่เป็นการดําเนินธุรกิจร้าน อาหารควบคู่กับการ
ให้บริการจัดส่งอาหารให้ผู้บริโภค ภายในขอบเขตพื้นที่ให้บริการ
ของกิจการนั้น ๆ ด้วยความทันสมัยของเทคโนโลยีการสื่อสารและ
การ คมนาคมขนส่งส่งผลให้ปัจจุบันธุรกิจอาหารเดลิเวอร่ี สามารถ
ขยายพื้นที่การให้บริการได้ครอบคลุมทั่วทั้ง ประเทศ ประกอบกับ
พฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ที่ใช้ ชีวิตด้วยความเร่งรีบ มีข้อจํากัด
ด้านเวลาต้องการความ สะดวกสบาย รวมถึงต้องการหลีกเลี่ยง
ปัญหาจราจร ส่งผลให้มีความต้องการบริการอาหารเดลิเวอรี่เพิ่ม
มากขึ้น
ธุรกิจ Food Delivery เป็นแนวคิดใหม่ที่ใช้ เทคโนโลยีในการสร้าง
Platform และสร้างระบบการ บริการแบบเครือข่ายที่มีแอพพลิเคชั่นหรือ
เว็บไซต์เป็น ตัวกลาง โดยที่เข้ามาตอบโจทย์ในการส่งอาหารให้กับ ผู้บริโภค
ลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพและคิดค่าบริการ ตามอัตราที่กําหนดทําให้ร้าน
อาหารไม่ต้องจัดการส่ง อาหารด้วยเอง และผู้บริโภคได้รับความสะดวกและ
เสีย ค่าใช้จ่ายต่ํากว่าการซื้อผ่านช่องทางดั้งเดิม โดยกระบวน การเริ่มต้นจาก
ลูกค้าส่งค้าสั่งซื้อชําระเงินตลอดจนรับ อาหาร ภายในเวลาที่กําหนด และได้รับ
อาหารสด ใหม่ตรงเวลา
3 Rs คือ ?
ใช้น้อย หรือลดการใช้ (Reduce)
โดยลดปริมาณการใช้ลง ใช้เท่าที่จำเป็น การเลือกใช้สินค้าที่อายุการใช้งาน
สูง รวมถึงหลีกเลี่ยงการใช้อย่างฟุ่มเฟือยเพื่อลดการสูญเปล่าและลดปริมาณ
ขยะให้มากที่สุด เช่น ใช้ตะกร้าหรือถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติกในการจับจ่าย
ซื้อของ ใช้แก้วส่วนตัวแทนการใช้แก้วครั้งเดียวแล้วทิ้ง ใช้ปิ่นโตหรือกล่องใส่
อาหารแทนการใช้กล่องโฟมซึ่งย่อยสลายยาก และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ชนิด
เติม (Refill)
ใช้ซ้ำ (Reuse)
เป็นการนำของเสียบรรจุภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ โดยไม่ผ่าน
กระบวนการ แปรรูปหรือแปรสภาพ เช่น นำถุงพลาสติกมาเป็นถุงขยะ
การใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า นำเสื้อผ้าหรือของเล่นไปบริจาคให้ผู้อื่น นำไป
ขายสินค้ามือสอง
รีไซเคิล หรือแปรรูปใช้ใหม่ (Recycle)
โดยนำขยะรีไซเคิล ของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต หรือเพื่อผลิต
เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การนำกระป๋องอะลูมิเนียมมาหลอมเป็นขาเทียม นำกล่องเครื่องดื่ม UHT มาแปรรูปเป็นก
ระเป๋า นำกระดาษมาแปรรูปเป็นกล่องทิชชู และการนำขวดพลาสติก (PET) มาแปรรูปเป็นเสื้อ ทั้งนี้ การรีไซเคิล
นอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะแล้ว ยังสามารถช่วยลดการใช้พลังงานและลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
F
O
วิ ธีการลดขยะ O
แบบวิ ถีพอเพียง D
D
ความพอประมาณ & มีเหตุผล E
• ผู้ซื้อ L
เราสามารถนำความรู้เกี่ยวกับความพอประมาณและมีเหตุผลมาใช้ในการ I
ลดขยะคือการรู้จักพอประมาณในการสั่งอาหาร คือ คิดก่อนกดสั่ง สั่ง
อาหารที่พอเหมาะไม่กินทิ้งขวาง สั่งแค่พออิ่ม เเละ
มีเหตุผลเลือก รับภาชนะที่เป็นพลาสติกให้น้อยที่สุด หรือเลือกร้านที่
ภาชนะทำจากกระดาษ เช่น ถ้วยกระดาษ กล่องกระดาษ
รวมทั้งการขอไม่รับช้อน ส้อม หลอดที่ทำจากพลาสติกก็ถือเป็นการลด
พลาสติกที่ดีได้ในใช้วิตประจำวัน
• ผู้ขาย Delivery
ลดการใช้งานพลาสติกที่ ไม่จำเป็น ให้เปลี่ยนมาใช้วัสดุธรรมชาติ หรือ
วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือเปลี่ยนมาใช้กระดาษที่สามารถย่อย
สลายได้
เงื่อนไขความรู้
การนำความรู้หลัก 3Rs คือ Reduce, Reuse, Recycle มาประยุกต์ใช้ V
สำหรับการ จัดการขยะเพื่อในสามารถนำขยะพลาสติก ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ E
สูงสุด นอกจากความรู้ตรงนี้เรายังได้เป็นส่วนหนึ่งในการดูเเลโลกของเราให้ไร้ซึ่ง
มลภาวะที่เป็นพิษ ซึ่งถือเป็นการนำความรู้ความสามรถที่มีต่อยอดเพื่อสังคม
R
Y
F
O
แนะนำวิ ธีการลดขยะ O
แบบวิ ถีพอเพียง D
D
เลือกไม่รับช้อน ส้อม ถ้วยโฟม สั่งอาหารในปริมาณที่เพียงพอต่อ เลือกร้านที่ใช้ภาชนะที่ย่อยสลายง่าย E
หลอดพลาสติกและช้อนส้อม การรับประทานในแต่ละมื้อ ไม่ให้กิน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ถ้วย
พลาสติกจากร้านอาหาร ทิ้งกินขว้าง กระดาษที่ย่อยสลายได้ง่าย
การนำความรู้หลัก 3 Rs คือ ทำการล้างภาชนะที่เป็นพลาสติก ทำการล้างและนำกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อ L
Reduce Reuse Recycle มา และนำกลับมาใช้ซ้ำ ไม่ให้เกิดการทิ้งลงขยะแบบไม่มี I
ประโยชน์
ใช้
มีการดัดแปลงภาชนะพลาสติก ให้เป็น ลดการใช้พลาสติกโดยสิ้นเปลือง โดยใช้ V
สิ่งของที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น เช่น การทำ พลาสติกแบบประหยัดที่สูง เช่นเลือกไม่รับ E
กระเป๋าจากหลอดพลาสติก ช้อนซ้อนตอนสั่งอาหาร
R
Y
กิ จกรรมในการแก้ไขปั ญหา
รณรงค์โดยการจัดทำโปสเตอร์ให้ผู้บริโภคทำการ “คัดแยก” บรรจุภัณฑ์
พลาสติกที่ใช้แล้วและนำพลาสติกเข้าโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน”
โดยแยกขยะประเภทเศษอาหารออกไป ล้างทำความสะอาดบรรจุภัณฑ์ ทิ้งไว้ให้
แห้ง แล้วจึงรวบรวมขยะพลาสติกเหล่านี้ไปทิ้งในจุด Drop-off point
สำหรับขยะพลาสติก ซึ่งการคัดแยกดังกล่าวจะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกที่
ถูกส่งไปฝังกลบ และเพิ่มการนำพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ผ่าน
กระบวนการ Recycle หรือ Upcycle ของบริษัทเอกชน และเพื่อให้ระบบ
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) สามารถเกิดขึ้นไดีจริง
ขอความอนุเคราะห์จากเเอปพลิเคชันให้ใช้พ้อยที่ได้จากการส่งพลาสติกกลับบ้านเเล้ว
มาส่วนลดค่าอาหารจากเเอปพลิเคชันสั่งอาหารได้ นอกเหนือจากได้ของสมนาคุณ
จากเเอปพลิเคชัน ECOLIFT โดย 100 คะเเนนจะมีค่าเท่ากับ 10บาท
เกณฑ์คะเเนนที่ได้รับมีดังนี้
กล่องพลาสติก 1ใบ ได้พ้อย 10 พ้อย
ส้อนเเละซ้อม 1 คัน ได้ 5พ้อย
ถุงพลาสติก 1ใบ ได้2 พ้อย
โครงการส่งพลาสติกกลับบ้าน
โครงการส่งพลาสติกกลับบ้าน คือ โครงการความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ
และภาคเอกชน เนื่องจาก การแพรระบาดของโควิด -19 ส่งผลกระทบต่อ
การเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 15%
จาก 5,500 ตันต่อวันเป็น 6,300 ตันต่อวัน ทำให้เกิดปัญหา ขยะล้น
เมือง จึงริเริ่มโครงการ “ ส่งพลาสติกกลับบ้าน ” โดยมี concept ที่ว่า
“แยกที่บ้าน ฝากทิ้งที่เรา” เพื่อให้รู้จักการแยกขยะที่เพิ่มมากขึ้น และนำเอา
พลาสติกกลับมาใช้ใหม่
โดย เรารับฝากทิ้ง 2 ประเภทหลัก คือ พลาสติกยืดและพลาสติกแข็งที่ผ่านการ
ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วจากประชาชน ตัวอย่างพลาสติกยืด ได้แก่ ถุงพลาสติก
หูหิ้ว ถุงขนมปัง ถุงน้ำตาลทราย ฯลฯ และตัวอย่างของพลาสติกแข็ง ได้แก่ แก้ว
กาแฟ กล่องใส่อาหารเดลิเวอรี่ ฯลฯ โดยปัจจุบันมีจุด Drop-off Point จำนวน
10 แห่งบนถนนสุขุมวิท จังหวัดกรุงเทพมหานคร เช่น Singha Complex
ศูนย์การค้า The Emporium ร้านเทสโก้-โลตัส สาขาอ่อนนุช เป็นต้น และมีการ
ให้แรงจูงใจกับประชาชนโดยใช้แอปพลิเคชัน ECOLIFE ในการสะสมแต้มเพื่อนำไป
แลกของสมนาคุณต่าง ๆ
ผลลัพธ์ที่ได้จากการเรียนรู้
ได้เรียนรู้ปัญหาที่เกิดจากขยะจากอาหารเดลิเวอรี่ที่นิยมใช้ใน
ปัจจุบัน
ได้เรียนรู้ถึงกิจกรรมดีๆ เช่น “กิจกรรมส่งพลาสติกกลับบ้าน