The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chayanee Chantarakul, 2024-03-25 12:44:30

จุดเน้นที่ 1

จุดเน้นที่ 1

ปฐมบทของการเดินทาง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ก หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1”ฉบับนี้ ปฐมบทของการเดินทาง สู่ความสำ เร็จ เริ่มจากการพัฒนาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารสถานศึกษาตามจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้วิเคราะห์นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนำ มาจัดทำ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำ นวน 102 โรงเรียน ในการกำ หนดจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ได้จากการสังเคราะห์ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา เขียนตัวเลข 1–3 เรียงลำ ดับความ ต้อต้งการตามความคิดคิเห็นห็ของตนเองที่จ ที่ ะกำ หนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประเด็นที่มีความถี่สูงที่สุดมีจำ นวน 6 รายการ จึงจึได้กำด้กำหนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1ได้แด้ก่1) โรงเรียรีน ปลอดภัยภั 2)การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ (Active Learning) 3) ทักทัษะเทคโนโลยี 4) ทักทัษะอาชีพชี 5) ทักทัษะ ชีวิต 6) คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 หลังจากนั้นผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด จัดจัทำ ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานกับกัผู้อำผู้ อำนวยการสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาโดยผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ต้องเขียนข้อตกลงในการพัฒนางาน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทาย จำ นวน 2 เรื่อง โดยเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา จำ นวน 1 เรื่อง และเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความ สอดคล้องกับจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำ นวน 1 เรื่อง ซึ่ง เลือกเพียง 1 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจัดข้อตกลงในการ พัฒนางาน (PA) กับผู้บังคับบัญชา เพื่อแสดงเจตจำ นงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของตำ แหน่งและวิทยฐานะที่ดำ รงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย บริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้บังคับบัญชาได้เห็นชอบ ให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาได้ดำ เนินการตามข้อตกลงพัฒนางานแล้ว ได้มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เกิดเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในขับเคลื่อนนโยบายและ จุดเน้นสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสถานศึกษาทั้ง 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อให้การดำ เนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน และเป็นการขยายผลการดำ เนินงานการนำ นโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาจึงดำ เนินการถอดบทเรียน Best Practice ของสถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ดังปรากฎในหนังสือเล่มนี้


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียรีน เป็นป็ทั้ง ทั้ บรรณาธิกธิารออกแบบรูปรูเล่มล่เป็นป็ต้นต้ขอขอบคุณคุศึกศึษานิเนิทศก์ทุก์กทุท่าท่น และผู้บผู้ริหริาร สถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็นเจ้าของ บทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คำ นำ ค การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำ เนินการพัฒนาคุณภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ของนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นป็หน้าน้ที่ห ที่ ลักลัของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ซึ่ง ซึ่ ขับขัเคลื่อ ลื่ นการพัฒพันา ด้วด้ยการกำ หนดให้ผู้ห้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ 6 จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษา ปทุมทุธานี เขต 1 ไปเขียขีนข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานที่เ ที่ ป็นป็ ประเด็นด็ท้าท้ทาย ซึ่ง ซึ่ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ สู่ การปฏิบัติ ออกแบบนวัตกรรม ขั้นตอนการดำ เนินงานขับเคลื่อนและพัฒนาสถานศึกษาโดยทุกฝ่าย มีส่มีวส่นร่วร่ม เกิดกิผลสำ เร็จร็ที่เ ที่ ป็นป็รูปรูธรรมเชิงชิประจักจัษ์ไษ์ด้รัด้บรัการชื่น ชื่ ชมและได้รัด้บรัการยกย่อย่งว่าว่เป็นป็วิธีวิปธีฏิบัฏิติบัติที่เ ที่ ป็นป็เลิศลิ (Best Practice) ได้รัด้บรัการยอมรับรัทั้ง ทั้ จากภายในและภายนอกสถานศึกศึษา หนังนัสือสื “ถอดบทเรียรีน 6 จุดจุเน้นน้สพป.ปทุมทุธานี เขต 1” เป็นป็การบันบัทึกทึเรื่อ รื่ งราวการเดินดิทาง สู่คสู่ วามสำ เร็จร็ของการพัฒพันาสถานศึกศึษาใน 6 จุดจุเน้นน้จุดจุเน้นน้ละ 3 โรง รวม 18 โรง ผ่าผ่นการสนทนา พูดพูคุยคุและเล่าล่เรื่อ รื่ งราว จากผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ครู ศึกศึษานิเนิทศก์แก์ละผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง โดยมีจุมีดจุประสงค์ เพื่อรวบรวมประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำ เนินงาน ในด้านแรงบันดาลใจ นวัตกรรมและขั้นตอน การดำ เนินงาน ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัจจัยความสำ เร็จ ปัญหาที่พบและการแก้ไข การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเมื่อได้พัฒนาตามจุดเน้นที่เลือกดำ เนินการ ทั้งด้านผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบทของโรงเรียนทั่ว ๆ ไปและความภาคภูมิใจเมื่อโรงเรียนประสบ ความสำ เร็จในการพัฒนางานจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเผยแพร่เร่อกสารการถอดบทเรียรีนครั้ง รั้ นี้ เป็นป็การสร้าร้งคุณคุค่าค่ ให้แห้ก่คก่วามสำ เร็จร็ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ของ สถานศึกษาที่เป็นเจ้าของบทเรียน โดยจัดทำ เอกสารถอดบทเรียนจำ นวน 6 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เล่มที่ 2 จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เล่มที่ 3 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เล่มที่ 4 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เล่มที่ 5 จุดเน้นที่ 5 การพัฒนาทักษะชีวิต เล่มที่ 6 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต 1 หวังวัเป็นป็อย่าย่งยิ่ง ยิ่ ว่าว่เมื่อ มื่ ท่าท่นได้อ่ด้าอ่น หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1” ทั้ง 6 เล่ม จะเป็นแรงบันดาลใจให้ท่าน ทำ งานอย่าย่งมีคมีวามสุขสุและมีคมีวามภาคภูมิภูใมิจกับกังานที่ทำ ที่ ทำ ไม่ว่ม่าว่งานนั้น นั้ จะเป็นป็งานใด ๆ ก็ตก็าม นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


ปฐมบทของการเดินทาง............................................................................................................ ก คำ นำ ......................................................................................................................................... ค สารบัญ...................................................................................................................................... ง 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1........................................................................................... 1 การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา......................................... 3 โรงเรียนกับการพัฒนา 6 จุดเน้น......................................................................................... 4 การเดินทางสู่ความสำ เร็จ จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา................ 5 ปัจจัยความสำ เร็จ................................................................................................................. 6 นวัตกรรม............................................................................................................................. 6 ขั้นตอนการพัฒนา................................................................................................................ 7 โรงเรียนวัดเปรมประชากร................................................................................................... 8 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์..................................................................................... 12 โรงเรียนชุมชนวัดบางขัน.................................................................................................... 16 คณะดำ เนินงาน....................................................................................................................... 20 สารบัญบั ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ง


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1


6 จุดเน้น น้ สพป.ปทุม ทุ ธานี เขต 1 การดำดำดำดำเนินินินิงานความปลอดภัภัภัยภั ในสถานศึศึศึกศึษา การพัพัพัฒพันาผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีนสู่สู่สู่ฐสู่ านสมรรถนะ ด้ด้ ด้ ว ด้ วยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รูรู้รูรูปรูแบบ Active Learning การใช้ช้ ช้ เ ช้ เทคโนโลยียียีดิยีดิดิจิดิจิจิทัจิทัทัลทั เพื่พื่ พื่ อ พื่ อการบริริริหริารจัจัจัดจัการ และการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้ การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะอาชีชีชีพชี การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะชีชีชีวิชีวิวิตวิ การพัพัพัฒพันาคุคุคุณคุธรรม จริริริยริธรรม และทัทัทักทัษะในศตวรรษที่ที่ ที่ที่ 21 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 2 6 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เกิดจากการวิเคราะห์นโยบายและจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ - กระทรวงศึกษาธิการ - สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) ที่มีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กัน และมีความเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่และ ภารกิจของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่จะนำ นโยบายและจุดเน้น ลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้จริง


3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดทำ ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนางาน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1. ประชุมชี้แจงและร่วมกันวางแผน กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงาน 2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน เพื่อกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 6. ดำ เนินการตามรูปแบบการพัฒนาข้อตกลง ในการพัฒนางาน 7. นิเทศการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามรูปแบบ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลงในการพัฒนางานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานที่ปฏิบัติงานจริง 9. สรุปผลการดำ เนินงานตามรูปแบบฯ ที่ได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 10. ยกย่องเชิดชูเกียรติ ไม่ผ่าน ผ่าน 3


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรีย รี นกับการพัฒนา 6 จุดเน้น การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 การพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพ แวดลอมที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ช่วช่ยเหลือลืและเยียยีวยาด้าด้นความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาและมีข้มีอข้มูลมูสารสนเทศที่เ ที่ ป็นป็ ระบบ สามารถแก้ไก้ขปัญปัหาและบริหริารจัดจัการความเสี่ย สี่ ง ได้อด้ย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืด้วด้ยการบริหริารจัดจัการตามาตรการ3 ป ได้แด้ก่ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม โดยการมีส่มีวส่นร่วร่มของ หน่วน่ยงานที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง และภาคีเคีครือรืข่าข่ย การจัดการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวั(ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ.2560)ที่เ ที่ หมาะสม กับความต้องการและบริบท ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชั้น ชั้ เรียรีน สร้าร้งปฏิสัฏิมสัพันพัธ์รธ์ะหว่าว่งครูผู้รูสผู้อนกับกัผู้เผู้รียรีนมุ่งมุ่ ให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีวิกธีารที่ห ที่ ลากหลาย จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 การจัดจัทำ หลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาที่บู ที่ รบูณาการทักทัษะอาชีพชีและ พัฒพันากระบวนการจัดจัการเรียรีนรู้ เพื่อ พื่ เตรียรีมความพร้อร้มแก่ ผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ และมีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานในการประกอบอาชีพชี สร้าร้งเสริมริประสบการณ์อณ์าชีพชีในรูปรูแบบต่าต่งๆรวมถึงถึการปลูกลูฝังฝั ลักษณะนิสัยในการทำ งาน การมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทำ งาน รักงาน สู้งาน และทำ งานจนสำ เร็จ มีคมีวามรู้พื้รู้ น พื้ ฐานของการเป็นป็ผู้ปผู้ระกอบการที่ดี ที่ ดีมีแมีรงบันบัดาลใจ ในการค้นค้พบอาชีพชีเพื่อ พื่ พัฒพันาไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีในอนาคต ด้วด้ยการมีส่มีวส่นร่วร่มของผู้ปผู้กครองสถานประกอบการแหล่งล่เรียรีนรู้ และภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ การพัฒนาทักษะอาชีพ การนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัการจัดจัการฐานข้อข้มูลมูและการใช้ ข้อข้มูลมูสารสนเทศในการบริหริารและการจัดจัการศึกศึษา เพื่อ พื่ เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพการบริหริารสถานศึกศึษาการจัดจัทำ ระบบ ข้อข้มูลมูสารสนเทศของนักนัเรียรีนเป็นป็รายบุคบุคล มีคมีวามสะดวก รวดเร็วร็มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืในการนำ ข้อข้มูลมูไปใช้ปช้รับรัปรุงรุและ ไปใช้ใช้ห้เห้กิดกิประโยชน์ต่น์อต่การบริหริารจัดจัการสถานศึกศึษารวมถึงถึ การพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้ทัมีกทัษะดิจิดิทัจิลทัและภาษาคอมพิวพิเตอร์ มีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานการใช้เช้ทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสมกับกัช่วช่งวัยวั สามารถใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการรับรัรู้แรู้ละมีวิมีจวิารณญาณในการใช้ สื่อ สื่ เทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 5 จุดเน้นที่ 6 การบูรบูณาการทักทัษะชีวิชีตวิในหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาระดับดัปฐมวัยวั และระดับดัการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน ให้มีห้กมีารจัดจัการเรียรีนการสอน ทักทัษะชีวิชีตวิบูรบูณาการในกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ด้รู้วด้ยกระบวนการ เรียรีนรู้ที่รู้ เ ที่ น้นน้ผู้เผู้รียรีนเป็นป็สำ คัญคัหรือรืการจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ และจัดจัระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน เพื่อ พื่ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนเกิดกิ การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมอันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิ และอยู่ใยู่ นสังสัคมอย่าย่งมีคมีวามสุขสุภายใต้คต้วามร่วร่มมือมืของ ภาคีเคีครือรืข่าข่ยพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิแก่ผู้ก่เผู้รียรีน การพัฒนาทักษะชีวิต การดำ เนินนิงาน/โครงการ/กิจกิกรรมพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้ป็นป็พลเมือมืงดี มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม ตามพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของ พระบาทสมเด็จด็พระวชิรชิเกล้าล้เจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัรัชรักาลที่ 10และดำ เนินนิ งาน/โครงการ/กิจกิกรรม เพื่อ พื่ พัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ มีทัมีกทัษะ การเรียรีนรู้และทักทัษะที่จำ ที่ จำเป็นป็ของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยมี ภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วม และมีผลการดำ เนินงาน บรรลุตามเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 4


การดำ เนินนิงานความปลอดภัย ภั ในสถานศึก ศึ ษา การเดินทาง... สู่คสู่ วามสำ เร็จ ร็ จุดเน้น น้ ที่ 1 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 5


นวัตกรรม ปัจจัยความสำ เร็จ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การนำ มาตรการความปลอดภัยสถานศึกษา 3 ป : ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม มาดำ เนินการโดยใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมกับ 7 กลุ่มความร่วมมือ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง วัด / ผู้นำ ชุมชน หน่วยงานบรรเทา สาธารณภัย ตำ รวจ หน่วยงานสาธารณสุข และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การวางแผนการทำ งานอย่างเป็นระบบ โดยการประสานความร่วมมือและนำ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ในการทำ งานผ่านการใช้เทคโนโลยีและ สารสนเทศ การวางแผนการทำ งานผ่านการระดมความคิด ลงมือปฏิบัติงานด้วยการระดมกำ ลัง มีการตรวจสอบ ประเมินผลผ่านการระดมติดตาม และระดมปรับปรุงเพื่อแก้ไข ผลการดำ เนินงาน โรงเรียนวัดเปรมประชากร นวัตกรรม 3 ป 7 ร่วมมือ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ 2PTS Safety MODEL โรงเรียนชุมชนวัดบางขัน MOBILIZE MODEL การมีส่วนร่วม ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่าย และหน่วยงานภายนอก มีส่วนร่วมในการดำ เนินงานในแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม ตามบทบาทหน้าที่ การบริหารจัดการ การมอบหมายงานตรงตามความสามารถของแต่ละบุคคล การสร้างขวัญและกำ ลังใจ หลักความพอเพียง (3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ) ศักยภาพของบุคคล ความเป็นผู้นำ ความรู้ ความสามารถ ของผู้ปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบในกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบต่อผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อตนเอง เทคโนโลยี การใช้ Platform ด้วย Cloud Computing 6


- ขับเคลื่อนการดำ เนินงานด้วยกระบวนการ ADDIE Analysis (การวิเคราะห์) Design (การออกแบบ) Development (การพัฒนา) Implementation (การนำ ไปใช้) Evaluation (การประเมินผล) - ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ - ยึดหลักความพอเพียง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ขั้นตอนการพัฒนา - ศึกษาข้อมูล นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด สภาพแวดล้อม และบริบทของโรงเรียน - จัดทำ แผนปฏิบัติการประจำ ปี - จัดทำ โครงการ/กิจกรรม ด้านความปลอดภัยโรงเรียน - แต่งตั้งคณะทำ งาน/ประชุมชี้แจง - จัดทำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับเครือข่าย ตรวจสอบการดำ เนินงาน โดย คณะกรรมการที่ได้รับ การแต่งตั้ง เช่น ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการ สภานักเรียน - วิเคราะห์ผลสำ เร็จของการทำ กิจกรรมหรือโครงการ - ระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา จุดอ่อน /จุดแข็ง - รายงานผลการดำ เนินงานและนำ เสนอ - จัดทำ แผนการปรับปรุงและพัฒนาต่อยอด ขั้นตอนที่ 1 วางแผน ขั้นตอนที่ 2 ดำ เนินการ ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบ ขั้นตอนที่ 4 ขั้นปรับปรุงและพัฒนา 7


ผอ.พลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเปรมประชากร ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนวัดเปรมประชากร โรงเรียนวัดเปรมประชากร ตั้งอยู่อำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 จนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนตั้งอยู่ในที่ดินธรณีสงฆ์ของ วัดเปรมประชากร บริบททั่วไปมีสภาพสังคมเป็นสังคมเมือง ผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา ผอ.พลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ ผู้อำ นวยการโรงเรียน วัดเปรมประชากร กล่าวถึงเป้าหมายในการบริหารงาน ที่เป็นแรงบันดาลใจ มุ่งหวังให้โรงเรียนวัดเปรมประชากร เป็นโรงเรียนแห่งความปลอดภัยว่า “ลูกวัดเปรม มีสุข 4 มิติ สุขกาย สุขใจ สุขปัญญา สุขในสังคม” “ลูกวัดเปรมมีสุข 4 มิติ สุขกาย สุขใจ สุขปัญญา สุขในสังคม” เป็นเป้าหมายของโรงเรียนที่ต้องการให้ นักเรียนเกิดสุขภาวะ อีกทั้งยังตระหนักถึงความสำ คัญของนโยบาย Quick Win 7 วาระเร่งด่วน นโยบาย และจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มุ่งเน้นการสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มี คุณภาพสู่ความเท่าเทียมและบริหารจัดการศึกษาสู่มีประสิทธิภาพ โดยหากนักเรียนมีภูมิคุ้มกันเรื่อง ความปลอดภัยภัและอยู่ใยู่ นโรงเรียรีนอย่าย่งมีคมีวามสุขสุนั้น นั้ ก็จก็ะเป็นป็ ปัจปัจัยจัสำ คัญคัที่ส่ ที่ งส่ผลให้ดำห้ ดำเนินนิการเรื่อ รื่ งอื่น อื่ ๆ ภายในโรงเรียรีนประสบความสำ เร็จร็และสิ่ง สิ่ ที่มุ่ ที่ งมุ่ หวังวัเป็นป็สำ คัญคัอีกอีหนึ่ง นึ่ สิ่ง สิ่ ก็คืก็อคืต้อต้งการต่อต่ยอดการดำ เนินนิงาน ด้าด้นความปลอดภัยภัเพื่อ พื่ ให้โห้รงเรียรีนวัดวัเปรมประชากรเป็นป็ โรงเรียรีนต้นต้แบบด้าด้นความปลอดภัยภัต่อต่ ไป” “โรงเรียนวัดเปรมประชากรเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีสภาพสังคมเป็นสังคมเมือง ผู้ปกครองของนักเรียน ส่วส่นใหญ่มีญ่อมีาชีพชีรับรัจ้าจ้ง ส่งส่ผลให้ไห้ม่มีม่เมีวลาในการดูแดูล บุตรหลานได้อย่างเต็มที่ นักเรียนสามารถเข้าถึงสื่อ ที่ไที่ ม่พึม่งพึประสงค์ไค์ด้ง่ด้าง่ย อันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารเข้าข้ถึงถึกลุ่มลุ่ ภัยภั ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ อีกทั้งการเผชิญกับภัยต่าง ๆ สามารถเกิดกิได้มด้ากขึ้น ขึ้ หากนักนัเรียรีนมีภูมีมิภูคุ้มิมคุ้กันกัมากพอ จะสามารถดูแลตนเองให้เกิดความปลอดภัยได้” 8


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน โรงเรียนวัดเปรมประชากร มีความมุ่งมั่นพัฒนาแนวทาง ระบบ และการดำ เนินงานด้านความปลอดภัย ในสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการร่วมกันสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา ให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืน เพื่อให้สามารถดูแลนักเรียนได้อย่างทั่วถึง มั่นคง และมีประสิทธิภาพ จึงนำ นวัตกรรม “3 ป 7 ร่วมมือ” มาขับเคลื่อนตามมาตรการความปลอดภัยสถานศึกษาตามหลัก 3 ป และนำ มาใช้ดำ เนินการ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม ทั้ง ทั้ 4กลุ่มลุ่ ภัยภั โดยนำ หลักลัการบริหริารแบบมีส่มีวส่นร่วร่ม ซึ่ง ซึ่ ส่งส่ผลให้เห้กิดกิประสิทสิธิภธิาพ ในการบริหาร มีเครือข่ายความร่วมมือ 7 กลุ่มที่มีบทบาทชัดเจน ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง วัด ผู้นำ ชุมชน หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัย ตำ รวจ หน่วยงานสาธารณสุข และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และใช้วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) เป็นกระบวนการดำ เนินงาน การออกแบบนวัตวักรรม “3 ป 7 ร่วร่มมือมื” ของโรงเรียรีนวัดวัเปรมประชากร ใช้กช้ระบวนการ ADDIE MODEL ซึ่งเป็นโมเดลที่พัฒนาขึ้นมาในปี ค.ศ. 1975 โดย the Centre for Educational Technology at Florida State University มีลำมีลำดับดัการพัฒพันาเป็นป็ 5 ขั้น ขั้ ซึ่ง ซึ่ ประกอบด้วด้ยการวิเวิคราะห์ (Analysis)การออกแบบ (Design) การพัฒพันา (Development)การนำ ไปใช้ (Implementation)และการประเมินมิผล(Evaluation) รายละเอียอีดดังดันี้ การวิเคราะห์ (Analysis) ศึกษา วิเคราะห์นโยบาย การดำ เนินงานความปลอดภัยสถานศึกษา ความเสี่ยงในการเผชิญ 4 กลุ่มภัย การออกแบบ (Design) ออกแบบนวัตกรรม โดยใช้ มาตรการความปลอดภัยสถานศึกษา ตามหลัก 3 ป และหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) โดยมีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่กำ หนด 7 เครือข่าย การพัฒนา (Development) พัฒนาวิธีปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัย ด้วยรูปแบบ “3 ป 7 ร่วมมือ” โดยการกำ หนดกิจกรรมดำ เนินการพัฒนานักเรียน และดูแลความปลอดภัยในสถานศึกษา โดยใช้มาตรการความปลอดภัย สถานศึกษา ตามหลัก 3 ป และหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) ในการพัฒนาผ่านกระบวนการ PLC การนำ ไปใช้ (Implementation) นำ นวัตกรรมการเสริมสร้างความปลอดภัย ใช้ในการดำ เนินงาน โครงการส่งเสริมความปลอดภัยในสถานศึกษา การประเมินผล (Evaluation) ผู้บริหารนิเทศติดตามด้วยกระบวนการ PLC เดือนละ 1 ครั้ง และประเมินผลจากรายงานกิจกรรมต่าง ๆ การสังเกต จากการเข้าร่วมกิจกรรม และความพึงพอใจของผู้ปกครอง ในการดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา 9


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ จากการดำ เนินงานเรื่องความปลอดภัยในสถานศึกษา ผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนวัดเปรมประชากร พบว่า องค์ความรู้ในการดูแลความปลอดภัยของนักเรียน ต้องเกิดจากการดำ เนินการป้องกัน ปลูกฝัง และ ปราบปราม รวมไปถึงการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม กระบวนการทำ งานเป็นทีม และการนำ เทคโนโลยีใยีหม่ ๆ มาใช้บช้ริหริารจัดจัการด้าด้นความปลอดภัยภัของนักนัเรียรีน ส่งส่ผลให้เห้กิดกิประสิทสิธิภธิาพในการดำ เนินนิงาน มากยิ่ง ยิ่ ขึ้น ขึ้ อันอันำ ไปสู่นัสู่ กนัเรียรีนสามารถดำ เนินนิชีวิชีตวิอยู่ใยู่ นโรงเรียรีนได้อด้ย่าย่งมีคมีวามสุขสุ ปัญหาและการแก้ไข “ปัญหาจากภาระงานที่มีเป็นจำ นวนมาก มีกิจกรรมแทรกนอกเหนือจากปฏิทินการดำ เนินงานที่กำ หนดไว้ ทำ ให้ไม่สามารถดำ เนินงานตามระยะเวลาที่กำ หนดไว้ และครูเกิดความเหนื่อยล้า จากภาระงาน แก้ปัญหา โดยการกำ หนดปฏิทิฏินทิการดำ เนินนิงานสำ รอง ประสานขอความร่วร่มมือมืจากทุกทุฝ่าฝ่ยดำ เนินนิการจัดจัให้คุห้ณคุครูไรูด้ร่ด้วร่มกันกั สังเคราะห์และถอดบทเรียนที่ทำ ให้การดำ เนินงานประสบความสำ เร็จตลอดถึงปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้น ระหว่างการดำ เนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:PLC)และจัดจัให้มีห้กมีารแลกเปลี่ย ลี่ นระหว่าว่งชั้น ชั้ เรียรีน เพื่อ พื่ ให้เห้กิดกิวิธีวิกธีารดำ เนินนิงานที่ดี ที่ ที่ดีสุ ที่ ดสุมีปมีระสิทสิธิภธิาพ มากที่สุ ที่ ดสุและเกิดกิผลที่ดี ที่ กัดีบกัเด็กด็มากที่สุ ที่ ดสุนอกจากนี้ปันี้ ญปัหาการใช้ Platform การเก็บก็รวบรวมข้อข้มูลมูจากหน่วน่ยงาน ต้นสังกัดเกิดการสูญหาย ระบบล่ม ทำ ให้เกิดการทำ งานซ้ำ โรงเรียนแก้ปัญหาโดยนำ เทคโนโลยีการใช้งาน Google Drive ที่ทำ ให้เราสามารถนำ ไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ผ่านพื้นที่เก็บข้อมูลระบบคลาวด์และ การสำ รองข้อมูลไฟล์ที่มีความปลอดภัย ทำ ให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านั้นที่ไหนก็ได้และยังสามารถแบ่งปันไฟล์ กับคนที่ต้องการ” มีภาระงานมาก ไม่สามารถดำ เนินงาน ตามระยะเวลาที่กำ หนด กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงานสำ รอง ทีมงานถอดใจ เหนื่อล้ากับงานที่ทำ ใช้กระบวนการ PLC ร่วมกันสังเคราะห์และ ถอดบทเรียนงานที่สำ เร็จ ปัญหา และอุปสรรค ปัญหา การแก้ไข ถึงถึแม้ว่ม้าว่การขับขัเคลื่อ ลื่ นการเสริมริสร้าร้งความปลอดภัยภัในสถานศึกศึษาของโรงเรียรีนวัดวัเปรมประชากรจะมีผมีลงาน เชิงประจักษ์เป็นรูปธรรม ประสบความสำ เร็จตามเป้าหมาย ทุกภาคส่วนให้การยอมรับ ได้รับรางวัลและได้รับ การยกย่อย่งชมเชยจากหลายหน่วน่ยงาน แต่ก็ต่พก็บว่าว่การทำ งานไม่ไม่ด้ง่ด้าง่ยเลย มีปัมีญปัหาต่าต่งๆ ที่ต้ ที่ อต้งแก้ไก้ขอยู่ตยู่ ลอดเวลา ผอ.พลอยนภัสภั ปุรปุณะวณิชณิย์ได้กด้ล่าล่วว่าว่ Platform ระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลล่ม ข้อมูลสูญหาย ต้องทำ งานซ้ำ จัดเก็บข้อมูลใน Google Drive ปัญหา การแก้ไข 10


สถานศึกษามีนวัตกรรมด้านความปลอดภัย อย่างชัดเจน ส่งผลให้ได้รับรางวัล สถานศึกษาปลอดภัยจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 6 ปีซ้อน ได้รับ รางวัลวัชนะเลิศลิ โรงเรียรีนที่มี ที่ นมีวัตวักรรมเสริมริสร้าร้งความปลอดภัยภัที่เ ที่ ป็นป็เลิศลิระดับดั เขตตรวจราชการที่ 2 ได้รับการยอมรับจากสถานศึกษาอื่นๆ และคนในชุมชน ที่สำ คัญคือ ครูมีความภาคภูมิใจในการร่วมมือดำ เนินงานของตนเองจนประสบ ความสำ เร็จ รักและภูมิใจในสถานศึกษา สถานศึกศึษามีเมีครือรืข่าข่ยในการเสริมริสร้าร้งความปลอดภัยภัอย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืทั้ง ทั้ ภายใน และ ภายนอกสถานศึกศึษา พร้อร้มช่วช่ยกันกัส่งส่เสริมริพัฒพันาสถานศึกศึษา และชุมชุชนให้เห้กิดกิ ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำ เนินงานเรื่องความปลอดภัย มีความรู้ ความเข้าใจ และมีวิธีการใหม่ ๆ ในการดำ เนินงานเพิ่มขึ้น ผู้บริหาร ครู และบุคลากรมองเห็นความปลอดภัยของนักเรียนเป็นลำ ดับแรก นักเรียนมีความสุข รู้สึกปลอดภัยเมื่ออยู่ในโรงเรียน ผู้ปกครองให้ความเชื่อมั่น ไว้ใจและส่งบุตรหลานเข้ามาศึกษาในสถานศึกษาเพิ่มขึ้น มีภาคีเครือข่ายด้านความปลอดภัย ครูมีแนวทางในการดำ เนินงานเสริมสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาที่เข้าใจ ตรงกันและพัฒนานวัตกรรมอยู่เสมอ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 “เดินคนเดียวไปได้ไว แต่เดินพร้อมกันหลายๆ คนไปได้ไกล” ผอ.พลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ ผู้อำ นวยการ โรงเรียรีนวัดวัเปรมประชากร มีคมีวามเชื่อ ชื่ มั่น มั่ ในความคิดคินี้ ส่งส่ผลให้ปัห้จปัจัยจัที่ทำ ที่ ทำให้กห้ารดำ เนินนิงานประสบความสำ เร็จร็ ได้แก่ ความตระหนักในการดำ เนินงานเรื่องความปลอดภัยพร้อมกันทั้งองค์กร ตั้งแต่ผู้บริหาร ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน การมีส่มีวส่นร่วร่มในการทำ งานทั้ง ทั้ ภายในและภายนอกโรงเรียรีน วัฒวันธรรม องค์กรที่ดีในการร่วมมือการทำ งาน ความรับผิดชอบในการดำ เนินงาน ศักยภาพของบุคคล และการนำ นวัตวักรรมไปใช้พัช้ฒพันานักนัเรียรีนในทุกทุกิจกิกรรม ทุกทุองค์ปค์ระกอบ เพื่อ พื่ ให้สห้ามารถดำ เนินนิการได้อด้ย่าย่งเต็มต็ ประสิทสิธิภธิาพ จึงจึจะส่งส่ผลให้เห้กิดกิประสิทสิธิผธิลสูงสูสุดสุ ปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ ผอ.พลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ และครูประจักร์ ลาขุมเหล็ก มีความเห็นตรงกันว่าความภาคภูมิใจ ที่เกิดขึ้น เป็นดั่งคำ ขวัญที่ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เข้าใจตรงกันว่า “ที่นี่วัดเปรม...โรงเรียนเปี่ยมสุข” ครูประจักร์ ลาขุมเหล็ก ครูโรงเรียนวัดเปรมประชากร ผอ.พลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ 11


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ ตั้งอยู่อำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เปิดทำ การสอนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับของชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรปกติ (Smart Program) หลักสูตร Intensive English Program และ หลักสูตร English Program แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา ผอ.กาญจนา คล้ายพุฒ ผู้อำ นวยการโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ “โรงเรียนมีความพร้อมในเรื่องของการจัดการศึกษา อยู่แล้ว จึงมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในโรงเรียน ว่าควรเน้นเรื่องของ Security ซึ่งเป็นไปตามนโยบาย ของหน่วยงานต้นสังกัด แล้วโรงเรียนมีบุคลากรที่มี ความรู้ครู้วามสามารถในการให้คห้วามร่วร่มมือมืกับกัโรงเรียรีน เป็นป็อย่าย่งดี”ดี โรงเรียรีนประถมศึกศึษาธรรมศาสตร์ ตระหนักนัถึงถึความสำ คัญคัของการพัฒพันาเยาวชนให้มีห้คุมีณคุลักลัษณะอันอัพึงพึ ประสงค์ตค์ามหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษา ให้เห้ป็นป็คนที่ส ที่ มบูรบูณ์ทั้ณ์ง ทั้ ร่าร่งกายและจิตจิใจ มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรมและวัฒวันธรรม ในการดำ รงชีวิชีตวิสามารถอยู่ร่ยู่ วร่มกับกัผู้อื่ผู้ น อื่ ได้อด้ย่าย่งมีคมีวามสุขสุห่าห่งไกลจากยาเสพติดติสื่อ สื่ ลามกอนาจาร เกมออนไลน์ การพนันนัและการทะเลาะวิววิาท ซึ่ง ซึ่ เป็นป็พฤติกติรรมเบี่ย บี่ งเบนที่สั ที่ งสัคมไม่ยม่อมรับรัถือถืเป็นป็กลยุทยุธ์ที่ธ์สำ ที่ สำคัญคัตามนโยบาย ของกระทรวงศึกศึษาธิกธิารมอบหมายให้สห้ถานศึกศึษาทุกทุแห่งห่ดำ เนินนิงานโครงการสถานศึกศึษาปลอดภัยภั MOE Safety Center มุ่งมุ่ มั่น มั่ ในการพัฒพันาการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐานให้เห้ป็นป็ “การศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐานวิถีวิใถีหม่ วิถีวิคุถีณคุภาพ”มุ่งมุ่ เน้นน้ความปลอดภัยภั ในสถานศึกศึษาส่งส่เสริมริโอกาสทางการศึกศึษาที่มี ที่ คุมีณคุภาพอย่าย่งเท่าท่เทียทีมและบริหริารจัดจัการศึกศึษาอย่าย่งมีปมีระสิทสิธิภธิาพ โดยมุ่งมุ่ เน้นน้พัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ผู้ก่เผู้รียรีน ครูแรูละบุคบุลากรทางการศึกศึษาและสถานศึกศึษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพแวดล้อล้มที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรคอุบัอุติบัใติหม่แม่ละอุบัอุติบัซ้ำติซ้ำ ส่งส่เสริมริความปลอดภัยภัสร้าร้งความมั่น มั่ ใจให้สัห้งสัคม เพื่อ พื่ คุ้มคุ้ครองความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาสังสักัดกัเพื่อ พื่ ให้กห้ารป้อป้งกันกัดูแดูล ช่วช่ยเหลือลืหรือรืเยียยีวยา และแก้ไก้ขปัญปัหา มีคมีวามเป็นป็ เอกภาพ มีข้อมูลสารสนเทศที่เป็นระบบ สามารถแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการตามมาตรการ 3 ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม ผอ.กาญจนา คล้ายพุฒ ผู้อำ นวยการโรงเรียน ประถมศึกษาธรรมศาสตร์ กล่าวถึงแรงบันดาลใจ ในการดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษาว่า 12


T (Technology) ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ พัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาความปลอดภัยในโรงเรียน คือ 2 PTS MODEL เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาและบริบทของโรงเรียน (SWOT Analysis) มีการวางแผน การทำ งานอย่างเป็นระบบ โดยการประสานความร่วมมือและนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ในการทำ งาน ผ่าผ่นการใช้เช้ทคโนโลยีแยีละสารสนเทศ ภายใต้วต้งจรคุณคุภาพ PDCA มีรมีายละเอียอีดการดำ เนินนิงานดังดันี้ วางแผนการทำ งานอย่างเป็นระบบ โดยการจัดทำ แผนปฏิบัติการ ประจำ ปี 2566 เพื่อกำ หนดกิจกรรมและผู้รับผิดชอบครอบคลุม 3 ป (ป้องกัน ปลูกฝัง ปราบปราม) P (Planning) P (Participation) ประสานความร่วร่มมือมื โดยแต่งต่ตั้ง ตั้ คณะดำ เนินนิงานปฏิบัฏิติบัหติน้าน้ที่รั ที่ บรัผิดผิชอบ งานต่าง ๆ ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง และประชุมชี้แจงรายละเอียด การดำ เนินงานกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สภานักเรียน และร่วมกันศึกษานวัตกรรม 2PTS Model เพื่อนำ ไปใช้ แก้ปัก้ญปัหา ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศอย่างมีระบบ โดย -จัดทำ QR CORD รับแจ้งเหตุสามารถนำ ข้อมูลและรายงานผลเข้าสู่ MOE SAFETY CENTER -ประชาสัมพันธ์ทาง Facebook , Line และ สื่อ Social ต่าง ๆ -ประสานความร่วมมือภายในโรงเรียนผ่านกลุ่มไลน์ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ PTS การทำ งานโดยน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้การทำ งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เน้นการเลือกปฏิบัติอย่าง พอประมาณ มีเหตุผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ตนเองและสังคม โดย ดำ เนินการด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง สร้างเครือข่ายเพื่อร่วมมือ ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยที่รายละเอียดของวิธีการ ขั้นตอนการปฏิบัติจะมี ความแตกต่างกันไปตามแต่ละภารกิจ S (Sufficiency) นวัตกรรม 2 PTS MODEL 13


“ปัจจัยที่ทำ ให้การดำ เนินงานประสบความสำ เร็จ ได้แก่ ศักยภาพของผู้ทำ งาน เช่น ผู้บริหาร สามารถอ่านคนออก บอกคนได้ ใช้คนเป็น มีภาวะผู้นำ อยู่เคียงข้างครูเป็นที่ปรึกษา ให้คำ แนะนำ อำ นวยความสะดวกช่วยเหลือ และมีความจริงใจ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรับผิดชอบ จิตจิสำ นึกนึความเป็นป็ครู และมีทัมีกทัษะการแก้ปัก้ญปัหา หรือรืแม้แม้ต่สต่ภานักนัเรียรีน ซึ่ง ซึ่ ในแต่ลต่ะคนต่าต่งมีคมีวาม รับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ใน 4 ฝ่ายงานการบริหารสถานศึกษาต่างมีส่วนร่วมในเรื่องของ การทำ งานด้านความปลอดภัย โดยใช้หลักความพอเพียง และใช้เทคโนโลยีช่วยในการดำ เนินงาน มีความรวดเร็ว” ให้การสนับสนุนกิจกรรมอย่างดียิ่ง มีส่วนร่วมในกิจกรรม ส่งเสริม และสนับสนุนทรัพยากรในการดำ เนินงาน “จากการดำ เนินงานเรื่องความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่า ความรู้ที่นำ มาใช้ คือ การบริหารงานอย่างเป็นระบบ การแก้ปัญหาตามสถานการณ์ แล้วก็พัฒนา ในจุดที่เราจะต้องพัฒนาไปเรื่อย ๆ โดยน้อมนำ หลักการทรงงานของในหลวง รัชรักาลที่ 9 มาปฏิบัฏิติบัติเริ่ม ริ่ ศึกศึษาข้อข้มูลมูอย่าย่งเป็นป็ระบบเพื่อ พื่ ได้รัด้บรัทราบปัญปัหาที่แ ที่ ท้จท้ริงริ การระเบิดบิจากข้าข้งในทุกทุมุมมุมอง ตั้ง ตั้ แต่มุต่มมุมองผู้บผู้ ริหริาร ครู นักนัเรียรีนและผู้ปผู้กครอง ให้ทุห้กทุคนที่มี ที่ ส่มีวส่นเกี่ย กี่ วข้อข้งเข้าข้มามีส่มีวส่นร่วร่มในการสะท้อท้นปัญปัหาด้าด้นความปลอดภัยภั แล้วล้นำ ไปปรับรัปรุงรุแก้ไก้ข และการใช้เช้ทคโนโลยีสยีารสนเทศอย่าย่งมีรมีะบบ ช่วช่ยแก้ปัก้ญปัหา ในเรื่อ รื่ งของการสื่อ สื่ สาร มีข้มีอข้มูลมูเพียพีงพอต่อต่การนำ มาวิเวิคราะห์แห์ละมีสมีารสนเทศเพื่อ พื่ ใช้ ในการบริหริารจัดจัการ ซึ่ง ซึ่ เป็นป็ส่วส่นสำ คัญคั ในการดำ เนินนิงานให้เห้กิดกิความรวดเร็วร็ถูกถูต้อต้ง และทันต่อเหตุการณ์” หน่วยงานและ ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการดำ เนินงานด้านความปลอดภัยสถานศึกษา มีส่วนร่วม ให้การดำ เนินงานสถานศึกษาปลอดภัยประสบผลสำ เร็จตามจุดประสงค์ ผู้บริหาร ให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้กำ ลังใจ รวมถึงด้านงบประมาณอย่างเต็มที่ สร้างความตระหนักและความเข้าใจแก่ทุกฝ่ายเกี่ยวข้อง ประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ครูทุกคน ให้ความร่วมมือร่วมใจอย่างเต็มที่และเต็มใจ มุ่งมั่นตั้งใจจริง และทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ นั มีความพร้อมในร่วมกิจกรรม คิดเอง ทำ เอง แก้ปัญหาเอง นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัญหาและการแก้ไข ปัจจัยความสำ เร็จ 14 ผอ.กาญจนา คล้ายพุฒ


นักเรียน มีความสุขในการเรียนรู้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นลดลง นักเรียนได้รับการส่งเสริมอย่างเต็มศักยภาพและมีจิตอาสาช่วยดูแลความปลอดภัยทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษาสามารถแจ้งเหตุได้อย่างเป็นระบบ ครูผู้สอน มีความสุขในการทำ งาน สามารถวางแผนการทำ งาน มีเวลา ในการจัดเตรียมข้อมูลต่างๆ จากการกำ หนดปฏิทินการดำ เนินงานอย่าง ชัดเจน และสามารถแก้ไข /ป้องกัน/เตรียมพร้อมรับ/บรรเทาสถานการณ์ ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ครูวีระพงษ์ ชูจันทร์ และ ครูคิรินทร์ พุทธานุกุล ครูโรงเรียน ประถมศึกศึษาธรรมศาสตร์ กล่าล่วถึงถึสิ่ง สิ่ ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ในโรงเรียรีนซึ่ง ซึ่ เป็นป็ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการดำ เนินงานความปลอดภัยใน สถานศึกษาในทุกด้านดังนี้ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความภาคภูมิใจ ผู้ปกครอง รับรู้ เข้าใจและเห็นบทบาทของครู บุคลากร ที่ดูแลบุตรหลานของเขาตั้งแต่เช้า ถึงเย็น เกิดการรวมกลุ่มเข้ามาช่วยครูแก้ปัญหา โรงเรียน มีการพัฒนาการดำ เนินงานด้านความปลอดภัย ในปีปัจจุบัน โรงเรียนพัฒนาระบบความปลอดภัยของรถรับส่งนักเรียน โดยร่วมกับ กระทรวงดิจิทัล ผ่านบริษัทเอกชน พัฒนาระบบความปลอดภัยให้อยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น “โรงเรียนมีการวางระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทุกคนมีความรับผิดชอบ ใช้การเข้าใจปัญหา เข้าถึงการพัฒนา ทำ ให้การทำ งานถึงแม้หนักแต่ไม่เหนื่อยใจ สามารถสร้างห้องเรียนแห่งความสุข มีพื้นที่ปลอดภัย มีความไว้วางใจกันระหว่างครูกับนักเรียน ระหว่างนักเรียนกับเพื่อน และผลงานออกมาเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และทุกคนมีความสุข” ครูวีระพงษ์ ชูจันทร์ ครูคิรินทร์ พุทธานุกุล 15


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนชุมชนวัดบางขัน โรงเรียรีนชุมชุชนวัดวับางขันขัตั้ง ตั้ อยู่อำยู่ อำเภอคลองหลวง จังจัหวัดวัปทุมทุธานี เป็นป็ โรงเรียรีนขยายโอกาสทางการศึกศึษาขนาดใหญ่ จัดจัการเรียรีนการสอน 3 ระดับดัคือคืระดับดั ปฐมวัยวัระดับดั ประถมศึกศึษา และระดับดัมัธมัยมศึกศึษาตอนต้นต้ โรงเรียรีนอยู่ติยู่ ดติกับกั วัดบางขัน และตลาดสด โดยบริเวณใกล้เคียงห่างออกไปไม่ไกลเป็นตลาดไท เป็นชุมชนที่มีคนอาศัยอยู่หนาแน่นและ มีคนหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่ แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา ผอ.ศุภวรรณ การุญญะวีร์ ผู้อำ นวยการโรงเรียน ชุมชนวัดบางขัน กล่าวถึงการดำ เนินงานความปลอดภัย ในสถานศึกษาว่า ผอ.ศุภวรรณ การุญญะวีร์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนชุมชนวัดบางขัน โรงเรียนชุมชนวัดบางขันได้นำ นโยบายสถานศึกษาปลอดภัยมาใช้เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด ภายในสถานศึกษา ที่กำ ลังแพร่ระบาดมากอยู่ในขณะนี้ ซึ่งเป็นปัญหาในครอบครัวที่ทำ ให้เกิดความทุกข์ เกิดความวิตกกังวล และความเครียด ส่งผลให้เกิดการปรับตัวที่ไม่เหมาะสมหรืออื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กด็และเยาวชนซึ่ง ซึ่ เป็นป็ช่วช่งวัยวัแห่งห่การเรียรีนรู้ การทดลอง และต้อต้งการสร้าร้งประสบการณ์ใณ์หม่ ๆ ให้แห้ก่ตก่นเอง อาจพลั้ง ลั้ พลาดและตกเป็นป็เหยื่อ ยื่ ของยาเสพติดติและอบายมุขมุในหลากหลายลักลัษณะ การดำ เนินนิงานไปสู่เสู่ ป้าป้หมาย หรือความสำ เร็จนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ในสถานศึกษา ซึ่งมีครู อาจารย์ เป็นหลักสำ คัญในการดำ เนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้เติบโต งดงามและเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคม การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม ดำ เนินวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง โรงเรียนดำ เนินการโดยการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนได้รับการเรียนรู้ การป้องกันและ การช่วช่ยเหลือลืแก้ไก้ขปัญปัหาต่าต่งๆ ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ จากปัจปัจัยจัเสี่ย สี่ งรอบสถานศึกศึษาที่มี ที่ พมีฤติกติรรมไปเกี่ย กี่ วข้อข้งกับกัยาเสพติดติ ร้านเกม การพนัน หนีเรียน ทะเลาะวิวาท ก่ออาชญากรรม เป็นปัญหาสังคมที่ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ทุกคน ที่เกี่ยวข้อง ต้องเข้าไปช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาไม่ให้มีพฤติกรรมเสี่ยงซึ่งมาจากปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบ จากแหล่งอบายมุขภายใต้แนวคิดนวัตกรรม “4 ระดม สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาห่างไกลยาเสพติด MOBILIZE MODEL” “โรงเรียนมีการวางแผนงานประจำ ปี โดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและได้ยึดนโยบายของ หน่วยงานต้นสังกัดและบริบทของสถานศึกษา ซึ่งโรงเรียน ชุมชุชนวัดวับางขันขัตั้ง ตั้ อยู่ใยู่ นพื้น พื้ ที่ที่ ที่ มี ที่ คมีวามเสี่ย สี่ งสูงสูด้าด้นยาเสพติดติ จึงมีความต้องการจะช่วยเหลือนักเรียน และแก้ไขปัญหา ยาเสพติด จึงดำ เนินงานด้านความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ” 16


ขั้นระดมความคิด การวางแผนการทำ งานและการศึกษาข้อมูล เพื่อใช้เป็นแนวทาง (Brainstorm) ในการดำ เนินงานตามหลัก 3 ป (ป้องกัน ปลูกฝัง ปราบปราม) ขั้นระดมกำ ลัง สังเกตและลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหา เพื่อสร้างความมั่นใจ (Mobilize) และความเชื่อมั่นให้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป ขั้น ขั้ ระดมติดติตาม นำ เสนอผลการดำ เนินนิการและตรวจสอบ ประเมินมิผลการดำ เนินนิงาน (Mobilize Follow) ขั้นระดมปรับปรุง ปรับปรุงแก้ไขผลการดำ เนินงานที่ยังไม่สำ เร็จและพัฒนา (Improve Mobilization) ผลการดำ เนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน การขับเคลื่อนการการดำ เนินงานโครงการด้วยนวัตกรรม “4 ระดม สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา ห่างไกลยาเสพติด MOBILIZE MODELW” ใช้แนวคิด 4 ระดม ประกอบด้วย โรงเรียนชุมชนวัดบางขันดำ เนินงานเสริมสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาภายใต้แนวคิดนวัตกรรม “4 ระดม สร้าร้งความปลอดภัยภัในสถานศึกศึษาห่าห่งไกลยาเสพติดติ MOBILIZE MODEL”ซึ่ง ซึ่ มีแมีนวคิดคิหลักลัที่สำ ที่ สำคัญคั ในการออกแบบนวัตวักรรม ประกอบด้วด้ย 1) นโยบายด้าด้นความปลอดภัยภัจากยาเสพติดติและอบายมุขมุ2) ขอบข่าข่ย ความปลอดภัยของสถานศึกษาจากยาเสพติดและอบายมุข และ 3) มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษา จากยาเสพติดติและอบายมุขมุมุ่งมุ่ เน้นน้ ให้เห้กิดกิความปลอดภัยภัต่อต่นักนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาอย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยื โดยเน้นน้มาตรการที่เ ที่ ข้มข้งวดในมาตรการ ๓ ป ได้แด้ก่ การป้อป้งกันกัการปลูกลูฝังฝัและการปราบปราม นวัตกรรม “4 ระดม สร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาห่างไกลยาเสพติด MOBILIZE MODEL” 17


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ เนื่องด้วยโรงเรียนชุมชนวัดบางขันมีเป้าหมายของการดำ เนินงานสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาที่ชัดเจน คือ เพื่อต้องการลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขภายในสถานศึกษา และบริเวณชุมชนโดยรอบ สถานศึกษา และเพื่อปลูกฝังจิตสำ นึก ให้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงโทษและภัยของยาเสพติดที่จะ ส่งผลถึงร่างกายและจิตใจ จึงมีการบูรณาการความรู้ที่เกี่ยวข้องจากหลายส่วนมาใช้เพื่อให้ความรู้แก่ครูและ บุคลากรทางการศึกษา และผู้มีส่วนร่วมในดำ เนินงาน ประกอบด้วย ความรู้เกี่ยวกับการสร้างความปลอดภัย ในสถานศึกษาห่างไกลยาเสพติดและอบายมุข การดำ เนินงานโดยใช้หลัก 3 ป โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม ในการดำ เนินนิงานโรงเรียรีนสีขสีาวกิจกิกรรมโรงเรียรีนวิถีวิพุถีทพุธกิจกิกรรมลูกลูเสือสืต้าต้นภัยภัยาเสพติดติกิจกิกรรมระบบการดูแดูล ช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน การส่งส่เสริมริอาชีพชีและการมีงมีานทำ การใช้สื่ช้อ สื่ และเทตโนโลยีเยีพื่อ พื่ การสื่อ สื่ สารด้าด้นความปลอดภัยภั ห่าห่งไกลยาเสพติดติการประสานงานเครือรืข่าข่ยการมีส่มีวส่นร่วร่มเพื่อ พื่ ให้คห้วามช่วช่ยเหลือลืได้ทัด้นทัเหตุกตุารณ์ รวมถึงถึการส่งส่ต่อต่ เพื่อ พื่ ให้ไห้ด้รัด้บรัการช่วช่ยเหลือลืนอกจากนี้ยั นี้ งยัใช้คช้วามรู้เรู้กี่ย กี่ วกับกัการความคุ้มคุ้ครองตามกฎหมายอีกอีด้วด้ย ปัญหาและการแก้ไข โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงที่มีชุมชน โดยรอบมีความข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ทำ ให้นักเรียนเข้าถึงยาเสพติดได้ง่าย ปัญหา การแก้ไข ใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ศึกษานักเรียนรายบุคคล ดำ เนินการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน ระดมความคิดจากทุกๆ มุมมองเพื่อหาทางเลือก ในการตัดสินใจ แสวงหาความคิดใหม่ๆ และใช้ ในการวางแผนแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น นักเรียนมีความอยากรู้ อยากลอง นำ ปัญหาที่ได้มาประชุมเพื่อวางแผนในการแก้ไข จนเป็นค่านิยมที่ผิดในช่วงวัย ปัจจัยความสำ เร็จ ผู้บริหารโรงเรียน สนับสนุนและให้กำ ลังใจ ครู มีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือร่วมใจอย่างเต็มที่และเต็มใจ นักเรียน ให้ความร่วมมือ เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น ผู้ปกครอง ชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรในการดำ เนินงาน หน่วยงานและภาคีครือข่าย มีส่วนร่วม ส่งเสริมการดำ เนินงานอย่างต่อเนื่อง 18


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ ผู้บริหาร ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ กับนักเรียนมากขึ้น เช่น กีฬา ดนตรี รวมถึงผู้บริหารลงมาให้ความใกล้ชิดกับนักเรียน อย่างเช่น การแต่งกายด้วยชุดการ์ตูนร่วมกับนักเรียนใน กิจกรรมวันเด็ก ครู มีจิตอาสาเพิ่มขึ้นในการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเมื่อพบ ความเสี่ยงด้านยาเสพติด นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักมากขึ้น ที่จะห่างไกลจากยาเสพติด ผู้ปกครอง ให้ความร่วมมือ เมื่อเกิดความเสี่ยงกับบุตรหลานจะให้ ความร่วมมือและคอยประสานงานกับครูที่ปรึกษา เพื่อช่วยเหลือได้ทันท่วงที การดำ เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ไม่ใช่เรื่องที่จะทำ ให้สำ เร็จได้โดยง่าย ผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนชุมชนวัดบางขัน ไม่อาจกล่าวได้ว่าการสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษาให้ห่างไกล ยาเสพติดได้เดินทางมาถึงจุดไหนแล้ว แต่ทุกคนมีความรู้สึกคล้ายคลึงกันว่า น่าจะยังอีกไกลกว่าจะถึงปลายทาง แต่ก็มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากการทำ งาน มาเสริมเติมพลังให้เดินหน้าต่อไป ซึ่งครูณัฏฐ์ สังข์สวัสดิ์ กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโรงเรียนทั้งด้านผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และผู้ปกครองว่า ครูณัฏฐ์ สังข์สวัสดิ์ ครูโรงเรียนชุมชนวัดบางขัน โรงเรียนมีการพัฒนาขึ้นในเรื่องการดำ เนินงานด้านความปลอดภัยจากเรื่องของยาเสพติดมาโดยตลอด นักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงด้านยาเสพติด ได้รับการช่วยเหลือ และได้รับการแก้ไขปัญหา จนสามารถกลับมาใช้ชีวิตปกติประจำ วันในโรงเรียนได้ 19


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คณะดำ เนินงาน ที่ปรึกรึษา นายกัมพล เจริญรักษ์ นายวิวัฒน์ สิรพัธน์โภคิน นางสาวสายใจ พุ่มถาวร นายธนกฤต แก้วนามไชย ผู้ร่ผู้ร่วมถอดบทเรียน 20 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เจ้าของบทเรียน โรงเรียนวัดเปรมประชากร 1. นางสาวพลอยนภัส ปุรณะวณิชย์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเปรมประชากร 2. นายประจักร์ ลาขุมเหล็ก ครู โรงเรียนวัดเปรมประชากร โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ 1. นางกาญจนา คล้ายพุฒ ผู้อำ นวยการโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ 2. นายวีระพงษ์ ชูจันทร์ ครู โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ 3. นายคิรินทร์ พุทธานุกุล ครู โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ โรงเรียนชุมชนวัดบางขัน 1. นางศุภวรรณ การุญญะวีร์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนชุมชนวัดบางขัน 2. นางณัฏฐ์ สังข์สวัสดิ์ ครู โรงเรียนชุมชนวัดบางขัน ผู้ถอดบทเรียน 1. นางสาวกาญจนา เกษร ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดสุทธาวาส 2. นางสาวประนอม ศรีดี ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการ บรรณาธิการกิจ นางสุรัสวดี จันทรกุล ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


BEST PRACTICE เอกสารลำ ดับที่ 2 / 2567 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธทุานี เขต 1 กระทรวงศึกษาธิกธิาร สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นฐาน


Click to View FlipBook Version