The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chayanee Chantarakul, 2024-03-25 12:44:37

จุดเน้นที่ 4

จุดเน้นที่ 4

ปฐมบทของการเดินทาง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ก หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1”ฉบับนี้ ปฐมบทของการเดินทาง สู่ความสำ เร็จ เริ่มจากการพัฒนาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารสถานศึกษาตามจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้วิเคราะห์นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนำ มาจัดทำ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำ นวน 102 โรงเรียน ในการกำ หนดจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ได้จากการสังเคราะห์ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา เขียนตัวเลข 1–3 เรียงลำ ดับความ ต้อต้งการตามความคิดคิเห็นห็ของตนเองที่จ ที่ ะกำ หนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประเด็นที่มีความถี่สูงที่สุดมีจำ นวน 6 รายการ จึงจึได้กำด้กำหนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1ได้แด้ก่1) โรงเรียรีน ปลอดภัยภั 2)การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ (Active Learning) 3) ทักทัษะเทคโนโลยี 4) ทักทัษะอาชีพชี 5) ทักทัษะ ชีวิต 6) คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 หลังจากนั้นผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด จัดจัทำ ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานกับกัผู้อำผู้ อำนวยการสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาโดยผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ต้องเขียนข้อตกลงในการพัฒนางาน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทาย จำ นวน 2 เรื่อง โดยเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา จำ นวน 1 เรื่อง และเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความ สอดคล้องกับจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำ นวน 1 เรื่อง ซึ่ง เลือกเพียง 1 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจัดข้อตกลงในการ พัฒนางาน (PA) กับผู้บังคับบัญชา เพื่อแสดงเจตจำ นงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของตำ แหน่งและวิทยฐานะที่ดำ รงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย บริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้บังคับบัญชาได้เห็นชอบ ให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาได้ดำ เนินการตามข้อตกลงพัฒนางานแล้ว ได้มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เกิดเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในขับเคลื่อนนโยบายและ จุดเน้นสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสถานศึกษาทั้ง 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อให้การดำ เนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน และเป็นการขยายผลการดำ เนินงานการนำ นโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาจึงดำ เนินการถอดบทเรียน Best Practice ของสถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ดังปรากฎในหนังสือเล่มนี้


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียรีน เป็นป็ทั้ง ทั้ บรรณาธิกธิารออกแบบรูปรูเล่มล่เป็นป็ต้นต้ขอขอบคุณคุศึกศึษานิเนิทศก์ทุก์กทุท่าท่น และผู้บผู้ริหริาร สถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็นเจ้าของ บทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คำ นำ ค การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำ เนินการพัฒนาคุณภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ของนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นป็หน้าน้ที่ห ที่ ลักลัของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ซึ่ง ซึ่ ขับขัเคลื่อ ลื่ นการพัฒพันา ด้วด้ยการกำ หนดให้ผู้ห้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ 6 จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษา ปทุมทุธานี เขต 1 ไปเขียขีนข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานที่เ ที่ ป็นป็ ประเด็นด็ท้าท้ทาย ซึ่ง ซึ่ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ สู่ การปฏิบัติ ออกแบบนวัตกรรม ขั้นตอนการดำ เนินงานขับเคลื่อนและพัฒนาสถานศึกษาโดยทุกฝ่าย มีส่มีวส่นร่วร่ม เกิดกิผลสำ เร็จร็ที่เ ที่ ป็นป็รูปรูธรรมเชิงชิประจักจัษ์ไษ์ด้รัด้บรัการชื่น ชื่ ชมและได้รัด้บรัการยกย่อย่งว่าว่เป็นป็วิธีวิปธีฏิบัฏิติบัติที่เ ที่ ป็นป็เลิศลิ (Best Practice) ได้รัด้บรัการยอมรับรัทั้ง ทั้ จากภายในและภายนอกสถานศึกศึษา หนังนัสือสื “ถอดบทเรียรีน 6 จุดจุเน้นน้สพป.ปทุมทุธานี เขต 1” เป็นป็การบันบัทึกทึเรื่อ รื่ งราวการเดินดิทาง สู่คสู่ วามสำ เร็จร็ของการพัฒพันาสถานศึกศึษาใน 6 จุดจุเน้นน้จุดจุเน้นน้ละ 3 โรง รวม 18 โรง ผ่าผ่นการสนทนา พูดพูคุยคุและเล่าล่เรื่อ รื่ งราว จากผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ครู ศึกศึษานิเนิทศก์แก์ละผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง โดยมีจุมีดจุประสงค์ เพื่อรวบรวมประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำ เนินงาน ในด้านแรงบันดาลใจ นวัตกรรมและขั้นตอน การดำ เนินงาน ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัจจัยความสำ เร็จ ปัญหาที่พบและการแก้ไข การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเมื่อได้พัฒนาตามจุดเน้นที่เลือกดำ เนินการ ทั้งด้านผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบทของโรงเรียนทั่ว ๆ ไปและความภาคภูมิใจเมื่อโรงเรียนประสบ ความสำ เร็จในการพัฒนางานจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเผยแพร่เร่อกสารการถอดบทเรียรีนครั้ง รั้ นี้ เป็นป็การสร้าร้งคุณคุค่าค่ ให้แห้ก่คก่วามสำ เร็จร็ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ของ สถานศึกษาที่เป็นเจ้าของบทเรียน โดยจัดทำ เอกสารถอดบทเรียนจำ นวน 6 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เล่มที่ 2 จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เล่มที่ 3 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เล่มที่ 4 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เล่มที่ 5 จุดเน้นที่ 5 การพัฒนาทักษะชีวิต เล่มที่ 6 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต 1 หวังวัเป็นป็อย่าย่งยิ่ง ยิ่ ว่าว่เมื่อ มื่ ท่าท่นได้อ่ด้าอ่น หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1” ทั้ง 6 เล่ม จะเป็นแรงบันดาลใจให้ท่าน ทำ งานอย่าย่งมีคมีวามสุขสุและมีคมีวามภาคภูมิภูใมิจกับกังานที่ทำ ที่ ทำ ไม่ว่ม่าว่งานนั้น นั้ จะเป็นป็งานใด ๆ ก็ตก็าม นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


ปฐมบทของการเดินทาง............................................................................................................ ก คำ นำ ......................................................................................................................................... ค สารบัญ...................................................................................................................................... ง 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1........................................................................................... 1 การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา......................................... 3 โรงเรียนกับการพัฒนา 6 จุดเน้น......................................................................................... 4 การเดินทางสู่ความสำ เร็จ จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ.................................................. 5 ปัจจัยความสำ เร็จ................................................................................................................. 6 นวัตกรรม............................................................................................................................. 6 ขั้นตอนการพัฒนา................................................................................................................ 7 โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร)............................................................................................ 8 โรงเรียนลำ สนุ่น.................................................................................................................. 12 โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ)..................................................... 17 คณะดำ เนินงาน....................................................................................................................... 21 สารบัญบั ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ง


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1


6 จุดเน้น น้ สพป.ปทุม ทุ ธานี เขต 1 การดำดำดำดำเนินินินิงานความปลอดภัภัภัยภั ในสถานศึศึศึกศึษา การพัพัพัฒพันาผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีนสู่สู่สู่ฐสู่ านสมรรถนะ ด้ด้ ด้ ว ด้ วยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รูรู้รูรูปรูแบบ Active Learning การใช้ช้ ช้ เ ช้ เทคโนโลยียียีดิยีดิดิจิดิจิจิทัจิทัทัลทั เพื่พื่ พื่ อ พื่ อการบริริริหริารจัจัจัดจัการ และการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้ การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะอาชีชีชีพชี การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะชีชีชีวิชีวิวิตวิ การพัพัพัฒพันาคุคุคุณคุธรรม จริริริยริธรรม และทัทัทักทัษะในศตวรรษที่ที่ ที่ที่ 21 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 2 6 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เกิดจากการวิเคราะห์นโยบายและจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ - กระทรวงศึกษาธิการ - สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) ที่มีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กัน และมีความเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่และ ภารกิจของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่จะนำ นโยบายและจุดเน้น ลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้จริง


3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดทำ ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนางาน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1. ประชุมชี้แจงและร่วมกันวางแผน กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงาน 2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน เพื่อกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 6. ดำ เนินการตามรูปแบบการพัฒนาข้อตกลง ในการพัฒนางาน 7. นิเทศการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามรูปแบบ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลงในการพัฒนางานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานที่ปฏิบัติงานจริง 9. สรุปผลการดำ เนินงานตามรูปแบบฯ ที่ได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 10. ยกย่องเชิดชูเกียรติ ไม่ผ่าน ผ่าน 3


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรีย รี นกับการพัฒนา 6 จุดเน้น การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 การพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพ แวดลอมที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ช่วช่ยเหลือลืและเยียยีวยาด้าด้นความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาและมีข้มีอข้มูลมูสารสนเทศที่เ ที่ ป็นป็ ระบบ สามารถแก้ไก้ขปัญปัหาและบริหริารจัดจัการความเสี่ย สี่ ง ได้อด้ย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืด้วด้ยการบริหริารจัดจัการตามาตรการ3 ป ได้แด้ก่ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม โดยการมีส่มีวส่นร่วร่มของ หน่วน่ยงานที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง และภาคีเคีครือรืข่าข่ย การจัดการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวั(ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ.2560)ที่เ ที่ หมาะสม กับความต้องการและบริบท ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชั้น ชั้ เรียรีน สร้าร้งปฏิสัฏิมสัพันพัธ์รธ์ะหว่าว่งครูผู้รูสผู้อนกับกัผู้เผู้รียรีนมุ่งมุ่ ให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีวิกธีารที่ห ที่ ลากหลาย จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 การจัดจัทำ หลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาที่บู ที่ รบูณาการทักทัษะอาชีพชีและ พัฒพันากระบวนการจัดจัการเรียรีนรู้ เพื่อ พื่ เตรียรีมความพร้อร้มแก่ ผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ และมีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานในการประกอบอาชีพชี สร้าร้งเสริมริประสบการณ์อณ์าชีพชีในรูปรูแบบต่าต่งๆรวมถึงถึการปลูกลูฝังฝั ลักษณะนิสัยในการทำ งาน การมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทำ งาน รักงาน สู้งาน และทำ งานจนสำ เร็จ มีคมีวามรู้พื้รู้ น พื้ ฐานของการเป็นป็ผู้ปผู้ระกอบการที่ดี ที่ ดีมีแมีรงบันบัดาลใจ ในการค้นค้พบอาชีพชีเพื่อ พื่ พัฒพันาไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีในอนาคต ด้วด้ยการมีส่มีวส่นร่วร่มของผู้ปผู้กครองสถานประกอบการแหล่งล่เรียรีนรู้ และภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ การพัฒนาทักษะอาชีพ การนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัการจัดจัการฐานข้อข้มูลมูและการใช้ ข้อข้มูลมูสารสนเทศในการบริหริารและการจัดจัการศึกศึษา เพื่อ พื่ เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพการบริหริารสถานศึกศึษาการจัดจัทำ ระบบ ข้อข้มูลมูสารสนเทศของนักนัเรียรีนเป็นป็รายบุคบุคล มีคมีวามสะดวก รวดเร็วร็มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืในการนำ ข้อข้มูลมูไปใช้ปช้รับรัปรุงรุและ ไปใช้ใช้ห้เห้กิดกิประโยชน์ต่น์อต่การบริหริารจัดจัการสถานศึกศึษารวมถึงถึ การพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้ทัมีกทัษะดิจิดิทัจิลทัและภาษาคอมพิวพิเตอร์ มีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานการใช้เช้ทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสมกับกัช่วช่งวัยวั สามารถใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการรับรัรู้แรู้ละมีวิมีจวิารณญาณในการใช้ สื่อ สื่ เทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 5 จุดเน้นที่ 6 การบูรบูณาการทักทัษะชีวิชีตวิในหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาระดับดัปฐมวัยวั และระดับดัการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน ให้มีห้กมีารจัดจัการเรียรีนการสอน ทักทัษะชีวิชีตวิบูรบูณาการในกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ด้รู้วด้ยกระบวนการ เรียรีนรู้ที่รู้ เ ที่ น้นน้ผู้เผู้รียรีนเป็นป็สำ คัญคัหรือรืการจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ และจัดจัระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน เพื่อ พื่ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนเกิดกิ การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมอันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิ และอยู่ใยู่ นสังสัคมอย่าย่งมีคมีวามสุขสุภายใต้คต้วามร่วร่มมือมืของ ภาคีเคีครือรืข่าข่ยพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิแก่ผู้ก่เผู้รียรีน การพัฒนาทักษะชีวิต การดำ เนินนิงาน/โครงการ/กิจกิกรรมพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้ป็นป็พลเมือมืงดี มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม ตามพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของ พระบาทสมเด็จด็พระวชิรชิเกล้าล้เจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัรัชรักาลที่ 10และดำ เนินนิ งาน/โครงการ/กิจกิกรรม เพื่อ พื่ พัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ มีทัมีกทัษะ การเรียรีนรู้และทักทัษะที่จำ ที่ จำเป็นป็ของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยมี ภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วม และมีผลการดำ เนินงาน บรรลุตามเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 4


การพัฒนาทัก ทั ษะอาชีพ การเดินทาง... สู่คสู่ วามสำ เร็จ ร็ จุดเน้น น้ ที่ 4 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 5


นวัตกรรม ปัจจัยความสำ เร็จ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การบริหารจัดการส่งเสริมนักเรียนให้มีความรักและทักษะในการประกอบอาชีพ ด้วด้ยปรัชรัญา“ความรู้ดีรู้ดีมีคุมีณคุธรรม นำ สังสัคม”โดยใช้กช้ารจัดจัการความรู้ความเสมอภาค การมีเมีครือรืข่าข่ย และคุณคุธรรม จริยริธรรม (Ethics) และนำ รูปรูแบบการจัดจัการเรียรีนรู้ GPAS 5 Steps เข้าข้มาบูรบูณาการในการจัดจัการเรียรีนรู้ควบคุมคุคุณคุภาพการดำ เนินนิงาน ด้วด้ยวงจรคุณคุภาพ PDCA การบริหารจัดการที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ เรียนรู้การทำ งานร่วมกับผู้อื่น แลกเปลี่ย ลี่ นประสบการณ์ นำ ภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ ภูมิภูปัมิญปัญาชาวบ้าบ้นมาถ่าถ่ยทอดความรู้ เน้นการใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เป็นธรรมชาติ และเอกลักษณ์ความเป็นไทย นำ เทคโนโลยี มาปรับใช้ และต่อยอดองค์ความรู้ไปพัฒนาอาชีพในอนาคต การสร้างและพัฒนาทักษะอาชีพด้วยการบริหารจัดการแบบองค์รวม ส่งเสริมความรู้ คู่อาชีพ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ GPAS 5 Steps บูรณาการกับกิจกรรม การจัดการเรียนการสอนใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ WATSADET MODEL โรงเรียนลำ สนุ่น L.S.N. CAO MODEL K-1(ONE) MODEL ผู้บริหาร สนับสนุนการดำ เนินงาน ครูและบุคลากร - มีความตระหนักในบทบาทและหน้าที่ - มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ - พัฒนาตนเอง มีความรู้ความสามารถ - ให้ความร่วมมือในการจัดและปฏิบัติกิจกรรม นักเรียน ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริง รู้จักการทำ งานเป็นทีม ผู้ปกครอง ชุมชน สนับสนุนการดำ เนินงาน หน่วยงานภายนอก 6 (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ)


สำ รวจความพร้อม ความต้องการของผู้เรียนและส่งเสริม ตามความถนัดและความสนใจ SWOT หาจุดเด่น จุดด้อย ขั้นตอนการพัฒนา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นำ เสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ OPEN HOUSE บูรณาการกิจกรรมกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประชุมวางแผน/แต่งตั้งคณะทำ งาน ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน และบริบทของโรงเรียน 7 ใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม สะท้อนผลที่ได้จากการ PLC


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนคลองหนึ่ง(แก้วนิมิตร) โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) ตั้งอยู่อำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ขนาดใหญ่ จัดการเรียนการสอน 3 ระดับชั้น คือ ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับมัสยิด ชุมชนโดยรอบบริเวณโรงเรียนเป็นชุมชนมุสลิม ผู้ปกครองและนักเรียน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คนในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง ทำ งานโรงงาน และค้าขายเบ็ดเตล็ดทั่วไป แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียน “ในประเด็นแรก เริ่มจากการที่ได้เข้ามาบริหาร ได้ศึกษาบริบท ของโรงเรียน ชุมชน และอีกสิ่งที่ได้ศึกษาก็คือแผนการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา และรายงานต่าง ๆ เรามองเห็นว่า โรงเรียนนี้มีศักยภาพในเรื่องของงานอาชีพ มีแรงบันดาลใจ มีศักยภาพที่ทำ มาก่อนหน้านี้ ฉะนั้นก็มาดู เมื่อเรามีตรงนี้ อยู่แล้ว สามารถที่จะพัฒนาได้อีก เราจะพัฒนาอย่างไรให้ตรง กับบริบทของโรงเรียนและชุมชน สิ่งต่าง ๆ ก็เริ่มมาจากการดู บริบทโรงเรียน ชุมชน และรอบ ๆ โรงเรียนเป็นหลัก” ผอ.สมหวัง อิสมาแอล ผู้อำ นวยการโรงเรียนคลองหนึ่ง(แก้วนิมิตร) “หนึ่งนักเรียน หนึ่งอาชีพ : มีงานทำ มีอาชีพ” โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) มีการบูรณาการทักษะอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยและ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการจัดการเรียนรู้พัฒนาสมรรถนะอาชีพ ที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ มีกิมีจกิกรรมที่เ ที่ สริมริสร้าร้งเจตคติที่ติดี ที่ ต่ดีอต่อาชีพชีสุจสุริตริทักทัษะอาชีพชีทักทัษะในการทำ งาน และการสร้าร้งแรงบันบัดาลใจ สู่อสู่ าชีพชีในอนาคต มีกมีารพัฒพันาทักทัษะการใช้สื่ช้อ สื่ และเทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัเพื่อ พื่ การประกอบอาชีพชีมีกมีารสร้าร้งภาคี เครือรืข่าข่ยการมีส่มีวส่นร่วร่มพัฒพันาทักทัษะอาชีพชีแก่ผู้ก่เผู้รียรีนได้จัด้ดจัการเรียรีนรู้งรู้านอาชีพชีที่ใที่ ห้ผู้ห้เผู้รียรีนได้ลด้งมือมืปฏิบัฏิติบัจติริงริ อย่าย่งครบวงจร และการใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการปฏิบัฏิติบังติาน ลักลัษณะของงานอาชีพชีตามโครงงานที่ปที่ ฏิบัฏิติบัต้ติอต้งเป็นป็ งานอาชีพสุจริตที่มีอยู่ในท้องถิ่น หรืองานอาชีพที่เป็นความต้องการของผู้เรียน เป็นงานอาชีพที่มีลักษณะ เป็นงานผลิตหรืองานบริการ การปฏิบัติงานอาชีพผู้เรียนต้องเป็นผู้ปฏิบัติเองทั้งหมด ตั้งเริ่มต้นจนสิ้นสุด การปฏิบัฏิติบังติาน โดยมีคมีรู อาจารย์ทำย์ ทำหน้าน้ที่เ ที่ ป็นป็ที่ปที่ รึกรึษา โดยใช้บ้ช้าบ้น สถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพชี รวมทั้ง ทั้ สถานศึกศึษา เป็นป็สถานที่ปที่ ฏิบัฏิติบังติานและในการจัดจัทำ โครงงานอาชีพชีของผู้เผู้รียรีน และมีผู้มีทผู้รงคุณคุวุฒิวุหฒิรือรื ผู้ปผู้ระสบความสำ เร็จร็ในสาขาอาชีพชีที่มี ที่ อมียู่ใยู่ นท้อท้งถิ่น ถิ่ ร่วร่มวางแผนและให้คำห้ คำปรึกรึษาในการปฏิบัฏิติบังติานอาชีพชีของ ผู้เผู้รียรีนด้วด้ย 8


“...เริ่มจากการประชุมวางแผนดำ เนินงาน คือ ให้นักเรียนที่มีทักษะ และชอบในการฝึกอาชีพ เช่น ทำ อาหาร ขนม เครื่องดื่ม ผ้าบาติก วาดรูป นำ มาฝึกฝึเพิ่ม พิ่ เติมติบูรบูณาการการเรียรีนรู้ใรู้ห้นัห้กนัเรียรีน ตั้ง ตั้ แต่ชั้ต่น ชั้ อนุบนุาลเพื่อ พื่ ให้นัห้กนัเรียรีนมีพื้มีน พื้ ฐาน มีคมีวามรู้ ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ศึกษาจากตัวอย่างของจริงก็เพื่อให้เห็น ภาพชัดยิ่งขึ้น เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงตามเอกสารประกอบ การเรียนและตัวอย่างของจริงตามลำ ดับขั้นตอน ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติบ่อย ๆ จนเกิดความชำ นาญ สอดแทรกแนวความคิดและได้สร้างแนวคิดใหม่ ที่เป็นแบบของตนเอง เช่น การคิดค้นเมนูใหม่ ๆ การเลือกใช้วัตถุดิบ แล้วทำ ตามแนวคิดใหม่ของ ตนเองจนเกิดกิทักทัษะ เกิดกิความชำ นาญ และมีกมีาร ประเมินมิผล สรุปรุผล ฉะนั้น นั้...ผลที่ไที่ ด้.ด้..ส่วส่นที่ด้ ที่ อด้ย ส่วนที่อ่อนก็จะไปพัฒนาต่อยอดส่วนที่เด่นต่อไป” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ผอ.สมหวัง อิสมาแอล กล่าวว่า “โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) มีคำ ขวัญ ปรัชญาการศึกษา ที่ตั้ง มาแต่เดิมเป็นสิ่งที่ดี คือ “ความรู้ดี มีคุณธรรม นำ สังคม” ฉะนั้นในเรื่องของการศึกษาใช้แนวทางอย่าง ที่แจ้งมา ไม่ว่าจะเป็นแนวทางถ้าในทางพุทธ ก็เป็น บวร คือ บ้าน วัด โรงเรียน แต่ว่าตรงนี้ก็จะเป็น บรม คือ บ้าน โรงเรียน และมัสยิส ได้ศึกษานำ หลักคิด หลักการบริหาร มาเป็น “K-1(ONE) Model” ของ โรงเรียน คือการจัดการความรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนและครูได้แสดงความคิดเห็น มีเครือข่าย และสุดท้าย คือ การบริหารด้วยระบบคุณธรรม” การดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพ K-1(ONE) Model ถูกออกแบบอย่างเป็นขั้นตอน ประกอบด้วย Knowledge (การจัดการความรู้) ความเสมอภาค (Opportunity of all) การมีเครือข่าย (Network) และคุณธรรม จริยธรรม (Ethics) ทั้งนี้ได้นำ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ GPAS 5 Steps เข้ามาบูรณาการ ในการจัดการเรียนรู้ และมีการควบคุมคุณภาพการดำ เนินงานด้วยวงจรคุณภาพ PDCA นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน “ถ้าในทางพุทธ ก็เป็น บวร คือ บ้าน วัด โรงเรียน แต่ว่าตรงนี้ก็จะเป็น บรม คือ บ้าน โรงเรียน และมัสยิส” 9


ผอ.สมหวัง อิสมาแอล กล่าวว่า โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) นำ ความรู้หลายอย่าง มาก ๆ มาใช้ในการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพให้กับนักเรียน เพราะเริ่มตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ข้อคิดเกี่ยวกับการนำ ความรู้มาใช้ว่า “ในเรื่องความรู้ ก็อ่านมาเยอะแต่ว่ามา Get มาเข้าใจ ของ ร.9 เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา คือ ฟัง 3 คำ นี้แล้ว ก็เก็ข้าข้ใจอันอันี้ว่ นี้ าว่เป็นป็แนวทางสร้าร้งง่าง่ย เมื่อ มื่ เรามาอยู่ตยู่ รงนี้ เราทำ ความเข้าข้ใจครู ชุมชุชน อะไรต่าต่ง ๆ มาถึงถึการเข้าข้ถึงถึ ค่อค่นข้าข้งลำ บาก บางคนเข้าข้ใจแต่ว่ต่าว่เข้าข้ไม่ถึม่งถึเข้าข้ใจว่าว่เค้าค้คือคืพหุวัหุฒวันธรรม แต่ว่ต่าว่วิธีวิกธีารื การดำ เนินนิชีวิชีตวิเอ๊ะอ๊..ทำ ไม เด็กด็ที่นี่ ที่ ม นี่ าสาย ผู้ปผู้กครองก็มก็าสาย มาส่งส่นักนัเรียรีนสาย ถ้าถ้เราเข้าข้ถึงถึผู้ปผู้กครองส่วส่นใหญ่มีญ่อมีาชีพชีทำ งานตอนกลางคืนคื นอนดึกดึฉะนั้น นั้ ครูที่รูนี่ ที่ จ นี่ ะเข้าข้ใจว่าว่เวลาเยี่ย ยี่ มบ้าบ้นอย่าย่ ไปเช้าช้นะ ไม่เม่จอหรอก เพราะผู้ปผู้กครองนอน ฉะนั้น นั้...วัฒวันธรรม ของบริเริวณคลองหนึ่ง นึ่ ช่วช่งเช้าช้เงียงีบ แต่ว่ต่าว่เวลาบ่าบ่ยมีชีมีวิชีตวิชีวชีาประมาณนี้ ในด้าด้นของโรงเรียรีน ผอ. เข้าข้ใจบริบริท เข้าข้ใจครู เข้าข้ถึงถึวิธีวิกธีารกระบวนการของครูว่รูาว่ขาดอะไร เราก็พก็ร้อร้มจะสนับนัสนุนนุให้คห้รูไรูด้ทำด้ ทำ บอกกับกัครูเรูลยว่าว่ผอ. จะไม่ใม่ช้คำช้คำพูดพู ว่าว่กษัตษัริย์ริตย์รัสรัแล้วล้ไม่คืม่นคืคำ ไม่ใม่ช้คำช้คำนี้ เพราะว่าว่ ในทุกทุบริบริท ทุกทุเวลามีคมีวามเปลี่ย ลี่ นแปลง และการเปลี่ย ลี่ นแปลงนี่.นี่...... เปลี่ย ลี่ นแปลงอยู่ตยู่ ลอดเวลา ฉะนั้น นั้ ก็คืก็อคืแล้วล้แต่สต่ถานการณ์ ถ้าถ้ทำ แล้วล้มีปัมีญปัหาก็พก็ร้อร้มปรับรัเปลี่ย ลี่ น ค่อค่นข้าข้งให้โห้อกาส ให้ผู้ห้ ปผู้ ฏิบัฏิติบัไติด้ทำด้ ทำงานให้เห้ต็มต็ที่ แต่ว่ต่าว่จะเป็นป็ โค้ชค้คอยดูห่ดูาห่ง ๆ ก็มีก็คมีวามคิดคิว่าว่อะไรที่เ ที่ ป็นป็ Fact เป็นป็ความจริงริอะไร ที่ค ที่ วรจะเป็นป็มันมัก็ต้ก็อต้งเป็นป็แต่ถ้ต่าถ้ครูทำรูทำแล้วล้มันมัเป็นป็สิ่ง สิ่ ที่ไที่ ม่คม่วรจะเป็นป็เราก็ดูก็อดูยู่ห่ยู่ าห่ง ๆ คอยเสริมริมีปัมีญปัหาก็คก็อย แก้ปัก้ญปัหาให้”ห้ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ในเรื่องความรู้ ก็อ่านมาเยอะ แต่ว่ามา Get มาเข้าใจ ของ ร.9 “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ปัญหาและการแก้ไข “มีข้อจำ กัดเรื่องเวลา อย่างนอกเวลาเด็กต้องไปเรียนศาสนา แต่ถ้านัดมาเรียน เสริมในวันเสาร์-อาทิตย์ เด็กก็ว่า “ไม่ได้ หนูต้องไปเรียนศาสนา” ถ้าจะเลิก ช้ากว่าเวลาก็ไม่ได้อีก เพราะเด็กต้องไปเรียนศาสนาอีก ก็จะนัดเด็กช่วงพัก มาเตรียมของไว้ก่อน มีข้อจำ กัดมากในเรื่องของเวลา ในเรื่องของวัตถุดิบ อุปกรณ์ก็ไม่มีปัญหา ก็จะมีปัญหาเรื่องของเวลาอย่างเดียว” ครูปริญญาภรณ์ ศรีคุณ ครูโรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) การสื่อสารในองค์กร ระหว่างชุมชนกับโรงเรียน โรงเรียนกับผู้ปกครอง โรงเรียนกับเด็ก -ใช้กระบวนการ PLC ในองค์กร -ตั้งกลุ่มไลน์ในการสั่งงาน -ทำ วารสารประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย เวลาจัดกิจกรรมมีน้อย นักเรียนมีข้อจำ กัดเรื่องเวลา ที่ต้องไปเรียนและปฏิบัติกิจวัตรตามศาสนาที่นับถือ จัดเตรียมวัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ สำ หรับฝึกปฏบัติ ไว้ก่อนเวลาเรียนหรือช่วงพักกลางวัน ปัญหา การแก้ไข 10


ผู้บริหาร บริหารด้วยหลัก 4 M ครูและบุคลากร มีความเข้าใจและตั้งเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน มีความตระหนักในบทบาทและหน้าที่ รับฟังความคิดเห็น และมีส่วนร่วม นักเรียน มีความรู้พื้นฐานการประกอบอาชีพ ผอ.สมหวัง อิสมาแอล กล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพใน โรงเรียนว่า ปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความภาคภูมิใจ “ส่วนในเรื่องของการบริหาร ถ้าไม่คิดไปเองก็ได้รับ การยอมรับของชุมชน ผู้บริหารเองเวลาเข้าชุมชน เราก็ได้รับการยอมรับ ถูกเชิญให้กล่าวสุนทรพจน์ ในโอกาสต่างๆ ฉะนั้นเราก็ใช้โอกาสนี้ประชาสัมพันธ์ บอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ว่าถ้าเราพัฒนาอย่างนี้แล้ว เด็กจะเป็นอย่างไร คิดว่าผู้ปกครอง ชุมชนมีความ เข้าใจโรงเรียนไปในทิศทางที่ดีขึ้น ยอมรับมากยิ่ง ขึ้น คุณครูก็สามารถที่จะอยู่ในชุมชนด้วยความ เข้าใจ” “เด็ก...เรียนมีความสุข อยู่กันแบบมีความสุข ส่วนที่เรียกว่าเป็นทางการ คือ ด้านอาชีพ ได้ เป็นตัวแทนในการแข่งขันที่จะไปสู่ระดับภาค ในทุกปีที่ผ่านมา” “ในเรื่องครู เท่าที่เห็นเขาต่อยอดสร้างรายได้ การขายของออนไลน์ก็มี การเปลี่ยนแปลงที่ เห็นได้ชัดหรือว่าผลตอบแทนก็คือ จากที่ไม่มี การพัฒนาก็พัฒนาตนเอง” “การที่เราได้สร้าง K-1(ONE) คาเฟ่ เป็นร้านเล็ก ๆ ที่ให้เด็กเค้าได้มีโอกาสฝึกทำ ฝึกอาชีพ ฉะนั้นเวลาเด็กเรียนมาแล้ว เค้ามีที่ฝึก มีที่ได้ทำ งาน และก็แอบไปดูตอนเวลาเค้าขาย ไม่ว่าคนซื้อ คนทำ ทำ ด้วยความสุข ทำ ด้วยความชอบ อันนี้ก็ถือว่าเป็นสิ่งหนึ่งที่เราได้สนับสนุน มีร้านให้เค้า เห็นเด็กมีความสุขเราก็มีความสุข สิ่งต่างๆที่เราภูมิใจก็คือเห็นความร่วมมือของคุณครูในการทำ งานเพื่อเด็ก อย่างวันเด็กที่ผ่านมา ตอนแรกก็นึกว่าจะไม่มีของขวัญ แต่ว่าเวลาครูร่วมมือกันนะ ไปหามา มันได้เกินคาด ก็คือเวลาเราหวังไว้แค่นี้แล้วมันได้ผลความร่วมมือเกินคาด มันภูมิใจ คุณครูก็ภูมิใจ ที่ทำ ให้โรงเรียนมีชื่อเสียง” 11


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนลำ สนุ่น โรงเรียนลำ สนุ่น ตั้งอยู่อำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สภาพชุมชนรอบ ๆ โรงเรียน เป็นชุมชนที่มีผู้คนอาศัยอยู่ หนาแน่น อยู่ใกล้ตลาดไท และตลาดไอยรา ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง ค้าขาย และทำ งาน ในโรงงานอุตสาหกรรม แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียน “ด้วยความที่เราเป็นโรงเรียนขยายโอกาส เราได้ SWOT หาจุดจุเด่นด่จุดจุด้อด้ยก่อก่น เพื่อ พื่ วิเวิคราะห์คห์วามต้อต้งการจำ เป็นป็ บริบริทของชุมชุชน ซึ่ง ซึ่ นักนัเรียรีนมีข้มีอข้จำ กัดกัในด้าด้นรายได้ แล้วล้ โฟกัสกัความต้อต้งการของนักนัเรียรีนทุกทุระดับดัชั้น ชั้ นักนัเรียรีนสนใจ เรื่อ รื่ งอะไร นักนัเรียรีนได้คด้วามรู้จรู้ากอะไรสมาช่วช่ยส่งส่เสริมริอาชีพชี ในครอบครัวรัต่อต่ยอดความรู้ใรู้นอาชีพชี โดยใช้ GPAS 5 Steps ดูเดูปอร์เร์ซ็นซ็ต์กต์ารจบการศึกศึษาของนักนัเรียรีนชั้น ชั้ มัธมัยมศึกศึษาปีที่ปีที่3 ว่าว่เลือลืกเรียรีนต่อต่สายอาชีพชีอะไรต่อต่ยอดไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชี อะไร หลังลัจากนั้น นั้ เราประชุมชุครูเรูพื่อ พื่ วิเวิคราะห์ว่ห์าว่นักนัเรียรีนถนัดนั อะไร เลือลืกอะไร ดูจำดูจำนวนนักนัเรียรีน โฟกัสกัองค์รค์วม หาวิธีวิกธีาร ที่เ ที่ ป็นป็คู่ขคู่ นาน และไม่ลืม่มลืเสริมริสร้าร้งลักลัษณะนิสันิยสัของนักนัเรียรีน ฝึกฝึนิสันิยสัการอดออม ความขยันยัซึ่ง ซึ่ อาชีพชีที่โที่ รงเรียรีนเราเลือลืกทำ ก็มก็าจากการให้นัห้กนัเรียรีนโหวตเลือลืกขึ้น ขึ้ อยู่กัยู่ บกัความต้อต้งการของ เด็กด็นักนัเรียรีนนั่น นั่ เอง” ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนลำ สนุ่น โรงเรียนลำ สนุ่น มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการเรียนรู้ตามแนวทาง การจัดจัการเรียรีนรู้ใรู้นศตวรรษที่ 21 เพื่อ พื่ พัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิส่งส่เสริมริทักทัษะอาชีพชีของนักนัเรียรีนตามพระบรมราโชบาย ของในหลวงรัชรักาลที่ 10 จึงจึได้นำด้ นำแนวทางดังดักล่าล่วมาใช้เช้ป็นป็เครื่อ รื่ งมือมืในการพัฒพันาคุณคุภาพผู้เผู้รียรีน ผ่าผ่นกิจกิกรรม โครงงานอาชีพ โดยส่งเสริมให้ครูมีบทบาทสำ คัญในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดเชิงระบบ มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนด้านการคิด วิเวิคราะห์พัห์ฒพันาทักทัษะการทำ งานร่วร่มกันกัรู้จัรู้กจัสร้าร้งองค์คค์วามรู้ด้รู้วด้ยตนเองและสามารถนำ ความรู้ไรู้ปต่อต่ยอดและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ วันได้ ซึ่งสอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ปกครองและชุมชนที่ต้องการให้โรงเรียน พัฒพันานักนัเรียรีนให้เห้ป็นป็คนดี มีปัมีญปัญาและมีคมีวามสุขสุจัดจักิจกิกรรมที่ส่ ที่ งส่เสริมริสนับนัสนุนนุความสามารถของเด็กด็ทุกทุคน โดยคำ นึงถึงความสามารถและความถนัดของแต่ละคนแตกต่างกัน จัดกิจกรรมที่เหมาะสมเฉพาะของแต่ละคน จนสามารถเกิดการเรียนรู้และทักษะในการดำ รงชีวิตทางด้านอารมณ์ การปรับตัว และการเข้าสังคมได้อย่างมี ความสุขสุนอกจากนี้ การศึกศึษายังยัเป็นป็กุญกุแจสำ คัญคัที่จ ที่ ะนำ ไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีการมีรมีายได้เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพ ของการทำ งาน และการพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนลำ สนุ่น กล่าวถึงแรงบันดาลในในการพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียนว่า “อาชีพที่โรงเรียนเราเลือกทำ มาจากการให้นักเรียนโหวตเลือก ขึ้นอยู่กับความต้องการของนักเรียน” 12


นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนลำ สนุ่น ดำ เนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะอาชีพให้กับนักเรียนเพื่อต่อยอดการมีงานทำ ในอนาคต สามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านอาชีพให้กับบุคคลอื่นในชุมชนได้ การคิดค้นนวัตกรรม โดยการจัด กระบวนการเรียนรู้มีการเปลี่ยนแปลงจากการรับรู้ มาเป็นการปฏิบัติจริง เลือกนวัตกรรมที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหาของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อให้นวัตกรรมที่สร้างขึ้นส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนให้ได้มากที่สุด นวัตกรรมที่โรงเรียนลำ สนุ่นนำ มาใช้เป็นการบริหารงานแบบองค์รวม คือ L.S.N.CAO MODEL L = Learning style รูปแบบการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่ผู้เรียนแต่ละคนชอบและปฏิบัติเป็นประจำ S = Student center นักเรียนเป็นศูนย์กลาง N = Needs สำ รวจความต้องการจากทุกออร์เดอร์ C = Cooperation การร่วมมือจากชุมชน ศาสนาอิสลาม มัสยิด ผู้ปกครอง A = Assessment การวัดผลประเมินผลให้มากที่สุด O = Occupation เปิดโอกาสทุกอาชีพ การบริหารงาน L.S.N. CAO MODEL ดำ เนินงานภายใต้วงจรคุณภาพ PDCA เพื่อพัฒนาทักษะทางอาชีพ ของนักนัเรียรีน ตามแนวทางการจัดจัการเรียรีนรู้ใรู้นศตวรรษที่ 21 มีกมีารศึกศึษาบริบริทของสภาพชุมชุชน ผู้ปผู้กครอง นักนัเรียรีน ประชุมหัวหน้างาน 4 ฝ่าย แต่งตั้งคณะทำ งานเพื่อดำ เนินงานที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในทักษะพื้นฐานทางอาชีพ คุณครูแต่ละระดับชั้นประชุมหาข้อสรุปร่วมกับนักเรียนเพื่อเลือกและดำ เนินการทำ กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ในอาชีพที่ตัวเองสนใจ ทีมบริหารดำ เนินการกำ กับติดตาม สุดท้ายสรุปผลโครงการ กิจกรรมในภาพรวมและ รายงานผลกิจกรรม ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ ได้กล่าวถึงกระบวนการและขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม การพัฒนาทักษะ ทางอาชีพของนักเรียน ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ “โรงเรียนเราทำ งานเป็นระบบและมีขั้นมีตอนเสมอ ผลงานชิ้นนี้ก็เช่นกัน ก่อนอื่นเรา SWOT วิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย ดูความเป็นไปได้ของกิจกรรมในการพัฒนาผู้เรียน จากนั้นจัดประชุม หัวหน้างาน 4 ฝ่าย ถึงความเป็นไปได้รวมถึงแนวทางในการดำ เนินการ แต่งตั้งคณะทำ งานประชุม คณะครู เพื่อหาแนวทางการดำ เนินงานที่สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และครูแต่ละระดับ ประชุมชุหาข้อข้สรุปรุร่วร่มกับกันักนัเรียรีนเพื่อ พื่ เลือลืกและดำ เนินนิการทำ กิจกิกรรม มีกมีารจัดจัการเรียรีนรู้ที่รู้ส่ ที่ งส่เสริมริ สมรรถนะด้าด้นอาชีพชีให้นัห้กนัเรียรีนที่ส ที่ อดคล้อล้งกับกัความถนัดนัและความสนใจของนักนัเรียรีน ด้วด้ยรูปรูแบบ GPAS 5 Steps ซึ่งมีการนิเทศและติดตามอย่างใกล้ชิดจากผู้บริหาร จากนั้นมีการนำ เสนอผล การดำ เนินนิงานในกิจกิกรรม Open Houseเพื่อ พื่ แลกเปลี่ย ลี่ นข้อข้มูลมูและสะท้อท้นผลการดำ เนินนิงาน ที่ผ่ ที่ าผ่นมา” 13


“ปัญหาที่พบ คือ ระยะเวลาในการดำ เนินงานมีจำ กัด วิธีการแก้ไข คือ เสริมกิจกรรมในช่วงเวลาหลังเลิกเรียน และเรื่องงบประมาณการลงทุน วัสดุ อุปกรณ์ ในบางกิจกรรม ซึ่งมีวิธีการแก้ไข คือ จัดทำ ในรูปแบบของ นักธุรกิจ คือ การให้นักเรียนได้ลงทุน และมีการจัดสรรแบ่งปันผลกำ ไร” ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ และครูจริยา ไหม่ชุม ได้กล่าวถึงปัญหาและการแก้ไขการดำ เนินงาน กิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพของโรงเรียนลำ สนุ่นว่า เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนลำ สนุ่นได้มีทักษะพื้นฐานทางด้านอาชีพ สามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว และให้นักเรียนได้มีความรู้ด้านวิชาชีพติดตัวไปเมื่อจบการศึกษาเพื่อเป็น พื้น พื้ ฐานที่จ ที่ ะพัฒพันาเป็นป็อาชีพชีต่อต่ ไปในอนาคตตามแนวพระบรมราโชบายของในหลวงรัชรักาลที่ 10 โรงเรียรีนลำ สนุ่นนุ่ จึงพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ พร้อมที่จะก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้เชิงรุก การบูรณาการทักษะอาชีพ การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนทักษะในการทำ งานร่วมกัน ด้วย GPAS 5 Steps ทั้งใน ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การประกอบอาชีพชีการออกแบบสื่อ สื่ ประชาสัมสัพันพัธ์และการจำ หน่าน่ยสินสิค้าค้ผ่าผ่นสื่อ สื่ โซเชียชีลมีเมีดียดีรวมถึงถึการสร้าร้ง ภาคีเคีครือรืข่าข่ยการมีส่มีวส่นร่วร่มพัฒพันาทักทัษะอาชีพชีแก่ผู้ก่เผู้รียรีน “การดำ เนินงานกิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพของโรงเรียนลำ สนุ่น ยึดหลักของการใช้ทรัพยากรอย่าง ประหยัดและคุ้มค่า โดยในการลงมือทำ กิจกรรมทักษะอาชีพในแต่ละกิจกรรมนั้น เริ่มตั้งแต่การวางแผน ซื้อ ซื้ วัตวัถุดิถุบดิสำ หรับรัจัดจัทำ ผลิตลิภัณภัฑ์ ว่าว่ควรซื้อ ซื้ วัตวัถุดิถุบดิอะไร ในปริมริาณเท่าท่ ไหร่ เพื่อ พื่ จะได้ได้ม่ต้ม่อต้งซื้อ ซื้ วัตวัถุดิถุบดิ มามากเกินกิความจำ เป็นป็และช่วช่ยลดปริมริาณวัตวัถุดิถุบดิเหลือลืทิ้ง ทิ้ ที่ใที่ ช้ไช้ม่หม่มดไปได้ นักนัเรียรีนมีกมีารชั่ง ชั่ ตวง ปริมริาณ ของวัตถุดิบทุกครั้ง เพื่อควบคุมปริมาณการใช้วัตถุดิบในแต่ละครั้งให้มีความพอดี ไม่เหลือทิ้ง ตรวจสอบ วันหมดอายุของวัตถุดิบ และจัดเก็บของที่ซื้อมาก่อนไว้หน้าสุด เพื่อให้หยิบใช้ก่อน ตามลำ ดับ มีการล้าง ทำ ความสะอาดอุปกรณ์ การทำ ผลิตภัณฑ์อาชีพ เพื่อสามารถนำ กลับมาใช้ใหม่ได้” “การดำ เนินงานกิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพของโรงเรียนลำ สนุ่น ใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วม ทำ จุดอ่อนให้เป็นจุดแข็ง ส่งเสริมความรู้คู่อาชีพ เป็นแผนกลยุทธ์ของโรงเรียน และยึดหลักของการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัญหาและการแก้ไข “การกำ หนดระยะเวลาที่สั้นและคลาดเคลื่อน เนื่องจากโรงเรียนมีภารกิจ ที่เร่งด่วน หรือมีบางกิจกรรมเข้ามาแทรกเพิ่มเติม เราก็ได้จัดทำ ปฏิทิน การดำ เนินงาน และมอบหมายผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน อีกหนึ่งเรื่องก็คือ ข้อจำ กัดเรื่องการบริหารงบประมาณ เราต้องบูรณาการและปรับประยุกต์ กิจกรรม เพื่อลดความซ้ำ ซ้อนและใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า” ครูจริยา ไหม่ชุม ครูโรงเรียนลำ สนุ่น ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ 14


ผู้บริหาร กำ หนดนโยบายชัดเจน และพัฒนาต่อเนื่อง ให้คำ ปรึกษา แนะนำ การดำ เนินงาน ครูและบุคลากร มีความตระหนัก เห็นความสำ คัญ มีความพยายาม มีความมุ่งมั่นในการจัดการเรียนรู้ นักเรียน มีความมุ่งมั่น มีความรับผิดชอบและมีระเบียบวินัย ในการฝึกทักษะด้านอาชีพจนสำ เร็จ ผู้ปกครอง ชุมชน ให้ความร่วมมือและสนับสนุบงบประมาณ แหล่งเรียนรู้ และหน่วยงาน และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ภายนอก “โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพที่ชัดเจนขึ้น สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดความรู้ และทักษะด้านอาชีพในชุมชนได้ “ “ครูมีความมุ่งมั่น มีการพัฒนาตนเอง ศึกษาหาความรู้เอง จัดกระบวนการเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการ ทำ งานตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศของตัวเอง ตระหนัก และเห็นความสำ คัญของการพัฒนาทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำ ของนักเรียน” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น “นักเรียนมีความสุขและความภาคภูมิใจในผลิตภัณฑ์ที่ตนเองทำ มีทักษะพื้นฐานทางอาชีพ และ สามารถนำ ความรู้ไปต่อยอดเสริมเพิ่มรายได้ให้กับตนเองได้ มีความภาคภูมิใจและมีกำ ลังใจ ในการพัฒนาทักษะอาชีพเพื่อสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่อง” “ ผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจและเห็นความสำ คัญของการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับบุตรหลาน และเกิดความไว้วางใจในการจัดการศึกษาให้กับนักเรียนส่งบุตรหลานเข้าเรียนกับโรงเรียนลำ สนุ่น ส่งผล ให้นักเรียนโรงเรียนลำ สนุ่นมีจำ นวนเพิ่มมากขึ้น” “โรงเรียรีนเราได้รัด้บรัความร่วร่มมือมืจากหลากหลายฝ่าฝ่ยไม่ว่ม่าว่จะเป็นป็จากบุคบุลากรในโรงเรียรีน คุณคุครู นักนัเรียรีน ผู้ปกครอง ชุมชนโดยรอบ ก่อให้เกิดความสมบูรณ์แบบที่จะผลิตผลงาน สร้างความต้องการของนักเรียน ในการประกอบทักทัษะอาชีพชีตามที่นั ที่ กนัเรียรีนสนใจ และอีกอีหนึ่ง นึ่ ปัจปัจัยจัความสำ เร็จร็คือคืความตั้ง ตั้ใจความมุ่งมุ่ มั่น มั่ ของคณะคุณครูที่ร่วมมือช่วยเหลือกันจนประสบความสำ เร็จ ซึ่งสิ่งที่สำ คัญที่สุดคือ เด็กนักเรียน ถ้าไม่มี นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ งานก็คงไม่ประสบผลสำ เร็จ” “ผู้บริหารได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะผู้บริหาร เป็นคณะทำ งานของ สพฐ. เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และได้ขยายผลให้กับผู้ที่มาขอข้อมูล ” 15


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความภูมิใจ...ไม่ใช่ความภูมิใจในความสำ เร็จที่เกิดขึ้นกับตัวเอง แต่เป็นความภูมิใจในความสำ เร็จ ของนักเรียน นักเรียนโรงเรียนลำ สนุ่นได้ไปแสดงความสามารถทางด้านทักษะอาชีพ โดยเข้าร่วมแข่งขัน SBAC Master Chef Contest กับวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามธุรกิจ และนักเรียนได้ไปเป็นวิทยากรอบรม ให้ความรู้ด้านการทำ เบเกอรี่ให้กับหน่วยงานในท้องถิ่นในหลักสูตรขนมหวานให้กับเทศบาลเมืองท่าโขลง ซึ่งยอมรับในความสามารถทางด้านอาชีพของนักเรียน ได้ขอความอนุเคราะห์ให้นักเรียนและบุคลากรเข้า ร่วมเป็นวิทยากรในโครงการฝึกอบรมพัฒนาอาชีพเสริมรายได้ให้ประชาชนและนักเรียนสานใจไทยสู่ใจใต้ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในหลักสูตรบัวลอยเบญจรงค์ ความภาคภูมิใจ “เกิดความภาคภูมิใจที่ได้นำ พาลูกศิษย์ให้มีแนวทางในการประกอบอาชีพ และ ต่อยอดสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ” “ทุกขั้นตอนและกระบวนการดำ เนินงาน สะท้อนให้เห็นถึงผลที่เกิดจากการปฏิบัติที่ ชัดเจน ช่วยเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนในการมองหาอาชีพและสร้างรายได้ให้ครอบครัวต่อไป ภูมิใจที่โรงเรียนได้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมในวันนี้ ได้รับรางวัลระดับเขต และได้ ขยายผลในระดับประเทศ ภูมิใจที่สามารถสร้างทักษะให้นักเรียน ที่จะต่อยอดทักษะ อาชีพให้นักเรียน ภูมิใจที่ได้เป็นแกนนำ ในกิจกรรมวันนี้” ผอ.ศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ และครูจริยา ใหม่ชุม กล่าวถึงความสำ เร็จและความภาคภูมิใจ จากการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพของโรงเรียนลำ สนุ่นว่า 16


“...นักเรียนมีฐานะยากจน ไม่เก่งวิชาการ สิ่งที่โรงเรียน สามารถช่วยได้ คือการส่งเสริมการสร้างรายได้ให้กับ ทางครอบครัวของนักเรียน ช่วยส่งเสริมทักษะชีพให้กับ นักเรียน...” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียน โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) ตั้งอยู่่อำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีบริบทกึ่งเมืองกึ่งชนบท ผู้ปกครองและคนในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ ทำ นา รับจ้าง มีโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดเล็กอยู่ในชุมชน ผอ.สมคะเน ดาษดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของ การพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียนว่า...มาจากการความมุ่งมั่น ในการพัฒนาของบุคลากรทุกคน ที่มีเป้าหมายเดียวกัน คือ การพัฒนาเด็กให้สามารถช่วยตนเองและครอบครัวและ มีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพในอนาคต ผอ.สมคะเน ดาษดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) " โรงเรียนได้ศึกษาและมองไปที่ตัวผู้เรียน ด้วยความที่นักเรียนมีฐานะยากจน ไม่เก่งวิชาการ สิ่ง สิ่ ที่โที่ รงเรียรีนสามารถช่วช่ยได้ คือคืการส่งส่เสริมริการสร้าร้งรายได้ใด้ห้กัห้บกัทางครอบครัวรัของนักนัเรียรีน ช่วช่ยส่งส่เสริมริทักทัษะอาชีพชีให้กัห้บกันักนัเรียรีน ใช้คช้วามสนใจของเด็กด็เป็นป็ตัวตัตั้ง ตั้ โดยโรงเรียรีนสนับนัสนุนนุ ครูร่วมกันสำ รวจความต้องการของตลาด สอบถามผู้ปกครอง ชุมชน เรามีทักษะหลายหลาย อาชีพชีทำ ขนม ทำ น้ำ ยาย้อย้มผม ปลูกลูต้นต้กระบองเพชร เป็นป็ต้นต้สนองความแตกต่าต่งของนักนัเรียรีน ให้นัห้กนัเรียรีนพึ่ง พึ่ พาตนเองได้สามารถสร้าร้งรายได้เด้สริมริให้กัห้บกัครอบครัวรัและเป็นป็การค้นค้หาความชอบ และความถนัดของเด็ก โดยการสอบถามนักเรียนว่าอยากเรียนอะไร นักเรียนเลือกทำ ขนม ครูพัรูฒพันาตนเองอยู่ตยู่ ลอดเวลา หาปราชญ์ชญ์าวบ้าบ้นมาช่วช่ยสอน เด็กด็ ได้เด้ข้าข้ใจตัวตัตนที่แ ที่ ท้จท้ริงริของ ตนเองว่าอาชีพที่ตนเองคิดเราชอบจริงไหม ได้ทดลองทำ เองดูก่อนทำ ให้เด็กสามารถตัดสินใจ และเลือลืกอาชีพชีที่ใที่ ช่สำช่ สำหรับรัตนเอง และมุ่งมุ่ มั่น มั่ ตั้ง ตั้ใจซึ่ง ซึ่ จะเป็นป็การสร้าร้งทัศทันคติที่ติดี ที่ ต่ดีอต่การประกอบ อาชีพในอนาคต" (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) 17


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน โรงเรียรีนชุมชุชนวัดวัเสด็จด็ (สฤษดิ์ วิจิวิตจิรา ธนรัชรัต์บำต์ บำเพ็ญพ็ ) ได้ดำด้ ดำเนินนิการจัดจักระบวนการจัดจัการเรียรีนการสอน รายวิชวิาการงานอาชีพชี ให้กัห้บกันักนัเรียรีนชั้น ชั้ มัธมัยมศึกศึษาปีที่ปีที่1-3 โดยจัดจัการศึกศึษาให้ผู้ห้เผู้รียรีนได้เด้รียรีนรู้ที่รู้ ห ที่ ลากหลาย เพื่อ พื่ สอดคล้อล้งกับกัความแตกต่าต่งของผู้เผู้รียรีน โดยเน้นน้ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนได้ปด้ฏิบัฏิติบัด้ติวด้ยตนเองจึงจึจะเกิดกิทักทัษะและความสามารถ ในการนำ องค์คค์วามรู้ไรู้ปใช้ใช้นชีวิชีตวิประจำ วันวัได้ ด้วด้ยความโดดเด่นด่ทางด้าด้นการพัฒพันาคุณคุลักลัษณะของผู้เผู้รียรีนสู่ ศตวรรษที่ 21 เพื่อ พื่ การมีอมีาชีพชีและมีงมีานทำ ที่ห ที่ ลากหลาย ที่ต ที่ อบสนองความแตกต่าต่งของผู้เผู้รียรีน บูรบูณาการทุกทุ กลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้กัรู้ บกัทักทัษะทั้ง ทั้ 3 ด้าด้น ได้แด้ก่ ทักทัษะการเรียรีนรู้แรู้ละนวัตวักรรม ทักทัษะการใช้สช้ารสนเทศ สื่อ สื่ และเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ โดยเป็นไปตามกรอบแนวคิด รูปแบบการบริหารจัดการแบบ Watsadet Model และวงจรเดมมิ่ง PDCA ตรวจสอบการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน โดยมีรายละเอียดดังนี้ Workshop - การปฏิบัติจริง : ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง เรียนรู้ถูก/ผิด ด้วยตนเอง Attitude - ทัศนคติที่ดี : ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีในการทำ งาน Technology - ใช้เทคโนโลยี : ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นและพัฒนา Support - ได้รับการสนับสนุน : โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ผู้ปกครองและชุมชน Adequacy - ความพอเพียง : ทำ งานบนพื้นฐานความพอเพียง Development - การพัฒนา : มีการพัฒนาตนเองและสินค้าอยู่เสมอ Experience - ประสบการณ์ : นำ ประสบการณ์มาถ่ายทอดจากรุ่นต่อรุ่น Thainess - ความเป็นไทย : นำ เสนอด้วยวัสดุธรรมชาติและเอกลักษณ์ความเป็นไทย ทั้งนี้การดำ เนินงานภายใต้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง PDCA ประกอบด้วย 1. การวางแผน (Planning) ชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการ ดำ เนินงาน และประโยชน์ที่ได้รับการสร้าง ความร่วมมือการกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 2. การดำ เนินการ (Do) ดำ เนินงานตามบทบาทและหน้าที่ จัดกลุ่มนักเรียนตามความถนัดและความสนใจ ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผน ถ่ายทอด ความรู้ด้านวิชาการ ฝึกปฏิบัติ/ทักษะอาชีพ 3. การตรวจสอบ (Check) ตรวจสอบผลลัพธ์เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ ต้องการการประเมินความสำ เร็จ 4. การประเมินผลและรายงาน (Act) สรุป/ประเมิน ผลการดำ เนินงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และขยายผล รูปแบบการบริหารจัดการแบบ Watsadet Model 18


“ในการบริหารจัดการ ผอ.ต้องมีภาวะผู้นำ มีความฉลาดทางอารมณ์ แก้ไขปัญหาอย่างเป็น ระบบ รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง และให้ความสำ คัญกับการมีส่วนร่วม ต้องใช้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา คือ อริยสัจ 4 การมีสติ มองปัญหาให้ออก และใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหา รวมกับกัความร่วร่มมือมืกันกัของคนภายในองค์กค์ร และการคำ นึงนึถึงถึผลจากการปฏิบัฏิติบักิติจกิกรรมที่นั ที่ กนัเรียรีน ควรจะได้รัด้บรัเป็นป็หลักลั ในบางครั้ง รั้โรงเรียรีนมีภมีารกิจกิที่ห ที่ ลากหลายและเร่งร่ด่วด่น จึงจึทำ ให้ให้นบางโครงการ และบางกิจกรรม มีช่วงระยะเวลาในการดำ เนินงานที่สั้นเกินไป ต้องร่วมกันปรับประยุกต์กิจกรรม และบูรณาการกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ยังคงสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัญหาและการแก้ไข การพัฒนาทักษะอาชีพในโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) ไม่ได้อาศัยเพียงความ มุ่งมั่นในการพัฒนาของบุคลากรทุกคนที่มีเป้าหมายเดียวกันเท่านั้น หากต้องใช้ความรู้ต่าง ๆ มาประกอบกัน ทั้งความรู้เกี่ยวกับอาชีพต่างๆ เช่น การทำ ขนมไทย การทำ ขนมอบและเบเกอรี่ การทำ น้ำ ยาย้อมผม การทำ สิ่งของเครื่องใช้จากเศษไม้ การทำ น้ำ ยาล้างจานสมุนไพร การปลูกแคนตัส ฯลฯ การพัฒนาและส่งเสริมทักษะ กระบวนการในการทำ งาน การใช้เทคโนโลยีออกแบบผลิตภัณฑ์ การนำ แหล่งทรัพยากรในโรงเรียนและชุมชน เช่นช่ ใบเตย เศษไม้ มาบูรบูณาการต่อต่ยอดความรู้ใรู้นการทำ สินสิค้าค้การทำ บัญบัชีรชีายรับรั-รายจ่าจ่ย การจำ หน่าน่ยสินสิค้าค้ และการจัดจักระบวนการเรียรีนรู้โรู้ดยบูรบูณาการการจัดจัการเรียรีนรู้ตรู้ามหลักลัปรัชรัญาของเศรษฐกิจกิพอเพียพีง การดำ เนินงานใด ๆ ย่อมมีปัญหาและอุปสรรค เป็นบททดสอบความมุ่งมั่นตั้งใจและความเพียรพยายาม ในการแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง เพื่อให้งานสามารถเดินหน้าต่อไปได้ ซึ่ง ผอ.สมคะเน ดาษดา กล่าวถึงปัญหาและ การแก้ไขของการทำ งานครั้งนี้ว่า ปัจจัยความสำ เร็จ “...ทุกปัจจัยไม่ว่าจะเป็นครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภายนอก ที่ได้เข้ามาช่วยสนับสนุนมากมายทั้งภาครัฐ/เอกชน และรัฐวิสาหกิจรวมถึง ผู้บริหาร มีส่วนให้การพัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 มีอาชีพและ การมีงานทำ ประสบความสำ เร็จ แต่ปัจจัยที่มีความสำ คัญมากที่สุด คือ ครู ความมุ่งมั่นตั้งใจของคุณครูที่พร้อมที่จะทำ เพื่อเด็กพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถอยู่เสมอ อันไหนที่นักเรียนอยากเรียนรู้ อยากทำ ครูมุ่งมั่น ลงทะเบียบีนเรียรีนเอง เสียสีสละทั้ง ทั้ กำ ลังลักาย กำ ลังลัใจและทรัพรัย์ ให้ไห้ด้คด้วามรู้มรู้า พัฒพันานักนัเรียรีนอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ งและตลอดเวลา โดยการจัดจักิจกิกรรมเป็นป็กลุ่มลุ่ ผ่าผ่น กระบวนการลงมือมืทำ ครูผู้รูสผู้อนคอยอำ นวยการความรู้ เพื่อ พื่ นครูใรูห้กห้ารสนับนัสนุนนุ ความรู้ และยืดยืหยุ่นยุ่ ชั่ว ชั่ โมงการทำ งานของนักนัเรียรีน รวมถึงถึผู้บผู้ ริหริาร ต้อต้งคอย หาปัจจัยสนับสนุน สื่อ อุปกรณ์ งบประมาณ และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อ ให้นักเรียนและครูเกิดประสบการณ์ และร่วมกันพัฒนาทักษะอาชีพให้ดีขึ้น อย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ ง รวมถึงถึให้กำห้กำลังลัใจ นอกจากนี้ผู้ นี้ ปผู้กครองสนับนัสนุนนุและให้นัห้กนัเรียรีน มาฝึกฝึนอกเวลา ส่งส่เสริมริให้นัห้กนัเรียรีนได้ทด้ดลองจำ หน่าน่ยเองที่บ้ ที่ าบ้นยิ่ง ยิ่ ไปกว่าว่นั้น นั้ ความสำ เร็จร็นี้จ นี้ ะขาดไม่ไม่ด้คืด้อคืนักนัเรียรีนที่มี ที่ คมีวามรับรัผิดผิชอบต่อต่หน้าน้ที่ จนภารกิจกิ สำ เร็จร็เพราะทุกทุอย่าย่งต้อต้งใช้คช้วามมุ่งมุ่ มั่น มั่ อดทน ความเพียพีรพยายาม งานอาชีพชี มีรมีะยะเวลาในการทำ งาน อุปอุสรรค” “..อันไหนที่นักเรียนอยากเรียนรู้ อยากทำ ครูมุ่งมั่นลงทะเบียน เรียนเอง “ ผอ.สมคะเน ดาษดา 19


ด้านผู้เรียนมีทักษะกระบวนการการทำ งาน รู้จักปรับตัวและเข้าใจ การทำ งานร่วมกับผู้อื่น สามารถบูรณาการทักษะชีวิตของตนเองได้ อย่างเหมาะสม นักเรียนเอาความรู้ที่ได้ไปขายของในวันเสาร์-อาทิตย์ หลังเลิกเรียน ทำ ให้เกิดรายได้ นักเรียนบางคนนำ ความรู้ไปสู่ครอบครัว เปิดร้านเล็กทำ ให้ครอบครัวมีรายได้มาจุนเจือ ชุมชน องค์กรภายนอกเกิดมุมมองที่ดี และสร้างความเชื่อมั่นต่อโรงเรียน ยอมรับและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ผอ.สมคะเน ดาษดา และครูจริยาภรณ์ คุ้มพันธ์ กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการดำ เนินการ พัฒนาทักษะอาชีพในด้้านต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งที่ดีเกิดขึ้นว่า ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น “โรงเรียนได้รางวัลชนะเลิศ โรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการพัฒนาทักษะชีวิต ส่งเสริมทักษะอาชีพของนักเรียน ระดับสำ นักงานเขตพื้นที่การศีกษา เห็นได้ชัดคือนักเรียน นักนัเรียรีนโรงเรียรีนชุมชุชนวัดวัเสด็จด็ ได้รัด้บรัรางวัลวัดีเดีด่นด่กิจกิกรรมการออมธนาคารโรงเรียรีนประจำ ปี 2566 จากธนาคารออมสินสิว่าว่เป็นป็ โรงเรียรีนที่มี ที่ นัมีกนัเรียรีนออมเงินงิมากที่สุ ที่ ดสุอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ งระดับดั จังจัหวัดวัปทุมทุธานี นักนัเรียรีนสามารถนำ ความรู้ครู้วามสามารถที่ไที่ ด้รัด้บรัการพัฒพันาทักทัษะอาชีพชีที่ เหมาะสม และหลากหลาย เหมาะสมตามช่วช่งวัยวัและสอดคล้อล้งกับกับริบริทของโรงเรียรีนทำ ให้ นักนัเรียรีนมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิมีพื้มีน พื้ ฐานในการศึกศึษาต่อต่และประกอบอาชีพชีสนใจและเกิดกิทัศทันคติที่ติดี ที่ ดี ในเรื่อ รื่ งของการประกอบอาชีพชีในอนาคต นอกจากนี้แ นี้ ล้วล้ครูมีรูคมีวามภูมิภูใมิจที่ไที่ ด้เด้ห็นห็เด็กด็เกิดกิการ เปลี่ยนแปลงมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีความภาคภูมิใจและชื่นชมในผลที่เกิดแก่ ผู้เผู้รียรีน ความรู้เรู้หล่าล่นี้จ นี้ ะติดติตัวตันักนัเรียรีนไปตลอดชีวิชีตวินักนัเรียรีนสามารถสร้าร้งอาชีพชีสร้าร้งรายได้ หาเลี้ย ลี้ งตนเองและครอบครัวรั” ด้านของผู้บริหาร ได้เรียนรู้จากคุณครู นักเรียน ทำ ให้ผู้บริหารต้องพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่องทั้งในด้านการบริหารองค์กรเพื่อให้เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง การระดมทรัพยากร ขจัดปัจจัยเสี่ยงในการทำ งาน ไม่เป็นอุปสรรค ทั้งในเรื่องของการบริหารเพื่อนำ มาพัฒนาโรงเรียน โรงเรียนมีผลงานเชิงประจักษ์ ครู ผู้บริหาร เกิดความภาคภูมิใจที่ได้พัฒนา ตนเอง พัฒนาผู้เรียน และพัฒนาโรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความภาคภูมิใจ ครูจริยาภรณ์ คุ้มพันธ์ ครูโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) ผอ.สมคะเน ดาษดา 20


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คณะดำ เนินงาน ที่ปรึกรึษา นายกัมพล เจริญรักษ์ นายวิวัฒน์ สิรพัธน์โภคิน นางสาวสายใจ พุ่มถาวร นายธนกฤต แก้วนามไชย ผู้ร่ผู้ร่วมถอดบทเรียน 21 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เจ้าของบทเรียน โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) 1. นายสมหวัง อิสมาแอง ผู้อำ นวยการโรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) 2. นางสาวปริญญาภรณ์ ศรีคุณ ครู โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิตร) โรงเรียนลำ สนุ่น 1. นางศิริกาญจน์ ภูริภัทรวิรุฬห์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนลำ สนุ่น 2. นางสาวจริยา ใหม่ชุม ครู โรงเรียนลำ สนุ่น โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) 1. นายสมคะเน ดาษดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) 2. นางจริยาภรณ์ คุ้มพันธ์ ครู โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนรัชต์บำ เพ็ญ) ผู้ถอดบทเรียน 1. นางสาวศิริลักษณ์ สืบไทย ผู้อำ นวยการโรงเรียนศาลาพัน 2. นางณัฐนันท์ หอมชื่น ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ 3. นางสาวเบญจพร ห่อประเสริฐ ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการ บรรณาธิการกิจ นางสุรัสวดี จันทรกุล ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


เอกสารลำ ดับที่ 5 / 2567 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธทุานี เขต 1 สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร BEST PRACTICE


Click to View FlipBook Version