The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี ศวพ พล 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kksenachai, 2021-10-24 22:56:47

รายงานประจำปี ศวพ พล 64

รายงานประจำปี ศวพ พล 64

คำนำ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดพิษณุโลก จัดทาข้ึน
เพื่อสรุปผลการดาเนินการของงาน/กลุ่มงาน ได้แก่ งานบริหารทั่วไป กลุ่มระบาดวิทยาและสารสนเทศ
กลุ่มชันสูตรโรคสัตว์ และกลุ่มตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ และผลการดาเนินงานตามระบบมาตรฐาน ISO /
IEC 17025: 2017 นอกจากนเ้ี พ่อื เปน็ การเผยแพรง่ านวจิ ัย ผลงานวชิ าการ การฝกึ อบรมของบุคลากรและกิจกรรม
ขององค์กร เช่น กิจกรรม ๕ส สถานท่ีทางานน่าอยู่น่าทางาน (Healthy workplace) การจัดการความรู้ (KM)
งานบรกิ ารสังคม เช่น การให้บริการดา้ นฝึกงานแกน่ ักศกึ ษา รวมถงึ การบรู ณาการร่วมกบั หน่วยงานอืน่ ๆ

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ข้อมูลจากรายงานประจาปี ๒๕๖๔ ฉบับน้ีจะเป็น
ประโยชน์ต่อท่านท่ีสนใจ และขอขอบคุณผู้ร่วมให้ข้อมูลทาให้การทารายงานประจาปี ๒๕๖๔ สาเร็จลุล่วงด้วยดี
มา ณ โอกาสนี้

คณะผจู้ ดั ทา
ตุลาคม ๒๕๖๔

สำรบัญ

วิสยั ทศั น์ – พนั ธกจิ ..............................................................................................................................................๑
โครงสรา้ งองค์กร...................................................................................................................................................๒
อัตรากาลัง ............................................................................................................................................................๓
งบประมาณ ปี ๒๕๖๔ ..........................................................................................................................................๔
ผลการดาเนนิ การกลุ่มระบาดวิทยาและสารสนเทศ...............................................................................................๕
ผลการดาเนินการกลุ่มชันสูตรโรคสตั ว์..................................................................ผดิ พลำด! ไมไ่ ดก้ ำหนดบุ๊กมำรก์
ผลการปฏิบัติงานกลุม่ ตรวจสอบคุณภาพสนิ คา้ ปศุสัตว์ ......................................................................................๑๘
งานวจิ ัยและผลงานวิชาการ ...............................................................................................................................๑๙
จลุ สาร ปงี บประมาณ ๒๕๖๔.............................................................................................................................๒๐
วทิ ยากรเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ...................................................................................................................๒๑
การฝึกอบรมของบคุ ลากร/ประชมุ .....................................................................................................................๒๒
ระบบคุณภาพของศูนย์วิจยั และพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนล่าง ...........................................................๒๓
การจดั การความรู้ (KM) ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง ................................................๒๗
นิทรรศการ.........................................................................................................................................................๒๘
การบูรณาการรว่ มกับหน่วยงานกรมปศุสตั ว์และหน่วยงานอืน่ ๆ.........................................................................๒๙
ภาพกิจกรรม......................................................................................................................................................๓๑
สถานทท่ี างานนา่ อยนู่ า่ ทางาน (Healthy workplace)......................................................................................๓๘
การดาเนินการกิจกรรม ๕ส................................................................................................................................๔๑

วิสยั ทศั น์ – พนั ธกจิ

วิสยั ทัศน์ของศนู ย์วจิ ยั และพัฒนำกำรสัตวแพทยภ์ ำคเหนือตอนลำ่ ง

ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง เปน็ องค์กรวชิ าชีพ ม่งุ เน้นการศึกษาวิจัย
การบรกิ ารชนั สูตรโรคสตั ว์ และตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศสุ ตั ว์

ด้วยมาตรฐานสากล และเปน็ ศูนย์กลางทางวชิ าการในพน้ื ท่ีภาคเหนอื ตอนล่าง

พนั ธกิจของศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นำกำรสตั วแพทย์ภำคเหนอื ตอนล่ำง

• ตรวจวินิจฉยั วิเคราะห์ ทดสอบและชันสตู รโรคสัตว์ในพื้นที่ ท่รี บั ผิดชอบ
• ตรวจสอบคณุ ภาพสินค้าปศสุ ัตว์และมาตรฐานสุขอนามัยส่ิงแวดลอ้ มในพืน้ ที่ทรี่ บั ผิดชอบ
• ศกึ ษา ค้นควา้ วจิ ยั เกี่ยวกบั สขุ ภาพสัตว์ มาตรฐานสินคา้ ปศสุ ตั ว์และสุขอนามยั ส่ิงแวดล้อมด้านการปศสุ ัตว์
• สารวจ เฝ้าระวงั สอบสวนภาวะโรคระบาด และติดตามผล เพื่อสนบั สนุนการตรวจวนิ จิ ฉยั

วเิ คราะห์ ทดสอบและชนั สตู รโรคสตั ว์
• อบรมเผยแพรว่ ิชาการรวมถึงใหค้ าแนะนาและแกป้ ัญหาสุขภาพสตั ว์
• วเิ คราะหแ์ ละรายงานภาวะโรคตา่ งๆ ในเขตพน้ื ท่ี ทีร่ ับผิดชอบ
• เปน็ ศูนยข์ อ้ มูลและเครอื ข่ายข้อมลู ดา้ นสขุ ภาพสตั ว์ประจาเขตภูมิภาค
• ปฏิบัติงานอื่น ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและงานตามนโยบายของรฐั แกไ้ ขปญั หาในพื้นทที่ ี่รับผิดชอบ
• ปฏบิ ัติงานรว่ มกับ หรอื สนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอนื่ ทีเ่ กย่ี วข้อง หรือท่ีไดร้ บั มอบหมาย

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วิจยั และพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๑

โครงสรา้ งองคก์ ร

ผอู้ านวยการศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการ
สัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง

งำนบรหิ ำรทั่วไป กลุ่มระบำดวทิ ยำและ
กลมุ่ ชนั สตู รโรคสตั ว์ สำรสนเทศ

กลุ่มตรวจสอบคุณภำพ
สนิ คำ้ ปศสุ ตั ว์

ห้องปฏบิ ตั กิ ำรพยำธิวิทยำ หอ้ งปฏิบัตกิ ำรจุลชีววิทยำ
และปรสติ วิทยำ หอ้ งปฏิบัติกำรตรวจคณุ ภำพน้ำนม

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ำรไวรสั วิทยำ

ห้องปฏบิ ตั กิ ำรแบคทเี รยี ห้องปฏบิ ัติกำรตรวจสำรเรง่ เน้ือแดง
และเชื้อรำวิทยำ
หอ้ งปฏบิ ัติกำรส่งิ แวดลอ้ ม
ห้องปฏบิ ตั ิกำรภูมิคมุ้ กนั วทิ ยำ กำรปศุสตั ว์

หอ้ งปฏิบตั กิ ำรชีวโมเลกุล ห้องปฏบิ ัติกำรตรวจวิเครำะห์
สำรตกคำ้ งในอำหำรสัตว์

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๒

อัตรำกำลัง

กรอบ/อัตรำกำลงั ชื่อตำแหน่งในกำรบรหิ ำรงำน/สำยงำน จำนวน

ข้ำรำชกำร ผอู้ านวยการศนู ยฯ์ ๖

นายสัตวแพทย์ ๒

นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ๗
๑๔
เจ้าพนกั งานธรุ การ ๒

ลกู จ้ำงประจำ ช่างไฟฟ้า ๑

พนักงำนรำชกำร นักวทิ ยาศาสตร์ ๑

นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๑

นกั วิชาการสัตวบาล ๑

นักจัดการงานทัว่ ไป ๓

นักวชิ าการสงิ่ แวดลอ้ ม ๒

นายช่างเทคนิค ๖๓

เจ้าพนักงานสัตวบาล

พนกั งานผูช้ ่วยสัตวบาล

พนักงานผชู้ ่วยปศสุ ัตว์

เจ้าหนา้ ที่หอ้ งทดลอง

พนักงานประจาห้องทดลอง

พนักงานห้องปฏบิ ัติการ

พนกั งำนจ้ำงเหมำ พนักงานทาความสะอาด

พนักงานรักษาความปลอดภัย

คนสวน

ชว่ ยงานสตั วแพทย์

รวม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๓

งบประมำณ ปี ๒๕๖๔

ประเภทงบรำยจ่ำย งบประมำณ (บำท)
งบบคุ ลำกร
งบดำเนนิ งำน (ค่ำตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ) ๙,๓๔๖,๖๖๙.๐๐
งบลงทุน (ค่ำครภุ ัณฑ)์ ๑๒,๔๑๙,๗๙๑.๐๐
งบดำเนนิ งำน (ประกนั สังคม) ๒,๖๑๘,๔๐๐.๐๐

รวมท้ังสิ้น ๓๐๐,๔๑๑.๐๐
๒๔,๖๘๕,๒๗๑.๐๐

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจัยและพฒั นาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง ๔

ผลกำรดำเนนิ กำรกลมุ่ ระบำดวทิ ยำและสำรสนเทศ

กลุ่มระบาดวิทยาและสารสนเทศ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ดาเนินการรับ
และจัดการตัวอย่างส่งตรวจกลุ่มชันสูตรโรคสัตว์ จากเกษตรกร ๓๗,๙๔๑ ราย จานวน ๒๓๐,๕๐๙ ตัวอย่าง
ส่งรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยจัดทาบันทึกข้อความรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จานวน ๔,๐๓๐ ฉบับ และขออนุมัติรถรับตัวอย่างทางรถประจาทาง ๑๓๒ ครั้ง (ภำพท่ี ๑) และมีการเขียนรายงาน
สถานการณโ์ รคสตั วท์ ่มี ีความสาคัญในพื้นท่ีภาคเหนือตอนล่าง (ตำรำงที่ ๑)

ด้านการบริการลูกค้า ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง มีการประเมินความพึงพอใจ
ของลูกค้าต่อการรับบริการ ด้านการชันสูตรโรคสัตว์และตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ เพื่อปรับปรุงคุณภาพ
และการบรกิ ารใหส้ อดคล้องกับความต้องการของลูกค้า โดยประเมนิ ทุก ๖ เดือน ผลการประเมนิ พบวา่ คร่งึ ปแี รก
มีผ้ตู อบแบบสอบถาม ๒๕๗ ราย ลกู ค้ามคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทสี่ ุดคิดเปน็ ร้อยละ ๙๓.๘๐ และคร่ึงปีหลัง
๒๘๑ ราย ลูกค้ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ ๙๔.๒๐ นอกจากน้ีผู้ตอบแบบสอบถาม
ได้ระบุข้อคิดเห็นเพ่ิมเติมว่า มีความพึงพอใจเจ้าหน้าที่กระตือรือร้นในการให้บริการ และให้คาแนะนาดี สุภาพ
ยม้ิ แยม้ แจ่มใส เป็นกันเอง

ภำพที่ ๑ จานวนเกษตรกร และจานวนตวั อยา่ งส่งตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ จานวนบนั ทึกข้อความรายงานผลการ
ตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการและการขออนมุ ตั ิรถรบั ส่งตวั อย่างทางรถประจาทาง ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๕

ตำรำงที่ ๑ ผลการดาเนนิ การกลมุ่ ระบาดวิทยาและสารสนเทศ ปงี บประมาณ ๒๕๖๔

ลำดบั กจิ กรรม/โครงกำร ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
12
1 รายงานการวเิ คราะห์พษิ สุนัขบ้า 1 1 111 1 1 1 1 111 48
12
2 รายงาน ASF 4 4 444 4 4 4 4 444

3 รายงานดแู ลสขุ ภาพสตั วใ์ นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๖

รายงานผลการดาเนนิ งานกลุม่ งานชนั สูตรโรคสัตว์

ในปีงบประมาณ 2564 มีตัวอย่างท่ีส่งตรวจเข้ามาในกลุ่มชันสูตรโรคสัตว์จานวนท้ังสิ้น 201,960
ตัวอย่างแบ่งเป็นตัวอย่างท่ีซีรั่ม 47,475 ตัวอย่าง เช้ือป้ายสาลี 34,357 ตัวอย่าง เลือดสด 72,542 ตัวอย่าง
ซากสตั ว์ 1,575 ตัวอยา่ ง น้านม 2,170 ตวั อย่าง อวยั วะสตั ว์ 671 ตัวอย่าง อจุ จาระสตั ว์ 174 ตัวอยา่ ง เลอื ด
ป้ายสไลด์ 7 ตัวอยา่ ง อื่นๆ (Surface swab) 42,768 ตัวอยา่ ง ดงั รปู ที่ ๒

รูปท่ี ๒ แสดงจานวนตัวอยา่ งทงั้ หมดทีเ่ ขา้ มาตรวจในปีงบประมาณ 2564 (1ตลุ าคม 2563-30 กันยายน
2564)

จานวนตัวอยา่ งเมื่อเปรียบเทยี บตามชนดิ สัตว์ในปีนจ้ี ะพบว่ามตี วั อยา่ งจากสุกรสง่ มาตรวจสูงสดุ เปน็ อันดับ
หน่ึง เป็นจานวนท้ังสิ้น 114,701 ตัวอย่าง รองลงมาจะเป็นตัวอย่างไก่มากที่สุด(ไก่เน้ือ,ไก่ไข่,ไก่พ้ืนเมือง)
39,507ตัวอย่าง แพะ 18,856 ตัวอย่าง โค 15,430 ตัวอย่าง เป็ด 7,570 ตัวอย่าง แกะ 2,840 ตัวอย่าง
กระบือ 989 ตัวอย่าง สัตว์เลี้ยง 790 ตัวอย่าง สัตว์ป่า 392 ตัวอย่าง นกธรรมชาติ 257 ตัวอย่าง นกกระทา
214 ตัวอยา่ ง มา้ 136 ตวั อยา่ ง สตั วท์ ดลอง 91 ตัวอย่าง ห่าน 83 ตวั อย่าง กวาง 72 ตวั อย่าง สตั วป์ ีกสวยงาม
14 ตัวอยา่ ง สัตวน์ ้า 8 ตัวอยา่ ง นกกระจอกเทศ 6 ตัวอยา่ ง อนื่ ๆ 4 ตัวอยา่ ง ดังรปู ท่ี ๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๗

รปู ท่ี ๓ แสดงจานวนตวั อยา่ งตามชนดิ สตั วใ์ นปีงบประมาณ 2564 (1 ตลุ าคม 2563-30 กนั ยายน 2564)

ผลการดาเนินงานของกลุ่มชันสูตรโรคสัตว์ในปีงบประมาณ 2564 มีจานวนตัวอย่างท่ีส่งมาตรวจท้ังส้ิน
188,233 ตัวอย่าง คิดเป็นผลการดาเนินงานร้อยละ 186% ตามตารางที่ ๒ โดยพบว่ามีตัวอย่างจากสุกรสง่ มา
ตรวจถึง 114,701 ตัวอย่าง โดยเฉพาะเลือด และ สวอปจากโรงฆ่าสุกรและสถานท่ีจาหน่ายเน้ือสุกร ตาม
มาตรการเฝ้าระวังและป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever ; ASF) ของกรมปศุสัตว์ ซึ่งใน
พ้นื ทีป่ ศุสัตวเ์ ขต6 เป็นพืน้ ทีเ่ ฝา้ ระวังโรคอหวิ าต์แอฟริกาในสุกร เนอ่ื งจากมพี ้ืนท่ีทตี่ ิดตอ่ กบั ชายแดนหลายจดุ เช่น
จุดผ่านแดนแม่สอด อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ติดชายแดนประเทศพม่าและจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ตาบลม่วงเจ็ด
ต้น อาเภอบ้านโคก จังหวดั อตุ รดิตถ์ ตดิ ชายแดนประเทศลาว

ตัวอย่างรองลงมาคือตัวอย่างจากสัตว์ปีก ซ่ึงในพื้นท่ีสานักงานปศุสัตว์เขต 6 ยังคงเป็นพ้ืนท่ีต้องเฝ้าระวงั
โรคไข้หวัดนกอย่างต่อเน่ือง เนื่องจากในพ้ืนที่สานักงานปศุสัตว์เขต 6 เคยเป็นพ้ืนที่ที่เคยเกิดโรคไข้หวัดนกในปี
พ.ศ. 2547 และมปี ระชากรสัตวป์ กี ในพ้ืนทเ่ี ป็นจานวนมาก ทงั้ ไก่เน้ือ ไก่ไข่ ไกพ่ ้ืนเมอื ง เปด็ เนื้อ เปด็ ไข่ไลท่ ่งุ และ
นกธรรมชาติ ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2563 ได้มีตัวแทนจากสหภาพยุโรปได้เดินทางมาประเมินการเฝ้าระวังโรค
ไข้หวดั นกในพน้ื ทสี่ านกั งานปศุสัตว์เขต 6 โดยมคี วามพงึ พอใจต่อมาตรการการป้องกันและเฝา้ ระวงั โรคในพื้นท่ี

ตัวอย่างอันดับท่ีสามท่ีเพ่ิมข้ึนมาในปีนี้ คือตัวอย่างจากโค ซ่ึงมีการตรวจพบโรคลัมปี สกิน (Lumpy skin
disease) ซ่ึงเป็นโรคอุบัติใหม่พื้นที่ครั้งแรกที่ จังหวัดตาก ซึ่งต่อมาได้มีการระบาดของโรคไปหลายจังหวัดใน
ภาคเหนือตอนล่างซึง่ ปจั จุบนั ยงั คงมีตวั อย่างส่งเข้ามาตรวจอยู่อยา่ งต่อเนื่อง

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๘

ตารางที่ ๒ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการของกลุ่มงานชันสูตรโรคสัตวป์ ีงบประมาณ 2564

ลาดับท่ี รหัส ชอื่ โครงการ เป้าหมาย ผลการ % ผลการ
โครงการ ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งาน

1 1001 ชันสูตรโรค 5,000 5,189 103.78%

2 1002 ชนั สูตรโรคพษิ สนุ ัขบ้า 200 9 4.50%

3 8001 โครงการเฝ้าระวังเชงิ รกุ เพื่อรับรองท้องถนิ่ 861 832 96.63%
ปลอดโรคพิษสุนัขบา้

4 8004 โครงการเฝ้าระวงั โรคไขห้ วดั นกเชงิ รุกแบบ 1,000 1,585 158.50%
บูรณาการของประเทศไทย_เป็ดไล่ทุ่ง

5 8005 โครงการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกเชิงรุกแบบ 100 76 76.00%
บูรณาการของประเทศไทย_โรงฆา่ สัตว์ปีก

6 8006 โครงการเฝ้าระวังโรคไขห้ วดั นกเชงิ รกุ แบบ 50 72 144.00%
บรู ณาการของประเทศไทย_ไก่ไข่ใน
พระราชดาริ

7 8008 โครงการเฝา้ ระวังโรคไขห้ วดั นกเชงิ รุกแบบ 2,400 2,674 111.42%
บรู ณาการของประเทศไทย_ฟารม์ ไก่ไข่
มาตรฐาน

8 8009 โครงการเฝา้ ระวงั โรคไข้หวดั นกเชงิ รกุ แบบ 200 195 97.50%
บรู ณาการของประเทศไทย_สตั ว์ปีกท่เี ลีย้ ง
ปล่อย(Backyard)

9 8011 โครงการรณรงคต์ รวจภูมิค้มุ กันโรคปากและเทา้ 300 435 145.00%
เปอ่ื ย

10 8014 โครงการสรา้ งสถานภาพการปลอดโรคโลหติ 100 68 68.00%
จางติดเชือ้ ในม้า(EIA)

11 8017 โครงการสารวจความชุกโรคบรเู ซลล่าและทู 3,600 6,611 183.64%
เบอร์คูโลซสิ ในโคนมและแพะแกะ

12 8018 การเฝา้ ระวงั ควบคมุ โรคไข้หวดั นกเป็ดไล่ทุง่ _ 500 900 180.00%
เก็บตวั อยา่ งกอ่ นการเคล่ือนย้าย

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๙

13 8019 การเฝ้าระวังควบคมุ โรคไข้หวดั นกเป็ดไล่ท่งุ _ 2,500 3,740 149.60%
เก็บตัวอยา่ งก่อนการข้นึ ทะเบียน

14 8020 กจิ กรรมเฝ้าระวังเชือ้ ซลั โมเนลล่าในฟารม์ ท่ี 234 222 94.87%

ได้รบั การรับรองการปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทด่ี ี

สาหรับฟาร์มสัตว์ปกี มาตรฐาน

15 8023 กิจกรรมการรบั รองสถานีเ่ ลี้ยงสัตว์ปกี พื้นเมือง/ 1,000 3,217 321.70%
ไกช่ น_เก็บตัวอยา่ งก่อนขึ้นทะเบียน

16 8024 กิจกรรมการรบั รองสถาน่ีเลยี้ งสัตว์ปีกพืน้ เมือง/ 10,000 16,446 164.46%
ไกช่ น_เกบ็ ตัวอยา่ งระหวา่ งการเลย้ี ง

17 8025 กิจกรรมควบคุมโรค(สาหรบั ฟารม์ ทเี่ กิดโรคบรู 650 962 148.00%
เซลล่าท่ีอยรู่ ะหวา่ งการควบคุมโรค)

18 8026 กิจกรรมทดสอบโรคบรเู ซลล่าเพอื่ การ 4,700 4,630 98.51%
เคล่ือนยา้ ย

19 8028 กิจกรรมรณรงคท์ ดสอบโรคบรูเซลลา่ 7,900 4,157 52.62%

20 8030 กิจกรรมรับรองสถานภาพฟาร์มปลอดบรเู ซลล่า 14,500 12,202 84.15%

21 8031 กิจกรรมรบั รองสถานภาพฟาร์มปลอดโรคปาก 5,000 5,315 106.30%
และเท้าเป่ือย (โคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ แกะ
สกุ ร)

22 8032 กจิ กรรมสารวจระดบั ภูมิคุ้มกันโรคในไก่ 500 765 153.00%
ภายหลังท่ีไดร้ ับวัคซนี ป้องกันโรคนวิ คาสเซลิ _
ไกใ่ นพ้ืนที่กนั ชนรอบฟาร์ม CPM

23 8035 กจิ กรรมสารวจระดับภูมิคุ้มกันโรคในไก่ 100 90 90.00%
ภายหลังทีไ่ ด้รับวัคซีนป้องกนั โรคนิวคาสเซิล_
ไก่พนั ธ(์ุ ฟาร์มมาตรฐาน)

24 8036 กิจกรรมสารวจระดับภมู ิค้มุ กันโรคในไก่ 2,400 2,115 88.13%

ภายหลงั ทไ่ี ด้รบั วคั ซีนป้องกันโรคนิวคาสเซลิ _

ไก่พน้ื เมือง

25 8037 ฟารม์ ไมไ่ ด้มาตรฐาน_เก็บตัวอย่างก่อนการ 500 291 58.20%
เคลือ่ นยา้ ย

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๑๐

26 8038 ฟารม์ ท่ีได้รบั รองมาตรฐานฟาร์ม_เกบ็ ตวั อย่าง 500 184 36.80%
ระหว่างการเลยี้ ง

27 8039 ฟาร์มคอมพาร์ตเมนต์_พื้นทกี่ ันชน_เก็บ 500 552 110.40%
ตัวอยา่ งระหวา่ งการเล้ยี ง

28 8040 ฟาร์มคอมพารต์ เมนต์_ฟาร์มปลอดโรค_เกบ็ 4,000 3,044 76.10%
ตวั อยา่ งระหว่างการเล้ียง

29 6020 โครงการเฝา้ ระวังโรคไขห้ วัดนกในนกธรรมชาติ 200 140 70.00%

30 8043 ฟาร์มมาตรฐาน_ เกบ็ ตวั อย่างระหว่างการเลยี้ ง 10,000 8,760 87.60%

31 8044 สัตว์ปีกเล้ียงปลอ่ ย_เกบ็ ตวั อย่างกอ่ นการ 500 540 108.00%
เคลื่อนยา้ ย

32 7002 โครงการเฝา้ ระวงั การใช้ยาและการดื้อยาในปศุ 141 183 129.79%
สตั ว์

33 2000 โครงการเฝ้าระวังโรคอหวิ าต์แอฟริกาในสกุ ร 20,000 101,134 505.67%
(ASF)

34 8047 โครงการเฝ้าระวงั โรคสัตว์ปกี เชกิ รกุ 500 786 157.20%

35 8048 โครงการเฝา้ ระวงั โรคสตั ว์ปีกเชิกรับ 500 112 22.40%

รวม 101,136 188,233 186.12%

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วจิ ยั และพฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๑๑

โรคสาคญั ทตี่ รวจพบในพื้นทปี่ ศุสัตวเ์ ขต 6 ในปีงบประมาณ 2564

โรคที่สาคัญที่ตรวจพบในสัตว์เค้ียวเอ้ือง ได้แก่ โค กระบือ ในปีงบประมาณ 2564 ในพ้ืนที่สานักงาน
ปศุสัตว์เขต 6 ได้มีการตรวจพบโรคลัมปี สกิน ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ในประเทศไทย คร้ังแรกเมื่อวันที่ 11
พฤษภาคม 2564 ในโคเนื้อของเกษตรกร ตาบลหนองบัวเหนือ อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก หลังจากการเกิด
โรคครงั้ แรกก็มีการระบาดไปในพน้ื ทจ่ี ังหวดั ใกลเ้ คยี ง ปัจจบุ นั มรี ายงานการเกดิ โรคลัมปี สกิน ในพ้นื ทีป่ ศสุ ตั ว์เขต
6 ท้ังสิ้น 2๘๔ คร้ัง โดย พบการเกิดโรคในโคเนื้อมากท่ีสุด รองลงมาคือโคนม และกระบือเนื้อ ตามรูปท่ี ๔
และ ๕

รูปท่ี ๔ แสดงจานวนครงั้ ของของการเกิดโรคลัมปี สกนิ แยกรายจังหวดั ในพ้นื ที่สานักงานปศุสตั วเ์ ขต 6

รปู ที่ ๕ แสดงรปู โคเน้ือและโคนมทีป่ ่วยเป็นโรคลัมปี สกนิ ๑๒
รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง

โรคอื่นท่ีตรวจพบในสัตว์เคี้ยวเอ้ืองได้แก่ โรคพยาธิเม็ดเลือด Anaplasmosis, Theileriosis และ
Trypanosomiasis ยังพบได้ในการเลี้ยงโคนมและโคเนื้อ ซึ่งในปีงบประมาณท่ีผ่านมาตรวจพบในพ้ืนที่ จังหวัด
เพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลกซึ่งมีการเลี้ยงโคเน้ือและโคนมหนาแน่น โรคไข้ขาหรือ Blackleg ยังคง
เป็นโรคท่ีพบในพ้ืนที่ได้ในพื้นที่ ซ่ึงเกิดจากเชื้อ Clostridium chauvoei ซ่ึงตรวจพบในโคเน้ือจานวน 1 ครั้งที่
อาเภอท่าปลา จังหวดั อุตรดิตถ์ โรคแท้งตดิ ตอ่ (Brucellosis) ยงั เปน็ โรคที่ตรวจพบในโคเนอื้ โคนมและ กระบือได้
จังหวัดท่ีตรวจพบ ได้แก่จังหวัดเพชรบูรณ์ กาแพงเพชร นครสวรรค์ พิษณุโลก ตาก สุโขทัย โรคปากและเท้าเปอื่ ย
ยงั คงพบในพ้ืนที่ปศสุ ตั ว์เขต 6 ซ่ึงพบโรคปากและเทา้ เปื่อยท่ไี ม่สามารถระบุ Type ได้พบในจงั หวดั พิจติ ร จานวน
2 ครง้ั

โรคทส่ี าคญั ทีต่ รวจพบในสัตว์เค้ยี วเอ้อื งขนาดเล็ก ได้แก่ แพะ แกะ โรคทพี่ บมากทีส่ ดุ ยังคงเป็นโรค
แทง้ ตดิ ตอ่ (Brucellosis) พบในจังหวดั เพชรบรู ณ์ กาแพงเพชร นครสวรรค์ พจิ ติ ร พษิ ณโุ ลก อุทยั ธานี โรคมงคล่อ
เทียม (Melioidosis) ยังเป็นโรคท่ีพบในแพะเน้ือ จังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ อุตรดิตถ์ ตามรูปท่ี ๖ ท้ังน้ียังพบ
โรคข้ออักเสบและสมองอักเสบในแพะ ( Caprine arthritis encephalitis) จานวน 1 คร้ัง ท่ีจังหวัดพิจิตร ตาม
รูปท่ี ๗

รูปที่ ๖ แสดงปอดแพะเนื้อ อายุ 1 ปี เพศเมีย จ. เพชรบูรณ์ พบก้อนหนองขนาด 2 เซนติเมตร ผล
จากการเก็บตัวอย่างไปเพาะเชื้อพบเช้ือแบคทีเรียชนิด Burkholderia pseudomallei จากตัวอย่างตับ ปอด ไต
และมา้ ม

รูปท่ี ๗ แสดงภาพสมองของแพะที่ติดเชื้อโรคข้ออักเสบและสมองอักเสบในแพะ ( Caprine arthritis
encephalitis)

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการสตั วแพทย์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๑๓

โรคท่ีสาคัญที่ตรวจพบในสุกร ในปีงบประมาณ 2564 มีจานวนตัวอย่างจากสุกรมากท่ีสุดมีจานวน
ตัวอย่างที่ส่งมาตรวจทั้งสิ้น 114,701 ตัวอย่างซ่ึงมาจากมาตรการในป้องกันและเฝ้าระวังโรคอหิวาต์แอฟริกาใน
สุกร (African swine fever) ของกรมปศุสัตว์ส่วนโรคสุกรท่ีตรวจพบในปีนี้ ได้แก่ โรคอหิวาต์สุกร (Classical
swine fever) พบท่ีจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดกาแพงเพชร จังหวัดสุโขทัยและจังหวัดอุตรดิตถ์ โรคพีอาร์อาร์เอส
(Porcine reproductive and respiratory syndrome ; PRRS) พบในจังหวัดเพชรบูรณ์ กาแพงเพชร ตาก
พิษณโุ ลก อตุ รดติ ถ์ สุโขทยั อทุ ยั ธานี และโรคไฟลามท่งุ (Swine erysipelas) ตามรูปที่ ๘

รูปที่ ๘ แสดงภาพภาพรอยโรคทผี่ วิ หนังและปอดสุกรที่ตดิ เชอื้ Erysipelothrix rhusiopathiae
โรคทีต่ รวจพบในสัตว์ปีก เช่น ไกเ่ นอ้ื ไก่ไข่ ไก่พ้ืนเมอื ง ในปีงบประมาณ 2564 มีรายการตรวจพบโรค
ในสัตว์ปีกที่สาคัญได้แก่ โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ (Infectious bronchitis) ในไก่พื้นเมือง ท่ีอาเภอแม่ระมาด
จังหวัดตาก โรคติดเช้ือมัยโคพลาสม่า (Avian mycoplasmosis) ตามรูปท่ี ๙ ตรวจพบในเป็ดไข่ อาเภอพิชัย ท่ี
จงั หวัดอตุ รดิตถ์ โรคอหิวาตเ์ ป็ดไก่ ตรวจพบในไก่พ้นื เมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ตามรูปท่ี ๑๐

รูปที่ ๙ แสดงภาพเป็ดไข่ที่ติดเช้ือมัยโคพลาสม่า รูปท่ี ๑๐ แสดงภาพจุดเน้ือตายสีขาวในตับจากไก่
(Avian mycoplasmosis) พบแผ่นหนองกระจายทั่ว พน้ื เมืองทตี่ ดิ เชื้อโรคอหิวาตใ์ นเปด็ ไก่ (Fowl cholera)
ช่องอก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๑๔

โรคที่สาคัญในสัตว์เล้ียง ได้แก่ สุนัขและแมว ในปีงบประมาณที่ 2564 โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) ยังคง
เป็นโรคท่ีพบในพ้ืนที่ มีรายงานการเกิดโรคในพื้นที่จานวน 2 ครั้ง ท่ีตาบลบ้านโคก อาเภอบ้านโคก จังหวัด
อุตรดิตถ์ ตามรูปที่ ๑๑ และ ๑๒

รูปท่ี ๑๑ แสดงภาพการตรวจด้วยวธิ ี Direct Fluorescence antibody Assay ท่ีให้ผลบวกตอ่ โรคพิษสุนขั

รูปท่ี ๑๒ แผนทแ่ี สดงการระบาดของโรคพิษสนุ ัขบา้ ในพื้นท่ีปศุสัตว์เขต ๖

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนล่าง ๑๕

โรคท่ีสาคัญท่ีตรวจพบในม้า ในปีงบประมาณ 2564 มีรายงานการเกิดโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้า
(African horse sickness) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ในประเทศไทยซึ่งมีพาหะนาโรคคือแมลงดูดเลือด ซ่ึงมีม้าลาย
เป็น reservoir การระบาดคร้ังแรกในประเทศที่จังหวัดนครราชสีมาในช่วงเดือนมีนาคม 2563 และมีการระบาด
ไปในหลายจังหวัด เช่น จังหวัดเพชรบรุ ี ประจวบคีรีขันธ์ และในอีกหลายจงั หวดั ตามมา ในพื้นท่ีสานักงานปศุสัตว์
เขต 6 มีพ้ืนท่ีที่มีการเลี้ยงมีพื้นที่ท่ีมีการเลี้ยงม้าลายคือสวนสัตว์สนามบินสโุ ขทัย ซ่ึงในพ้ืนท่ีสานักงานปศุสัตว์เขต
6 ไดม้ ีการตัวอย่างเลือดม้าและม้าลายส่งมาตรวจปจั จุบนั ยังไม่มรี ายงานการพบโรคกาฬโรคแอฟริกาในม้าในพ้ืนที่
สานักงานปศุสตั วเ์ ขต 6

โรคอื่นๆ ที่มีการตรวจพบในม้าคือ โรคเซอร่าในม้า (Trypanosomiasis) พบในพ้ืนที่อาเภอพิชัย จังหวัด
อุตรดิตถ์ และโรคโลหิตจางติดเช้ือในม้า (Equine infectious anemia) ตรวจพบที่อาเภอโกรกพระ จังหวัด
นครสวรรค์

ในส่วนโรคอ่ืนๆท่ีมีการตรวจในปีงบประมาณ 2564 ได้แก่ โรคซัลโมเนลโลซิส ในนกพิราบ ท่ีอาเภอน้า
ปาด จังหวดั อตุ รดติ ถ์ ซึง่ จะมีสรปุ โรคสาคญั ท่ีตรวจพบในพ้นื ที่เขตภาคเหนอื ตอนลา่ งในปีงบประมาณ 2564

ตามตารางท่ี ๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ๑๖

ตารางที่ ๓ สรุปโรคสาคญั ทต่ี รวจพบในพ้นื ท่เี ขตภาคเหนือตอนล่าง ในปีงบประมาณ 2564

โรคทต่ี รวจพบ กำแพงเพชร ตำก นครสวรรค์ พิจติ ร พิษณุโลก เพชรบรู ณ์ สโุ ขทัย อตุ รดติ ถ์ อทุ ัยธำนี รวม

Brucellosis 16 12 31 10 3 14 16 3 7 112

Classical swine fever 3 0 1 0 0 0 64 33 0 101

Lumpy skin disease 30 24 8 4 17 96 60 20 25 284

Porcine respiratory and reproductive syndrome 45 17 0 1 54 91 3 1 69 281

Salmonellosis 2 000000103

Haemorrhagic septicemia 0 101100003

Infectious Bronchitis 1 000000001

Theileriosis 0 100214008

Anaplasmosis 1 000011003

Equine infectious anemia 1 000000001

Lice infestation 1 000000001

Melioidosis 0 030200106

Trypanosomosis 0 010300105

Caprine arthritis encephalitis 0 001000001

Foot and mouth disease (unidentified type) 0 0 0 5 0 0 0 0 0 5

Foot and mouth disease (type 0) 0 100000001

Coccidiosis 0 000101013

Erysipelas 0 000010001

Trichinosis 0 000010001

Mastitis 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1

Streptococcosis 0 000001001

Avian Mycoplasmosis 0 000000101

Blackleg 0 000000101

Fowl cholera 0 000000101

Rabies 0 0 0 0 0 0 0 2 0 2

รวม 100 56 44 22 83 205 151 65 102 828

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๑๗

ผลกำรปฏบิ ัติงำนกลมุ่ ตรวจสอบคณุ ภำพสนิ คำ้ ปศุสัตว์

มีตัวอย่างส่งตรวจทั้งหมด ๑๐,๖๗๒ ตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นการตรวจสอบคุณภาพน้านมดิบจากฟาร์มและ
ศูนย์รวมนม และตัวอย่างปัสสาวะ เพ่ือส่งตรวจโครงการแก้ไขปัญหาการใช้สารเร่งเนื้อแดงในสุกร ซ่ึงผลการ
ดาเนนิ การส่วนใหญ่ได้ตามเป้าหมายทก่ี าหนด (ตำรำงที่ ๔)

ตำรำงท่ี ๔ ผลการดาเนินการของกลุม่ ตรวจสอบคณุ ภาพสินค้าปศุสตั ว์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

กจิ กรรม เป้ำหมำย จำนวนตัวอย่ำง ร้อยละ
๑๕๙ ๑๕๙ ๑๐๐.๐๐
เนือ้ สตั วป์ ลอดภัย ใสใ่ จผ้บู ริโภค (ปศสุ ัตว์ Ok) ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๐๐.๖๖
ไขส่ ดปลอดภัย ใสใ่ จผบู้ รโิ ภค (ไข่ OK) ๓,๕๗๐ ๔,๖๖๐ ๑๓๐.๕๓
แก้ไขปญั หาการใช้สารเร่งเน้อื แดง ๔,๐๐๐ ๔,๒๐๕ ๑๐๕.๑๓
ตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพนา้ นมดิบ ๕๑๐ ๒๐๔ ๔๐.๐๐
ตรวจสอบรับรองมาตรฐานฟารม์ ๓๒๖ ๓๒๔ ๙๙.๓๙
ควบคมุ ป้องกนั และแก้ไขปญั หาเชอ้ื ดื้อยาในสตั ว์ ๘๓๐ ๘๒๘ ๙๙.๗๖
ตรวจสอบและออกใบอนุญาตโรงฆ่าสตั วภ์ ายในประเทศ ๓๖ ๓๖ ๑๐๐.๐๐
โครงการ “ฟารม์ เล้ียงไกไ่ ขป่ ลอดการใช้ยาปฏิชวี นะในพืน้ ท่ี
ภาคเหนอื ตอนบนและภาคเหนือตอนลา่ ง” ๒๐ ๒๐ ๑๐๐.๐๐
สิง่ แวดลอ้ ม ๒๘ ๒๘ ๑๐๐.๐๐
ฟาร์มรกั ษส์ ิง่ แวดล้อม ๑๒ ๑๒ ๑๐๐.๐๐
กิจกรรมโครงการสง่ เสริมและพฒั นาระบบบาบดั นา้ เสียดา้ นการ
ปศสุ ัตว์ ๓๑ ๓๑ ๑๐๐.๐๐
โครงการ การเล้ยี งสัตวป์ ลอดการใช้ยาปฏิชวี นะในระบบการผลติ
ปศุสตั ว์ (ปีงบ ๖๒ โครงการเหลื่อมปงี บประมาณ) ๓๐ ๑๒ ๔๐.๐๐
โครงการ การเลี้ยงสัตว์ปลอดการใชย้ าปฏชิ ีวนะในระบบการผลิต
ปศุสตั ว์ (ปงี บ ๖๓ โครงการเหลื่อมปีงบประมาณ) รอบตรวจ ๙,๗๐๔ ๑๐,๖๗๒ ๑๐๙.๙๘
ตดิ ตาม

รวม

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนล่าง ๑๘

ผลกำรปฏิบัตงิ ำนกลมุ่ ตรวจสอบคณุ ภำพสินคำ้ ปศุสตั ว์

มีตัวอย่างส่งตรวจท้ังหมด 9,335 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๙.๑๙ (9,335/๘๕๔๙) รายละเอียดดัง
ตารางที่ ๔

ตำรำงท่ี ๔ ผลการดาเนนิ การของกล่มุ ตรวจสอบคุณภาพสนิ ค้าปศสุ ัตว์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

กิจกรรม หน่วยนบั เปา้ หมาย ผลดาเนนิ งาน รอ้ ยละ
ตัวอยา่ ง 8,549.00 9,335.00 109.19
จานวนตวั อย่างที่ได้รบั การตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพ
สินค้าปศสุ ัตว์

ตรวจรบั รองมาตรฐานฟาร์ม ตวั อย่าง 436.00 402.00 92.20
พฒั นาห้องปฏิบัติการและตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพ ตวั อย่าง 4,000.00 2,508.00 62.70
สินค้าปศุสตั ว์
แก้ไขปัญหาการใชส้ ารเร่งเนอื้ แดง ตวั อยา่ ง 2,730.00 5,045.00 184.80
พฒั นาส่งิ แวดล้อม ตัวอย่าง 72.00 72.00 100.00
ควบคมุ ป้องกันและแกไ้ ขปญั หาเช้ือดอ้ื ยาในสตั ว์ ตวั อย่าง 508.00 509.00 100.20
ไข่สดปลอดภยั ใส่ใจผู้บรโิ ภค (ไข่ OK) ตัวอยา่ ง 226.00 226.00 100.00
ตรวจสอบและออกใบอนญาตโรงฆ่าภายในประเทศ ตัวอยา่ ง 418.00 414.00 99.04
เนื้อสตั วป์ ลอดภัย ใส่ใจผู้บรโิ ภค (ปศุสัตว์ OK) ตวั อย่าง 159.00 159.00 100.00

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๑๙

งำนวิจัยและผลงำนวิชำกำร

ช่อื ผลงำน ผ้จู ัดทำ ปที ตี่ ีพิมพ/์ แหลง่ ที่ตีพิมพ์
รอยพิมพ์ มะพงษ์เพ็ง
โรคของเช้ือ เผยแพร่ในจุลสารศูนย์วิจยั และพฒั นาการ
Trueperella pyogenes สัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ปที ี่ ๑๘
ฉบบั ท่ี ๖๔ (เมษายน-กนั ยายน ๒๕๖๔)

จลุ สำร ปงี บประมำณ ๒๕๖๔

วันที่ดำเนนิ กำร จุลสำรศนู ย์วจิ ัยและพฒั นำกำรสตั วแพทยภ์ ำคเหนอื ตอนล่ำง
มีนาคม ๒๕๖๔ ปที ี่ ๑๘ ฉบบั ท่ี ๖๓ (ต.ค. ๖๓ – มี.ค. ๖๔)
กันยายน ๒๕๖๔ ปที ี่ ๑๘ ฉบบั ท่ี ๖๔ (เม.ย. – ก.ย. ๖๔)

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจยั และพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๒๐

วิทยำกรเผยแพร่ควำมรูท้ ำงวชิ ำกำร

งานเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ/ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้
ทางวิชาการและดา้ นอนื่ ๆ ท้งั หมด ๑ คร้งั ดังน้ี

วันท่ดี ำเนินกำร หน่วยงำนท่ขี อใช้ จำนวนผขู้ อ รำยละเอยี ด (ถำ้ มี)
บรกิ ำร ใชบ้ ริกำร
๒๖ คน คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
๕ เมษายน ๒๕๖๔ คณะวทิ ยาศาสตร์ ขอศึกษาดงู านและจัดการเรียนการสอน ให้กบั
นกั ศึกษาทนุ พสวท บรรยายในหัวข้อ
มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 1. เกบ็ และการสง่ ตัวอยา่ งทางห้องปฏบิ ตั กิ าร
2. ระบบคณุ ภาพทางห้องปฏิบัติการของ

ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือ
ตอนล่าง
และเยี่ยมชมห้องปฏิบตั ิการ ณ ศนู ยว์ จิ ัยและ
พฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง
วิทยำกร : น.สพ. สืบชาติ สจั จวาทิต

สพ.ญ. กมลทพิ ย์ เสนาชัย
น.สพ. ดสิ ภรณ์ อรรถาเวช
นายประสิทธ์ิ วานชิ สวสั ด์วิ ิชัย
นางนงลกั ษณ์ แสงแก้ว
นางสาวโยธกานต์ สงิ ห์วงค์

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง ๒๑

กำรฝกึ อบรมของบุคลำกร/ประชมุ

วนั ท่ี ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ศนุ ย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ร่วมกับ บ. ยนี พลัส จากัด
จดั ฝกึ อบรมเรอ่ื งการใช้งานเคร่ือง Real-time PCR และหลกั การของวธิ ี Real-time PCR ให้กับเจ้าหนา้ ท่ศี ูนย์วจิ ัย
และพัฒนาการสัตว แพทย์ภาคเหนือตอนล่าง เพื่อเพ่ิมทักษะและเตรียมคว ามพร้อมบุคลากร
ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในการตรวจชนั สตู รโรคสัตว์

วันที่ 23 มิถุนายน 2564 ผู้อานวยการภาคเหนือนตอนล่าง ถ่ายทอดความรู้และสาธิตเทคนิคพื้นฐานการ
ฉีดเช้ือไวรัสเข้าไข่ฟัก ให้แก่ นายสัตวแพทย์ นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการไวรัส เพื่อ
ประโยชน์ในการตรวจชันสตรู โรคสตั ว์ทางห้องปฏบิ ตั ิการ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ๒๒

วันที่ 4 สิงหาคม 2564 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง จัดฝึกอบรมหลักสูตร
การประยุกต์ใช้โปรแกรมภูมิสารสนเทศ (Quantum GIS) เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพงานด้านสัตวแพทย์ โดยได้รับ
เกียรติจากคุณบรรพต คาสี กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการปศุสัตว์ สานักงานปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก
ร่วมบรรยายและแลกเปลีย่ นเรยี นรูใ้ หก้ บั เจ้าหน้าทกี่ ลมุ่ งานระบาดวิทยาและสารสนเทศและผ้สู นใจ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๒๓

ระบบคุณภำพของศูนย์วจิ ัยและพัฒนำกำรสตั วแพทยภ์ ำคเหนอื ตอนล่ำง

กรมปศุสัตว์ ได้มีนโยบายให้ห้องปฏิบัติการในหน่วยงานได้พัฒนาองค์กรเข้าสู่มาตรฐานสากลตามระบบ
คุณภาพ ISO/IEC 17025:1999 ในปี ๒๕๔๘ ตามโครงการจัดตั้งเครือข่ายห้องปฏิบัติการสินค้าเกษตรและอาหาร
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง สามารถย่ืนขอการ
รบั รองได้เป็นหน่วยงานแรกของกรมปศุสตั ว์ เม่อื วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ และได้รบั การรับรองความสามารถ
ห้องปฏิบัติการตาม มาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2005 จากสานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (สม ป.)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ ต่อมาได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025:
2005 เพ่ิมเติมจากสานักบริหารและรับรองห้องปฏิบัติการ (บร.) กรมวิทยาศาสตร์บริการ เมื่อวันที่ ๙ กันยายน
๒๕๕๔ ต่อมาได้ขอการรับรองระบบบริหารคุณภาพในการให้บริการของงานบริหารทั่วไปและได้รับการรับรอง
ตามมาตรฐาน ISO 9001: 2008 จากสานักรบั รองระบบคุณภาพ (สรร.) สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๕๔ ต่อมาห้องปฏิบัติการได้ดาเนินการปรับปรุงระบบคุณภาพใน
องคก์ รให้เหมาะสมตามบริบทขององค์กร โดยคานงึ ถึงความจาเป็นและความคุ้มค่าของทรัพยากรและงบประมาณ
จึงได้รักษาสถานภาพการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2005 ที่ได้รับการรับรองจากสานักมาตรฐาน
ห้องปฏิบัติการ (สมป.) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไว้เพียงหน่วยรับรองเดียว ซ่ึงเป็นภารกิจหลักที่สาคัญของ
องค์กรและห้องปฏิบัติการได้ผ่านการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025: 2017 จากสานัก
มาตรฐานห้องปฏบิ ตั กิ าร (สมป.) เมอื่ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โดยมขี อบขา่ ยหรือวธิ ีทดสอบท่ไี ดร้ บั การรับรอง
จานวน ๑๒ ขอบข่าย ดงั น้ี
๑. การตรวจเชอ้ื ไวรัสพิษสนุ ขั บ้าในสมองสตั วเ์ ล้ียงลกู ด้วยนมโดยวิธี Direct Fluorescent Antibody (DFA)
๒. การตรวจหาแอนตบิ อดตี ่อเชือ้ Brucella abortus ในซีรั่มโค โดยวิธี Rose Bengal Test (RBT)
๓. การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ในเน้ือสตั ว์และอาหารสัตว์ โดยวธิ ีเพาะแยกเชื้อ
๔. การตรวจหาแอนติบอดีต่อเช้ือไวรัสไข้หวัดนก ชนิด H๕ ในซีรั่มไก่ โดยวิธี Hemagglutination Inhibition

(HI-Test)
๕. การตรวจเชอ้ื ไวรสั ไข้หวัดนกและนิวคาสเซลิ จากสตั วป์ กี โดยวิธีแยกเช้อื ในไข่ไกฟ่ ักและพสิ จู นเ์ ช้ือด้วยวิธี HA-HI

๖. การตรวจเช้ือไวรสั ไขห้ วดั นกและนวิ คาสเซิลจากสตั วป์ ีก โดยวิธีแยกเช้ือในเซลล์เพาะเล้ียงและพิสจู นเ์ ชือ้ ดว้ ยวิธี

HA-HI

๗. การตรวจหาเชอ้ื ซลั โมเนลลา (Salmonella spp.) ในมูลไก่ โดยวิธเี พาะแยกเชอื้

๘. การตรวจหาระดับแอนตบิ อดีต่อไวรัสโรคปากและเท้าเป่ือยในซีรั่มสตั ว์ โดยวิธี Liquid phase blocking

ELISA (LP ELISA)

๙. การตรวจหาระดบั แอนติบอดตี ่อเชื้อ Brucella abortus ในซรี ่ัมสตั ว์ โดยวิธี Complement Fixation Test

(CFT)

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๒๔

๑๐. การตรวจหาสารตกคา้ งกลุม่ เบตา้ -อะโกนิสต์ (-AGONIST) ในปัสสาวะ โดยวิธี ELISA

๑๑. การตรวจหาแอนตบิ อดตี ่อ ๓ABC non-structural proteins ของไวรสั โรคปากและเท้าเป่อื ยโดยวธิ ี

Blocking ELISA

๑๒. การตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ Equine infectious anemia virus (EIAV) ในซีรั่มม้า โดยวิธี Agar gel
immunodiffusion (AGID) Test
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กรมปศุสัตว์ได้มีนโยบายให้ห้องปฏิบัติการยื่นขยายขอบข่ายการรับรองของโรค

ไข้หวัดนกและโรคนวิ คาสเซลิ เพิ่มเติม ตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจประเมินจากสหภาพยุโรป (EU) ห้องปฏิบตั ิการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง จึงได้ยื่นขอขยายขอบข่ายการรับรองเพิ่มเติม และมี
ขอบข่ายใหมท่ ่ีผ่านการรับรอง จานวน ๕ ขอบขา่ ย ดงั นี้
๑. การตรวจเชื้อไวรัสไขห้ วัดใหญช่ นิด A และชนดิ ย่อย H๕ H๗ H๙ ในตวั อย่างสัตวป์ ีก โดยวธิ ี Real-time RT-PCR
๒. การตรวจเช้ือไวรัสนวิ คาสเซลิ ในตวั อย่างสัตว์ปีก โดยวธิ ี Real-time RT-PCR
๓. การตรวจหาแอนตบิ อดีต่อเชอ้ื ไวรัสไข้หวัดนก โดยวธิ ี Indirect ELISA

๔. การตรวจหาแอนตบิ อดีตอ่ เชอื้ ไวรัสนิวคาสเซิลในซรี ่ัมไก่ โดยวิธี Haemagglutination Inhibition (HI-Test)
๕. การตรวจหาแอนติบอดีต่อเช้ือไวรัสไข้หวัดนกชนิด H๗ และ H๙ ในซีร่ัมไก่ โดยวิธี Haemagglutination

Inhibition (HI-Test)

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๒๕

กำรจัดกำรควำมรู้ (KM)

ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนำกำรสัตวแพทยภ์ ำคเหนือตอนล่ำง

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ได้เร่ิมศึกษาเร่ืองการจัดการความรู้ (Knowledge
Management : KM) มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ โดยเชิญวิทยากรมาบรรยายให้ความรู้แก่บุคลกรในองค์กร และไปศึกษา
ดูงานจากหน่วยงานท่ีได้รับรางวัลด้านการจัดการความรู้ ต่อมาสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ (สสช.) ได้จัดอบรม
ให้กับบุคลากรทุกหน่วยงานในสังกัด จากนั้นจึงได้เริ่มกิจกรรมการจัดการความรู้อย่างจริงจังตามนโยบาย
ของสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ โดยเร่ิมนาหลักการมาใช้ในกิจกรรมต่างๆ ที่บุคลากรมีความสนใจร่วมกัน
เม่ือบุคลากรมีความเข้าใจในหลักการของ KM แล้ว จึงเริ่มนาหลักการของ KM มาปรับใช้กับงาน
ของห้องปฏิบัติการหรืองานอ่ืนๆ ที่รับผิดชอบ โดยนาหลักการทา KM ๗ ขั้นตอน มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กบั การปฏิบัตงิ าน โดยเลือกใชว้ ิธีการแก้ปญั หาที่เกิดขึน้ จากการปฏิบตั ิงานเปน็ แนวคิดหลักในการสรา้ งผลงาน KM
และพัฒนาต่อยอด KM มาเป็น Routine to Research (R2R) และ นวตั กรรม (Innovation) ต่อไป

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ จิ ยั และพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง ๒๖

นิทรรศกำร

ผลการดาเนินการของคณะทางานจดั นทิ รรศการและส่ือเผยแพร่ความรู้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ไดร้ ่วมจัด
นิทรรศการในกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานกรมปศสุ ัตว์ และหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพนื้ ที่ภาคเหนอื ตอนลา่ ง
จานวน ๑ ครั้ง ดังนี้

๑. โครงการปศุสัตว์ร่วมใจกาจัดโรคพิษสุนัขบ้าเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จเจ้าฟ้าฯ
กรมพระศรีสวางควัฒนวรขัติยราชนารีปีงบประมาณ 2564 ณ วัดสุดสวาสด์ิ ตาบลบ้านคลอง
อาเภอเมืองพิษณโุ ลก จังหวดั พษิ ณโุ ลก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ๒๗

กำรบูรณำกำรรว่ มกบั หนว่ ยงำนกรมปศุสัตว์และหน่วยงำนอน่ื ๆ

โครงกำรเลี้ยงแพะพระรำชทำน พนั ธแ์ุ บลค็ เบงกอล ค่ำยสมเดจ็ พระเอกำทศรถ
(รว่ มกับ พนั .สบร. ๒๓ บชร. ๓ คำ่ ยสมเดจ็ พระเอกำทศรถ กองทัพภำคที่ ๓)

วัตถุประสงค์
๑. ตรวจ วินิจฉัย และชนั สูตรโรคสตั วท์ สี่ าคัญ
๒. ตรวจ ติดตามการรกั ษา และดแู ลสขุ ภาพสัตว์ ในโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ

ระยะเวลำดำเนนิ กำร
๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ถึง ปัจจบุ นั (ยังไมม่ ีกาหนดระยะเวลาส้นิ สุด)

กำรดำเนินงำน
โครงการเล้ียงแพะพระราชทาน พันธุ์แบล็คเบงกอล ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก ได้เริ่ม

ดาเนินการมาจาก พลโท วิจักขฐ์ สิริบรรสพ แม่ทัพภาคที่ ๓ ได้ตามเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรม
ราชกุมารี พระยศในขณะน้ัน ตรวจเย่ียมโครงการเดินตามรอยเท้าพ่อของในหลวงรัฐกาลท่ี ๙ ในพ้ืนท่ีจังหวัด
เชียงใหม่ ไดพ้ ระราชทานพระราชวโรกาสให้แม่ทัพภาคที่ ๓ เข้าเฝ้าฯ และทรงพระราชปฏิสันถาร ถงึ เรื่องการเลีย้ ง
แพะที่พระองค์ทรงสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการเลี้ยงในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ว่าแพะเป็นสัตว์ที่มีความพิเศษ
มีข้อดี และประโยชน์ รวมถงึ อุปสรรคในการเล้ยี ง

แม่ทัพภาคที่ ๓ ได้เล็งเห็นแนวทาง การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง จึงได้ทูลขอ
พระราชทานพันธุ์แพะ เพื่อท่ีจะนามาเลี้ยงขยายพันธุ์ สนับสนุนให้กับราษฎรผู้ยากไร้ รวมถึงกาลังพล ครอบครัว
พลทหาร และประชาชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง ที่มีความสนใจและประสงค์จะเลี้ยงแพะ โดยเปิดโอกาสให้
ผสู้ นใจเข้ามาดงู านและเรียนรู้ ถงึ วิธกี ารในการเลี้ยงแพะ ณ โครงการฯ ซ่งึ เรม่ิ ดาเนินการตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ.
๒๕๖๐ โดยวันท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เจ้าหน้าท่ีทหารจาก พัน.สบร. ๒๓ บชร. ๓ ได้เดินทางไปรับพันธุ์แพะ
พระราชทานผ่านมูลนธิ ิชยั พัฒนา จังหวัดเชียงราย จานวน ๕๐ ตัว เป็นแพะพันธ์ุแบล็คเบงกอล ๒๐ ตัว แยกเป็น
เพศเมยี ๑๐ ตัว เพศผู้ ๑๐ ตัว และพันธผุ์ สมจานวน ๓๐ ตวั แยกเป็นเพศเมีย ๑๐ ตวั เพศผู้ ๒๐ ตวั และรบั แพะ
เพศเมียเพ่ิมจากมหาสารคาม ๑๐ ตัว โดยมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ทหาร พัน.สบร. ๒๓ บชร. ๓ ค่ายสมเด็จพระ
เอกาทศรถ เป็นผู้เล้ียงและดูแล หลังจากเลี้ยงได้ ๖ เดือน พบแพะป่วยและมีแพะตาย เจ้าหน้าท่ีปศุสัตว์จังหวัด
พิษณุโลก จึงนาตัวอย่างซากแพะส่งตรวจชันสูตรโรค ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง
จงั หวัดพิษณโุ ลก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๒๘

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ จึงมีคาสั่งแต่งตั้ง
คณะทางานดูแลด้านสุขภาพสัตว์ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ประกอบด้วย คาสั่งศูนย์วิจัยและ
พัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่างที่ ๑๙/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๔ เพื่อดาเนนิ การตรวจเยี่ยม
และติดตามการดูแลด้านสุขภาพสัตว์ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยคณะทางานฯ ได้ดาเนินการตรวจเยี่ยมและ
ติดตามการรักษาแพะป่วยประจาสัปดาห์ ณ ศาลายาแพะ โครงการเล้ียงแพะพระราชทานพันธุ์แบล็คเบงกอล
คา่ ยสมเด็จพระเอกาทศรถ อาเภอเมือง จงั หวดั พิษณุโลก ซึง่ มกี ิจกรรมดังนี้

๑. การตรวจตดิ ตามการรักษาแพะป่วยและให้คาแนะนาดา้ นการดแู ลสขุ ภาพสตั ว์
๒. การเก็บตัวอยา่ งเพ่ือประกอบการวินิจฉยั โรค
๓. การทาวคั ซีนป้องกนั โรคปากอกั เสบพุพอง (contagious ecthyma หรอื orf)
๔. การบรู ณาการปฏิบตั ิงานรว่ มกับหน่วยงานปศุสัตว์และหนว่ ยงานอื่นๆ ได้แก่ สานักงานปศสุ ัตวเ์ ขต ๖

สานักงานปศสุ ัตวจ์ ังหวัดพษิ ณุโลก ศูนยว์ ิจัยการผสมเทยี มและเทคโนโลยีชวี ภาพพิษณโุ ลก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๒๙

ภำพกิจกรรม ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นำกำรสตั วแพทยภ์ ำคเหนอื ตอนล่ำง

กจิ กรรมงำนพระรำชพิธี
วันที่ 4 พฤษภาคม 2564 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่างขอเชิญ จัดกิจกรรม

ลงนามถวายพระพรชัยมงคลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส
วันฉัตรมงคล

วันท่ี 3 มิถุนายน 2564 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง จัดกิจกรรมลงนาม
ถวายพระพรชัยมงคลอเิ ล็กทรอนิกส์ เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนาง
เจา้ ฯ พระบรมราชนิ ี

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๓๐

วันท่ี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง จัดกิจกรรมเฉลิม
พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2564 โดยรว่ ม
ลงนามถวายพระพรชัยมงคล และเชิญชวนถวายพระพรแบบออนไลน์อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือปฏิบัติตามมาตรการ
ป้องกนั โรคเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 Social distancing

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ๓๑

กจิ กรรมเข้ำแถวเคำรพธงชำติ

วันที่ 11 มกราคม 2564 ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง จดั กิจกรรมเข้าแถวเคารพ
ธงชาติ ทุกเช้าวันจันทร์ของทุกสัปดาห์ สวดมนต์ไหว้พระ และกล่าวปฏิญาณตน เพื่อเสริมสร้างจิตสานึก
ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการเป็นขา้ ราชการท่ีดี

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง ๓๒

กำรตรวจประเมิน ISO 17025/2017

วันท่ี 18-19 กุมภาพันธ์ 2564 ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง
ได้ให้การต้อนรับ คณะตรวจประเมินห้องปฏิบัติการ จากสานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ท่ีได้เข้ามาตรวจประเมิน
ISO 17025/2017

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนอื ตอนล่าง ๓๓

กจิ กรรมวนั ต้นไม้แหง่ ชำติ พ.ศ. 2564

วันที่ 16 มิถุนายน 2564 จัดกิจกรรมวันต้นไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2564 โดยมีการปลูกต้นไม้ภายในบริเวณ
ศูนย์ฯ และปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อเป็นการสร้างและกระตุ้นจิตสานึกให้ประชาชนและเจ้าหน้าท่ีเห็นความสาคัญ
ของการอนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ของชาติ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๓๔

กิจกรรมแข่งขันกีฬำฟุตบอล เนอ่ื งในวันกีฬำแห่งชำติ จังหวดั พิษณุโลก

วนั ที่ 15 ธันวาคม 2563 บคุ ลากรศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง เขา้ ร่วมแข่งขัน
กีฬาฟุตบอล เนื่องในวันกีฬาแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก ในวันท่ี 16 ธันวาคม 2563 เพ่ือเป็นการ
น้อมราลึกถึงวันสาคัญแห่งประวัติศาสตร์ทางการกีฬาของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกากาธิเบศร มหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงชนะเลิศไดร้ ับเหรียญทองจากการแข่งขนั เรอื ใบประเภท โอ.เค และเพือ่ เป็น
การส่งเสริมให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยเห็นความสาคัญการออกกาลังกายและเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง
ณ สนามกีฬาจงั หวัดพิษณโุ ลก ตาบลหัวรอ อาเภอเมอื ง จังหวดั พิษณโุ ลก

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง ๓๕

กิจกรรมพัฒนำหน่วยงำนประจำปี ๒๕๖๔
วนั ที่ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔ จัดทากจิ กรรมพัฒนาหนว่ ยงานประจาปี ๒๕๖๔

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๓๖

สถำนที่ทำงำนนำ่ อยู่น่ำทำงำน (Healthy workplace)

สถานที่ทางานน่าอยู่ น่าทางาน (Healthy workplace) ท่ีมาจาก กฎบัตรออตตาวา ซ่ึงได้รับการรับรอง
ในปีพ.ศ. ๒๕๒๙ ที่กาหนดไว้ว่า “การส่งเสริมสุขภาพก่อให้เกิดสภาวะต่างๆ ในการดารงชีวิตและการทางาน
ที่ปลอดภัย ก่อให้เกิดความกระตือรือร้น ความพึงพอใจและเพลิดเพลินเจริญใจ” ซ่ึงกฎบัตรนี้ให้คากาจัดความ
ในการสง่ เสรมิ สุขภาพว่า เป็นการสง่ เสรมิ พลังอานาจแก่ปจั เจกบคุ คล และกลุม่ คน ชว่ ยให้ทุกคนมคี วามสามารถใน
การควบคุมสุขภาพของตนเอง รวมท้ังสามารถควบคุมตัวกาหนดสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น ส่ิงแวดล้อม
ด้านกายภาพ และทางสังคม ท้ังน้ีโดยอาศัยหลักการข้ันพ้ืนฐานของ Healthy work approach (HWA) ของ
องค์การอนามัยโลก (WHO) โดย HWA มีองค์ประกอบ ๔ ประการ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การดาเนินงาน
ด้านความปลอดภัยและอาชีวะอนามัย การจัดการทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาแบบย่ังยืน โดยมีเป้าหมายคือ
การมีสขุ ภาพและความเป็นอยูท่ ดี่ ีของคนทางาน และการเพม่ิ คุณภาพชวี ิตของคนทางาน ดงั น้ัน เพ่ือสนองนโยบาย
ของกรมอนามยั กองอาชีวอนามัยจงึ ไดจ้ ัดทาโครงการสถานทท่ี างานน่าอยู่ นา่ ทางานข้นึ

สถานท่ีทางานน่าอยู่ น่าทางาน หมายถึง สถานท่ีทางานที่มีการจดั การให้เอ้ืออานวยต่อการทางานทุกคน
เกิดความสุขใจ สบายใจในการทางาน โดยมอี งคป์ ระกอบ ๔ ประการ คือ สะอำด ปลอดภยั ไรม้ ลพษิ มีชีวิตชีวำ

สถำนทท่ี ำงำนน่ำอยู่ นำ่ ทำงำน ปงี บประมำณ ๒๕๖๔

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการสตั วแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง ไดด้ าเนนิ งานโครงการสถานทท่ี างานสถานที่ทางาน
น่าอยู่ น่าทางาน ครบท้ัง ๔ องคป์ ระกอบ ดงั น้ี

๑. สะอำด ไดแ้ ก่ การจัดการขยะ ๕ส

๒. ปลอดภยั ไดแ้ ก่ ตรวจเชค็ ถงั ดบั เพลงิ ๒ ครั้งตอ่ ปี โดยบริษทั ภายนอก และโดยเจ้าหน้าท่คี วาม
ปลอดภัยของศูนย์ฯ ทุกเดอื น การพ่นนา้ ยาฆ่าเช้อื ภายในพน้ื ท่ีของศูนย์ฯ ในช่วงทีเ่ กดิ การระบาดโรคติดเชื้อไวรสั โค
โรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19)

๓. ไรม้ ลพิษ ได้แก่ กจิ กรรมปลกู ต้นไม้

๔. มีชวี ติ ชีวำ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมกฬี าเช่ือมความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนย์วิจยั และพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๓๗

ด้ำนกำรจัดกำรขยะ
ดำ้ นควำมปลอดภยั

วันท่ี 20 เมษายน 2564 ด่านกักกันสัตว์พิษณุโลก ได้เข้ามาดาเนินการฉีดพ่นน้ายาฆ่าเช้ือโรคอหิวาต์
แอฟริกาในสุกร (ASF) และโรคติดเช้ือไวรัสโควิด 2019 (COVID-19) ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ
เช้ือไวรัส บริเวณรอบอาคารชันสูตรโรคสัตว์ และอาคารตรวจสอบคุณภาพสินค้าและปศุสัตว์ เพ่ือสร้างความ
ปลอดภัยให้กบั ผู้ปฏิบตั งิ านและผ้มู ารบั บริการ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนอื ตอนลา่ ง ๓๘

ด้ำนไร้มลพิษ
ด้ำนมีชวี ติ ชีวำ

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนล่าง ๓๙

กำรดำเนนิ กำรกจิ กรรม ๕ส

ด้วยกรมปศุสัตว์ มีนโยบาย การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางาน ด้วยกิจกรรม ๕ส ซ่ึงศูนย์วิจัยและ
พฒั นาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนลา่ ง ไดด้ าเนนิ การจัดกจิ กรรม ๕ส มาอยา่ งต่อเนอ่ื งตัง้ แตป่ ี ๒๕๔๓ จนถงึ ปปี จั จบุ นั

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง ได้มีคาส่ังที่ ๓๔/๒๕๖๔ ลงวันที่
๒๐ เมษายน ๒๕๖๔ เพ่ือแต่งต้ังคณะทางานดาเนินการกิจกรรม ๕ส โดยมีหน้าที่กาหนดแผนการดาเนินงานประจาปี
๒๕๖๔ และปรับปรุงมาตรฐาน ๕ส ของศูนย์ฯให้มีความเหมาะสมและทันสมัยสอดคล้องกับนโยบายกรมปศุสัตว์
พร้อมกาหนดพ้ืนที่ความรับผิดชอบให้กับเจ้าหน้าท่ีทุกท่านตามภารกิจและความสามารถเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม
และมคี วามตระหนกั ในการดาเนนิ การกิจกรรม ๕ส

จากการดาเนินงาน ส่งผลให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของศูนย์ฯ สามารถทางานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
เป็นระเบียบเรียบร้อย ถูกสุขลักษณะและมีความปลอดภัยในการปฏิบัติงานมากข้ึนจึงเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพ
และยกระดับคุณภาพงานให้ดีขึ้น ตามวัตถุประสงค์ของการดาเนินการกิจกรรม ๕ส โดยศูนย์ฯ ยังคงมีการปรับปรุง
และพัฒนากิจกรรม อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิใ์ นการดาเนนิ การอยา่ งยั่งยืนต่อไป

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ย์วิจัยและพัฒนาการสตั วแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง ๔๐

คณะทำงำนจดั ทำรำยงำนประจำปี ๒๕๖๔

ทีป่ รกึ ษำคณะทำงำน

นำยนฤพล พร้อมขนุ ทด
นำยสตั วแพทยเ์ ช่ียวชำญ
ผอู้ ำนวยกำรศูนย์วิจัยและพัฒนำกำรสัตวแพทยภ์ ำคเหนอื ตอนล่ำง

คณะทำงำนจัดทำรูปเลม่ และกองบรรณำธกิ ำร

นำงสำวกมลทพิ ย์ เสนำชัย
นำยสบื ชำติ สัจจวำทติ
นำยดสิ ภรณ์ อรรถำเวช
นำงสำวรอยพิมพ์ มะพงษเ์ พ็ง
นำงนงลกั ษณ์ แสงแก้ว
นำงสำวโยธกำนต์ สิงห์วงศ์
นำยชัยณรงค์ กุลฉิม
นำงสำววลิ ำวรรณ บุญจันทร์
นำงสำวดำรณี นำคโอภำส
นำงสำวเปยี่ มภทั รภริ มย์ เพ็ญสวุ รรณ
นำงสำวปพิชญำ มำกลน้
นำยนคเณศวร เณรบำรงุ
นำยธญั ชนติ โคกทอง

รายงานประจาปี ๒๕๖๔ ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนอื ตอนล่าง ๔๑

วฒั นธรรมองค์กร Value มีคุณคำ่
V Relative มคี วำมสัมพันธ์
R Diligence มคี วำมขยนั
D Standard มีมำตรฐำน
S Neatness มคี วำมออ่ นนอ้ มถ่อมตน
N

ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการสัตวแพทยภ์ าคเหนือตอนลา่ ง กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๙ หมู่ ๑๕ ตาบลวงั ทอง อาเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณุโลก โทรศัพท์ ๐ ๕๕๓๑ ๓๑๓๘-๙ โทรสาร ๐ ๕๕๓๑ ๓๑๓๗

E-mail: [email protected], http://vrd-sn.dld.go.th


Click to View FlipBook Version