The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chayanee Chantarakul, 2024-03-25 12:45:00

จุดเน้นที่ 3

จุดเน้นที่ 3

ปฐมบทของการเดินทาง ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ก หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1”ฉบับนี้ ปฐมบทของการเดินทาง สู่ความสำ เร็จ เริ่มจากการพัฒนาข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ของผู้บริหารสถานศึกษาตามจุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้วิเคราะห์นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและของ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วนำ มาจัดทำ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา จำ นวน 102 โรงเรียน ในการกำ หนดจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ที่ได้จากการสังเคราะห์ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา เขียนตัวเลข 1–3 เรียงลำ ดับความ ต้อต้งการตามความคิดคิเห็นห็ของตนเองที่จ ที่ ะกำ หนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถม ศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าประเด็นที่มีความถี่สูงที่สุดมีจำ นวน 6 รายการ จึงจึได้กำด้กำหนดเป็นป็จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1ได้แด้ก่1) โรงเรียรีน ปลอดภัยภั 2) การจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ (Active Learning) 3) ทักทัษะเทคโนโลยี 4) ทักทัษะอาชีพชี 5) ทักทัษะ ชีวิชีตวิ 6)คุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 หลังลัจากนั้น นั้ ผู้บผู้ริหริารสถานศึกศึษาในสังสักัดกัจัดจัทำ ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานกับกัผู้อำผู้อำนวยการสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาโดยผู้บผู้ริหริารสถานศึกศึษาต้อต้งเขียขีน ข้อตกลงในการพัฒนางาน ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทาย จำ นวน 2 เรื่อง โดยเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบท สถานศึกษา จำ นวน 1 เรื่อง และเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายที่มีความสอดคล้อง กับจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำ นวน 1 เรื่อง ซึ่งเลือกเพียง 1 จุดจุเน้นน้ของสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษา ซึ่ง ซึ่ ผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษาจัดจัข้อข้ตกลงในการพัฒพันางาน (PA) กับกัผู้บัผู้งบัคับคับัญบัชา เพื่อ พื่ แสดงเจตจำ นงว่าว่ภายในรอบการประเมินมิจะพัฒพันาคุณคุภาพผู้เผู้รียรีน คุณคุภาพครู และ ยกระดับดัคุณคุภาพการศึกศึษาของสถานศึกศึษา โดยสะท้อท้นให้เห้ห็นห็ถึงถึระดับดัการปฏิบัฏิติบัที่ติค ที่ าดหวังวัของตำ แหน่งน่ และวิทวิยฐานะที่ดำ ที่ ดำรงอยู่ และสอดคล้อล้งกับกัเป้าป้หมาย บริบริทสถานศึกศึษา นโยบายของส่วส่นราชการและ กระทรวงศึกศึษาธิกธิารโดยผู้บัผู้งบัคับคับัญบัชาได้เด้ห็นห็ชอบให้เห้ป็นป็ข้อข้ตกลงในการพัฒพันางาน เมื่อ มื่ ผู้บผู้ริหริารสถานศึกศึษา ได้ดำ เนินการตามข้อตกลงพัฒนางานแล้ว ได้มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เกิดเป็นข้อมูล เชิงประจักษ์ในขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นสู่วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของสถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อให้การดำ เนินการ เป็นป็ ไปอย่าย่งต่อต่เนื่อ นื่ ง ยั่ง ยั่ ยืนยืและเป็นป็การขยายผลการดำ เนินนิงานการนำ นโยบายและจุดจุเน้นน้สู่กสู่ ารปฏิบัฏิติบัติ อย่างเป็นรูปธรรม สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาจึงดำ เนินการถอดบทเรียน Best Practice ของ สถานศึกษา ทั้ง 6 จุดเน้น ดังปรากฎในหนังสือเล่มนี้


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียน เป็นทั้งบรรณาธิการ ออกแบบรูปเล่ม เป็นต้น ขอขอบคุณศึกษานิเทศก์ทุกท่าน และ ผู้บริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็น เจ้าของบทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่ สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ดร.กัมพล เจริญรักษ์ ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ข ปฐมบทของการเดินทาง (ต่อ) หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ตำ ราหรือเอกสารที่ใช้หลักการเขียนเชิงวิชาการมากนัก แต่เป็นผลการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานที่เกิดจากการลงมือทำ ของผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู ศึกษานิเทศก์และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ที่ทุกคนสามารถใช้เป็นบทเรียน เป็นตัวแบบ ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนางาน ต่อไปได้ หนังสือเล่มนี้จึงมีคุณค่าในตัวเองและเต็มไปด้วยความภาคภูมิใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เจ้าจ้ของบทเรียรีน และคณะผู้ถผู้อดบทเรียรีน เพื่อ พื่ ถ่าถ่ยทอดประสบการณ์ องค์คค์วามรู้ ตลอดจนสื่อ สื่ สาร ให้เห้ห็นห็ร่อร่งรอยการทำ งาน เป็นป็แนวทางในการพัฒพันาข้อข้ตกลงในการพัฒพันางานต่อต่ ไป ขอชื่นชมและขอขอบคุณ นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดจัการศึกศึษาสำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต1 ที่เ ที่ ป็นป็หลักลัในการดำ เนินนิการ ถอดบทเรียน เป็นทั้งบรรณาธิการ ออกแบบรูปเล่ม เป็นต้น ขอขอบคุณศึกษานิเทศก์ทุกท่าน และ ผู้บริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นคณะทำ งานถอดบทเรียน ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา และครู ผู้เป็น เจ้าของบทเรียนทั้ง 6 จุดเน้น และผู้ที่มีความเกี่ยวข้องทุกคน ที่ได้ทำ หนังสือที่มีคุณค่าเล่มนี้เผยแพร่ สู่สังคม เพื่อเป็นการขยายผลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ต่อไป


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คำ นำ ค การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำ เนินการพัฒนาคุณภาพให้บรรลุตามเป้าหมาย ของนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นบทบาท และหน้าที่หลัก ของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่ง ขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยการกำ หนดให้ผู้บริหารสถานศึกษานำ 6 จุดเน้น ของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ไปเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษานำ สู่การปฏิบัติ ออกแบบนวัตกรรม ขั้นตอนการดำ เนินงานขับเคลื่อนและ พัฒนาสถานศึกษาโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม เกิดผลสำ เร็จที่เป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ได้รับการชื่นชม และได้รับการยกย่องว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ได้รับการยอมรับทั้งจากภายใน และภายนอกสถานศึกษา หนังนัสือสื “ถอดบทเรียรีน 6 จุดจุเน้นน้สพป.ปทุมทุธานี เขต 1” เป็นป็การบันบัทึกทึเรื่อ รื่ งราวการเดินดิทาง สู่คสู่ วามสำ เร็จร็ของการพัฒพันาสถานศึกศึษาใน 6 จุดจุเน้นน้จุดจุเน้นน้ละ 3 โรง รวม 18 โรง ผ่าผ่นการสนทนา พูดพูคุยคุและเล่าล่เรื่อ รื่ งราว จากผู้บผู้ ริหริารสถานศึกศึษา ครู ศึกศึษานิเนิทศก์แก์ละผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง โดยมีจุมีดจุประสงค์ เพื่อรวบรวมประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำ เนินงาน ในด้านแรงบันดาลใจ นวัตกรรมและขั้นตอน การดำ เนินงาน ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัจจัยความสำ เร็จ ปัญหาที่พบและการแก้ไข การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเมื่อได้พัฒนาตามจุดเน้นที่เลือกดำ เนินการ ทั้งด้านผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบริบทของโรงเรียนทั่ว ๆ ไป และความภาคภูมิใจเมื่อโรงเรียน ประสบความสำ เร็จในการพัฒนางานจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ การเผยแพร่เร่อกสารการถอดบทเรียรีนครั้ง รั้ นี้ เป็นป็การสร้าร้งคุณคุค่าค่ ให้แห้ก่คก่วามสำ เร็จร็ที่เ ที่ กิดกิขึ้น ขึ้ ของ สถานศึกษาที่เป็นเจ้าของบทเรียน โดยจัดทำ เอกสารถอดบทเรียนจำ นวน 6 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 จุดเน้นที่ 1 การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา เล่มที่ 2 จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning เล่มที่ 3 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เล่มที่ 4 จุดเน้นที่ 4 การพัฒนาทักษะอาชีพ เล่มที่ 5 จุดเน้นที่ 5 การพัฒนาทักษะชีวิต เล่มที่ 6 จุดเน้นที่ 6 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ นักนังานเขตพื้น พื้ ที่ก ที่ ารศึกศึษาประถมศึกศึษาปทุมทุธานี เขต 1 หวังวัเป็นป็อย่าย่งยิ่ง ยิ่ ว่าว่เมื่อ มื่ ท่าท่นได้อ่ด้าอ่น หนังสือ “ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1” ทั้ง 6 เล่ม จะเป็นแรงบันดาลใจให้ท่าน ทำ งานอย่าย่งมีคมีวามสุขสุและมีคมีวามภาคภูมิภูใมิจกับกังานที่ทำ ที่ ทำ ไม่ว่ม่าว่งานนั้น นั้ จะเป็นป็งานใด ๆ ก็ตก็าม นางสุรัสวดี จันทรกุล ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


ปฐมบทของการเดินทาง............................................................................................................ ก คำ นำ ......................................................................................................................................... ค สารบัญ...................................................................................................................................... ง 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1........................................................................................... 1 การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา.......................................... 3 โรงเรียนกับการพัฒนา 6 จุดเน้น.......................................................................................... 4 การเดินทางสู่ความสำ เร็จ จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้........................................................................................................................... 5 ปัจจัยความสำ เร็จ................................................................................................................. 6 นวัตกรรม............................................................................................................................. 6 ขั้นตอนการพัฒนา................................................................................................................ 7 โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์)........................................................................... 8 โรงเรียนวัดนาวง................................................................................................................. 12 โรงเรียนวัดเมตารางค์......................................................................................................... 15 คณะดำ เนินงาน....................................................................................................................... 19 สารบัญบั ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ง


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1


6 จุดเน้น น้ สพป.ปทุม ทุ ธานี เขต 1 การดำดำดำดำเนินินินิงานความปลอดภัภัภัยภั ในสถานศึศึศึกศึษา การพัพัพัฒพันาผู้ผู้ผู้เผู้รีรีรียรีนสู่สู่สู่ฐสู่ านสมรรถนะ ด้ด้ ด้ ว ด้ วยการจัจัจัดจัการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รูรู้รูรูปรูแบบ Active Learning การใช้ช้ ช้ เ ช้ เทคโนโลยียียีดิยีดิดิจิดิจิจิทัจิทัทัลทั เพื่พื่ พื่ อ พื่ อการบริริริหริารจัจัจัดจัการ และการเรีรีรียรีนรู้รู้รู้รู้ การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะอาชีชีชีพชี การพัพัพัฒพันาทัทัทักทัษะชีชีชีวิชีวิวิตวิ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 2 6 จุดเน้นของสำ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เกิดจากการวิเคราะห์นโยบายและจุดเน้น ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ - กระทรวงศึกษาธิการ - สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน - นโยบายเร่งด่วน (Quick Policy) ที่มีความสอดคล้องหรือสัมพันธ์กัน และมีความเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่และ ภารกิจของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่จะนำ นโยบายและจุดเน้น ลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้จริง


3. ผู้บริหารสถานศึกษาจัดทำ ข้อตกลงในการพัฒนางาน กับผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 4. แต่งตั้งคณะกรรมการ กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนางาน 5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมผู้บริหารสถานศึกษาและครู การขับเคลื่อนจุดเน้นสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยใช้ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ของผู้บริหารสถานศึกษา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 1. ประชุมชี้แจงและร่วมกันวางแผน กำ หนดปฏิทินการดำ เนินงาน 2. ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาทุกคน เพื่อกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน 6. ดำ เนินการตามรูปแบบการพัฒนาข้อตกลง ในการพัฒนางาน 7. นิเทศการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา ตามรูปแบบ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลงในการพัฒนางานของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานที่ปฏิบัติงานจริง 9. สรุปผลการดำ เนินงานตามรูปแบบฯ ที่ได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 10. ยกย่องเชิดชูเกียรติ ไม่ผ่าน ผ่าน 3


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรีย รี นกับการพัฒนา 6 จุดเน้น การดำ เนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 การพัฒพันาระบบและกลไกในการดูแดูลความปลอดภัยภัให้แห้ก่ ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยภัพิบัพิติบัแติละภัยภัคุกคุคามทุกทุรูปรูแบบ รวมถึงถึการจัดจัสภาพ แวดลอมที่เ ที่ อื้อ อื้ ต่อต่การมีสุมีขสุภาวะที่ดี ที่ ดีสามารถปรับรัตัวตัต่อต่ โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน แก้ไข ช่วช่ยเหลือลืและเยียยีวยาด้าด้นความปลอดภัยภัแก่นัก่กนัเรียรีน ครู และบุคบุลากรทางการศึกศึษาและมีข้มีอข้มูลมูสารสนเทศที่เ ที่ ป็นป็ ระบบ สามารถแก้ไก้ขปัญปัหาและบริหริารจัดจัการความเสี่ย สี่ ง ได้อด้ย่าย่งยั่ง ยั่ ยืนยืด้วด้ยการบริหริารจัดจัการตามาตรการ3 ป ได้แด้ก่ ป้อป้งกันกั ปลูกลูฝังฝัและปราบปราม โดยการมีส่มีวส่นร่วร่มของ หน่วน่ยงานที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้ง และภาคีเคีครือรืข่าข่ย การจัดการเรียนรู้สู่ฐานสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน การเรียรีนรู้แรู้ละตัวตัชี้วั ชี้ ดวั(ฉบับบั ปรับรั ปรุงรุพ.ศ.2560)ที่เ ที่ หมาะสม กับความต้องการและบริบท ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชั้น ชั้ เรียรีน สร้าร้งปฏิสัฏิมสัพันพัธ์รธ์ะหว่าว่งครูผู้รูสผู้อนกับกัผู้เผู้รียรีนมุ่งมุ่ ให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษาพัฒนาการเรียนรู้ และ ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีวิกธีารที่ห ที่ ลากหลาย จุดเน้นที่ 2 การพัฒนาผู้เรียนสู่ฐานสมรรถนะด้วยการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ Active Learning จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 การจัดจัทำ หลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาที่บู ที่ รบูณาการทักทัษะอาชีพชีและ พัฒพันากระบวนการจัดจัการเรียรีนรู้ เพื่อ พื่ เตรียรีมความพร้อร้มแก่ ผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ และมีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานในการประกอบอาชีพชี สร้าร้งเสริมริประสบการณ์อณ์าชีพชีในรูปรูแบบต่าต่งๆรวมถึงถึการปลูกลูฝังฝั ลักษณะนิสัยในการทำ งาน การมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทำ งาน รักงาน สู้งาน และทำ งานจนสำ เร็จ มีคมีวามรู้พื้รู้ น พื้ ฐานของการเป็นป็ผู้ปผู้ระกอบการที่ดี ที่ ดีมีแมีรงบันบัดาลใจ ในการค้นค้พบอาชีพชีเพื่อ พื่ พัฒพันาไปสู่กสู่ ารประกอบอาชีพชีในอนาคต ด้วด้ยการมีส่มีวส่นร่วร่มของผู้ปผู้กครองสถานประกอบการแหล่งล่เรียรีนรู้ และภูมิภูปัมิญปัญาท้อท้งถิ่น ถิ่ การพัฒนาทักษะอาชีพ การนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัการจัดจัการฐานข้อข้มูลมูและการใช้ ข้อข้มูลมูสารสนเทศในการบริหริารและการจัดจัการศึกศึษา เพื่อ พื่ เพิ่ม พิ่ ประสิทสิธิภธิาพการบริหริารสถานศึกศึษาการจัดจัทำ ระบบ ข้อข้มูลมูสารสนเทศของนักนัเรียรีนเป็นป็รายบุคบุคล มีคมีวามสะดวก รวดเร็วร็มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืในการนำ ข้อข้มูลมูไปใช้ปช้รับรัปรุงรุและ ไปใช้ใช้ห้เห้กิดกิประโยชน์ต่น์อต่การบริหริารจัดจัการสถานศึกศึษารวมถึงถึ การพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้ทัมีกทัษะดิจิดิทัจิลทัและภาษาคอมพิวพิเตอร์ มีทัมีกทัษะพื้น พื้ ฐานการใช้เช้ทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสมกับกัช่วช่งวัยวั สามารถใช้เช้ทคโนโลยีใยีนการรับรัรู้แรู้ละมีวิมีจวิารณญาณในการใช้ สื่อ สื่ เทคโนโลยีที่ยีเ ที่ หมาะสม การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการ และการเรียนรู้ จุดเน้นที่ 5 จุดเน้นที่ 6 การบูรบูณาการทักทัษะชีวิชีตวิในหลักลัสูตสูรสถานศึกศึษาระดับดัปฐมวัยวั และระดับดัการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน ให้มีห้กมีารจัดจัการเรียรีนการสอน ทักทัษะชีวิชีตวิบูรบูณาการในกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ด้รู้วด้ยกระบวนการ เรียรีนรู้ที่รู้ เ ที่ น้นน้ผู้เผู้รียรีนเป็นป็สำ คัญคัหรือรืการจัดจัการเรียรีนรู้เรู้ชิงชิรุกรุ และจัดจัระบบการดูแดูลช่วช่ยเหลือลืนักนัเรียรีน เพื่อ พื่ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนเกิดกิ การเปลี่ย ลี่ นแปลงพฤติกติรรมอันอัจะนำ ไปสู่กสู่ ารมีทัมีกทัษะชีวิชีตวิ และอยู่ใยู่ นสังสัคมอย่าย่งมีคมีวามสุขสุภายใต้คต้วามร่วร่มมือมืของ ภาคีเคีครือรืข่าข่ยพัฒพันาทักทัษะชีวิชีตวิแก่ผู้ก่เผู้รียรีน การพัฒนาทักษะชีวิต การดำ เนินนิงาน/โครงการ/กิจกิกรรมพัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้เห้ป็นป็พลเมือมืงดี มีคุมีณคุธรรม จริยริธรรม ตามพระบรมราโชบายด้าด้นการศึกศึษาของ พระบาทสมเด็จด็พระวชิรชิเกล้าล้เจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัรัชรักาลที่ 10และดำ เนินนิ งาน/โครงการ/กิจกิกรรม เพื่อ พื่ พัฒพันาผู้เผู้รียรีนให้มีห้คมีวามรู้ มีทัมีกทัษะ การเรียรีนรู้และทักทัษะที่จำ ที่ จำเป็นป็ของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยมี ภาคีเครือข่าย และการมีส่วนร่วม และมีผลการดำ เนินงาน บรรลุตามเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒพันาคุณคุธรรม จริยริธรรม และทักทัษะในศตวรรษที่ 21 4


การใช้เ ช้ ทคโนโลยีดิจิทัล ทั เพื่อการบริหารจัด จั การ และการเรียนรู้ การเดินทาง... สู่คสู่ วามสำ เร็จ ร็ จุดเน้น น้ ที่ 3 ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 5


การบริหริารจัดจัการการนำ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัมาใช้พัช้ฒพันาการบริหริารจัดจัการและการเรียรีนรู้ ในโรงเรียน ด้วยกระบวนการ 6 ขั้นตอน ได้แก่ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำ เนินการ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมพัฒนา และร่วมรักษา การบริหารการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลในโรงเรียน ด้วย 8 ขั้นตอน ได้แด้ก่ การสร้าร้งความเข้าข้ใจในการเปลี่ย ลี่ นแปลง การวางแผนการเปลี่ย ลี่ นแปลง การสร้าร้ง ทีมงานการเปลี่ยนแปลง การสร้างวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง การดำ เนินงานตาม การเปลี่ยนแปลง การจุดพลังชัยชนะ การสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และ การสร้างความยั่งยืนในการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนวัดเมตารางค์ รูปแบบการบริหารจัดการ ด้านเทคโนโลยี MATARANG 6 ร่วม โรงเรียนวัดนาวง รปแบบการบริหาร การเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล GB-PAN MODEL วิสัยทัศน์ และนโยบายของผู้บริหาร ความร่วมมือของครู และบุคลากร การบริหารจัดการ และสนับสนุนด้านงบประมาณ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย การออกแบบในการจัดการเรียนการสอน ความร่วมมือของผู้เรียน นวัตกรรม ปัจจัยความสำ เร็จ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 การบริหารจัดการด้วยวิธีการเชิงระบบและควบคุมคุณภาพด้วยวงจรคุณภาพ PDCA โดยใช้แนวคิดการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ด้วยการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ ในการบริหารงาน 4 ฝ่ายในสถานศึกษา และการจัดการเรียนรู้สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำ นวณ) ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลเพื่อออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) 6


ขั้นตอนการพัฒนา ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 SWOT Analysis กำ หนดนโยบาย วิสัยทัศน์ บริหารจัดการงาน 4 ฝ่าย และหลักสูตรสถานศึกษา สร้างทีมและภาคีเครือข่าย ดำ เนินงานตามแผน การนิเทศภายใน PLC/ AAR ประเมินผล 360 องศา เผยแพร่นวัตกรรม สร้างความยั่งยืน 7


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียรีนคลองสอง(เสวตสมบูรบูณ์อุณ์ ปอุถัมถัภ์)ภ์ตั้ง ตั้ อยู่อำยู่ อำเภอคลองหลวง จังจัหวัดวัปทุมทุธานี เป็นป็ โรงเรียรีนประถมศึกศึษา ขนาดใหญ่ เปิดการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 บริเวณใกล้เคียงเป็นที่ตั้งของ วัดพระธรรมกาย ตลาดไท เป็นแหล่งชุมชนที่มีคนอาศัยอยู่หนาแน่น หลากหลายเชื้อชาติ หลากหลายอาชีพ แรงบันดาลใจในการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาการบริหารจัดการและการเรียนรู้ ผอ.ไพผกา ผิวดำ ผู้อำ นวยการโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) กล่าวถึงแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาโรงเรียนให้สามารถ นำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาการบริหารจัดการงานต่าง ๆ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนว่า “เทคโนโลยีและความเข้าใจด้านดิจิทัล เป็นสิ่งสำ คัญ ในการสนับนัสนุนนุการเรียรีนรู้ โรงเรียรีนคลองสอง (เสวตสมบูรบูณ์ อุปอุถัมถัภ์)ภ์นำ เทคโนโลยีมยีา support งานทั้ง ทั้ 4ด้าด้น ประกอบกับกั ครูมีรูคมีวามสามารถด้าด้นเทคโนโลยี และมีภมีาคีเคีครือรืข่าข่ย สวทช. สนับนัสนุนนุ” ผอ.ไพผกา ผิวดำ ผู้อำ นวยการโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับ ชั้น ชั้ ประถมศึกศึษาปีที่ปีที่6 มีกมีารบริหริารงานสถานศึกศึษาตามโครงสร้าร้งบริหริารงานงานโรงเรียรีน 4 ฝ่าฝ่ย ประกอบด้วด้ย ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงบประมาณ ด้านบริหารบุคคล และด้านบริหารงานทั่วไป มีการใช้ เทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัมาใช้ใช้นการบริหริารจัดจัการศึกศึษาแต่ยัต่งยัไม่คม่รอบคลุมลุทุกทุด้าด้น แต่มีต่งมีบประมาณในการสนับนัสนุนนุ การจัดซื้อ จัดหา สื่อและอุปกรณ์ดิจิทัล ด้านครูผู้สอน มีความพร้อมในการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การจัดการเรียนรู้ อีกทั้งโรงเรียนยังมีภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ พร้อมที่จะให้การสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ ทางโรงเรียนเห็นความสำ คัญและตระหนักว่าทักษะ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นทักษะพื้นฐานด้านดิจิทัลที่จำ เป็นต่อการนำ ไปพัฒนา ต่อยอดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถงานดิจิทัลในด้านอื่น ๆ เป็นทักษะสำ คัญที่ใช้ในการปฏิบัติงาน สื่อสาร และ ทำ งานร่วร่มกับกัคนอื่น อื่ ภายใต้แต้นวคิดคิที่ว่ ที่ าว่ “ทำ น้อน้ย ได้มด้าก” หรือรื “Work less but get more” จึงจึได้พัด้ฒพันา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ของโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โดยใช้ GB-PAN Model เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาและการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับ 8


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ โดยใช้ GB-PAN MODEL ของโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) ได้ศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล การจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี (วิทยาการคำ นวณ) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล และภาคีเครือข่าย ทั้งนี้กระบวนการดำ เนินการใช้วิธีการเชิงระบบ (System Approach) ประกอบด้วย Input - Process - Output - Feedback และทุกขั้นตอนควบคุม คุณภาพโดยวงจรคุณภาพ PDCA มีรายละเอียดดังนี้ G = (General Administration) ด้านการบริหารงานทั่วไป นำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการดำ เนินงานธุรการ และพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์งาน เกี่ยวกับ การศึกษาเพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เข้าถึงได้ง่ายและมีความหลากหลาย น่าสนใจ B = (Budget Management) ด้านการบริหารงบประมาณ จัดทำ ระบบข้อมูลสารสนเทศ ออนไลน์ ทั้งทางด้านบัญชี การเงินและพัสดุให้เป็นปัจจุบัน เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลได้ นำ มาซึ่งความโป่รงใส ในการปฏิบัติราชการ P = (Personnel Management) ด้านการบริหารบุคคล สร้างฐานข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ รวมไปถึงพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ A = (Academic Administration) ด้าด้นการบริหริารงานวิชวิาการ นำ สื่อ สื่ เทคโนโลยีสยีารสนเทศ มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ N = (Network partners) ด้านการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายร่วมพัฒนาการศึกษา ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล รูปแบบการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ “GB-PAN Model” 9


“ภาวะผู้นำ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการปั้นแต่งความรู้เป็นนโยบาย” ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ผอ.ไพผกา ผิวดำ กล่าวถึงความรู้ที่นำ มาใช้เพื่อดำ เนินงานพัฒนา การใช้เช้ทคโนโลยีดิยีจิดิทัจิลทัเพื่อ พื่ การบริหริารจัดจัการและการเรียรีนรู้ใรู้นโรงเรียรีนว่าว่ “สถานศึกษาในยุคดิจิทัลได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก การพัฒนาโรงเรียนให้ทันสมัย สามารถบริหริารจัดจัการได้อด้ย่าย่งมีคุมีณคุภาพในทุกทุ ๆด้าด้น ต้อต้งบูรบูณาการ ความรู้หรู้ลายส่วส่น ที่สำ ที่ สำคัญคัคือคืต้อต้งส่งส่เสริมริให้คห้รู ผู้เผู้รียรีน ผู้ปผู้กครอง และผู้เผู้กี่ย กี่ วข้อข้ง ให้สห้ามารถเข้าข้ถึงถึเทคโนโลยี ข้อข้มูลมูข่าข่วสาร สื่อ สื่ การเรียรีนรู้ และบริกริารของโรงเรียรีนให้ไห้ด้”ด้ “สำ หรับการบริหารงาน 4 ฝ่าย โรงเรียนนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารงานด้านวิชาการ คือ นำ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา ด้านการบริหาร งบประมาณ คือคืการจัดจัทำ ระบบข้อข้มูลมูสารสนเทศออนไลน์ ทั้ง ทั้ ทางด้าด้นบัญบัชี การเงินงิและพัสพัดุ ด้าด้นการบริหริาร บุคคล คือ การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศออนไลน์ เพื่อใช้ในการบรรจุ แต่งตั้ง และสรรหาบุคคลากรอย่างมี ประสิทสิธิภธิาพและเป็นป็ระบบ สามารถตรวจสอบได้ และพัฒพันาความรู้ครู้วามสามารถ ด้าด้นเทคโนโลยีสยีารสนเทศ ด้านการบริหารงานทั่วไป คือ นำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำ เนินงานธุรการ การประชาสัมพันธ์ ที่เข้าถึงได้ง่ายและมีความหลากหลาย น่าสนใจ” “ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนพัฒนาความรู้แก่ครูเกี่ยวกับการนำ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ในยุคดิจิทัลมาใช้ เช่น Massive Open Online Course (MOOCs) ที่ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดและ ความสนใจจากหลักสูตรที่หลากหลาย , Digital platform ที่ครูและนักเรียนติดต่อกันได้สะดวกขึ้นบนโลก ออนไลน์ , Mobile Learning เรียรีนรู้ผ่รู้าผ่นมือมืถือถืและแอปพลิเลิคชั่น ชั่ ช่วช่ยสำ หรับรัการเรียรีนการสอน เช่นช่ Plickers สำ หรับรัเช็คช็ชื่อ ชื่ Kahoot ให้นัห้กนัเรียรีนตอบคำ ถาม ช่วช่ยสร้าร้งบรรยากาศในห้อห้งเรียรีนให้สห้นุกนุสนาน ตื่น ตื่ เต้นต้น่าน่เรียรีน มากขึ้น ขึ้ หรือรืการใช้ Google Classroom ที่ช่ ที่ วช่ยครูแรูละนักนัเรียรีนได้มด้าก สามารถเรียรีนรู้ไรู้ด้ตด้ลอดเวลา” ผอ.ไพผกา ผิวดำ ปัญหาและการแก้ไข ครูยังขาดทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อการจัดการศึกษา ขอความร่วมมือเครือข่ายพัฒนา สวทช. มาจัดอบรมให้ความรู้แก่ครู และบุคลากร จัดตั้งงบประมาณด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในแผนปฏิบัติราชการเพิ่มเติม ปัญหา การแก้ไข ระดมทรัพยากรจากเครือข่ายร่วมพัฒนา เช่น สวทช. มอบอุปกรณ์ และสื่อการสอน ปัญหา การแก้ไข เมื่อพัฒนาพร้อมกันทั้งระบบทำ ให้ วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ งบประมาณไม่เพียงพอ 10


ครู ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผู้ทำ ให้ครูผู้สอนเกิดความตระหนัก เข้าใจเป้าหมายในการปรับเปลี่ยน และกระตุ้น ให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการนิเทศ กำ กับติดตามอย่างใกล้ชิด และประเมินผล พร้อมสนับสนุนและให้คำ แนะนำ ในกรณีที่มีอุปสรรค สนับสนุนงบประมาณเพื่อจัดซื้อสื่อ วัสดุ และอุปกรณ์ มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการจัดการเรียนการสอน และ พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ศึกษานิเทศก์ประจำ โรงเรียนมีการนิเทศ กำ กับติดตาม และให้คำ แนะแก่ครู ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ ผู้บริหารสถานศึกษา เครือข่ายร่วมพัฒนา สำ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้การสนับสนุน เกิดการสื่อสารที่รวดเร็ว ทันเวลา และเข้าถึงผู้ปกครองได้รวดเร็ว ผู้บริหารและครูได้รับองค์ความรู้ใหม่ในการบริหารสถานศึกษา และการจัดการเรียนรู้ นักเรียน มีทักษะการคิด ทักษะการวางแผนการทำ งาน และ นำ เสนอผลงาน ครู เกิดความภาคภูมิใจในการจัดการเรียนรู้ และสามารถสร้างนวัตกรรมได้ ความภาคภูมิใจ “ทุกภาคส่วนร่วมคิด ร่วมทำ เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ผอ.ไพผกา ผิวดำ และครูจิราพร จำ ปาเทศ กล่าวถึงความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้น จากการดำ เนินงานในครั้งนี้ว่า ผอ. เกิดความภาคภูมิใจในการบริหารงานสถานศึกษา ครู เกิดความภาคภูมิใจในการจัดการเรียนรู้ ผู้ปกครอง ให้การยอมรับ ให้ความร่วมมือกับครู และโรงเรียน โรงเรียน ทุกภาคส่วนร่วมคิด ร่วมทำ เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โรงเรียนได้รับการยอมรับจากชุมชน และผู้ปกครอง ส่งบุตรหลานเข้าเรียนเพิ่มขึ้น ผอ.ไพผกา ผิวดำ ครูจิราพร จำ ปาเทศ ครูโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) 11


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนวัดนาวง โรงเรียนวัดนาวง ตั้งอยู่อำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีวิสัยทัศน์ “นักเรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อเรียนรู้และดำ เนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” บริเวณโดยรอบโรงเรียน คือ วัดนาวง และแหล่งชุมชนที่มีคนอาศัยอยู่หนาแน่น “ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง และเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีดิจิทัลมีความสำ คัญต่อ การเรียนรู้ของนักเรียน ครู จึงมีบทบาทสำ คัญ ในการสร้างบรรยากาศให้เป็นชั้นเรียนดิจิทัล เพื่อให้นักเรียนสนุกกับการเรียนรู้ และเกิด การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน” แรงบันดาลใจในการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาการบริหารจัดการและการเรียนรู้ “...จากสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอนและข้อมูลจากจากการศึกษารายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (SAR) ของโรงเรียนวัดนาวง พบว่า ในด้านการจัดการเรียนการสอน สิ่งที่ควรพัฒนาคือ ครูควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีที่หลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน และฝึกให้นักเรียนได้วิเคราะห์ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้น ซึ่งหมายถึงว่าการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ยังไม่สามารถนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ มากพอ เช่น การจัดการเรียนการสอน ครูต้องไม่ใช้ Power Point หรือโปรแกรมนำ เสนอ งานอื่น ๆ แทนกระดานดำ เท่านั้น แต่ครูต้องสามารถเชื่อมโยงข้อมูลความรู้จากโลกภายนอกสู่ห้องเรียน โดยผ่าน Internet ได้ด้วย ก็จะทำ ให้นักเรียนสนุกกับการเรียนรู้มากขึ้น ทำ อย่างไรจึงจะทำ ให้ครูสามารถ เป็นผู้อำ นวยความสะดวกที่มีการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ทำ อย่างไรครูจึงจะสามารถ สร้างบรรยากาศชั้นเรียนให้เป็นชั้นเรียนดิจิทัล (Digital Classroom) ทำ อย่างไรครูจึงจะใช้นวัตกรรม จัดการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง ให้ผู้เรียนเป็นผู้ตั้งเป้าหมายในการเรียนรู้ของ ตนเอง มีกมีารประเมินมิตนเอง มีคมีวามคิดคิสร้าร้งสรรค์แค์ละนวัตวักรรม โดยรู้จัรู้กจัประยุกยุต์ใต์ช้คช้วามรู้ มีกมีารสื่อ สื่ สาร และการร่วมมือโดยใช้สภาพแวดล้อมและสื่อดิจิทัล มีความคล่องแคล่วในการศึกษาค้นคว้าผ่านสื่อดิจิทัล คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และตัดสินใจ โดยใช้สื่อดิจิทัลและแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีได้ อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โรงเรียนวัดนาวงได้นำ ข้อมูล ความรู้ที่เกี่ยวข้องมาสังเคราะห์หา ความสอดคล้องและเชื่อมโยงเพื่อกำ หนดรูปแบบ วิธีการที่นำ ไปสู่การเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ ในยุคดิจิทัลของโรงเรียนวัดนาวง” ว่าที่ร้อยตรีจิรัตน์ อยู่ยืน ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง ผอ.จิรัตน์ อยู่ยืน ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง กล่าวถึง แรงบันดาลใจในการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ พัฒนาการบริหารจัดการและการเรียนรู้ ว่า... 12


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน การเปลี่ยนแปลงโรงเรียนให้มีการพัฒนาวิชาชีพและความเป็นผู้นำ ในยุคดิจิทัล ครูจัดการเรียนรู้โดยใช้ นวัตกรรมและยึดผู้เรียนเป็นสำ คัญ ออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้เป็นแบบอย่างการทำ งานและการเรียนรู้ ในยุคยุดิจิดิทัจิลทัและพลเมือมืงดิจิดิทัจิลทัและใช้สื่ช้อ สื่ ดิจิดิทัจิลทัอย่าย่งปลอดภัยภัและถูกถูต้อต้งตามกฎหมาย คือคืจุดจุมุ่งมุ่ หมายสำ คัญคั ของการพัฒนาโรงเรียนวัดนาวง ด้วยรูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ซึ่งมี ขั้นตอนการดำ เนินงาน 8 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นการสร้างความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความตระหนักและสร้างความเข้าใจ อบรมเพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ในการใช้สื่อ เครื่องมือเทคโนโลยีในการสื่อสารที่ดี ขั้นที่ 2 ขั้นการวางแผนการเปลี่ยนแปลง วิเคราะห์สภาพแวดล้อม จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาสของสถานศึกษา กำ หนดนโยบาย จัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา สร้างแนวทางการพัฒนา วางแผนการดำ เนินงานร่วมกัน จัดทำ ข้อตกลงในการดำ เนินงาน เพื่อเปลี่ยนกรอบความคิดในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร จัดทำ หลักสูตร ออกแบบและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ขั้นที่ 3 ขั้นการสร้างทีมงานการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งที่ปรึกษาและคณะทำ งาน ขั้นที่ 4 ขั้นการสร้างวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง ประชุมวางแผนเพื่อกำ หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบาย มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผู้เรียนในยุคดิจิทัลของโรงเรียนอย่างชัดเจน ประกาศวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบายส่งเสริมการเรียนรู้ของสถานศึกษา มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ขั้นที่ 5 ขั้นการดำ เนินงานตามการเปลี่ยนแปลง ดำ เนินงานตามแผนโดยใช้ทักษะทางเทคโนโลยีและการใช้ดิจิทัลในการบริหารและการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครูสร้างและใช้นวัตกรรมดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 6 ขั้นการจุดพลังชัยชนะ มอบเกียรติบัตร รางวัลเมื่องานสำ เร็จ สร้างขวัญกำ ลังใจ โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการคัดสรรผลงานเพื่อมอบรางวัล และจัดทำ ประกาศเกียรติบัตรผ่านสื่อดิจิทัล ขั้นที่ 7 ขั้นการสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการดำ เนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนิเทศการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 8 ขั้นการสร้างความยั่งยืนในการเปลี่ยนแปลง สรุปผลและพัฒนาการเปลี่ยนแปลงให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง พร้อมสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลของโรงเรียนวัดนาวง 13


ผู้บริหาร สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการจัดการศึกษา พัฒนาไม่หยุดนิ่ง ครู มีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดการศึกษา นักนัเรียรีน มีคมีวามสนใจในการทำ กิจกิกรรม เรียรีนรู้อรู้ย่าย่งมีคมีวามสุขสุมีทัมีกทัษะการใช้เช้ทคโนโลยี และทักทัษะการสืบสืค้นค้ ผู้ปกครอง/ชุมชน ชื่นชม ยอมรับ ครูอริสา ลำ เลียงพล ครูโรงเรียนวัดนาวง กล่าวถึงปัจจัยความสำ เร็จ การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นและความภาคภูมิใจในทำ งานนี้ ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ รองฯ พิมพ์ทิพย์ ปัญญาบุญ รองผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง รองฯ พิมพ์ทิพย์ ปัญญาบุญ รองผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง กล่าวว่า การดำ เนินงานครั้งนี้ใช้ความรู้หลักที่สำ คัญ 3 ประการ คือ ปัญหาและการแก้ไข การบริหารการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล บทบาทของบุคคลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล หลักธรรมาภิบาล ขาดวัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่มีชำ รุด ขัดข้อง ประสานหน่วยงานภายนอก ขอรับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ ปัญหา การแก้ไข สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง มีการสร้าง ข้อตกลงในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ศักยภาพครอบครัวนักเรียน สังคม Social Media ส่งผลต่อสมาธิในการเรียนของนักเรียน ปัจจัยความสำ เร็จ ความร่วมมือจากภายในโรงเรียน ความร่วมมือจากองค์กรภายนอก ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ 14


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 โรงเรียนวัดเมตารางค์ โรงเรียนวัดเมตารางค์ ตั้งอยู่ที่อำ เภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้น ชั้ อนุบนุาลปีที่ปีที่2 ถึงถึชั้น ชั้ ประถมศึกศึษาปีที่ปีที่6 ตั้ง ตั้ อยู่ใยู่ นใกล้โล้รงไฟฟ้าฟ้เชียชีงรากน้อน้ย ชุมชุชนโดยรอบมีสมีภาพกึ่ง กึ่ ชนบท ผู้ปผู้กครองส่วส่นใหญ่ปญ่ระกอบอาชีพชีเกษตรกรรมและรับรัจ้าจ้ง แรงบันดาลใจในการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาการบริหารจัดการและการเรียนรู้ ผอ.สตกฤช วิชิตพันธ์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเมตารางค์ กล่าวถึงแรงบันดาลใจในการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนา การบริหารจัดการและการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก “ผมเป็นคนรักความสะดวกสบาย และจบเอกคอมพิวเตอร์ ธรรมชาติของเทคโนโลยีถูกสร้างและนำ มาใช้เพื่อตอบสนอง มนุษย์ด้านความสะดวกสบายของมนุษย์อยู่แล้ว อีกทั้งครู ในโรงเรียนขนาดเล็กภาระเยอะ ไม่ครบกลุ่มสาระการเรียนรู้ และไม่ครบชั้นเรียน ” ผอ.สตกฤช วิชิตพันธ์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเมตารางค์ “...ในฐานะผู้บริหารโรงเรียน ผอ.สนใจที่จะพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ “รูปแบบการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี METARANG 6 ร่วม”โดยนำ ทฤษฏีระบบ (Symtem Theory) ประยุกต์กับวงจรการควบคุมคุณภาพ PDCA ส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาช่วยในการจัดการเรียนรู้ ให้มีมาตรฐาน สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้หลากหลาย ส่งเสริมการร่วมมือของเครือข่ายผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการวางแผนพัฒนาหลักสูตร การกำ หนดเป้าหมายร่วมกัน ให้มีความท้าทาย สามารถปฏิบัติได้จริง ร่วมกัน จัดจัหาหรือรืระดมทรัพรัยากรที่เ ที่ ป็นป็ ปัจปัจัยจัที่สำ ที่ สำคัญคัต่อต่การจัดจัการเรียรีนการสอน ตามหลักลัการ 4 M (Man, Money, Materail, Management) ความพร้อมของปัจจัยทรัพยากรก็จะส่งผลให้ครูสามารถค้นหาแนวทางการจัด การเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม ครูสามารถนำ เทคโนโลยีมาจัดกระบวนเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ เช่น การจัด การเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม (New DLTV) ซึ่งครูสามารถดาวน์โหลดเอกสารการสอน รวมทั้งวีดิโอ การสอนมาใช้ไช้ด้ทั้ด้ง ทั้ ระบบ Online และ Offline การใช้แช้พลตฟอร์มร์จากอินอิเตอร์เร์น็ตน็ผ่าผ่นมือมืถือถืหรือรืคอมพิวพิเตอร์ ครูสามารถใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experientail Learning) การเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็นป็ฐาน (Project based Learning) การเรียรีนรู้โรู้ดยใช้กิช้จกิกรรมเป็นป็ฐาน (Activity based Learning) การเรียรีนรู้โรู้ดยใช้ปัช้ญปัหาเป็นป็ฐาน (Problem based Learning) เป็นป็ต้นต้ ให้คห้รูมีรูส่มีวส่นร่วร่มในการร่วร่มคิดคิร่วร่มวางแผน ร่วร่มดำ เนินนิการ ร่วร่มแก้ปัก้ญปัหา ร่วร่มพัฒพันา และร่วร่มรักรัษา เพื่อ พื่ ให้รห้ะบบการบริหริารจัดจัการของโรงเรียรีนมีมมีาตรฐาน มีปมีระสิทสิธิภธิาพ คุณคุภาพ และประสิทสิธิผธิลตามเป้าป้หมาย มีคมีวามน่าน่เชื่อ ชื่ ถือถืต่อต่ชุมชุชนและผู้ที่ผู้ มี ที่ ส่มีวส่นเกี่ย กี่ วข้อข้ง” “...จากการศึกษารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ของโรงเรียนวัดเมตารางค์ในปีการศึกษา ที่ผ่านมา พบว่าปัญหาสำ คัญที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ การขาดงบประมาณในการบริหริารจัดจัการที่เ ที่ พียพีงพอ ครูไรูม่คม่รบทุกทุกลุ่มลุ่ สาระการเรียรีนรู้ ครู 1 คนรับรัผิดผิชอบ การสอนมากว่าว่ 1 รายวิชวิา ทำ ให้ต้ห้อต้งสอนในรายวิชวิาที่ต ที่ นเองไม่ถม่นัดนัครูมีรูภมีาระและงานรับรัผิดผิชอบมากเกินกิไป เนื่องจากครูมีจำ นวนน้อย ภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายก็มีมากขึ้น ครู 1 คน รับผิดชอบงานหลายฝ่าย และ รับผิดชอบหลายโครงการ จึงทำ ให้ครูไม่สามารถจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ” 15


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 นวัตกรรมและขั้นตอนการดำ เนินงาน โรงเรียนวัดเมตารางค์ ออกแบบและพัฒนา“รูปแบบการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี METARANG 6 ร่วม” โดยวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหา (SWOT) บริบทของโรงเรียน ศึกษาทฤษฎีระบบ (System Theory) ทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation Theory) ทฤษฎีการเรียนรู้ และหลักการทรงงานของ ร.9 “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” โดยมีขั้นตอนการดำ เนินงาน 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นร่วมคิด (Motive Thinking) การร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อค้นหาเป้าหมาย และแรงจูงใจในการดำ เนินงานด้านการบริหารจัดเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของโรงเรียน ขั้นร่วมวางแผน (Environment Analysis) การร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และบริบทของสถานศึกษาเพื่อวางแผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี ขั้นร่วมดำ เนินการ (Technology Practices)การมีส่วนร่วมส่งเสริมให้ครูมีศักยภาพ ด้านการใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ขั้นร่วมแก้ปัญหา (Activity & Reflect) การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และร่วมกันวิเคราะห์สะท้อนผลถอดบทเรียน หาแนวทางแก้ปัญหาเพื่อให้ บรรลุตามเป้าหมาย ขั้นร่วมพัฒนา (Apply & Network) การสร้างเครือข่ายผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อร่วมกัน พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนให้ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ขั้นร่วมรักษา (Good Standard) การร่วมกันรักษาระบบบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีของ โรงเรียนให้มีมาตรฐานและความน่าเชื่อถือ โดยการใช้ SOP (Standard Operation Procedures) เพื่อกำ หนดมาตรฐานในการทำ งาน 16


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 ความรู้ที่นำ มาใช้ ปัญหาและการแก้ไข ปัจจัยความสำ เร็จ “ผมนำ เทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการในงานทั้ง 4 ฝ่าย โดยเลือกใช้แบบฟรี คือ Cloud Computing ของ Google ส่วนการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนครู ไม่ครบชั้น เราจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ทั้งแบบเรียนสดตามตารางการจัดการเรียนการสอน Online และ Offline โดย Download VDO การจัดการเรียนการสอน เก็บใน Hard Disk External (HDD) ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีระบบ Magnetic Storage” ผอ.สตกฤช วิชิวิตชิพันพัธ์ กล่าล่วถึงถึปัญปัหาที่เ ที่ กิดกิขี้น ขี้ กับกัการบริหริารจัดจัการในโรงเรียรีนชนาดเล็กล็ว่าว่เป็นป็เรื่อ รื่ งปกติธติรรมดา “ผมบริหริารบนความขาดแคลนครับรัเพราะโรงเรียรีนที่ผ ที่ มบริหริารเป็นป็ โรงเรียรีนขนาดเล็กล็ฉะนั้น นั้ งบประมาณก็ต้ก็อต้ง มีจำมีจำกัดกัเป็นป็ธรรมดา สิ่ง สิ่ ที่ผ ที่ มนำ มาใช้เช้วลาเกิดกิปัญปัหา คือคืศาสตร์พร์ระราชา เข้าข้ใจ เข้าข้ถึงถึพัฒพันา” การจัดวางระบบการบริหารจัดการที่มีรูปแบบชัดเจน เนื่องจากโรงเรียนเป็นสถานศึกษาขนาดเล็กมีครู และ บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนจำ นวนน้อย ต้องอาศัยการทำ งานที่มีการวางแผน การกำ หนด เป้าหมายที่ชัดเจน การบริหารจัดการบุคลากร การจัดการนำ สู่การปฏิบัติ เป็นกระบวนการทำ งานที่ ขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ การสื่อสารสร้างความเข้าใจอันดี ต่อความชัดเจนในการเสริมสร้างให้เกิดความร่วมมือจากบุคลากร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในฝ่ายบริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในรูปแบบการประชุม การรับฟัง ข้อเสนอแนะ การแสดงความคิดเห็น การกำ หนดภาระหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงานให้เกิดความชัดเจน เพื่อให้เกิดแรงหนุนและพลังการทำ งาน อย่างสร้างสรรค์ต่อกัน ฝ่ายบริหารมีภาวะผู้นำ และมีทัศนคติที่ดี และมีความเข้าใจในระบบการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยี เพื่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป็นอย่างดี การมีทัศนคติหรือมุมมองเชิงบวก วัฒนธรรมองค์กรร่วมกันที่จะสร้างสรรค์นวัตกรรมและร่วมกันกำ หนด มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) และลงมือปฏิบัติ ความร่วมมือ ร่วมใจ ของทุกฝ่ายทำ ให้เกิดจากการร่วมมือกันทำ กิจกรรมอย่างต่อเนื่องด้วยความสุข และความน่าเชื่อถือของชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้วยความเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีภาระงานมากเท่ากับโรงเรียนขนาดใหญ่ ทำ ให้การทำ งานต่าง ๆ ของ โรงเรียนวัดเมตารางค์ ต้องใช้พลังมากขึ้น ใช้เวลามากขึ้น ใช้ใจมากกว่าหนึ่งใจ ใช้มือมากกว่าสองมือ สิ่งที่ช่วยให้ โรงเรียนประสบความสำ เร็จได้ มี 3 คำ คือ ชัดเจน เป็นระบบ และร่วมมือ 17


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 “ถ้าในด้านบริหาร ผมคิดว่าต้อง 4 M บวกความร่วมมือ ซึ่งประกอบด้วย คน เงิน วัสดุ-อุปกรณ์ การบริหารจัดการ และความร่วมมือจากทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะ กองทุนการไฟฟ้าปทุมธานี เป็นความร่วมมือภายนอก ที่ได้รับการสนับสนุนเป็นพิเศษ” “ท่านผอ.เป็นหลักเลยครับ ถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนสำ เร็จยาก อีกอย่างคือความร่วมมือทั้งคนภายในโรงเรียนด้วยกันและ จากเครือข่ายภายนอก ที่สำ คัญขาดไม่ได้เลยคือ งบประมาณ และวัสดุ” ผอ.สตกฤช วิชิตพันธ์ ครูพัทธนนท์ บุญเลิศ ครูโรงเรียนวัดเมตารางค์ ผู้บริหารและครูได้รับความสะดวก และลดภาระเอกสาร ครูให้ความร่วมมือ ร่วมใจ พร้อมปรับเปลี่ยน นักเรียนเป็นคนเก่ง คนดี และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับดีมาก ชุมชน ให้ความเชื่อถือ เกิดความไว้วางใจ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ความภาคภูมิใจ ผอ.สตกฤช วิชิตพันธ์ และครูพัทธนนท์ บุญเลิศ ครูโรงเรียนวัดเมตารางค์ กล่าวถึงปัจจัยที่ช่วย สนับสนุนให้การดำ เนินการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาการบริหารจัดการและการเรียนรู้ในโรงเรียน ประสบความสำ เร็จว่า 18


ถอดบทเรียน 6 จุดเน้น สพป.ปทุมธานี เขต 1 คณะดำ เนินงาน ที่ปรึกรึษา นายกัมพล เจริญรักษ์ นายวิวัฒน์ สิรพัธน์โภคิน นางสาวสายใจ พุ่มถาวร นายธนกฤต แก้วนามไชย ผู้ร่ผู้ร่วมถอดบทเรียน 19 จุดเน้นที่ 3 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ เจ้าของบทเรียน โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) 1. นางไพผกา ผิวดำ ผู้อำ นวยการโรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) 2. นางสาวจิราพร จำ ปาเทศ ครู โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียนวัดนาวง 1. ว่าที่ร้อยตรีจิรัตน์ อยู่ยืน ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง 2. นางพิมพ์ทิพย์ ปัญญาบุญ รองผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดนาวง 3. นางอริสา ลำ เลียงพล ครู โรงเรียนวัดนาวง โรงเรียนวัดเมตารางค์ 1. นายสตกฤต วิชิตพันธ์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดเมตารางค์ 2. นายพัทธนนท์ บุญเลิศ ครู โรงเรียนวัดเมตารางค์ ผู้ถอดบทเรียน 1. นางสาวฉันทนา ภาสกานนท์ ผู้อำ นวยการโรงเรียนวัดสามัคคิยาราม 2. นางสาวชุติรัตน์ ประสงค์มณี ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ บรรณาธิการกิจ นางสุรัสวดี จันทรกุล ศึกษานิเทศก์ชำ นาญการพิเศษ ผู้อำ นวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 รองผู้อำ นวยการสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1


เอกสารลำ ดับที่ 4 / 2567 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธทุานี เขต 1 สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร BEST PRACTICE


Click to View FlipBook Version