ปฐมบทของการเดินทาง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ก หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1”ฉบับนี้ ปฐมบทของการเดินทาง สู่ความสำ เร็จ เริ่มจากการพัฒนาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารสถานศึกษาตามจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้วิเคราะห์นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนำ มาจัดทำ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำ นวน 102 โรงเรียน ในการกำ หนดจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ได้จากการสังเคราะห์ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา เขียนตัวเลข 1–3 เรียงลำ ดับความ ต้อต้งการตามความคิดคิเห็นห็ของตนเองที่จ ที่ ะกำ หนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประเด็นที่มีความถี่สูงที่สุดมีจำ นวน 6 รายการ จึงจึได้กำด้กำหนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1ได้แด้ก่1) โรงเรียรีน ปลอดภัยภั 2)การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ (Active Learning) 3) ทักทัษะเทคโนโลยี 4) ทักทัษะอาชีพชี 5) ทักทัษะ ชีวิต 6) คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 หลังจากนั้นผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด จัดจัทำ ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานกับกัผู้อำผู้ อำนวยการสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาโดยผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ต้องเขียนข้อตกลงในการพัฒนางาน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทาย จำ นวน 2 เรื่อง โดยเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา จำ นวน 1 เรื่อง และเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความ สอดคล้องกับจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำ นวน 1 เรื่อง ซึ่ง เลือกเพียง 1 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจัดข้อตกลงในการ พัฒนางาน (PA) กับผู้บังคับบัญชา เพื่อแสดงเจตจำ นงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของตำ แหน่งและวิทยฐานะที่ดำ รงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย บริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้บังคับบัญชาได้เห็นชอบ ให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาได้ดำ เนินการตามข้อตกลงพัฒนางานแล้ว ได้มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เกิดเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในขับเคลื่อนนโยบายและ จุดเน้นสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสถานศึกษาทั้ง 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อให้การดำ เนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน และเป็นการขยายผลการดำ เนินงานการนำ นโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาจึงดำ เนินการถอดบทเรียน Best Practice ของสถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ดังปรากฎในหนังสือเล่มนี้
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียรีน เป็นป็ทั้ง ทั้ บรรณาธิกธิารออกแบบรูปรูเล่มล่เป็นป็ต้นต้ขอขอบคุณคุศึกศึษานิเนิทศก์ทุก์กทุท่าท่น และผู้บผู้ริหริาร สถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็นเจ้าของ บทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คำ นำ ค การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำ เนินการพัฒนาคุณภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ของนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นป็หน้าน้ที่ห ที่ ลักลัของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ซึ่ง ซึ่ ขับขัเคลื่อ ลื่ นการพัฒพันา ด้วด้ยการกำ หนดให้ผู้ห้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ 6 จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษา ปทุมทุธานี เขต 1 ไปเขียขีนข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานที่เ ที่ ป็นป็ ประเด็นด็ท้าท้ทาย ซึ่ง ซึ่ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ สู่ การปฏิบัติ ออกแบบนวัตกรรม ขั้นตอนการดำ เนินงานขับเคลื่อนและพัฒนาสถานศึกษาโดยทุกฝ่าย มีส่มีวส่นร่วร่ม เกิดกิผลสำ เร็จร็ที่เ ที่ ป็นป็รูปรูธรรมเชิงชิประจักจัษ์ไษ์ด้รัด้บรัการชื่น ชื่ ชมและได้รัด้บรัการยกย่อย่งว่าว่เป็นป็วิธีวิปธีฏิบัฏิติบัติที่เ ที่ ป็นป็เลิศลิ (Best Practice) ได้รัด้บรัการยอมรับรัทั้ง ทั้ จากภายในและภายนอกสถานศึกศึษา หนังนัสือสื “ถอดบทเรียรีน 6 จุดจุเน้นน้สพป.ปทุมทุธานี เขต 1” เป็นป็การบันบัทึกทึเรื่อ รื่ งราวการเดินดิทาง สู่คสู่ วามสำ เร็จร็ของการพัฒพันาสถานศึกศึษาใน 6 จุดจุเน้นน้จุดจุเน้นน้ละ 3 โรง รวม 18 โรง ผ่าผ่นการสนทนา พูดพูคุยคุและเล่าล่เรื่อ รื่ งราว จากผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ครู ศึกศึษานิเนิทศก์แก์ละผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง โดยมีจุมีดจุประสงค์ เพื่อรวบรวมประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำ เนินงาน ในด้านแรงบันดาลใจ นวัตกรรมและขั้นตอน การดำ เนินงาน ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัจจัยความสำ เร็จ ปัญหาที่พบและการแก้ไข การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเมื่อได้พัฒนาตามจุดเน้นที่เลือกดำ เนินการ ทั้งด้านผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบทของโรงเรียนทั่ว ๆ ไปและความภาคภูมิใจเมื่อโรงเรียนประสบ ความสำ เร็จในการพัฒนางานจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเผยแพร่เร่อกสารการถอดบทเรียรีนครั้ง รั้ นี้ เป็นป็การสร้าร้งคุณคุค่าค่ ให้แห้ก่คก่วามสำ เร็จร็ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ของ สถานศึกษาที่เป็นเจ้าของบทเรียน โดยจัดทำ เอกสารถอดบทเรียนจำ นวน 6 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เล่มที่ 2 จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เล่มที่ 3 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เล่มที่ 4 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เล่มที่ 5 จุดเน้นที่ 5 การพัฒนาทักษะชีวิต เล่มที่ 6 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต 1 หวังวัเป็นป็อย่าย่งยิ่ง ยิ่ ว่าว่เมื่อ มื่ ท่าท่นได้อ่ด้าอ่น หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1” ทั้ง 6 เล่ม จะเป็นแรงบันดาลใจให้ท่าน ทำ งานอย่าย่งมีคมีวามสุขสุและมีคมีวามภาคภูมิภูใมิจกับกังานที่ทำ ที่ ทำ ไม่ว่ม่าว่งานนั้น นั้ จะเป็นป็งานใด ๆ ก็ตก็าม นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
ปฐมบทของการเดินทาง............................................................................................................ ก คำ นำ ......................................................................................................................................... ค สารบัญ...................................................................................................................................... ง 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1........................................................................................... 1 การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา......................................... 3 โรงเรียนกับการพัฒนา 6 จุดเน้น......................................................................................... 4 การเดินทางสู่ความสำ เร็จ จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะ ด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning...................................................................... 5 ปัจจัยความสำ เร็จ................................................................................................................. 6 นวัตกรรม............................................................................................................................. 6 ขั้นตอนการพัฒนา................................................................................................................ 7 โรงเรียนวัดเทียนถวาย.......................................................................................................... 8 โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง............................................................................................... 12 โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว..................................................................................................... 16 คณะดำ เนินงาน........................................................................................................................ 20 สารบัญบั ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ง
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1
6 จุดเน้น น้ สพป.ปทุม ทุ ธานี เขต 1 การดำดำดำดำเนินินินิงานความปลอดภัภัภัยภั ในสถานศึศึศึกศึษา การพัพัพัฒพันาผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีนสู่สู่สู่ฐสู่ านสมรรถนะ ด้ด้ ด้ ว ด้ วยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รูรู้รูรูปรูแบบ Active Learning การใช้ช้ ช้ เ ช้ เทคโนโลยียียีดิยีดิดิจิดิจิจิทัจิทัทัลทั เพื่พื่ พื่ อ พื่ อการบริริริหริารจัจัจัดจัการ และการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้ การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะอาชีชีชีพชี การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะชีชีชีวิชีวิวิตวิ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 2 6 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เกิดจากการวิเคราะห์นโยบายและจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ - กระทรวงศึกษาธิการ - สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) ที่มีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กัน และมีความเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่และ ภารกิจของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่จะนำ นโยบายและจุดเน้น ลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้จริง
3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดทำ ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนางาน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1. ประชุมชี้แจงและร่วมกันวางแผน กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงาน 2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน เพื่อกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 6. ดำ เนินการตามรูปแบบการพัฒนาข้อตกลง ในการพัฒนางาน 7. นิเทศการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามรูปแบบ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลงในการพัฒนางานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานที่ปฏิบัติงานจริง 9. สรุปผลการดำ เนินงานตามรูปแบบฯ ที่ได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 10. ยกย่องเชิดชูเกียรติ ไม่ผ่าน ผ่าน 3
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรีย รี นกับการพัฒนา 6 จุดเน้น การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 การพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพ แวดลอมที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ช่วช่ยเหลือลืและเยียยีวยาด้าด้นความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาและมีข้มีอข้มูลมูสารสนเทศที่เ ที่ ป็นป็ ระบบ สามารถแก้ไก้ขปัญปัหาและบริหริารจัดจัการความเสี่ย สี่ ง ได้อด้ย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืด้วด้ยการบริหริารจัดจัการตามาตรการ3 ป ได้แด้ก่ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม โดยการมีส่มีวส่นร่วร่มของ หน่วน่ยงานที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง และภาคีเคีครือรืข่าข่ย การจัดการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวั(ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ.2560)ที่เ ที่ หมาะสม กับความต้องการและบริบท ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชั้น ชั้ เรียรีน สร้าร้งปฏิสัฏิมสัพันพัธ์รธ์ะหว่าว่งครูผู้รูสผู้อนกับกัผู้เผู้รียรีนมุ่งมุ่ ให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีวิกธีารที่ห ที่ ลากหลาย จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 การจัดจัทำ หลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาที่บู ที่ รบูณาการทักทัษะอาชีพชีและ พัฒพันากระบวนการจัดจัการเรียรีนรู้ เพื่อ พื่ เตรียรีมความพร้อร้มแก่ ผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ และมีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานในการประกอบอาชีพชี สร้าร้งเสริมริประสบการณ์อณ์าชีพชีในรูปรูแบบต่าต่งๆรวมถึงถึการปลูกลูฝังฝั ลักษณะนิสัยในการทำ งาน การมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทำ งาน รักงาน สู้งาน และทำ งานจนสำ เร็จ มีคมีวามรู้พื้รู้ น พื้ ฐานของการเป็นป็ผู้ปผู้ระกอบการที่ดี ที่ ดีมีแมีรงบันบัดาลใจ ในการค้นค้พบอาชีพชีเพื่อ พื่ พัฒพันาไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีในอนาคต ด้วด้ยการมีส่มีวส่นร่วร่มของผู้ปผู้กครองสถานประกอบการแหล่งล่เรียรีนรู้ และภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ การพัฒนาทักษะอาชีพ การนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัการจัดจัการฐานข้อข้มูลมูและการใช้ ข้อข้มูลมูสารสนเทศในการบริหริารและการจัดจัการศึกศึษา เพื่อ พื่ เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพการบริหริารสถานศึกศึษาการจัดจัทำ ระบบ ข้อข้มูลมูสารสนเทศของนักนัเรียรีนเป็นป็รายบุคบุคล มีคมีวามสะดวก รวดเร็วร็มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืในการนำ ข้อข้มูลมูไปใช้ปช้รับรัปรุงรุและ ไปใช้ใช้ห้เห้กิดกิประโยชน์ต่น์อต่การบริหริารจัดจัการสถานศึกศึษารวมถึงถึ การพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้ทัมีกทัษะดิจิดิทัจิลทัและภาษาคอมพิวพิเตอร์ มีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานการใช้เช้ทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสมกับกัช่วช่งวัยวั สามารถใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการรับรัรู้แรู้ละมีวิมีจวิารณญาณในการใช้ สื่อ สื่ เทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 5 จุดเน้นที่ 6 การบูรบูณาการทักทัษะชีวิชีตวิในหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาระดับดัปฐมวัยวั และระดับดัการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน ให้มีห้กมีารจัดจัการเรียรีนการสอน ทักทัษะชีวิชีตวิบูรบูณาการในกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ด้รู้วด้ยกระบวนการ เรียรีนรู้ที่รู้ เ ที่ น้นน้ผู้เผู้รียรีนเป็นป็สำ คัญคัหรือรืการจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ และจัดจัระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน เพื่อ พื่ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนเกิดกิ การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมอันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิ และอยู่ใยู่ นสังสัคมอย่าย่งมีคมีวามสุขสุภายใต้คต้วามร่วร่มมือมืของ ภาคีเคีครือรืข่าข่ยพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิแก่ผู้ก่เผู้รียรีน การพัฒนาทักษะชีวิต การดำ เนินนิงาน/โครงการ/กิจกิกรรมพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้ป็นป็พลเมือมืงดี มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม ตามพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของ พระบาทสมเด็จด็พระวชิรชิเกล้าล้เจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัรัชรักาลที่ 10และดำ เนินนิ งาน/โครงการ/กิจกิกรรม เพื่อ พื่ พัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ มีทัมีกทัษะ การเรียรีนรู้และทักทัษะที่จำ ที่ จำเป็นป็ของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยมี ภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วม และมีผลการดำ เนินงาน บรรลุตามเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 4
การพัฒนาผู้เ ผู้ รียนสู่ฐานสมรรถนะ ด้ว ด้ ยการจัด จั การเรียนรู้รู รู้ รู ปแบบ Active Learning การเดินทาง... สู่คสู่ วามสำ เร็จ ร็ จุดเน้น น้ ที่2 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 5
นวัตกรรม ปัจจัยความสำ เร็จ ผู้บริหารให้ความสำ คัญ เป็นผู้นำ การขับเคลื่อน ครูมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง หน่วยงานภายใน-ภายนอก ชุมชน-ผู้ปกครองมีส่วนร่วม และให้การสนับสนุน ผู้เรียน ร่วมมือ และมีส่วนร่วม ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การพัฒนาผู้เรียน ครูและผู้บริหารไปพร้อมกัน มีการตั้งเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่บรรลุผลได้จริง มีประสิทธิภาพชัดเจนง่ายต่อการปฏิบัติ สามารถ วัดผลความสำ เร็จได้ตามระยะเวลาที่กำ หนด การดำ เนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ด้วยการสร้างทีมครูด้วยกระบวนการ PLC เพื่อวางแผนการจัดการศึกษาเชิงรุก วิเคราะห์หลักสูตรเพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะอย่างหลากหลาย กระตุ้นให้ครูเห็นความสำ คัญ นิเทศ กำ กับ ติดตาม ส่งเสริมสนับสนุนองค์ความรู้ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ การสร้างนวัตกรรมของครู ใช้กระบวนการ PLC แลกเปลี่ยน เรียนรู้ สะท้อนผลร่วมกัน และสร้างเครือข่ายภายใน ภายนอกสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ด้วย 4 ขั้นตอน 1) การสร้างความตระหนักแก่ครู 2) เปลี่ยนบทบาทของครูจากผู้บอกความรู้เป็นผู้ชี้แนะ กระตุ้น และให้คําแนะนํากับ ผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PLC 4) ผู้บริหารให้คําปรึกษา ติดตามและอำ นวยความสะดวก โรงเรียนวัดเทียนถวาย SMART MODEL โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง DERN MODEL โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว RCMF MODEL 6
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนผล ปรับปรุงและพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา ผู้บริหารนิเทศ กำ กับติดตาม ให้คำ ปรึกษา แนะนำ ครูแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PLC วิเคราะห์ผลการดำ เนินงานเพื่อ วัดค่าความสำ เร็จตามเป้าหมาย ประชุมวางแผน แต่งตั้งคณะทำ งาน ศึกษาความต้องการจำ เป็น ปัญหาในการจัดการเรียนการสอน กำ หนดปณิธาน ค่าเป้าหมายความสำ เร็จ วิเคราะห์ความรู้ ความถนัดของผู้เรียนเป็นรายบุคคล พัฒนาครูให้มีความรู้เรื่องการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 7
ผอ.ทวีวัฒน์ เชื้อนาค ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเทียนถวาย กล่าวถึงแรงบันดาลใจในการเลือกพัฒนาโรงเรียนตามจุดเน้นด้าน การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning ในโรงเรียนว่า “เชื่อว่าจุดเน้นนี้เป็นจุดเน้นเดียวที่ยั่งยืนที่สุด นี่คือหน้าที่ หลักของโรงเรียน หน้าที่อื่นเป็นหน้าที่รอง คือถ้าถามงาน ของโรงเรียนเยอะไปหมด แต่นี่คืองานหลัก งานอื่นงานรอง กระทรวงศึกษาธิการพูดเรื่องนี้มาเป็นสิบปีแล้ว” โรงเรียนวัดเทียนถวาย ตั้งอยู่ในอำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โดยโรงเรียนอยู่ในที่ดินธรณีสงฆ์ของ วัดเทียนถวาย เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีพมีระมหาสมเกียกีรติ รวิวัวิณวั โณ เจ้าจ้อาวาสวัดวัเทียทีนถวาย เป็นป็องค์อุค์ ปอุถัมถัภ์โภ์รงเรียรีน และมีคมีณะกรรมการที่ปที่ รึกรึษา เป็นป็ผู้ร่ผู้วร่มวางแผนการบริหริาร โรงเรียรีนวัดวัเทียทีนถวายจัดจัการเรียรีนการสอนในแนวทางปฏิรูฏิปรูกระบวนการเรียรีนรู้ที่รู้ ที่ ยึดผู้เรียนเป็นสำ คัญตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยเน้นว่าแหล่งเรียนรู้เป็นสิ่งที่ สำ คัญที่สุด คือ แหล่งเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถปฏิบัติจริงได้ในการเรียน จากประกาศของกระทรวงศึกษาธิการที่มีนโยบายให้ยกระดับคุณภาพทางการศึกษา นโยบายของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ที่ต้องการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อ ให้นักเรียนเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 ผอ.ทวีวัฒน์ เชื้อนาค จึงได้ดำ เนินการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ เชิงรุกของโรงเรียนวัดเทียนถวายโดยกำ หนดปณิธาน (Aspiration) นั่นคือ กำ หนด SMART MODEL เพื่อพัฒนา SMART SCHOOL เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยผ่านกระบวนการนิเทศติดตาม การจัดการเรียนการสอน ในช่วงเริ่มต้นครูบางส่วนในโรงเรียนไม่ยอมรับ คิดว่าเป็นเรื่องใหม่ แต่ผู้บริหาร ให้ความสำ คัญของการขับเคลื่อนและมีองค์ความรู้ในการให้คำ ปรึกษาแนะนำ กับครู จึงใช้วิธีการ “ทำ ให้ดู อยู่ให้เห็น” และกำ หนดเป้าหมายและขั้นตอนการดำ เนินการที่ชัดเจน รวมถึงให้การส่งเสริมสนับสนุน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้จัดการเรียนการสอน ร่วมกับกระบวนการ PLC เพื่อให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกัน “ทำ ให้ดู อยู่ให้เห็น” แรงบันดาลใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning โรงเรียนวัดเทียนถวาย ผอ.ทวีวัฒน์ เชื้อนาค ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเทียนถวาย ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 8
นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน 1. ประชุมวางแผนแต่งตั้งคณะทำ งานโดยคำ นึงผู้ปฏิบัติงาน โดยยึดมาตรฐานการทำ งาน ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 2. กำ หนดปณิธาน ค่าเป้าหมายความสำ เร็จ 3. กำ หนดนโยบายและแผนงาน เพื่อนำ ไปปรับปรุงและพัฒนางานให้สอดคล้องกับความต้องการ จากทุกฝ่ายและตามความจำ เป็นของบริบทในแต่ละพื้นที่ 4. วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ครูผู้สอนจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อประกอบการกำ หนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning ) ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการออกแบบกิจกรรม ที่หลากหลาย 5. วิเคราะห์หลักสูตร ศึกษาโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โดยวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และแนวทางของ SMART MODEL 6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้วยการบูรณาการที่สอดคล้องเหมาะสมกับ ผู้เรียน (Realistic) มาขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ 7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สะท้อนผล ปรับปรุงและพัฒนา รูปแบบพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ”SMART MODEL” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 สิ่งที่โรงเรียนวัดเทียนถวายมุ่งหวังและต้องการพัฒนา มาจากการระดมความคิด เพื่อหาวิธีพัฒนา การจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อต่อยอดจุดแข็งที่มีอยู่และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้คุณภาพผู้เรียนดียิ่งขึ้น โดยยึดแนวทางตามนโยบายของสถานศึกษาในรูปแบบ “SMART MODEL” มีขั้นตอนการดำ เนินงานดังนี้ 9
ผู้บริหาร มีความมุ่งมั่นตั้งใจ ในการขับเคลื่อน การจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning ครู “Teacher as a key of success” ครูให้ความร่วมมือกับผู้บริหารในการดำ เนินงาน มีนวัตกรรมหรือ Model ที่เป็นหลักยึดเหนี่ยว ของทั้งโรงเรียนในการดำ เนินงาน มีงบประมาณที่เพียงพอ ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ผู้เรียนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ “การศึกษาลงทุนมาเยอะแล้ว ผมกลับมาสู่พื้นฐานเลย Less is more ผมให้ปรัชญานี้กับครูทุกคนครับ เคยได้ยินไหมครับ คำ นี้ TLLM : Teach Less Learn More นี่คือหัวใจของ Active Learning ครับ ทำ ยังไงให้ครูมีจิตวิญญาน เริ่มตั้งแต่อนุบาลเลยนะ ขอแค่คุณมีวินัยและมีอุดมการณ์แค่นี้พอแล้ว” ปัญหาและการแก้ไข “จริง ๆ ปัญหาที่จะกล่าวถึง เป็นปัญหาของผู้บริหารนะ คุณลักษณะของผู้บริหารตาม ว 10 หลัก ๆ เลย ต้องบริหารงาน วิชาการและบริหารการเปลี่ยนแปลง( Change Management) เพราะว่าเทียนถวายต้องการอย่างนั้น ปัญหาของผมคือ..... ทำ อย่างไรให้ครูปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน ซึ่งจะเกิดได้ครู ต้องปรับวิธีคิด อันนี้ยากสุดครับ ถึงขนาดว่าต้องโต้วาทีกัน ในที่ประชุม “ผอ.ทำ ให้ดูหน่อย” เขาท้าให้เราทำ ให้ดู” การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ของโรงเรียนวัดเทียนถวายในช่วงแรกเกิดการ ไม่เห็นด้วยของครูรุ่นใหม่ โดยการคิดว่าเป็นเรื่องใหม่ ไม่ทำ ได้ไหม และมีการท้าทาย ผอ.ให้ออกแบบวิธี การจัดการเรียนรู้ให้ดู ผอ.ทวีวัฒน์ เชื้อนาค ใช้องค์ความรู้ที่มีในการทำ ให้ดู แนะนำ การเขียนแผนการจัด การเรียนรู้ ให้ความสำ คัญ ทุ่มเทและให้เวลากับการให้ความรู้ ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของครูและให้ คำ แนะนำ กับกัครู จนคุณคุครูเรูข้าข้ใจและเกิดกิการยอมรับรั โดยมีหัมีวหัหน้าน้กลุ่มลุ่ บริหริารวิชวิาการเป็นป็ผู้ช่ผู้วช่ยเหลือลืและ สนับสนุน เปิดใจคุยกับครูที่ยังไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง เสวนาร่วมกับครูถึงสิ่งที่ยังไม่เข้าใจตรงกัน ทำ ความเข้าใจ และให้คำ ปรึกษา ชี้แนะ ในลักษณะพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน ปัจจัยความสำ เร็จ ผอ.ทวีวัวีฒวัน์ เชื้อ ชื้ นาค ได้ใด้ห้ปห้รัชรัญาการจัดจัการเรียรีนรู้กัรู้ บกัคุณคุครู คือคื Teach Less Learn More คือคืการสอน ให้น้ห้อน้ย แต่ใต่ห้นัห้กนัเรียรีนเรียรีนรู้ใรู้ห้มห้ากขึ้น ขึ้ โดยใช้วช้งจรคุณคุภาพ PDCA ในการดำ เนินนิงาน รวมถึงถึการพัฒพันาองค์คค์วามรู้ และทักทัษะของครูเรูพื่อ พื่ ให้นำห้ นำไปพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้กิดกิผลตามค่าค่เป้าป้หมาย ซึ่ง ซึ่ จะนำ ไปสู่ผสู่ ลการพัฒพันาการจัดจัการเรียรีนรู้ เชิงชิรุกรุ (Active learning) ของสถานศึกศึษาต่อต่ ไป 10 ผอ.ทวีวัฒน์ เชื้อนาค
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ครูกรณิกา คุ้นกลาง ครูโรงเรียนวัดเทียนถวาย กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังจากการดำ เนิน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ในโรงเรียนวัดเทียนถวาย ความภาคภูมิใจ “นักเรียนมีการกล้าคิด กล้าแสดงออก กล้าตอบคำ ถามครูเพิ่มขึ้น” “การแข่งขันภายนอก นักเรียนก็ได้รับรางวัล แม้จะไม่ได้รางวัลที่หนึ่ง แต่ก็ถือว่ามีการพัฒนาที่เพิ่มขึ้น” หลังจากโรงเรียนวัดเทียนถวายดำ เนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ในโรงเรียนเพื่อตอบสนองนโยบายของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 และขับเคลื่อนการดำ เนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ตามรูปแบบ “SMART MODEL” จนเกิดผล การดำ เนินงานตามปณิธานที่ตั้งไว้ สิ่งที่ผู้บริหารและครูเกิดความภาคภูมิใจมากที่สุดของผล ที่เกิดขึ้น คือ เกิดการพัฒนาองค์กรเป็น SMART SCHOOL มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง ผู้บริหาร ครู และผู้เรียน ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ แสดงให้เห็นถึงผลสำ เร็จของการพัฒนา การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ในโรงเรียน ครูกรณิกา คุ้นกลาง ครูโรงเรียนวัดเทียนถวาย ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 11 “...เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ เริ่มตั้งแต่ตัวผู้บริหาร ครูเปลี่ยนแนวความคิดและเข้าสู่กระบวนการในการจัด การเรียรีนการสอนรูปรูแบบ Active Learning มีกมีารจัดจัทำ หรือหาคลิปวีดิโอมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะเด็กด็จากที่นั่ ที่ ง นั่ เรียรีนเฉยๆก็ลุก็กลุขึ้น ขึ้ มาทำ กิจกิกรรม เราไม่ได้ดูว่านักเรียนต้องไปแข่งอะไรแล้วชนะ แต่เราดู การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมของนักนัเรียรีนว่าว่นักนัเรียรีนกล้าล้คิดคิ กล้าแสดงออก กล้าตอบคำ ถามครูเพิ่มขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพิ่มขึ้น และจากการแข่งขันภายนอก นักเรียนก็ได้รับรางวัลแม้จะไม่ได้รางวัลที่หนึ่งแต่ก็ถือว่า มีการพัฒนาที่เพิ่มขึ้น”
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง ตั้งอยู่อำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดทำ การสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ใกล้แหล่งชุมชน และโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากจะจัดจัการเรียรีนการสอนตามหลักลัสูตสูรแกนกลางแล้วล้ยังยัมีกมีารบูรบูณาการการเรียรีนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ (Montessorti) ในระดับปฐมวัย และมีการจัดการเรียนการสอนห้องเรียน IEP (Intensive English Program) ในระดับประถมศึกษา แรงบันดาลใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning “คุณครูของเราส่วนมากเป็นคุณครูบรรจุใหม่ โรงเรียนเราจึงเหมือนกับเป็นโรงเรียนฝึกหัดครู เราจึงต้องการสร้างครูรุ่นใหม่ ที่ใช้รูปแบบการสอนแบบ Active learning คุณครูมีความรู้อยู่แล้ว แต่ขต่าดประสบการณ์ใณ์นการปฏิบัฏิติบัติเราก็เก็ลยเน้นน้การจัดจัการเรียรีนการสอนในรูปรูแบบ Active learning เพราะว่าว่การเรียรีนการสอนมีหมีลายรูปรูแบบแต่โต่รงเรียรีนของเราเน้นน้รูปรูแบบ Active learning เพื่อ พื่ ให้ นักนัเรียรีนของเราได้ลด้งมือมืปฏิบัฏิติบัติคิดคิวิเวิคราะห์ แก้ปัก้ญปัหาซึ่ง ซึ่ เป็นป็สิ่ง สิ่ สำ คัญคัที่สุ ที่ ดสุและผลเกิดกิกับกันักนัเรียรีน อย่าย่งชัดชัเจน” ผอ.ดำ เนิน คำ ดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง ผอ.ดำ เนิน คำ ดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนสามัคคี ราษฎร์บำ รุง กล่าวถึงโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุงว่า ในทุกปี...จะมีครูผู้สอนย้ายกลับภูมิลำ เนาคราวละ หลายคน ในปีหนึ่ง ๆ มีการย้ายถึงสองครั้ง และจะ มีครูบรรจุใหม่แทบจะทุกปี คราวละหลายคนเช่นกัน ซึ่งครูเหล่านี้มีความรู้....แต่ยังขาดประสบการณ์ ในการจัดการเรียนการสอน มีความเชื่อมั่นว่าการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning เป็นวิธีการที่สามารถพัฒนานักเรียน ให้เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้ จึงต้องการสร้างครู รุ่นใหม่ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ Active learning ด้วยวิธีการสร้างความตระหนัก และการให้ความรู้แก่ครู คุณครูของเราส่วนมากเป็นคุณครู บรรจุใหม่ โรงเรียนเราจึงเหมือนกับ เป็นโรงเรียนฝึกหัดครู 12
นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุงใช้หลักการ บริหารการจัดการศึกษาด้วยรูปแบบ DERN MODEL ภายใต้กระบวนการดำ เนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพื่อขับเคลื่อนงานให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายความสำ เร็จ มีขั้นตอนดำ เนินงานดังนี้ D : Design team teacher สร้างทีมครูบูรณาการจัดการเรียนรู้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active learning ในสถานศึกษา 2. ประชุมคณะครูเพื่อชี้แจงทำ ความเข้าใจ วางแผน สร้างความตระหนักให้คุณครูรู้ถึงผลของ การจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active learning ส่งผลอย่างไรต่อนักเรียน โดยยึดมาตรฐานการทำ งาน ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 3. ศึกษาทฤษฎี จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้สอน เพื่อนำ ไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ E : Educate management process จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4. คุณครูจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย 5. คุณครูสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน 100% R : Reflect นำ ความรู้ไปใช้และสะท้อนผลความคิดร่วมกัน 6. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ กำ กับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครู 7. คุณครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกิจกรรม PLC ทุกกลุ่มสาระ 8. สะท้อนผล ปรับปรุงและพัฒนา N : Network สร้างเครือข่าย 9. สร้างการมีส่วนร่วมและขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายในและภายนอก ชุมชน และผู้ปกครอง ทั้งด้านองค์ความรู้ และสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ การบริหารการจัดการศึกษาด้วยรูปแบบ DERN MODEL ภายใต้ดำ เนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 13
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุงจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning โดยนำ เทคโนโลยีเข้ามา ช่วยในการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน โดยใช้แพลตฟอร์ม “SMK CONNECT” มีกมีารส่งส่เสริมริให้คห้รูนำรูนำเทคโนโลยีเยีข้าข้มามีบมีทบาทในการพัฒพันาการจัดจัการเรียรีนการสอน ฝึกครูให้ทำ คลิปการจัดการเรียนการสอนสั้น ๆ ส่งให้ ผอ.ดู เพื่อสามารถส่งให้นักเรียนนำ ไปใช้ศึกษาด้วย ตนเองและเป็นป็การเตรียรีมความพร้อร้มของครูสำรูสำหรับรัการประเมินมิ PA ครูมีรูกมีารศึกศึษาทฤษฎีกฎีารจัดจัการเรียรีน การสอนทั้งของไทยและต่างประเทศ มีการใช้รูปแบบการสอนแบบ “ห้องเรียนกลับด้าน” โดยการใช้สื่อ แบบ Micro ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเรียนของนักเรียน “ทำ อย่างไรเราถึงจะเป็น Active learning ของจริง ไม่ใช่ ว่าแผนเป็น Active learning แต่เวลาสอนครูกลับไปใช้ แบบโบราณเหมือนเดิม ก็เลยศึกษาทฤษฎีการจัดการเรียน การสอนของต่าต่งประเทศ เขาพัฒพันาเด็กด็เขา แม้ว่ม้าว่เด็กด็จะไม่มม่า เจอครู ครูอยู่ที่โรงเรียน เด็กอยู่ที่บ้าน เราจะทำ ยังไงให้เกิด การเรียนรู้ร่วมกันที่ผู้ปกครองก็มีส่วน ครู ตัวเด็ก ทำ ยังไงให้ กระบวนการเรียนรู้เชื่อมสัมพันธ์กันทั้งหมด ก็ได้การเรียนรู้ ของห้องเรียนกลับด้าน เน้นให้ลดการจัดการเรียนการสอน ที่ครูบอกความรู้ ครูจะเป็นโค้ช เน้นมอบหมายงานให้เด็ก โดยการให้คำ ถามกระตุ้น และครูจัดทำ สื่อที่เป็นแบบ Micro learning ไปแขวนไว้ตาม Facebook" ครูธีรชัย ใจดี ครูโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง เจ้าของรางวัล “บริษัทสร้างการดี” ระดับเหรียญทอง ของสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวถึงการใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยีมาช่วยจัดการเรียน การสอนรูปแบบ Active learning ว่า ปัญหาและการแก้ไข ครูมีหลากหลายกลุ่ม บางคนถนัดการใช้เทคโนโลยี บางคนไม่ถนัด งบประมาณไม่เพียงพอ ในการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ Active Learning ให้มีคุณภาพ “Buddy Teachar” จับคู่ครูที่ถนัด การใช้เทคโนโลยีกับครูที่ไม่ถนัด การใช้เทคโนโลยี ให้ช่วยเหลือกัน ในการทำ งาน ขอความร่วมมือและสนับสนุน ทั้งด้านความรู้ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ จากบุคคลและ หน่วยงานต่างๆ จากการที่โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง นำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน และบริหาร จัดการงานต่าง ๆ ภายในโรงเรียน จึงพบปัญหาที่เกี่ยวข้องซึ่งมีแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกันจนคลี่คลายและ ดำ เนินงานต่อไปได้ ปัญหา การแก้ไข ครูธีรชัย ใจดี ครูโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง 14
จากการดำ เนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น คือ “นักนัเรียรีนมีพัมีฒพันาการด้าด้นต่าต่ง ๆ ดีขึ้ดีน ขึ้ สามารถร่วร่มทำ กิจกิกรรมต่าต่ง ๆ ได้อด้ย่าย่งมีคมีวามสุขสุมีคมีวามสนใจ และกระตือตืรือรืร้นร้อยากเรียรีนรู้สิ่รู้ง สิ่ ต่าต่ง ๆ รอบตัวตัมากขึ้น ขึ้ กล้าล้คิดคิกล้าล้ทำ กล้าล้แสดงออก มีผมีลสัมสัฤทธิ์ท ธิ์ างการเรียรีน และคุณคุลักลัษณะอันอัพึงพึประสงค์ รวมถึงถึทักทัษะการเรียรีนรู้ต่รู้าต่ง ๆ มีคุมีณคุภาพสูงสูขึ้น ขึ้ อย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ ง” “ครูมีการพัฒนาตนเอง พัฒนาสื่อการสอน และการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนที่หลากหลาย ผู้บผู้ ริหริารมีส่มีวส่นร่วร่มในการวางแผนการจัดจัการศึกศึษามากขึ้น ขึ้ สามารถขยายผลต่อต่ยอดนำ ไปพัฒพันาการบริหริาร จัดการศึกษาในปีการศึกษาถัดไป โรงเรียนได้รับการยอมรับจากภาคีเครือข่าย ชุมชนและผู้ปกครองสูงขึ้น ผู้ปกครองให้ความไว้วางใจในการนำ บุตรหลานมาเรียนที่โรงเรียนเพิ่มมากขึ้น” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ผู้บริหาร เป็นต้นแบบ เป็นแบบอย่างที่ดี เหมือนดังคำ กล่าวที่ว่า“ทำ ให้ดู อยู่ให้เห็น” ดูแล เอาใจใส่ ครูอย่างใกล้ชิด ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนการทำ งาน มีองค์ความรู้ในการให้คำ แนะนำ แก่ครู ครู มีความทุ่มเท เสียสละ รักและศรัทธาในวิชาชีพครู พร้อมที่จะพัฒนาตนเอง นักเรียน ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก เครือข่าย โรงเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนทำ ให้เกิดการมีส่วนร่วม การสนับสนุนจากหน่วยงานภายในและภายนอก ชุมชนและ ผู้ปกครอง ทั้งในด้านองค์ความรู้ และสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปัจจัยความสำ เร็จ ความภาคภูมิใจ ครูจินตหรา มีครองแบ่ง ครูโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง “...สิ่งที่ภูมิใจมากที่สุด คือ....สิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเด็ก ซึ่งเป็นประเด็นสำ คัญที่สุด” ครูจินตหรา มีครองแบ่ง ได้กล่าวถึงความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้น จากผลการพัฒนาการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ว่า “ครูได้พัฒนาตนเอง มีความตั้งใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ของตนเองที่หลากหลายและดีมากขึ้น ในด้านตัวเด็กสิ่งที่ได้ คือ มีการ พัฒนาผลการเรียน พฤติกรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ควรจะ ได้รับการพัฒนา นักเรียนได้รับการพัฒนาดีขึ้นในทุก ๆ ด้าน แต่สิ่งที่ ภูมิใจมากที่สุด คือ สิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเด็ก ซึ่งเป็นประเด็นสำ คัญที่สุด” 15
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว ตั้งอยู่อำ เภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก เปิดทำ การสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 6 บริบททั่วไปมีลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท อยู่ในชุมชนที่คนในชุมชนมีส่วนร่วมทุกอย่าง ช่วยเหลือและดูแลโรงเรียนเป็นอย่างดี โรงเรียนนำ เทคโนโลยี และปราชญ์ชาวบ้านมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยผ่านกระบวนการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) แรงบันดาลใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning ผอ.อดิศร เจริญสุข ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว กล่าวถึงแรงบันดาลใจในการเลือกพัฒนาตามจุดเน้นการจัดการ เรียนการสอนรูปแบบ Active learning ในโรงเรียนว่า ว่าที่ร้อยตรีอดิศร เจริญสุข ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว “สืบเนื่องมาจากช่วงโควิด เด็กของเราแทบไม่ได้เรียนเลย เรียนอยู่บ้านมันไม่ได้ผลอะไรมากมาย เลยมาคิดกับคุณครูว่า การจัดการเรียนการสอนแบบนี้จะช่วยแก้ปัญหา Learning loss ของนักนัเรียรีนได้ รวมทั้ง ทั้ Active learning เป็นป็ส่วส่นสำ คัญคั ที่ทำ ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ดีที่สุด และยั่งยืนที่สุด สามารถหาคำ ตอบในสิ่ง สิ่ ที่ตั ที่ วตัเองอยากรู้ และคุณคุครูจรูะเป็นป็คน ที่ช่ ที่ วช่ยเสริมริช่วช่ยอำ นวยความสะดวกในการจัดจัการเรียรีนการสอน แต่คต่นที่ทำ ที่ ทำจริงริๆคือคืนักนัเรียรีน ส่งส่ผลให้นัห้กนัเรียรีนมีวิมีธีวิกธีารคิดคิที่สู ที่ งสูขึ้น ขึ้ โดยคุณคุครูเรูป็นป็คนใส่กส่ระบวนการเข้าข้ไปและนักนัเรียรีนเป็นป็คนคิดคิ” จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด - 19 ที่ส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องต่อการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว โดยเฉพาะผลกระทบที่ส่งตรงถึงตัวผู้เรียน จนทำ ให้เด็กเกิดภาวะ การเรียรีนรู้ที่รู้ถ ที่ ดถอย (Learning Loss) ผู้บผู้ ริหริารและครูโรูรงเรียรีนวัดวัลาดหลุมลุแก้วก้จึงจึประชุมชุปรึกรึษาหาวิธีวิกธีาร แก้ปัญหาโดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมีครูเป็นผู้อำ นวยความสะดวก สร้าง แรงบันบัดาลใจ ให้คำห้ คำปรึกรึษา ดูแดูล แนะนำ ทำ หน้าน้ที่เ ที่ ป็นป็ โค้ชค้และพี่เ พี่ ลี้ย ลี้ ง แสวงหาเทคนิคนิวิธีวิกธีารจัดจัการเรียรีนรู้ และแหล่งล่เรียรีนรู้ที่รู้ ห ที่ ลากหลายในการสอน รวมถึงถึการใช้ภูช้มิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ นำ ปราชญ์ชญ์าวบ้าบ้นมาให้คห้วามรู้ ทำ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนสามารถสร้าร้งองค์คค์วามรู้ไรู้ด้ด้ด้วด้ยตนเอง มีคมีวามเข้าข้ใจในตนเอง ใช้สช้ติปัติญปัญาคิดคิวิเวิคราะห์ สร้าร้งสรรค์ ผู้เรียนมีผลงานหรือนวัตกรรมที่บ่งบอกถึงการมีคุณลักษณะและสมรรถนะสำ คัญในศตวรรษที่ 21 มีทักษะ วิชาการ ทักษะชีวิต และทักษะวิชาชีพ 16
ขั้นตอนที่ 1 R : Realize คือ การสร้างความตระหนักให้บุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการจัด การเรียนการสอนแบบ Active Learning ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์กัน กระบวนการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. จัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารและครู เพื่อสร้างความตระหนัก และความเข้าใจในเรื่อง การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และสมัครใจร่วมกันดำ เนินงาน 2. ชี้แจงกระบวนการดำ เนินการการจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก และให้ดำ เนินการอย่างต่อเนื่อง ให้ทุกคนรับทราบนโยบายและมีเป้าหมายร่วมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active Learning ขั้นตอนที่ 2 C : Coach การเป็นผู้ชี้แนะ โดยกระตุ้นและให้คำ แนะนำ กับบุคลากรครูในสถานศึกษา โดยใช้ ADISORN Model เข้ามาดำ เนินการนิเทศติดตามคอยชี้แนะ A – Analysis การวิเคราะห์บริบท D – Do (Agency collaboration) ลงมือปฏิบัติ I – Integration การบูรณาการ S – Skill ทักษะของผู้เรียน O – Observe การสังเกตการจัดการเรียนการสอน/นิเทศการจัดการเรียนการสอน R – Reflect สะท้อนผล N – Network มีเครือข่ายและบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมด้วยระบบคุณภาพ ขั้นตอนที่ 3 M : Mentor การเป็นพี่เลี้ยงให้กับบุคลากรและครูในโรงเรียน โดยให้คำ ปรึกษาตามทักษะ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ใช้กระบวนการ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในการขับเคลื่อน ดำ เนินการ แก้ไข รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 F : Facilitator การเป็นผู้อำ นวยความสะดวกในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำ สื่อของ บุคลากร รวมถึงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ให้เหมาะสมและเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ Active learning โรงเรียนใช้ RCMF MODEL ดำ เนินงาน 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การสร้างความตระหนักแก่ครู 2) เปลี่ยนบทบาทของครูจากผู้บอกความรู้เป็นผู้ชี้แนะ กระตุ้นและให้คําแนะนํากับผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ PLC และ 4) ผู้บริหารให้คําปรึกษา ติดตามและอำ นวยความสะดวก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงรุก RCMF MODEL 17
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ โรงเรียรีนวัดวัลาดหลุมลุแก้วก้นำ ความรู้อรู้ย่าย่งหลากหลายมาก เพื่อ พื่ ใช้ใช้นการขับขัเคลื่อ ลื่ นการพัฒพันาการจัดจัการเรียรีน การสอนรูปรูแบบ Active learning ทั้ง ทั้ การพัฒพันาความรู้ใรู้นการบริหริารคน ใช้คช้นให้ตห้รงกับกังาน สร้าร้งความเชื่อ ชื่ มั่น มั่ ให้ครูมั่นใจว่าตนเองทำ ได้ มีการใช้ความรู้ตามกระบวนการ STEM วิทยาการคำ นวณ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ในการจัดจัการเรียรีนการสอน การสอนในรูปรูแบบฐานสมรรถนะ รวมถึงถึใช้ปช้ราชญ์ชญ์าวบ้าบ้น และหลักลัปรัชรัญาของ เศรษฐกิจกิพอเพียพีง “3 ห่วห่ง 2 เงื่อ งื่ นไข” ครูกาญจนา อิ่มเสถียร ครูโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว กล่าวถึงความรู้ที่ครูนำ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ Active learning ในโรงเรียนว่า “คุณคุครูเรูราจะมานั่ง นั่ คุยคุกันกัเพื่อ พื่ พัฒพันาตนเอง อย่าย่งเช่นช่ ได้สื่ด้อ สื่ ตัวตันี้ม นี้ านะ มันมัน่าน่สนใจเราลองพัฒพันาดูไดูหม เช่นช่เรื่อ รื่ ง ของการทำ เว็บว็ ไซต์ เราก็รก็วมกลุ่มลุ่ กันกัจะให้คห้รูครูอมพิวพิเตอร์ มาช่วช่ยสอนครูครูนอื่น อื่ ในโรงเรียรีนว่าว่สร้าร้งเว็บว็ ไซต์อต์ย่าย่งไร ให้เห้ด็กด็ๆ เข้าข้ไปใช้งช้าน เราค่อค่นข้าข้งจะเน้นน้เรื่อ รื่ งการใช้ เทคโนโลยี เราได้คด้รูครูอมพิวพิเตอร์ที่ร์ค่ ที่ อค่นข้าข้งเก่งก่มา ก็จก็ะให้ อบรมให้กัห้บกัครูใรูนโรงเรียรีนในเรื่อ รื่ งของการทำ เว็บว็ ไซต์ การจัดจัทำ สื่อ สื่ ครูทุรูกทุคนจะมี Google classroom และ Padlet ให้นัห้กนัเรียรีนเข้าข้ไปใช้”ช้ ครูกาญจนา อิ่มเสถียร ครูโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว ปัญหาและการแก้ไข “...โรงเรียนเราค่อนข้างจะเน้นเรื่อง การใช้เทคโนโลยี...” ครูยังไม่เข้าใจการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ Active learning อย่างชัดเจน จึงขาดความมั่นใจในการสอน นักเรียนยังขาดทักษะในด้านต่าง ๆ และไม่กล้าแสดงออก ถึงแม้ว่าโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้วจะมีการพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ตลอดจนสนับสนุนให้ใช้ เทคโนโลยีมาใช้จัดการเรียนการสอน และใช้กระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องแล้วก็ตาม ก็ยังพบว่ามีปัญหาที่ต้องการการแก้ไขไปพร้อม ๆ กับการพัฒนา ปัญหา ผู้บริหารและหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการให้ คำ ปรึกษาและแนะนำ ครูได้ ทำ ให้ครูมีความ เชื่อมั่นและมั่นใจในการดำ เนินการ จัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย จัดโครงงานรูปแบบ สะเต็มศึกษา เพื่อให้เกิดทักษะด้านต่าง ๆ กับนักเรียน นักเรียนกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกเพิ่มขึ้น การแก้ไข 18
จากการดำ เนินการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ปัจจุบันโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว เกิดการพัฒนาแบบก้าวกระโดด จนเป็นที่ยอมรับของสังคมและชุมชน โดยดูจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีการพัฒนาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกเพิ่มขึ้น ครูและบุคลากรเกิดความตระหนักรู้ในการปรับเปลี่ยนบทบาท แสวงหาวิธีการ และกิจกรรมที่หลากหลายในการเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน ทำ ให้ครูเกิดทักษะในการสอน และมีคมีวามเชี่ย ชี่ วชาญในบทบาทหน้าน้ที่ที่ ที่ รั ที่ บรัผิดผิชอบ เป็นป็การพัฒพันาตน พัฒพันางานและพัฒพันาผู้เผู้รียรีนไปพร้อร้มกันกั โรงเรียรีนมีกมีารจัดจัสภาพแวดล้อล้มที่ดี ที่ ดีใช้พื้ช้น พื้ ที่อ ที่ ย่าย่งคุ้มคุ้ ค่าค่มีบมีรรยากาศเหมาะสมกับกัการเรียรีนรู้ มีห้มีอห้งปฏิบัฏิติบักติาร ครบถ้วถ้น เป็นต้นแบบ เป็นแกนนำ ในการขับเคลื่อนการดำ เนินการให้ เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน มีองค์ความรู้ในการให้คำ แนะนำ แก่คุณครู มีการสื่อสารที่ดี ใช้คนได้ถูกกับงาน มีทัศนคติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ ผอ. ในการพัฒนา การเรียนการสอนรูปแบบ Active learning โรงเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนเป็นอย่างมาก ทำ ให้เกิด การมีส่วนร่วมและการสนับสนุนทั้งในด้านองค์ความรู้ และสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ ผอ.อดิศร เจริญสุข ได้กล่าวถึงความภาคภูมิใจ ในความสำ เร็จของโรงเรียนว่า “สิ่งที่ภูมิใจที่สุดตอนแรก ก็คิดว่าน่าจะเป็นผู้เรียน แต่เมื่อดูโดยภาพรวมแล้วน่าจะ เป็นป็การพัฒพันาที่ก้ ที่ าก้วกระโดดของโรงเรียรีมากกว่าว่คือคืเวลา เราออกไปไหน เราไปเจอผู้คผู้ นภายนอกเขาจะชมโรงเรียรีน ตลอดว่าว่ โรงเรียรีนมีกมีารเปลี่ย ลี่ นแปลงไปเยอะมาก โรงเรียรีน มีคมีวามสวยงาม เพราะเราปรับรัปรุงรุใหม่ทั้ม่ง ทั้ หมด มีกมีารใช้พื้ช้น พื้ ที่ อย่างคุ้มค่า มีแปลงเกษตรเหมือนโรงเรียนใหญ่ ๆ มีห้อง ปฏิบัติการที่ครบถ้วน ห้องเรียนของเรามีเหลือ เพียงพอ ที่จะรับเด็กได้ 300-400 คน โรงเรียนได้รับการยอมรับ ว่าดีขึ้นเรื่อย ๆ ในทุกด้าน มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด “สิ่งที่ภูมิใจที่สุดตอนแรก คิดว่าน่าจะเป็นผู้เรียน เมื่อดูโดยภาพรวมแล้ว น่าจะเป็นการพัฒนา ที่ก้าวกระโดดของโรงเรียน” ผู้บริหาร ครู การสร้างเครือข่าย 19 ผอ.อดิศร เจริญสุข
ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คณะดำ เนินงาน ที่ปรึกรึษา นายกัมพล เจริญรักษ์ นายวิวัฒน์ สิรพัธน์โภคิน นางสาวสายใจ พุ่มถาวร นายธนกฤต แก้วนามไชย ผู้ร่ผู้ร่วมถอดบทเรียน จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เจ้าของบทเรียน โรงเรียนวัดเทียนถวาย 1. นายทวีวัฒน์ เชื้อนาค ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเทียนถวาย 2. นางกรณิกา คุ้นกลาง ครู โรงเรียนวัดเทียนถวาย โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง 1. นายดำ เนิน คำ ดา ผู้อำ นวยการโรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง 2. นายธีรชัย ใจดี ครู โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง 3. นางสาวจินตหรา มีครองแบ่ง ครู โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บำ รุง โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว 1. ว่าที่ร้อยตรีอดิศร เจริญสุข ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว 2. นางกาญจนา อิ่มเสถียร ครู โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว ผู้ถอดบทเรียน 1. นางเสาวนีย์ ดาบทอง ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดรังสิต 2. นางสาวนันทวดี ด้วงเพียร ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการ 3. นางสาวปณัชพัสตร์ ตรีวีย์ ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการ บรรณาธิการกิจ นางสุรัสวดี จันทรกุล ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 20 ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
เอกสารลำ ดับที่ 3 / 2567 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธทุานี เขต 1 สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร BEST PRACTICE