The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chayanee Chantarakul, 2024-03-25 12:44:57

จุดเน้นที่ 6

จุดเน้นที่ 6

ปฐมบทของการเดินทาง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ก หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1”ฉบับนี้ ปฐมบทของการเดินทาง สู่ความสำ เร็จ เริ่มจากการพัฒนาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารสถานศึกษาตามจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้วิเคราะห์นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนำ มาจัดทำ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำ นวน 102 โรงเรียน ในการกำ หนดจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ได้จากการสังเคราะห์ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา เขียนตัวเลข 1–3 เรียงลำ ดับความ ต้อต้งการตามความคิดคิเห็นห็ของตนเองที่จ ที่ ะกำ หนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประเด็นที่มีความถี่สูงที่สุดมีจำ นวน 6 รายการ จึงจึได้กำด้กำหนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1ได้แด้ก่1) โรงเรียรีน ปลอดภัยภั 2)การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ (Active Learning) 3) ทักทัษะเทคโนโลยี 4) ทักทัษะอาชีพชี 5) ทักทัษะ ชีวิต 6) คุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 หลังจากนั้นผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด จัดจัทำ ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานกับกัผู้อำผู้ อำนวยการสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาโดยผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ต้องเขียนข้อตกลงในการพัฒนางาน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทาย จำ นวน 2 เรื่อง โดยเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา จำ นวน 1 เรื่อง และเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความ สอดคล้องกับจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำ นวน 1 เรื่อง ซึ่ง เลือกเพียง 1 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจัดข้อตกลงในการ พัฒนางาน (PA) กับผู้บังคับบัญชา เพื่อแสดงเจตจำ นงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน คุณภาพครู และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับ การปฏิบัติที่คาดหวังของตำ แหน่งและวิทยฐานะที่ดำ รงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมาย บริบท สถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้บังคับบัญชาได้เห็นชอบ ให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน เมื่อผู้บริหารสถานศึกษาได้ดำ เนินการตามข้อตกลงพัฒนางานแล้ว ได้มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เกิดเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในขับเคลื่อนนโยบายและ จุดเน้นสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสถานศึกษาทั้ง 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อให้การดำ เนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน และเป็นการขยายผลการดำ เนินงานการนำ นโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาจึงดำ เนินการถอดบทเรียน Best Practice ของสถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ดังปรากฎในหนังสือเล่มนี้


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียรีน เป็นป็ทั้ง ทั้ บรรณาธิกธิารออกแบบรูปรูเล่มล่เป็นป็ต้นต้ขอขอบคุณคุศึกศึษานิเนิทศก์ทุก์กทุท่าท่น และผู้บผู้ริหริาร สถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็นเจ้าของ บทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คำ นำ ค การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำ เนินการพัฒนาคุณภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ของนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นป็หน้าน้ที่ห ที่ ลักลัของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ซึ่ง ซึ่ ขับขัเคลื่อ ลื่ นการพัฒพันา ด้วด้ยการกำ หนดให้ผู้ห้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ 6 จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษา ปทุมทุธานี เขต 1 ไปเขียขีนข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานที่เ ที่ ป็นป็ ประเด็นด็ท้าท้ทาย ซึ่ง ซึ่ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษานำ สู่ การปฏิบัติ ออกแบบนวัตกรรม ขั้นตอนการดำ เนินงานขับเคลื่อนและพัฒนาสถานศึกษาโดยทุกฝ่าย มีส่มีวส่นร่วร่ม เกิดกิผลสำ เร็จร็ที่เ ที่ ป็นป็รูปรูธรรมเชิงชิประจักจัษ์ไษ์ด้รัด้บรัการชื่น ชื่ ชมและได้รัด้บรัการยกย่อย่งว่าว่เป็นป็วิธีวิปธีฏิบัฏิติบัติที่เ ที่ ป็นป็เลิศลิ (Best Practice) ได้รัด้บรัการยอมรับรัทั้ง ทั้ จากภายในและภายนอกสถานศึกศึษา หนังนัสือสื “ถอดบทเรียรีน 6 จุดจุเน้นน้สพป.ปทุมทุธานี เขต 1” เป็นป็การบันบัทึกทึเรื่อ รื่ งราวการเดินดิทาง สู่คสู่ วามสำ เร็จร็ของการพัฒพันาสถานศึกศึษาใน 6 จุดจุเน้นน้จุดจุเน้นน้ละ 3 โรง รวม 18 โรง ผ่าผ่นการสนทนา พูดพูคุยคุและเล่าล่เรื่อ รื่ งราว จากผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ครู ศึกศึษานิเนิทศก์แก์ละผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง โดยมีจุมีดจุประสงค์ เพื่อรวบรวมประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำ เนินงาน ในด้านแรงบันดาลใจ นวัตกรรมและขั้นตอน การดำ เนินงาน ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัจจัยความสำ เร็จ ปัญหาที่พบและการแก้ไข การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเมื่อได้พัฒนาตามจุดเน้นที่เลือกดำ เนินการ ทั้งด้านผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบทของโรงเรียนทั่ว ๆ ไปและความภาคภูมิใจเมื่อโรงเรียนประสบ ความสำ เร็จในการพัฒนางานจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเผยแพร่เร่อกสารการถอดบทเรียรีนครั้ง รั้ นี้ เป็นป็การสร้าร้งคุณคุค่าค่ ให้แห้ก่คก่วามสำ เร็จร็ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ของ สถานศึกษาที่เป็นเจ้าของบทเรียน โดยจัดทำ เอกสารถอดบทเรียนจำ นวน 6 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เล่มที่ 2 จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เล่มที่ 3 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เล่มที่ 4 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เล่มที่ 5 จุดเน้นที่ 5 การพัฒนาทักษะชีวิต เล่มที่ 6 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต 1 หวังวัเป็นป็อย่าย่งยิ่ง ยิ่ ว่าว่เมื่อ มื่ ท่าท่นได้อ่ด้าอ่น หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1” ทั้ง 6 เล่ม จะเป็นแรงบันดาลใจให้ท่าน ทำ งานอย่าย่งมีคมีวามสุขสุและมีคมีวามภาคภูมิภูใมิจกับกังานที่ทำ ที่ ทำ ไม่ว่ม่าว่งานนั้น นั้ จะเป็นป็งานใด ๆ ก็ตก็าม นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


ปฐมบทของการเดินทาง............................................................................................................ ก คำ นำ ......................................................................................................................................... ค สารบัญ...................................................................................................................................... ง 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1........................................................................................... 1 การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา......................................... 3 โรงเรียนกับการพัฒนา 6 จุดเน้น......................................................................................... 4 การเดินทางสู่ความสำ เร็จ จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม...................................... 5 และทักษะในศตวรรษที่ 21 ปัจจัยความสำ เร็จ................................................................................................................ 6 นวัตกรรม............................................................................................................................ 6 ขั้นตอนการพัฒนา............................................................................................................... 7 โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง................................................................................................ 8 โรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์..................................................................................... 13 โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี................................................................................................... 18 คณะดำ เนินงาน....................................................................................................................... 22 สารบัญบั ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ง


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1


2 6 จุดเน้น น้ สพป.ปทุม ทุ ธานี เขต 1 การดำดำดำดำเนินินินิงานความปลอดภัภัภัยภั ในสถานศึศึศึกศึษา การพัพัพัฒพันาผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีนสู่สู่สู่ฐสู่ านสมรรถนะ ด้ด้ ด้ ว ด้ วยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รูรู้รูรูปรูแบบ Active Learning การใช้ช้ ช้ เ ช้ เทคโนโลยียียีดิยีดิดิจิดิจิจิทัจิทัทัลทั เพื่พื่ พื่ อ พื่ อการบริริริหริารจัจัจัดจัการ และการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้ การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะอาชีชีชีพชี การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะชีชีชีวิชีวิวิตวิ การพัพัพัฒพันาคุคุคุณคุธรรม จริริริยริธรรม และทัทัทักทัษะในศตวรรษที่ที่ ที่ที่ 21 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 2 6 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เกิดจากการวิเคราะห์นโยบายและจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ - กระทรวงศึกษาธิการ - สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) ที่มีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กัน และมีความเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่และ ภารกิจของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่จะนำ นโยบายและจุดเน้น ลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้จริง


3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดทำ ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนางาน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1. ประชุมชี้แจงและร่วมกันวางแผน กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงาน 2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน เพื่อกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 6. ดำ เนินการตามรูปแบบการพัฒนาข้อตกลง ในการพัฒนางาน 7. นิเทศการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามรูปแบบ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลงในการพัฒนางานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานที่ปฏิบัติงานจริง 9. สรุปผลการดำ เนินงานตามรูปแบบฯ ที่ได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 10. ยกย่องเชิดชูเกียรติ ไม่ผ่าน ผ่าน 3


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรีย รี นกับการพัฒนา 6 จุดเน้น การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 การพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพ แวดลอมที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ช่วช่ยเหลือลืและเยียยีวยาด้าด้นความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาและมีข้มีอข้มูลมูสารสนเทศที่เ ที่ ป็นป็ ระบบ สามารถแก้ไก้ขปัญปัหาและบริหริารจัดจัการความเสี่ย สี่ ง ได้อด้ย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืด้วด้ยการบริหริารจัดจัการตามาตรการ3 ป ได้แด้ก่ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม โดยการมีส่มีวส่นร่วร่มของ หน่วน่ยงานที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง และภาคีเคีครือรืข่าข่ย การจัดการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวั(ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ.2560)ที่เ ที่ หมาะสม กับความต้องการและบริบท ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชั้น ชั้ เรียรีน สร้าร้งปฏิสัฏิมสัพันพัธ์รธ์ะหว่าว่งครูผู้รูสผู้อนกับกัผู้เผู้รียรีนมุ่งมุ่ ให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีวิกธีารที่ห ที่ ลากหลาย จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 การจัดจัทำ หลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาที่บู ที่ รบูณาการทักทัษะอาชีพชีและ พัฒพันากระบวนการจัดจัการเรียรีนรู้ เพื่อ พื่ เตรียรีมความพร้อร้มแก่ ผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ และมีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานในการประกอบอาชีพชี สร้าร้งเสริมริประสบการณ์อณ์าชีพชีในรูปรูแบบต่าต่งๆรวมถึงถึการปลูกลูฝังฝั ลักษณะนิสัยในการทำ งาน การมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทำ งาน รักงาน สู้งาน และทำ งานจนสำ เร็จ มีคมีวามรู้พื้รู้ น พื้ ฐานของการเป็นป็ผู้ปผู้ระกอบการที่ดี ที่ ดีมีแมีรงบันบัดาลใจ ในการค้นค้พบอาชีพชีเพื่อ พื่ พัฒพันาไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีในอนาคต ด้วด้ยการมีส่มีวส่นร่วร่มของผู้ปผู้กครองสถานประกอบการแหล่งล่เรียรีนรู้ และภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ การพัฒนาทักษะอาชีพ การนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัการจัดจัการฐานข้อข้มูลมูและการใช้ ข้อข้มูลมูสารสนเทศในการบริหริารและการจัดจัการศึกศึษา เพื่อ พื่ เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพการบริหริารสถานศึกศึษาการจัดจัทำ ระบบ ข้อข้มูลมูสารสนเทศของนักนัเรียรีนเป็นป็รายบุคบุคล มีคมีวามสะดวก รวดเร็วร็มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืในการนำ ข้อข้มูลมูไปใช้ปช้รับรัปรุงรุและ ไปใช้ใช้ห้เห้กิดกิประโยชน์ต่น์อต่การบริหริารจัดจัการสถานศึกศึษารวมถึงถึ การพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้ทัมีกทัษะดิจิดิทัจิลทัและภาษาคอมพิวพิเตอร์ มีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานการใช้เช้ทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสมกับกัช่วช่งวัยวั สามารถใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการรับรัรู้แรู้ละมีวิมีจวิารณญาณในการใช้ สื่อ สื่ เทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 5 จุดเน้นที่ 6 การบูรบูณาการทักทัษะชีวิชีตวิในหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาระดับดัปฐมวัยวั และระดับดัการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน ให้มีห้กมีารจัดจัการเรียรีนการสอน ทักทัษะชีวิชีตวิบูรบูณาการในกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ด้รู้วด้ยกระบวนการ เรียรีนรู้ที่รู้ เ ที่ น้นน้ผู้เผู้รียรีนเป็นป็สำ คัญคัหรือรืการจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ และจัดจัระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน เพื่อ พื่ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนเกิดกิ การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมอันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิ และอยู่ใยู่ นสังสัคมอย่าย่งมีคมีวามสุขสุภายใต้คต้วามร่วร่มมือมืของ ภาคีเคีครือรืข่าข่ยพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิแก่ผู้ก่เผู้รียรีน การพัฒนาทักษะชีวิต การดำ เนินนิงาน/โครงการ/กิจกิกรรมพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้ป็นป็พลเมือมืงดี มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม ตามพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของ พระบาทสมเด็จด็พระวชิรชิเกล้าล้เจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัรัชรักาลที่ 10และดำ เนินนิ งาน/โครงการ/กิจกิกรรม เพื่อ พื่ พัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ มีทัมีกทัษะ การเรียรีนรู้และทักทัษะที่จำ ที่ จำเป็นป็ของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยมี ภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วม และมีผลการดำ เนินงาน บรรลุตามเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 4


การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทัก ทั ษะในศตวรรษที่ 21 การเดินทาง... สู่คสู่ วามสำ เร็จ ร็ จุดเน้น น้ ที่ 6 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 5


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรม ปัจจัยความสำ เร็จ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 “ปลูกพลังแห่งความดี วิถีบุญคุ้ม” โดยใช้ A5 Steps MODEL ตามวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA ภายใต้หลักธรรมาภิบาลและหลักความพอเพียง การบริหารจัดการโรงเรียนสู่การเป็นโรงเรียนคุณธรรม ด้วยการบริการงานแบบ มีส่วนร่วม และสนับสนุนส่งเสริมกระบวนการผลิตนวัตกรรมของครูรายบุคคล การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นเด็กดีศรีอนุบาล โดยใช้รูปแบบ ANBPT MODELพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณธรรมนำ ชีวิต มีการดำ เนินงานตามขั้นตอน ตามระยะเวลาปฏิทิน ที่กำ หนด ประกอบด้วย การสร้างความตระหนัก สร้างการเรียนรู้ที่ดี การปรับ พฤติกรรมให้กับนักเรียน และการกำ กับติดตามการดำ เนินงานต่างๆ ตามวงจร คุณภาพ PDCA โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง โรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ INDEE MODEL โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ANBPT MODEL A 5 Steps MODEL 1. การมีเป้าหมายเดียวกันที่ชัดเจน 2. ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน ตลอดจนสร้างขวัญและกำ ลังใจ 3. ครูมีความพร้อมและร่วมมือในการขับเคลื่อนกิจกรรม 4. นักเรียนมีความตระหนักและมีพื้นฐานด้านคุณธรรม ให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรม 5. การได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายในและภายนอก 6. การทำ งานด้วยใจ “ระเบิดจากข้างใน” 6


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ขั้นตอนการพัฒนา ศึกษาปัญหาและความต้องการ ของโรงเรียน กำ หนดเป้าหมายการดำ เนินงาน ประชุมวางแผนร่วมกัน ดำ เนินการพัฒนาโดยใช้นวัตกรรม นิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ผลสำ เร็จของกิจกรรมและนวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ พัฒนาการดำ เนินงานอย่างต่อเนื่อง 7


แรงบันดาลใจ : พระราชกระแสรับสั่งของในหลวง รัชกาลที่ 9 ซึ่งพระราชทานให้กับคณะองคมนตรี ความว่า “ต้องช่วยกันสร้างคนดีให้บ้านเมือง แม้การสร้างคนดีเป็นเรื่องที่ยาก แต่ก็ต้องทำ ขอให้ถือเป็นหน้าที่” ผอ.สุรสุางค์ ประไพนพ ผู้อำผู้อำนวยการโรงเรียรีนบุญบุคุ้มคุ้ราษฎร์บำร์ บำรุงรุ กล่าวถึงแรงบันดาลใจที่ได้เริ่มต้นพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษา เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการขับเคลื่อนการสร้างคนดีให้บ้านเมือง และถือเป็นหน้าที่ ที่ทุกคนต้องช่วยกัน ผ่านกิจกรรมคุณธรรมเชิงรุกในการปลูกฝัง และพัฒพันาคุณคุธรรมให้กัห้บกันักนัเรียรีนอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ ง เพื่อ พื่ เป็นป็พื้น พื้ ฐาน ชีวิตที่มั่นคงให้กับนักเรียน และมีความประพฤติที่พึงปรารถนา ของสังสัคมว่าว่ ผอ.สุรางค์ ประไพนพ ผู้อำ นวยการโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง ตั้งอยู่อำ เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ขนาดใหญ่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลปีที่ 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริเวณโดยรอบโรงเรียนเป็นชุมชน หนาแน่น อยู่ใกล้กับนิคมอุตสาหกรรมนวนคร ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป และทำ งานใน โรงงานอุตสาหกรรม แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 “สำ หรับ ผอ.แรงบันดาลใจ คือ “การสร้างคนดีให้บ้านเมือง” ผอ.ได้น้อมนำ พระราชกระแสรับสั่ง ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งพระราชทานให้กับองคมนตรี ณ โรงพยาบาลศิริราช ความว่า“ต้องช่วยกัน สร้างคนดีให้บ้านเมือง แม้การสร้างคนดีเป็นเรื่องที่ยาก แต่ก็ต้องทำ ขอให้ถือเป็นหน้าที่” และน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่10 ซึ่งสานต่อ พระราชปณิธานขององค์พระบรมชนกนาถในการสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง ดังนั้นการสร้างคนดี จึงเป็น สิ่งสำ คัญและจุดประกายให้กับการพัฒนาคุณธรรมของโรงเรียน ผอ. ได้มองหากิจกรรมคุณธรรมพื้นฐาน ที่จ ที่ ะช่วช่ยให้นัห้กนัเรียรีนมีพื้มีน พื้ ฐานชีวิชีตวิที่มั่ ที่ น มั่ คง มีภูมีมิภูคุ้มิมคุ้กันกัที่ดี ที่ ดีและมองว่าว่กิจกิกรรมห้อห้งเรียรีนต้นต้แบบ เป็นป็กิจกิกรรม คุณคุธรรมพื้น พื้ ฐาน ที่นั ที่ กนัเรียรีนต้อต้งทำ อยู่แยู่ ล้วล้ในวิถีวิชีถีวิชีตวิปกติขติองนักนัเรียรีน สามารถทำ ได้โด้ดยเสริมริหลักลัวิชวิาเข้าข้ไป และสามารถทำ ได้ทั้งโรงเรียน เมื่อนักเรียนทำ ก็เห็นพฤติกรรมนักเรียนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นมาก นักเรียนนำ บทฝึกและความรู้กลับไปช่วยงานที่บ้าน มีจิตอาสา และมีน้ำ ใจ ผอ.จึงได้ดำ เนินงานพัฒนา คุณธรรมมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมืองและเพื่อตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน” 8


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน จากแรงบันดาลใจที่ต้องการสร้างคนดีสู่สังคมของ ผอ. สุรางค์ ประไพนพ สู่การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 นั้น โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง ได้นำ เอากระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม A 5 Steps มาใช้ใช้นการดำ เนินนิงาน “ปลูกลูพลังลัแห่งห่ความดี วิถีวิบุถีญบุคุ้มคุ้” ผ่าผ่นความร่วร่มมือมืของทุกทุคนที่ไที่ ด้ “ร่วร่มคิดคิ ร่วร่มทำ ร่วร่มแก้ปัก้ญปัหา” โดยมีกมีารดำ เนินนิงานขั้น ขั้ ตอน ดังดันี้ ขั้นที่ 1 ตระหนักรู้ สู้ปัญหา (Awareness) 1.ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทุกคนตระหนักรู้พระบรมราโชบายด้านการศึกษา 4 ด้าน การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและทักษะในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนากิจกรรมคุณธรรมเชิงรุก 2. การใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 3. การทำ งานเป็นทีม ขั้นที่ 2 พัฒนาครู สู่การสอน (Active) 4. พัฒนาความรู้และศักยภาพการสอนคุณธรรมเชิงรุก ( Active Learnig) ขั้นที่ 3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Apply) 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรมผ่านชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ขั้นที่ 4 นิเทศ ติดตาม และประเมินผล (Action) ขั้นที่ 5 เสริมสร้างพลังบวก (Award) 7. มอบเกียรติบัตรให้กับคณะครูที่ทำ งานสำ เร็จเป็นไปตามเป้าหมาย เสริมสร้างพลังบวก และขวัญกำ ลังใจในการทำ งาน 6. นิเทศ ติดตาม และประเมินผล ด้วยการนิเทศแบบกัลยาณมิตร กระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม A 5 Steps 9


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ โรงเรียรีนบุญบุคุ้มคุ้ราษฎร์บำร์ บำรุงรุดำ เนินนิงานโครงการ/กิจกิกรรมการพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 “ปลูกพลังแห่งความดี วิถีบุญคุ้ม” โดยน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัขกาลที่ 10 หลักการ มีส่วนร่วม หลักการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการบริหารตามวงจรคุณภาพ PDCA เป็นกรอบแนวคิด ผ่าน 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) กิจกรรมห้องเรียนต้นแบบ (ห้องเรียนแห่งความดี) 2) กิจกรรมลูกเสือต้านทุจริต และ 3) กิจกรรมบุญคุ้มปลอดขยะ ผู้บผู้ ริหริารและคณะครู โรงเรียรีนบุญบุคุ้มคุ้ราษฎร์บำร์ บำรุงรุได้ศึด้กศึษาหลักลัสูตสูรการศึกศึษาปฐมวัยวัพุทพุธศักศัราช 2560 หลักลัสูตสูร แกนกลางการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน พุทพุธศักศัราช 2551 และมาตรฐานการเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวัฯ (ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ. 2560) หลักลัสูตสูรต้าต้นทุจทุริตริศึกศึษา และพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษา เพื่อ พื่ เป็นป็แนวทางในการดำ เนินนิการขับขัเคลื่อ ลื่ นกิจกิกรรม “ปลูกลูพลังลัแห่งห่ความดี วิถีวิบุถีญบุคุ้มคุ้” ในสถานศึกศึษา ให้คห้รูไรูด้รัด้บรัการพัฒพันา และมีศัมีกศัยภาพในจัดจัการสอนคุณคุธรรมเชิงชิรุกรุ (Active Learning) การจัดกิจกรรมร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ ผสานความร่วมมือ ช่วยเหลือด้านสื่อนวัตกรรมและ เทคโนโลยีในการแก้ปัญหา และส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดเชิงเหตุผลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม ปัญหาและการแก้ไข ครูไม่เปิดใจ ไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ผอ. ให้ความเป็นกัลยาณมิตร พร้อมให้การช่วยเหลือ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้จัดกิจกรรมไม่เพียงพอ ใช้ทรัพยากรและงบประมาณที่มีอยู่อย่างเหมาะสม คุ้มค่า ประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด ขาดการประชาสัมพันธ์ จัดให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม ปัญหา การแก้ไข ปัญหา การแก้ไข แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ถอดบทเรียน การดำ เนินงานที่ประสบผลสำ เร็จ และเผยแพร่ “สำ หรับการดำ เนินงานนั้น สิ่งสำ คัญเลย คือ หนึ่ง-เปิดใจ ประชุมเพื่อให้ครูเปิดใจเรื่องคุณธรรม ให้ครูเห็นศักยภาพของตัวเอง ขั้นที่สอง-ลงมือปฏิบัติโดยใช้กิจกรรมโครงงานต่าง ๆ ของโรงเรียน โรงเรียนเราใช้โครงการโรงเรียนต้นแบบรักษาศีลห้า ใช้กิจกรรมที่เป็นจุดแข็งของโรงเรียน สาม-คือ มีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ต้องให้ความสำ คัญกับการตรวจสอบว่า ทำ ไปแล้วเป็นอย่างไร และ มีการให้กำ ลังใจเด็กค่ะ คือ การให้ขวัญและกำ ลังใจ และการนำ ความรู้มาใช้ คือ “การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ผอ.เข้าใจในปัญหาว่าปัญหาเกิดจากอะไร การเข้าถึงครูว่า ครูสนใจเรื่องใดบ้าง จะได้มอบ หมายงานได้ตด้รง และการพัฒพันาโดยการนิเนิทศอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ งและเสริมริสร้าร้งพลังลัพลังลับวก “ผอ.มองครู เปรียรีบดั่ง ดั่ เพชรที่ต้ ที่ อต้งได้รัด้บรัการเจียจีระไนจาก ผอ. ครูมรูองเด็กด็เปรียรีบดั่ง ดั่ เพชรที่ต้ ที่ อต้งได้รัด้บรัการเจียจีระไน จากครู มองเห็นห็คุณคุค่าค่ซึ่ง ซึ่ กันกัและกันกั” “ผอ.มองครูเปรียบดั่งเพชรที่ต้องได้รับการเจียระไนจาก ผอ. ครูมองเด็กเปรียบดั่งเพชรที่ต้องได้รับการเจียระไนจากครู มองเห็นคุณค่าซึ่งกันและกัน” “การนำ ความรู้มาใช้ การลงมือทำ และการให้ขวัญและกำ ลังใจ คือ “การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” 10


สำ หรับตัว ผอ.เอง มีการเปลี่ยนแปลง ก็มีการวางแผนมากขึ้น เวลาทำ อะไรจะมีการวางแผน ระยะยาวว่าโรงเรียนจะต้องมีการพัฒนาทั้งความรู้คุณธรรมควบคู่กัน ตัวเราก็ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ในด้านความรู้คุณธรรมและมีการพัฒนาโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง ด้านครูผู้สอน ครูมีความเอาใจใส่นักเรียนเพิ่มมากขึ้น มีการสนใจและดูแลนักเรียน เพิ่มมากขึ้น ดูแลห้องเรียนให้สะอาดมากขึ้น แล้วก็ช่วยกันรักษาสภาพแวดล้อมโรงเรียนให้ดีขึ้น ด้านผู้เรียน มีความอ่อนน้อม มากขึ้น รู้จักมีจิตอาสาเวลาบริเวณโรงเรียนมีขยะทุกคนจะช่วยกันดูแล ความสะอาด และนักเรียนมีจิตอาสาช่วย เวลาผู้ใหญ่ถือของก็จะวิ่งเข้ามาหา ผอ.วันนี้ให้ผมช่วยอะไร ไหมครับ จะมีน้ำ ใจเพิ่มมากขึ้น “....สำ หรับปัจจัยความสำ เร็จ ในการดำ เนินงานของโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง อันอัดับดัแรก คือคืเป้าป้หมายที่ชั ที่ ดชัเจน และตัวตัชี้วั ชี้ ดวัที่ชั ที่ ดชัเจนด้วด้ย คือคืกระทรวศึกศึษาธิกธิาร สพฐ. สพป.ปทุมธานี เขต 1 แล้วก็โรงเรียนจะต้องมีนโยบายที่เน้นการพัฒนาคุณธรรม ที่ชั ที่ ดชัเจน อันอัดับดัต่อต่มา คือคืผู้บผู้ ริหริาร นำ พาคุณคุครูใรูห้เห้ดินดิตามเป้าป้หมายและตัวตัผู้บผู้ ริหริาร ก็ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม ต่อมาก็คือใจ ทุกคนต้องขับเคลื่อน คุณธรรมด้วยใจ ตลอดจนนักเรียนจะต้องมีฐานคุณธรรมที่เข้มแข็งพอสมควร และ ผู้ปผู้กครองต้อต้งมีคมีวามเชื่อ ชื่ มั่น มั่ ให้กห้ารสนับนัสนุนนุโรงเรียรีน ไม่ว่ม่าว่กิจกิกรรมต่าต่ง ๆ ผู้ปผู้กครอง จะให้ความร่วมมือ ท้ายสุดสิ่งสำ คัญ คือ ต้องมีหน่วยงานภายนอกสนับสนุน เช่น องค์กรภาคีเครือข่ายคุณธรรม ชมรมพุทธศาสตร์สากล เจ้าอาวาสวัดเขียนเขต และ หน่วยงานต้นสังกัด ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ ความสำ เร็จของโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุงไม่ได้ขึ้นอยู่กับการดำ เนินงานและแผนงานที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การบริหารงานและวิสัยทัศน์อันกว้างไกลของผู้บริหารเท่านั้น แต่ยังเกิดจากการมีเป้าหมายที่ชัดเจน และการนำ พาครูสู่เป้าหมายอันหนึ่งอันเดียวกัน นั่นคือ การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม การหลอมรวมคุณธรรมในวิถีชีวิตของตัวผู้เรียน การขับเคลื่อนคุณธรรมของครูและบุคลากรในโรงเรียนที่มี ใจมุ่งมุ่ มั่น มั่ ในการพัฒพันา ตลอดจนการเข้าข้มามีส่มีวส่นร่วร่มขององค์กค์รต่าต่ง ๆ เพื่อ พื่ พัฒพันาโรงเรียรีนให้ก้ห้าก้วสู่โสู่ รงเรียรีน ต้นต้แบบอีกอีด้วด้ย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผู้ปกครอง ชุมชน จะมีความปลื้มในตัวบุตรหลานมากขึ้น มีการโทรศัพท์มาคุยความดีของลูกให้ฟัง ชุมชนก็จะให้ความมั่นใจและให้การสนับสนุน ด้านงบประมาณ ด้านกำ ลังเข้ามาเพิ่มมากขึ้น ส่วนด้านอื่นๆ ก็มีการดูแลห้องน้ำ ให้สะอาดมากขึ้น มีความใส่ใจเรื่องอาหารนักเรียนให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น “สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำ ให้นักเรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เมื่ออยู่ในโรงเรียนนักเรียนจะได้มีความสุข “ 11


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความภาคภูมิใจ เป็นป็ที่น่ ที่ าน่ยินยิดีแดีละภูมิภูใมิจอย่าย่งยิ่ง ยิ่ ที่เ ที่ ราได้ยิด้นยิคำ ว่าว่ “จะสนองคุณคุในหลวงและสนองคุณคุแผ่นผ่ดินดิอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ ง” จาก ผอ.สุรางค์ ประไพนพ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงค่านิยมองค์กรที่คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำ คัญและแสดง ให้เห้ห็นห็ถึงถึความตระหนักนัถึงถึอนาคตของเยาวชนที่จ ที่ ะเป็นป็กำ ลังลัสำ คัญคัของประเทศชาติใตินอนาคตตลอดจนสืบสืสาน ปณิธานของในหลวงรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 ในการที่จะสร้างคนดีให้บ้านเมือง จากแรงบันดาลใจของ ผู้บผู้ ริหริารสู่กสู่ ารพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรมอย่าย่งจริงริจังจัและการร่วร่มกันกัทำ งานเป็นป็ทีมทีอย่าย่งเข้มข้แข็งข็ของคณะครู จนนำ พาโรงเรียรีนก้าก้วเข้าข้สู่โสู่ รงเรียรีนต้นต้แบบให้กัห้บกัโรงเรียรีนอื่น อื่ ๆ ที่มี ที่ คมีวามสนใจในการพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนการมีชื่มีอ ชื่ เสียสีงของโรงเรียรีนและเป็นป็ที่รู้ ที่ จัรู้กจัมากขึ้น ขึ้ “แต่ก่อน...โรงเรียนไม่มีใครมาสนใจ อยู่โดดเดี่ยวมาก แต่หลังจาก ที่เ ที่ ราทำ คุณคุธรรมเนี่ย นี่ เหมือมืนกับกัว่าว่ทุกทุคนอยากมาดูงดูานโรงเรียรีนเราและ โรงเรียนก็จะได้รับรางวัล นอกจากคุณธรรมยังมีรางวัลอื่น ๆ ที่เป็น ผลพลอยได้มากมายตามมา สิ่ง สิ่ ประทับทัใจตามจุดจุเน้นน้ของเขต คือคืความสามัคมัคีใคีนการทำ งาน คือคื ผอ.มองเห็นห็การทำ งานของครู ที่มี ที่ คมีวามสามัคมัคีกัคีนกัมีกมีารวางแผนทำ งาน แบ่งฝ่ายกันได้ดีมาก พอถึงงานจริง ๆ จะไม่เหนื่อยเลยค่ะ เพราะทุกคน รู้งานหมดเลย บรรยากาศการทำ งานที่ดี มีความเป็นกัลยาณมิตรและ เป็นที่ยอมรับของผู้บริหาร ของครู ของนักเรียน และทำ ให้ ผอ.และ ครูในโรงเรียนอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีแห่งคุณธรรมค่ะ” ครูรภัทร ชัยวรธนิน ครูโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง ได้กล่าวถึงความภาคภูมิใจ ในฐานะครูแกนนำ ที่ได้ดำ เนินกิจกรรม โครงการห้องเรียนต้นแบบรักษาศีล 5 และได้ประสบผลสำ เร็จ มีผลงานเชิงประจักษ์ว่า “ความภูมิใจก็คือเห็นพฤติกรรมเด็ก เด็กนักเรียนก็มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกติรรมอย่าย่งชัดชัเจนนะคะ ในเรื่อ รื่ งของศีลศีห้าห้เราเอาศีลศีห้าห้มาจัดจักิจกิกรรม ให้เด็กมีพฤติกรรมเชิงบวก ไม่แกล้ง ไม่ขโมย ไม่มีแฟน หรือมีก็จะรู้เรื่อง ความเหมาะสม และคำ พูดพูหยาบคายก็ลก็ดลง การล้อล้เลียลีนการบูลบูลี่ก็ ลี่ ลก็ดลง ส่วส่นข้อข้ห้าห้โรงเรียรีนเราไม่ผิม่ดผิอยู่แยู่ ล้วล้ค่ะค่เรื่อ รื่ งดื่ม ดื่ สุรสุาและยาเสพติดติซึ่ง ซึ่ ส่งส่ผล ไปถึงผู้ปกครอง ผู้ปกครองมีความประทับใจโรงเรียน และส่งบุตรหลาน มาเรียนเพิ่มขึ้นจากที่ลดลงในช่วงโควิด แต่เมื่อเราพัฒนาโรงเรียนของเรา ผู้ปกครองก็ให้ความไว้วางใจบอกต่อแล้วก็มีเด็กเข้ามาเรียนเพิ่มขึ้น และ พูดถึงโรงเรียนในทางที่ดี ชื่นชมท่านผู้บริหาร ชื่นชมครู ชื่นชมโรงเรียน เป็นเหมือนกระบอกเสียงที่ดีในชุมชนของเรานะคะ....ส่วนบริบททั่วไป ที่ประทับใจก็คือ ความสะอาด และความน่าอยู่ได้วัฒนธรรมหรือวิถีชีวิต ที่ดีงามต่อกัน อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ความภาคภูมิภูใมิจ ก็คืก็อคืตัวตันักนัเรียรีนที่ปที่ ระสบความสำ เร็จร็เขาสามารถบอก เราได้ว่ด้าว่ 3-4 ปีที่ปีผ่ ที่ าผ่นมา สิ่ง สิ่ ที่ค ที่ รูสรูอน เขาคิดคิและนำ ไปใช้ใช้นการดำ เนินนิชีวิชีตวิ ทำ ให้ผู้ห้ ปผู้กครองไม่เม่ดือดืดร้อร้น เรื่อ รื่ งแก๊งก๊ค์ บางทีมัทีนมัอาจจะมีไมีม่ดีม่ลัดีบลัหลังลัเรานะ แต่เราสามารถพูดหรือปรับทัศนคติของเด็กให้ถูกที่ถูกทางได้ โดยเริ่มจาก เราก่อนค่ะ” ครูรภัทร ชัยวรธนิน ครูโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง ผอ.สุรางค์ ประไพนพ 12


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียรีนอินอิทรนาวีรวีาษฎร์อุร์ ปอุถัมถัภ์ ตั้ง ตั้ อยู่อำยู่ อำเภอคลองหลวง จังจัหวัดวัปทุมทุธานี มีพื้มีน พื้ ที่ปที่ ระมาณ 2 ไร่ เปิดปิการสอน ตั้ง ตั้ แต่ชั้ต่น ชั้ อนุบนุาลปีที่ปีที่2ถึงถึระดับดั ประถมศึกศึษาปีที่ปีที่6 พื้น พื้ ที่ร ที่ อบโรงเรียรีนมีโมีรงงานอุตอุสาหกรรมขนาดเล็กล็ถึงถึขนาดกลาง กระจายอยู่โยู่ดยรอบ ผู้ปผู้กครองส่วส่นใหญ่มีญ่อมีาชีพชีรับรัจ้าจ้ง และทำ งานในโรงงาน แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 แรงบันดาลใจ...จุดเริ่มต้นง่าย ๆ สู่ความสำ เร็จในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 จากการเข้าใจบริบท เข้าถึงปัญหา และพร้อมที่จะลงมือทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน... “แรงบันดาลใจ คือ การสืบสานพระราชปณิธานของทั้ง รัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 เพราะอย่างโรงเรียนคุณธรรม มีรากฐานมาจากตรงนี้ ผอ.มาดำ รงตำ แหน่งในช่วงปี 2564 ซึ่งเราปิดเรียนตลอดทั้งปีเพราะโควิด สิ่งหนึ่งที่เปิดเรียน ออนไซด์มา จะมีคำ นึงที่ฮิตมากคือคำ ว่า learning loss คือสภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ แต่ ผอ. ไม่ได้มองแค่นั้น ผอ.มองในเรื่อ รื่ งของ1 ปี ที่เ ที่ ด็กด็ห่าห่งจากโรงเรียรีนไปซึ่ง ซึ่ แน่นน่อนว่าว่ การอยู่ที่บ้านพฤติกรรมอะไรต่างๆมันมีการเปลี่ยนแปลง ก็เลยมองลงสู่พฤติกรรมต่าง ๆ ว่าอะไรที่เป็นคุณลักษณะที่ พอเด็กด็เปิดปิมาเรียรีนแล้วล้เขาควรได้รัด้บรัการปรับรัเปลี่ย ลี่ นพฤติกติรรม ซึ่งเราอิงจากผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ แล้วเอาผลประเมินมาดูว่าใน 8 ประการนั้น มีด้านไหนที่มีผลการประเมินต่ำ ตลอด” ผอ.เนตรหทัย ดีเป้า ผู้อำ นวยการโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ “ ...จนการสังเกตพฤติกรรมตอนช่วงเปิดเทอม ในหนึ่งเดือนแรก ก็เลยมองว่าเราต้องไม่เน้นแต่ learning loss อย่างเดียวแล้ว เด็กต้องถูกปลูกฝังทางด้านทัศนคติและคุณธรรมควบคู่ไปด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่น เด็กเขาเรียน ที่บ้ ที่ าบ้น แล้วล้เขาลืมลืเรื่อ รื่ งวินัวิยนั ไม่มีม่กมีารตื่น ตื่ มาเรียรีนตามเวลาเรียรีนออนไลน์ จะนอนเรียรีนก็ไก็ด้ ถ้าถ้วินัวิยนัเรายังยัไม่เม่สริมริอีกอี จะเกิดปัญหาต่อไป และที่เขามาเรียนในโรงเรียน ไหนจะการบ้าน ไหนจะเรื่องกระบวนการ พฤติกรรมต่าง ๆ ที่ค ที่ วรจะต้อต้งมีคมีวามรับรัผิดผิชอบ ก็เก็ลยเป็นป็แรงบันบัดาลใจ คือคืเหตุผตุลหลักลัๆเลยคือคืเด็กด็เราเห็นห็ ปัญปัหาของเด็กด็ด้วด้ย แล้วก็พื้นที่โรงเรียนอยู่ในพื้นที่ใกล้กับโรงงานแล้วก็มีความสุ่มเสี่ยงในเรื่องของยาเสพติดตรงนี้ด้วย จากที่รับ การรายงานจากชุมชุชนมาก็เก็ลยทำ ให้เห้กิดกิแรงบันบัดาลใจในการทำ เรื่อ รื่ งนี้ขึ้ นี้ น ขึ้ มา และเราสามารถที่จ ที่ ะควบคู่ไคู่ ปพร้อร้ม สองทางได้ ก็เลยมีแรงบันดาลใจในการทำ ค่ะ” “แรงบันดาลใจคือการสืบสาน พระราชปณิธาน ของทั้งรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 13


I: Integration การบูรณาการความรู้ควบคู่คุณธรรมและทักษะศตวรรษที่ 21 เข้ากับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมอื่น ๆ ชองโรงเรียน และมีการบูณาการคุณธรรมสู่โครงงานคุณธรรมประจำ ห้องเรียน N : Network สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมและทักษะใน ศตวรรษที่ 21 จากภายในโรงเรียน องค์กรภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน ชุมชน และทุกส่วนฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง D : Develop ร่วมกันพัฒนาเพื่อให้เกิดนวัตกรรม/ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ทั้งด้านการ บริหารของผู้บริหาร และด้านการสอนของครู เพื่อการขับเคลื่อนสู่โรงเรียน คุณธรรมและทักษะศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ผู้บริหารครู และนักเรียน ทางด้านคุณธรรม E1 : Evaluation ประเมินผลการดำ เนินงานทุกระยะเพื่อตรวจสอบการดำ เนินงาน และนำ ผลการประเมินมาใช้ในการแก้ไข ปรับปรุงระหว่างการดำ เนินงาน และหลังดำ เนินงานเสร็จสิ้น E2 : Efficiency ดำ เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาโรงเรียน ครู นักเรียน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่ความเป็นโรงเรียนคุณธรรมและโรงเรียน แห่งทักษะศตวรรษที่ 21 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน ผอ.เนตรหทัย ดีเป้า กล่าวถึงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียน อินอิทรนาวีรวีาษฎร์อุร์ ปอุถัมถัภ์ว่ภ์าว่ ได้นำด้ นำเอา นวัตวักรรม INDEE MODEL มาใช้ใช้นการดำ เนินนิงานการบริหริารโรงเรียรีน เพื่อ พื่ ใช้ใช้นการขับขัเคลื่อ ลื่ นสู่กสู่ ารเป็นป็ โรงเรียรีนคุณคุธรรม โดยรูปรูแบบการบริหริารงานพัฒพันามาจากหลักลัการบริหริาร แบบมีส่มีวส่นร่วร่มในกระบวนการผลิตลินวัตวักรรม มีขั้มีน ขั้ ตอนการดำ เนินนิงานประกอบด้วด้ย “ในส่วนวิธีการดำ เนินงาน ก็เป็นโจทย์สำ หรับผู้บริหาร อันดับแรกที่เราทำ เราต้องเปิดใจครูก่อนสมมุติถ้ามีครู 100% อย่างน้อยก็ร่วมกับเรา 10% ก็ประสบความสำ เร็จแล้ว แรก ๆ อาจจะไม่เข้าใจว่าทำ ไปทำ ไม ทำ ไปเพื่ออะไร ผอ.จะทำ เพื่อเอา ผลงานหรือทำ อะไร ทั้งหมดคือเพื่อลงสู่ตัวเด็ก ก็เลยรวบรวมว่า ใครสนใจ ครูที่รูดู ที่ แดูลเรื่อ รื่ งนี้ มีใมีครที่ส ที่ นใจจะทำ เรื่อ รื่ งนี้ เริ่ม ริ่ จากกลุ่มลุ่ เล็กล็ๆก่อก่นเริ่ม ริ่ สู่กสู่ ารขยายผลว่าว่เด็กด็เกิดกิผลอย่าย่งไร วิธีการที่ใช้ก็คือ “การระเบิดจากข้างใน” อยากให้คุณครู เขาทำ ในแนวของเขาเอง ครูไปออกแบบดีไซน์กิจกรรมต่าง ๆ การสร้างทีม ครูแม่ไก่ น้องไก่ แตกกระจายเป็นดาวกระจาย ทำ งานเป็นป็ทีมทีการสร้าร้งวิสัวิยสัทัศทัน์ร่น์วร่มกันกัและมองเห็นห็ความต่าต่ง อย่าย่งเช่นช่ โครงงานเราก็มีก็ โมีครงให้เห้ขาประมาณนี้ แต่กต่ระบวนการ เราต้อต้งระเบิดบิจากข้าข้งใน โดยโครงงานคุณคุธรรมจะเน้นน้เลยว่าว่เด็กด็ๆ จะต้อต้งมีโมีครงงานคุณคุธรรม และโครงงานคุณคุธรรมก็เก็กิดกิจากความคิดคิ ของเด็กด็ๆเขาว่าว่เด็กด็ๆอยากทำ อะไรวิธีวิกธีารสำ คัญคัของ ผอ. คือคื เรื่อ รื่ งของการโค้ชค้ ไม่ใม่ห้คห้รูเรูดินดิคนเดียดีวเราเดินดิไปกับกัเขา” นวัตกรรม “การส่งเสริมคุณธรรม อินทรนาวีฯ INDEE MODEL” 14


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ เนื่องด้วยโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ มีฐานของการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมที่ประสบความสำ เร็จ ผู้บผู้ริหริารได้รัด้บรัรางวัลวัคุรุคุชรุนคนคุณคุธรรม ระดับดั ประเทศโครงการโรงเรียรีนคุณคุธรรม สพฐ. และครูผู้รูสผู้อนได้รัด้บรัรางวัลวั นวัตวักรรมสร้าร้งสรรค์คค์นดี (ด้าด้นครูผู้รูสผู้อน) โครงการโรงเรียรีนคุณคุธรรม สพฐ. ระดับดั ประเทศ ทำ ให้สห้ามารถต่อต่ยอด การดำ เนินนิงานตามจุดจุเน้นน้ที่ 6 การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรมและทักทัษะในศตวรรษที่ 21 ให้ปห้ระสบผลสำ เร็จร็ได้ และมีการต่อยอดความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามเป้าหมาย เช่น การดำ เนินงานโรงเรียนคุณธรรม การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้พื่อ พื่ พัฒพันาทักทัษะในศตวรรษที่ 21 ทักทัษะความเข้าข้ใจและการใช้เช้ทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทั (Digital literacy) ทักษะการเรียนรู้ (Life Long Learning) และทักษะชีวิต (Life Skill) เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่งเสริมคุณธรรมในด้านต่างๆ แก่ครูในโรงเรียน ให้มีความรู้และสามารถเป็นที่ปรึกษาโครงงานคุณธรรม ให้กัห้บกันักนัเรียรีนได้ รวมทั้ง ทั้ เสริมริความรู้ด้รู้าด้นการใช้ทช้รัพรัยากรภายในโรงเรียรีนอย่าย่งคุ้มคุ้ค่าค่การนำ ทรัพรัยากรในท้อท้งถิ่น ถิ่ มาประยุกต์ใช้ในการดำ เนินโครงงานคุณธรรมประจำ ห้องเรียน และการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนและ ในท้องถิ่นในการดำ เนินงานโรงเรียนคุณธรรมอีกด้วย ปัญหาและการแก้ไข ครูไม่เข้าใจกระบวนการดำ เนินงานพัฒนา โรงเรียนคุณธรรมและทักษะในศตวรรษที่ 21 พัฒนาความรู้ความสามารถในการดำ เนินงาน อย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน ครูและบุคลากรยังไม่พร้อมที่จะรับการพัฒนา SWOT องค์กรและครู ดึงจุดเด่นครูออกมา เน้นความหลากหลายของบุคคลเพื่อแลกเปลี่ยน และสร้างความเชื่อมั่น ปัญหา การแก้ไข ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์และหมายการดำ เนินงาน ให้ชัดเจน สร้างแรงจูงใจให้ครูอยากมีส่วนร่วมในการ ดำ เนินงาน ตามหลัก “ระเบิดจากข้างใน” 15


“อันดับแรกเลยโรงเรียนมีนวัตกรรมที่ชัดเจน มีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าเราจะดำ เนินการ อย่างไรในการขับเคลื่อนคุณธรรมและทักษะในศตวรรษที่ 21 ให้ไปด้วยกันได้ สำ หรับ ตัวผอ. เองมีการเปลี่ยนแปลงแน่นอน คือ ยิ่งให้เรายิ่งได้ เราได้ทีมงาน เราได้เพื่อน ได้กัลยาณมิตรค่ะ และผอ. ก็ได้เด็กน่ารักกลับมาหลายๆคน ได้เห็นพฤติกรรมเด็ก ตอนที่นิเทศในห้องเรียนปรากฏว่าสามเดือนพฤติกรรมเด็กดีขึ้นเยอะมากและได้รับ ความร่วมมือจากองค์กรไปภายนอก เพิ่มมากขึ้น” จากการดำ เนินงานของโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ การเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่งอาจส่งผลสะท้อน ต่อเนื่องกันไป และผลสรุป คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่การเปลี่ยนแปลงที่สังคมต้องการ คือ การเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า “การพัฒนา” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ กว่าโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์จะประสบความสำ เร็จในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ ทักษะในศตวรรษที่ 21 จนเป็นที่ยอมรับ ต้องก้าวผ่านอุปสรรคต่างๆ มากมายมาก่อน เพราะความสำ เร็จ ต้องใช้ระยะเวลา ความอดทน และแรงบันดาลใจที่ดี การเห็นคุณค่าในตนเอง นั่นคือการ “ระเบิดจาก ข้างใน”ของครู เพื่อเป็นแรงผลักดัน ตลอดจนการมีเป้าหมายเดียวกันของผู้บริหารและครู ที่มีความพร้อม ในการขับเคลื่อน การทำ งานเป็นทีม และการร่วมแรงร่วมใจและการได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆ “อันดับแรก อันที่หนึ่งมองถึงในเรื่องของเป้าหมายค่ะ ความเป็นเป้าหมายเดียวกัน ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนก่อน ว่าเราจะทำ ไปทำ ไม เพื่ออะไร พอเรารู้เป้าหมายแล้ว ปัจจัยสำ คัญที่สอง คือ บุคลากร บุคลากรเรามีความพร้อมหรือยังที่จะขับเคลื่อน ถ้าตรงไหนที่ยังไม่พร้อมเราจะส่งเสริมครูได้ตรงไหนบ้าง เมื่อคุณครูทำ สำ เร็จเราจะ สร้างขวัญและกำ ลังใจได้อย่างไร ถ้าเราหลอมทีมเดียวกันมันจะไปสู่เป้าหมายได้ สาม...สิ่ง สิ่ สำ คัญคัเลยคือคืคณะกรรมการสถานศึกศึษา ผู้ปผู้กครอง ชุมชุชน ที่เ ที่ วลาโรงเรียรีน ทำ กิจกิกรรมอะไร ให้คห้วามร่วร่มมือมืเป็นป็อย่าย่งดีใดีนทุกทุเรื่อ รื่ ง สี่.สี่.โรงเรียรีนอินอิทรนาวีรวีาษฎร์ อุปอุถัมถัภ์ดำภ์ ดำเนินนิการได้ตด้รงนี้อ นี้ ย่าย่งที่บ ที่ อกเราเดินดิคนเดียดีวไม่ไม่ด้ก็ด้ต้ก็อต้งขอขอบคุณคุหน่วน่ยงาน ต้นสังกัด และ ศึกษานิเทศก์ที่ดูแลเรื่องนี้ ห้า..องค์กรภายนอก เช่น อบต. คลองหก เค้าค้เรียรีกว่าว่ ใจ..ใจที่อ ที่ ยากทำ ระเบิดบิจากข้าข้งใน” “เค้าเรียกว่าใจ...ใจที่อยากทำ ระเบิดจากข้างใน” การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น “สำ หรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ มีผู้อำ นวยการที่เป็นต้นแบบ ในการดำ เนินนิการสนับนัสนุนนุส่งส่เสริมริกระบวนการทำ งานของครู ทำ ให้ ครูสะดวกต่อการทำ งานให้บรรลุวัตถุประสงค์จากที่ไม่เคยประกวด มาเลย ครูผู้สอนมีทิศทางในการทำ งานที่ชัดเจนขึ้นมีทัศนคติที่ดี ในการทำ งาน ส่งส่ผลไปยังยัเพื่อ พื่ นร่วร่มงานให้ก้ห้าก้วไปด้วด้ยกันกั ให้คำห้ คำแนะนำ หรือยินดีเมื่อเขาประสบความสำ เร็จ อยู่แบบช่วยเหลือกัน ผู้เรียน ได้รัด้บรัการพัฒพันาใส่ใส่จด้าด้นคุณคุธรรม จริยริธรรมซึ่ง ซึ่ ส่งส่ผลไปไปยังยัพฤติกติรรม และยั่งยืนจนเป็นนิสัยนักเรียนก็จะไม่กลายเป็นภาระสังคม ไม่สร้าง ปัญหาในสังคมค่ะ” ครูจตุพร ณ พัทลุง ครูโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ ผอ.เนตรหทัย ดีเป้า 16


“ความภาคภูมิใจในมุมของตัว ผอ.เอง ในมุมผู้บริหาร อย่างที่บอกว่ายิ่งให้ยิ่งได้ เราไม่ได้ให้แค่ครู เราให้กับโรงเรียนอื่น ๆ ด้วยและมีโอกาสไปเป็นวิทยากรทั้งตัว ผอ.และคุณครู เป็นวิทยากรให้กับหลาย ๆ โรงเรียนและได้มีโอกาสเป็นวิทยากร ให้กัห้บกัต้นต้สังสักัดกัและได้ได้ปนำ เสนอนวัตวักรรมที่ง ที่ านเอสเทค ที่ศู ที่ นศูย์ปย์ระชุมชุแห่งห่ชาติ สิริสิกิริติ์กิติ์ มีคมีวามรู้สึรู้กสึว่าว่ โรงเรียรีนเรา เด็กด็แค่นี้ค่ นี้ ครูแรูค่นี้ค่ นี้ แต่เต่ราสามารถพากันกัเดินดิมาสู่ จุดจุนี้ไนี้ ด้ ความภาคภูมิภูใมิจก็คืก็อคืเราเจียจีระไนครูเรูรา ครูเรูราเขาเป็นป็เพชรงดงามอยู่แยู่ ล้วล้ แต่วัต่นวันี้เ นี้ รามาเจียจีระไนให้คห้รูเรูขาเป็นป็เพชรที่น้ำ ที่ น้ำงาม การส่อส่งแสงที่ดี ที่ ขึ้ดีน ขึ้ สุดสุท้าท้ยแล้วล้ ก็คืก็อคืเด็กด็ๆ เติบติโตเป็นป็ต้นต้ ไม้ที่ม้ส ที่ วยงามในแบบของเขา...วันวันี้เ นี้ ราสร้าร้งเมล็ดล็พันพัธุ์.ธุ์... เราไม่ได้ปลูกแค่ในโรงเรียน เรากระจายให้กับทุกท่าน เป็นการบ่มเพาะสิ่งดี ๆ ที่เกิดขึ้นให้กับสังคม” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความภาคภูมิใจ งานที่ทำ ให้เราภูมิใจ หมายถึง งานที่เราได้ใช้ทักษะและประสบการณ์ของเรา และแบ่งปันสิ่งดี ๆ สู่สังคม ในแง่ใดแง่หนึ่ง ด้วยการได้เห็นคุณค่าของสิ่งที่ทำ ได้เห็นเป้าหมายร่วมกัน ได้เรียนรู้ และพัฒนาตัวเองต่อไป อย่างไม่หยุดยั้ง รวมถึงได้ส่งต่อสิ่งดี ๆ เพื่อทำ ให้สังคมน่าอยู่ขึ้น เพราะท้ายที่สุดการได้รับรู้ว่าความสามารถ ของเราทำ ให้สังคมดีขึ้นไปพร้อม ๆ กันได้ด้วย จะยิ่งทำ ให้เราทั้งภูมิใจในงานและภูมิใจในตัวเองอย่างถึงที่สุด “ความภาคภูมิใจของครู สุดท้ายแล้วทุกอย่างที่เราทำ มันการันตีของเราเองว่าเรา ทำ งานจริง เพราะทุกกระบวนการจะกลับลงสู่เด็ก และชุมชนก็ยอมรับว่าเราทำ ให้ ลูกหลานเขาอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขค่ะ” 17 ครูจตุพร ณ พัทลุง ผอ.เนตรหทัย ดีเป้า


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี “พระบรมราโชบายของรัชกาลที่ 10 ในด้านมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เรื่องของการมีคุณธรรมเป็นแรงบันดาลใจแรก เด็กทุกคนนอกจาก มีคมีวามรู้แรู้ล้วล้ควรมีคุมีณคุธรรมจริยริธรรมควบคู่กัคู่ นกัไป และยุทยุธศาสตร์ชร์าติ ในด้านที่สาม มุ่งเน้นในเรื่องการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ซึ่งเป็น สิ่ง สิ่ ที่สำ ที่ สำคัญคัและคุณคุลักลัษณะอันอัพึงพึประสงค์แค์ ปดประการ ในสถานการณ์ โควิดที่ผ่านมา นักเรียนไม่ได้ถูกพัฒนาในด้านคุณธรรม จริยธรรม เท่าที่ควร จึงมีแรงบันดาลใจว่าอยากให้นักเรียนในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ ควบคู่กับ การศึกษาทางด้านวิชาการ ในรูปแบบของเด็กดีศรีอนุบาล” แรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ตั้งอยู่ในอำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ เปิดทำ การสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเปิดการสอนหลักสูตร Mini English Program (MEP) บริบทของโรงเรียนเป็นสังคมเมือง ผอ.อรุณศรี เหลืองธานี ผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ผอ.อรุณศรี เหลืองธานี ผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี กล่าวถึงแรงบันดาลใจในการดำ เนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 “...ปัจุบันความเจริญทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสาร ความรู้ข่าวสารต่าง ๆ ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจำ กัด เข้าข้สู่ยุสู่ คยุThailand 4.0 ส่งส่ผลต่อต่การรับรัวัฒวันธรรมและค่าค่นิยนิมต่าต่งๆการซึมซึซับซัในวิถีวิชีถีวิชีตวิของเด็กด็และเยาวชนไทย จำ นวนมาก ทำ ให้เด็กและเยาวชนไทยขาดจิตสำ นึกที่ดี ประพฤติตัวไม่เหมาะสมและขาดการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งในปีการศึกษาที่ผ่านมามีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนอนุบาล ปทุมธานี มีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ทำ ให้ผู้เรียนต้องอยู่กับสื่อมัลติมีเดีย และเทคโนโลยีต่าง ๆ ตลอดเวลา ส่งผลให้ผู้เรียนขาดสมาธิในการเรียนรู้ ขาดการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสิ่ง ที่เกิดขึ้นนี้ เป็นสิ่งที่หลายภาคส่วนต้องร่วมมือกัน เพื่อรักษาช่วงโอกาสสำ คัญในการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งด้าน ความรู้และการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องด้วยดี และมีประสิทธิภาพ จากเหตุผล ดังดักล่าล่ว โรงเรียรีนอนุบนุาลปทุมทุธานี ขอน้อน้มนำ พระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของพระบาทสมเด็จด็พระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราช วโรดมบรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 เพื่อสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จ ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระบรมนาถบพิตร และนำ เป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษา ของโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ในด้านมีคุณธรรมนำ ชีวิต : มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง - มีคุณธรรม ด้วยนวัตกรรม “สร้าร้งเสริมริเด็กด็ดีศดีรีอรีนุบนุาล สู่ศสู่ ตวรรษที่ 21 ด้วด้ย ANBPT Model ”เพื่อ พื่ เสริมริสร้าร้งให้ผู้ห้เผู้รียรีนมีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ สามารถดำ รงตนในฐานะผู้เรียนที่มีคุณภาพ ควบคู่กับการศึกษาทางวิชาการ เป็นเด็กดี ศรีอนุบาลปทุมธานีและเป็นเยาวชนที่ดีของประเทศชาติสืบไป” 18


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นเด็กดีศรีอนุบาล โดยใช้รูปแบบ ANBPT MODEL ซึ่งเป็นรูปแบบที่มีการพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณธรรมนำ ชีวิต มีการดำ เนินงานตามขั้นตอน ระยะเวลาปฏิทินที่กำ หนด และมีการดำ เนินงาน ตามวงจรคุณภาพ PDCA ดังนี้ P : Plan (การวางแผน) ดำ เนินงานตามแผนด้วย ANBPT MODEL 1. awareness การสร้างความตระหนัก 2. Never stop learning สร้างการเรียนรู้ที่ดี 3. Behavior การปรับพฤติกรรมให้กับนักเรียน 4. Philosophy การกำ กับติดตามการดำ เนินงานต่าง ๆ 5. team การทำ งานร่วมกันเป็นทีม ศึกศึษาสภาพปัญปัหาความต้อต้งการของโรงเรียรีน สภาพปัญปัหาที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ กับนักเรียนในโรงเรียน ว่านักเรียนมีปัญหาในเรื่องใดของคุณธรรม จริยธรรมที่เราต้องพัฒนา ประชุมวางแผนคณะครูร่วมกันออกแบบ วิธีการต่าง ๆ และนวัตกรรม “รูปแบบหนึ่งห้องเรียนหนึ่งความดี” D : Do (การปฏิบัติตามแผน) C : Check (การตรวจสอบ) ประเมินมิผลการดำ เนินนิงานแต่ลต่ะกิจกิกรรม ในกิจกิกรรมหนึ่ง นึ่ ห้อห้งเรียรีน หนึ่งความดี ตรวจสอบว่าเด็กมีการพัฒนาพฤติกรรมอย่างไรบ้าง ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ A : Action (การปรับปรุงการดำ เนินงาน) การปรับปรุง การวิเคราะห์ว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใด มีการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง การทำ ซ้ำ นวัตกรรม ในเรื่องที่พัฒนา นวัตกรรม “สร้างเสริมเด็กดีศรีอนุบาล สู่ศตวรรษที่ 21 ด้วย ANBPT MODEL ” 19


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ “การเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” การเข้าใจ คุณครูต้องเข้าใจถึงสภาพปัญหาและความต้องการของโรงเรียนในเรื่องของการที่อยากให้ นักเรียนเป็นอย่างไร มีการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างไร รวมไปถึงการประชุม วางแผนในการออกแบบนวัตกรรมหรือการดำ เนินการต่าง ๆ คุณครูต้องมีความเข้าใจ การดำ เนินงานไปในทางเดียวกัน การเข้าถึง ครูต้องมีการเรียนรู้ถึงจิตวิทยา นโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ ครูต้องเข้าถึงว่าต้องมีวิธีการ อย่างไร การเข้าถึงนวัตกรรมของโรงเรียน คุณครูจะต้องออกแบบภายใต้นวัตกรรมของ โรงเรียน ครูจะสามารถออกแบบในลักษณะไหนเพื่อที่จะสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในของนักเรียนได้ การพัฒนา นักเรียนเกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงอย่างไร โดยมีการประเมินผลกิจกรรม มีการปรับปรุง พัฒนาในปีการศึกษาต่อไปอย่างไร สำ หรับห้องที่ดีอยู่แล้วจะมีการส่งเสริมพัฒนาต่อ เพื่อแก้ไขพฤติกรรมในด้านอื่นๆของนักเรียน ปัญหาและการแก้ไข ผู้ปกครองคาดหวังเรื่องวิชาการ มากกว่าเรื่องคุณธรรม ทำ ให้ผู้ปกครองรู้ว่าบุตรหลานมีพัฒนาการ ด้านคุณธรรม อาจจะเสริมในเรื่องของระเบียบวินัย ให้เด็กรู้จักหน้าที่และมีระเบียบวินัย ครูบางท่านยังไม่เปิดใจ ในการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม เน้นในเรื่องวิชาการอย่างเดียว ให้ความรู้ โดยการกำ กับติดตามคุณครูเหล่านั้นว่า เราจะต้องมีวิธีการอย่างไร โดยมีผู้บริหารเข้าไป ชี้แนะแนวทางว่าดำ เนินการอย่างไร ให้คุณครูเริ่ม ในการทำ กิจกรรมที่ใกล้ตัวก่อน เด็กแต่ละคนมีข้อบกพร่องในคุณธรรมจริยธรรม ที่แตกต่างกัน ซึ่งจะต้องดูเป็นรายบุคคล โรงเรียนสร้างกติกาให้เขาว่าควรทำ อย่างไร และสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริบทได้ การใช้เพลงเพื่อกำ หนดกิจกรรม ปัญหา การแก้ไข ปัญหา การแก้ไข 20


ผู้บริหาร ให้ความสำ คัญกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น และมีแนวคิดในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมมากยิ่งขึ้น มีการศึกษาเพิ่มเติมและนำ มาเป็นแนวคิดให้กับคุณครู ครู มีการเปลี่ยนตัวเอง ครูเปลี่ยนรูปแบบการทำ งานเปลี่ยน วิถีชีวิตและคุณธรรมจริยธรรมในด้านต่าง ๆ เช่น ความสะอาด การดำ เนินงานก็ง่ายขึ้น และครูไปศึกษาต่อและค้นคว้าต่อว่า มีวิธีการหรือแนวคิดอย่างอื่นหรือไม่ ในการพัฒนามีการค้นหา ความรู้ด้านจิตวิทยา และการเอาคุณธรรมมาใช้ นักเรียน เลียนแบบจากคุณครู ปฏิบัติตามกติกาของโรงเรียนที่ได้วางไว้ เรียนรู้พฤติกรรมจากคุณครู และขยายผลไปถึงครอบครัว ผู้ปกครอง มีความไว้วางใจโรงเรียนมากขึ้น บริบททั่วไป มีความเอื้ออาทรต่อกัน เด็กช่วยเหลือกัน โรงเรียนสะอาดขึ้น ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ ครูเป็นบุคคลที่สำ คัญในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้กับผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษามีความชื่นชมยินดีและ ความพึงพอใจกับพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของนักเรียนและให้การสนับสนุนอย่างดียิ่ง ในการมีส่วนร่วมในการทำ กิจกรรมด้านงบประมาณและอุปกรณ์ ผู้บริหารให้การสนับสนุน เสริมขวัญและกำ ลังใจให้กับคุณครู สนับสนุนในด้าน งบประมาณในการดำ เนินกิจกรรม และเป็นผู้กำ หนดแนวทางและและนวัตกรรมให้ครูได้ โรงเรียนเห็นคุณค่าในการพัฒนาของผู้เรียน ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม การเข้าร่วมในกติกาที่โรงเรียนได้ตั้งไว้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ “เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในแนวทางที่ดีขึ้นไม่มากก็น้อย การสะท้อนกลับของผู้ปกครองที่ดีขึ้น ผู้ปกครองมีความพึงพอใจกับโรงเรียน ครูมีความคิดที่จะพัฒนาต่อคิดแนวทางใหม่ใหม่ที่จะพัฒนาต่อเพื่อให้เด็กมีภูมิคุ้มกัน เป็นการสร้างครูและนำ สิ่งเหล่านี้ไปพัฒนาเป็นผลงานทำ วิทยฐานะ และพัฒนาวิชาชีพของตนเอง” รองฯ ปฏิภาณ ศาสตร์อำ นวย รองผู้อำ นวยการ โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี รองฯ ปฏิภาณ ศาสตร์อำ นวย รองผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จากการดำ เนินงานพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและทักษะในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 21


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คณะดำ เนินงาน ที่ปรึกรึษา นายกัมพล เจริญรักษ์ นายวิวัฒน์ สิรพัธน์โภคิน นางสาวสายใจ พุ่มถาวร นายธนกฤต แก้วนามไชย ผู้ร่ผู้ร่วมถอดบทเรียน บรรณาธิการกิจ 22 นางสุรัสวดี จันทรกุล ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 เจ้าของบทเรียน โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง 1. นางสุรางค์ ประไพนพ ผู้อำ นวยการโรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง 2. นางสาวรภัทร ชัยวรธนิน ครู โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ รุง โรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ 1. นางสาวเนตรหทัย ดีเป้า ผู้อำ นวยการโรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ 2. นางจตุพร ณ พัทลุง ครู โรงเรียนอินทรนาวีราษฎร์อุปถัมภ์ โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี 1. นางสาวอรุณศรี เหลืองธานี ผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี 2. นายปฏิภาณ ศาสตร์อำ นวย รองผู้อำ นวยการโรงเรียนอนุบาลปทุมธานี ผู้ถอดบทเรียน 1. นางกันยากาญจน์ ศรีประเสริฐ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดบัวขวัญ 2. นางรดีวันต์ ปิ่นแก้วเกียรติ์ ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


เอกสารลำ ดับที่ 7 / 2567 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธทุานี เขต 1 สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร BEST PRACTICE


Click to View FlipBook Version