The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pmjphuket, 2021-03-22 00:09:41

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ กระทรวง พม.

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่

Keywords: มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่,พม

¢Í§Êӹѡ§Ò¹¾Ñ²¹Ò椄 ¤ÁáÅФÇÒÁÁ¹Ñè ¤§¢Í§Á¹ÉØ Â¨Ñ§ËÇ´Ñ

Performance Standards of
Social Development and Human Security Provincial Office

Good
Governance

Smart Work Life
Organization Balance

Team work

Leadership

Innovation

Communication

ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹»ÅÑ´¡ÃзÃǧ ¡ÃзÃǧ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤ÁáÅФÇÒÁÁ¹èÑ ¤§¢Í§Á¹ÉØ Â
àÍ¡ÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ÅӴѺ·Õè 116 àÅ‹Á·èÕ 6/2559



¢Í§ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹¾²Ñ ¹Ò椄 ¤ÁáÅФÇÒÁÁÑ¹è ¤§¢Í§Á¹Øɏ¨Ñ§ËÇ´Ñ

Performance Standards of
Social Development and Human Security Provincial Office

ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹»Å´Ñ ¡ÃзÃǧ ¡ÃзÃǧ¡ÒþѲ¹Ò椄 ¤ÁáÅФÇÒÁÁèѹ¤§¢Í§Á¹Øɏ
àÍ¡ÊÒÃÇªÔ Ò¡Òà ÅӴѺ·èÕ 116 àÅ‹Á·Õè 6/2559

ข้อมูลทางบรรณานุกรม

มาตรฐานการปฏบิ ัติหน้าท่ขี องส�ำ นักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด
พมิ พ์คร้งั ท ี่ 2 พฤศจิกายน 2559
จำ�นวน 1,000 เลม่  จ�ำ นวน 152 หน้า
เอกสารวิชาการ ลำ�ดบั ท ี่ 116 เล่มที่ 6/2559

จดั พมิ พโ์ ดย

กลุ่มการพฒั นามาตรฐานทางสังคม
กองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
ส�ำ นักงานปลดั กระทรวง
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ค�ำ นำ�

สำ�นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 
โ ด ย ก อ ง วิ ช า ก า ร   ไ ด้ พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ข อ ง สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า สั ง ค ม 
แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ จั ง ห วั ด   เ พ่ื อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ อำ � น า จ ห น้ า ที่   1 0   ภ า ร กิ จ 
ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม
ของเจ้าหน้าที่สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และได้รับการ 
กล่ันกรองจากคณะทำ�งานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคม
แ ล ะ ค ว า ม มั่ น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ จั ง ห วั ด   ซึ่ ง ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ตั ว ช้ี วั ด ท่ี ไ ด้ อ ยู่ บ น พ้ื น ฐ า น ข อ ง 
การปฏิบัติได้จริง เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน สามารถใช้เป็นเป้าหมาย 
ในการพฒั นาองคก์ ารและบคุ ลากร การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ  การตดิ ตามประเมนิ ผล การพฒั นางาน 
ของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวดั  ในภาพรวม

กองวิชาการได้จัดทำ�เอกสาร “มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำ�นักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด” เพื่อเป็นคู่มือ แนวทาง ในการปฏิบัติ 
ภารกจิ ขององคก์ ารอยา่ งเปน็ ระบบ เกดิ การพฒั นาองคก์ าร กอ่ ใหเ้ กดิ  Smart Organization 
บนพ้นื ฐานของ Good Governance ต่อไป

(นายไมตร ี อนิ ทสุ ตุ )
   ปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

กนั ยายน 2559

วิสัยทัศน์
“เป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลือ่ นและบรู ณาการนโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาสังคม

ส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมผี ลสมั ฤทธ์”ิ
ค่านยิ มองคก์ าร

“อทุ ิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อ�ำ นวยประโยชนส์ ขุ ”

สารบัญ 1
1 
บทท ่ี 1 บทน�ำ   2
บทบาท อ�ำ นาจหนา้ ท่ี  3
โครงสรา้ งองค์กรและบคุ ลากร   5 
กรอบแนวคดิ  
11
บทท่ี 2 การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั ิหน้าที่  11
ของสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัด ปี 2559 13
15
บทท ่ี 3 มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั และเกณฑ์   16 
มิติปจั จยั นำ�เขา้    23 
มิติระบบและกระบวนการ    24
มิติวฒั นธรรมองค์การ    29
มิตผิ ลผลติ และผลลัพธ์   34
 55 
บทที่ 4 เกณฑก์ ารประเมนิ  
มติ ิที ่ 2 มิตริ ะบบและกระบวนการ   55
มติ ทิ ี ่ 3 มติ วิ ัฒนธรรมองค์การ  63
มติ ิที ่ 4 มติ ผิ ลผลิตและผลลัพธ ์  69
 75
บทท่ ี 5 คู่มอื การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบตั หิ นา้ ที ่
ของส�ำ นักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั  
มติ ทิ ่ ี 1 มิติปจั จยั น�ำ เขา้  
มิติท ี่ 2 มิติระบบและกระบวนการ 
มติ ทิ ี่ 3 มิติวัฒนธรรมองค์การ 
มิตทิ ่ ี 4 มติ ิผลผลติ และผลลัพธ์

บรรณานกุ รม  112
113 
ภาคผนวก  115 

★★ แบบฟอร์มการประเมนิ ผลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี  129 
ของส�ำ นกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั
130
★★ ตัวอยา่ ง 1 แผนปฏิบัติงาน  131
ของส�ำ นักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด 132
133
★★ ตัวอยา่ ง 2 แบบฟอร์มรายงานการปฏิบตั งิ านโครงการ  134 
★★ ตัวอยา่ ง 3 แบบฟอร์มการก�ำ กบั ตดิ ตามงาน 
★★ ตัวอย่าง 4 แบบฟอร์มการเกบ็ รวบรวมข้อมลู องคก์ รเครอื ข่ายในจงั หวดั   137 
★★ ตัวอย่าง 5 แบบรายงานผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำ เดอื น (บุคคล) 
★★ คำ�สง่ั คณะทำ�งานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่  138 

ของสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั 146
★★ ส�ำ เนาบันทกึ สรปุ ผลการดำ�เนินโครงการพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี

ของ สนง.พมจ. ตามภารกจิ ใหม ่
(เสนอปลัดกระทรวง)
★★ ส�ำ เนาบันทึกสรุปผลการดำ�เนินโครงการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหนา้ ที่
ของ สนง.พมจ. ตามภารกจิ ใหม ่
(เสนอรฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย)์
คณะผูจ้ ัดท�ำ

บทท ี่ 1

บทนำ�

บทบาท อำ�นาจหน้าท่ี

สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ จั ง ห วั ด   ( ส น ง . พ ม จ . )   เ ป็ น ร า ช ก า ร บ ริ ห า ร 
ส่วนภูมิภาคของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำ�นักงาน 
ปลัดกระทรวง กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ พ.ศ. 2559 โดยมอี ำ�นาจหนา้ ท่ีดงั ต่อไปนี้

1. จัดทำ�นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมท้ัง
รายงานสถานการณ์ทางสังคม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

2. ประสานและจัดทำ�แผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ในระดับจงั หวดั  ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง

3. สง่ เสรมิ และประสานการด�ำ เนนิ งาน การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ตามภารกจิ และเปา้ หมายของหนว่ ยงาน 
ในกระทรวง

4. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำ�เนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัด ทั้งภาครัฐและ 
ภาคเอกชน

5. ส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม รวมท้งั การส่งต่อให้หน่วยงานอ่นื  
ทเ่ี ก่ยี วข้อง ทงั้ ภาครัฐและภาคเอกชน ทีม่ ีอำ�นาจหนา้ ทีใ่ นการจดั สวสั ดิการสงั คมตามกฎหมาย

6. กำ�กับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำ�เนินการตามกฎหมาย นโยบายของกระทรวง 
แ ล ะ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล   แ ผ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ใ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ 
ของส่วนราชการและหนว่ ยงานสังกดั กระทรวงในระดับจงั หวัด

7. เปน็ ศนู ยข์ อ้ มูลดา้ นการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยใ์ นระดบั จังหวดั
8. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำ�เนินกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความ

ม่นั คงของมนษุ ย์ รวมท้งั ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการและผลการปฏบิ ตั งิ านของกระทรวง
9. รับเรอื่ งราวร้องทุกขแ์ ละแกไ้ ขปญั หาสงั คม ในระดับจังหวดั
10. ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั หรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอ่นื ที่เกย่ี วข้องหรือท่ีได้รบั มอบหมาย
โดยที่สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นกลไกระดับภูมิภาคท่ีสำ�คัญ
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ที่จะสามารถปฏิบัติภารกิจด้านการพัฒนาสังคม 
เพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของมนุษย์ให้เข้าถึงและครอบคลุมประชาชนทุกพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ ดังน้ัน กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จึงเห็นความจำ�เป็นที่จะมีการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ี
ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติและพัฒนางาน 
ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ให้สอดคล้องกับบทบาท หน้าท่ีการปฏิบัติงาน 
ตามภารกิจใหม่ ท้ังนี้ เพื่อให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดปฏิบัติหน้าท่ีบรรลุผลสำ�เร็จ

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ทขี่ องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั 1

อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสู่วิสัยทัศน์ของกระทรวงที่จะเป็นองค์การและกลไกระดับชาติ ท่ีเอ้ืออำ�นวยและประสาน
เช่ือมโยงกับภาคีทุกภาคส่วน เพ่ือให้ประชาชนมีความม่ันคงในการดำ�รงชีวิต มีบริการสวัสดิการและการคุ้มครอง
อยา่ งทวั่ ถงึ  เป็นธรรม และเสมอภาค สามารถชว่ ยเหลือและพฒั นาตนเอง ครอบครวั  และชมุ ชน เป็นสังคมสนั ติสขุ  
นา่ อยู่และยั่งยนื ต่อไป

โครงสร้างองค์กรและบุคลากร

สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด มีการแบ่งฝ่าย/กลุ่ม อย่างเป็นทางการ 
เป็น 1 ฝ่าย 2 กลุ่ม คอื  

1. ฝ่ายบริหารทัว่ ไป
2. กลุม่ การพฒั นาสังคมและสวัสดิการ 
3. กลุ่มนโยบายและวิชาการ
สำ�หรบั การแบ่งบทบาทหนา้ ท่ีของแต่ละฝา่ ยในแต่ละจังหวัดมีท้ังเหมือนและแตกตา่ งกันดงั นี้
1 .   ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ทั่ ว ไ ป   ทำ � ห น้ า ท่ี ด้ า น ง บ ป ร ะ ม า ณ   ก า ร เ งิ น   บั ญ ชี   วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์   อ า คา ร ส ถ า น ที่  
ยานพาหนะ บุคลากร สารบรรณ ธุรการ และงานอืน่ ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย
2. กลุ่มนโยบายและวิชาการ ทำ�หน้าท่ีงานวิเคราะห์สถานการณ์และจัดทำ�รายงาน งานจัดทำ� 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ระดับจังหวัด งานวางแผนยุทธศาสตร์ร่วมกับจังหวัด 
งานแผนงานและโครงการ งานวิจัย งานเฝ้าระวังทางสังคม งานศูนย์ข้อมูล งานประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน 
งานพัฒนาเทคโนโลยี และงานมาตรฐานองค์การ และงานอนื่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย
3. กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ทำ�หน้าท่ีงานศูนย์ประสานงานเครือข่าย งานส่งเสริม 
สนับสนุนและประสานงานองค์การเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน งานประสานองค์การสวัสดิการสังคม 
งานส่งเสริมอาสาสมัครพัฒนาสังคม งานอาสาสมัครต่างประเทศ งานส่งเสริมสถาบันครอบครัว งานส่งเสริม 
และพัฒนาบทบาทเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส งานส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 
งานรับเร่ืองราวร้องทุกข์ ให้บริการสงเคราะห์และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ 
คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ประสบปัญหาสังคมอ่ืนๆ งานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ งานมาตรฐาน
การให้บรกิ ารกลมุ่ เป้าหมายตามกฎหมายท่เี กยี่ วข้อง งานฌาปนกิจสงเคราะห ์ และงานอื่นๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

โครงสรางสาํ นกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจงั หวัด

สาํ นกั งานพฒั นาสงั คม
และความมั่นคงของมนุษยจ ังหวัด

ฝา ยบริหารท่วั ไป กลมุ นโยบาย กลมุ การพฒั นาสังคม
และวิชาการ และสวสั ดกิ าร

2 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ นา้ ที่ของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั

กรอบแนวคดิ มาตรฐานการปฏิบัติหนา ทีข่ องสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวดั

มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าที่ของสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั INPUT PROCESS OUTPUT/OUTCOME

มิติปจจยั นาํ เขา มติ ิระบบและกระบวนการ มติ ิผลผลติ ผลลัพธ

 ดา นโครงสราง  ดา นระบบและการสื่อสารภายในองคการ  ดา นจัดทํานโยบายและยุทธศาสตร
 ดานบคุ ลากร  ดานระบบและกระบวนการกํากับตดิ ตามงาน และรายงานสถานการณสงั คม
 ดานวัสดอุ ุปกรณ  ดา นระบบและกระบวนการประเมนิ ผล  ดานประสานและจดั ทําแผนงานโครงการ
 ดา นงบประมาณ  ดา นระบบและกระบวนการควบคมุ ภายใน  ดา นสงเสรมิ การจัดกจิ กรรมตา งๆ
ตามภารกจิ หนว ยงานในกระทรวง
มิตวิ ฒั นธรรมองคก าร  ดา นสงเสรมิ สนับสนุนองคกรเครอื ขาย
 ดานการประสานชวยเหลือผปู ระสบปญหา
 ดานวัฒนธรรมองคการ ทางสังคม
 ดา นภาวะผนู ํา  ดา นกํากบั ดแู ล หนวยงานในสังกดั กระทรวง
 การเปนศูนยข อ มูลดานการพัฒนาสังคม
และความม่นั คงของมนษุ ย
 ดานการเผยแพรป ระชาสัมพนั ธงาน พม.
 ดานการรบั เรื่องราวรองทกุ ข
และแกไขปญ หาสงั คม
 ดา นการปฏบิ ตั ิงานตามทีไ่ ดรบั มอบหมาย

3

วิสัยทัศน์
“เป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลือ่ นและบรู ณาการนโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาสังคม

ส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมผี ลสมั ฤทธ์”ิ
ค่านยิ มองคก์ าร

“อทุ ิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อ�ำ นวยประโยชนส์ ขุ ”

บทท ่ี 2

การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัตหิ นา้ ที่

ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัด ปี 2559

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดน้ี ได้มาจาก 
การศึกษาเพ่ือจัดทำ�มาตรฐานและตัวชี้วัดตามโครงการกำ�หนดและพัฒนามาตรฐานและตัวช้ีวัดการปฏิบัติหน้าที่ 
ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด (สนง.พมจ.) ในปีงบประมาณ 2547 โดยสำ�นักงานปลัดกระทรวง 
ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ัน ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์   ร่ ว ม กั บ ค ณ ะ พั ฒ น า สั ง ค ม   ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ น บ ริ ห า ร ศ า ส ต ร์  
ดำ�เนินโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาสังคม สวัสดิการสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ แนวคิดระบบ
บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result–Based Management) และแนวคิดบทบาทหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคม 
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และได้เริ่มทดลองใช้ในปีงบประมาณ 2548 โดยได้มีการติดตาม ประเมินผล 
และจัดสัมมนาพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดทั่วประเทศ เพื่อปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่
ของสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั  และคูม่ ือใหม้ คี วามเหมาะสมยิง่ ขน้ึ

ในปี 2555 สำ�นักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยสำ�นักมาตรฐาน 
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ในขณะนั้น ได้ทำ�การทบทวน มาตรฐานและตัวชี้วัดการปฏิบัติ
หน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ดังกล่าว โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม
ของเจ้าหน้าที่สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทั่วประเทศ ผ่านการกล่ันกรองจาก 
คณะทำ�งานและผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือให้ได้มาซึ่งมาตรฐานและตัวช้ีวัดท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของการปฏิบัติได้จริง เหมาะสม 
สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปของท้ังบุคลากร องค์การ และสังคม สามารถใช้เป็นเป้าหมายในการ
ปฏิบัติภารกิจ การติดตามประเมินผลการพัฒนางานของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
ในภาพรวมได ้ โดยมีองคป์ ระกอบ 4 มิต ิ 18 ดา้ น 52 มาตรฐาน 106 ตัวชว้ี ดั

แ ล ะ ปี   2 5 5 8   ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ัน ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์   ไ ด้ มี ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง 
สว่ นราชการใหม ่ ตามพระราชบญั ญตั  ิ ปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ท ี่ 14) พ.ศ.2558 เพอ่ื รวมงานดา้ นนโยบาย 
ด้านวิชาการและด้านการปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมายเดียวกันให้อยู่ในส่วนราชการเดียวกัน เพ่ือให้สามารถกำ�หนด 
เปา้ หมายและทศิ ทางการปฏบิ ตั งิ านของสว่ นราชการ ใหป้ ฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และลดการท�ำ งานทซี่ าํ้ ซอ้ น 
รวมท้ังเป็นการประหยัดทรัพยากรภาครัฐมากยิ่งข้ึน โดยกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำ�นักงานปลัดกระทรวง 
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ.2559 กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด จากเดิม 8 ภารกิจ เป็น 10 ภารกิจ จึงเห็นว่าควรมีการได้ดำ�เนินการทบทวน
และปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นครั้งที่ 2 
ในพ.ศ. 2559 โดยมีกระบวนการทบทวนแนวคิดการบริหารองค์การสมัยใหม่ การจัดประชุมคณะทำ�งาน 4 ครั้ง 
การจัดประชุมร่วมระหว่างผู้ตรวจราชการกระทรวงและผู้อำ�นวยการสำ�นักส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 ครั้ง 
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำ�หรับบุคลากรสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด 4 ภาค รวม 
23 จงั หวดั  และจดั ประชมุ เพอ่ื น�ำ เสนอและวพิ ากษม์ าตรฐานการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คง 
ของมนษุ ย์จังหวดั  1 คร้ัง โดยผเู้ ข้ารว่ มประชมุ เปน็ ผ้บู ริหารและผ้ปู ฏิบตั งิ านที่เกยี่ วขอ้ งทั้งสว่ นกลางและภูมิภาค

มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 5

สำ�หรับมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 
ท่ไี ดป้ รับปรุงในปี 2559 มมี าตรฐาน 4 มิติ 20 ดา้ น 56 มาตรฐาน 111 ตวั ชวี้ ัด ดงั น้ี

1. มิติปจั จัยน�ำ เขา้  ม ี 4 ด้าน 6 มาตรฐาน 37 ตัวชว้ี ัด ไดแ้ ก่ 
1.1 ด้านโครงสร้างองคก์ าร 2 มาตรฐาน 7 ตวั ชีว้ ัด
1.2 ดา้ นบุคลากร 2 มาตรฐาน 11 ตัวช้ีวัด
1.3 ดา้ นวัสดอุ ุปกรณ์ 1 มาตรฐาน 18 ตัวช้ีวัด
1.4 ด้านงบประมาณ 1 มาตรฐาน 1 ตัวชว้ี ัด
มติ ปิ จั จยั นำ�เข้าเปน็ มาตรฐานที่หน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คง 

ของมนุษย์ ต้องดำ�เนินการสนับสนุน เพ่ือให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีทรัพยากร 
เพยี งพอและเหมาะสมกบั การปฏิบัตหิ นา้ ทีไ่ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและบรรลผุ ลส�ำ เรจ็ ตามเป้าหมายของกระทรวง

2. มติ ิระบบและกระบวนการ ม ี 4 ดา้ น 8 มาตรฐาน 12 ตัวชี้วดั  ไดแ้ ก่
2.1 ดา้ นระบบและกระบวนการส่อื สารขององคก์ าร 3 มาตรฐาน 4 ตัวชว้ี ดั
2.2 ด้านระบบและกระบวนการกำ�กับตดิ ตามงาน 2 มาตรฐาน 2 ตวั ชว้ี ดั
2.3 ด้านระบบและกระบวนการประเมนิ ผล 2 มาตรฐาน 3 ตัวชว้ี ัด
2.4 ด้านระบบและกระบวนการควบคมุ ภายใน 1 มาตรฐาน 3 ตวั ชี้วัด
การท่ีองค์การจะสามารถดำ�เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผลได้ จำ�เป็นต้อง 

มกี ารสอื่ สารใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านสามารถเขา้ ใจนโยบาย เปา้ ประสงค ์ ยทุ ธศาสตร ์ กฎหมาย ระเบยี บ และวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน 
ได้ครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา ต้องมีการกำ�กับติดตามอย่างเป็นระบบ และมีกระบวนการข้ันตอนในการกำ�กับ
ติดตามอย่างชัดเจน ต้องมีระบบและกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานที่โปร่งใส เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม 
และต้องมีระบบและกระบวนการควบคุมภายในเพื่อลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงานทั้งในด้านงบประมาณและ 
การด�ำ เนนิ การโครงการต่างๆ 

3. มติ วิ ฒั นธรรมองค์การ มี 2 ด้าน 8 มาตรฐาน 11 ตวั ชวี้ ดั  ได้แก ่
3.1 ดา้ นวฒั นธรรมองค์การ 5 มาตรฐาน 7 ตัวช้วี ัด
3.2 ด้านภาวะผู้น�ำ  3 มาตรฐาน 4 ตวั ชี้วดั
วัฒนธรรมองค์การและภาวะผู้นำ�เป็นปัจจัยสำ�คัญทำ�ให้องค์การเกิดการพัฒนาและมีความย่ังยืน 

รวมท้ังได้รับการยอมรับจากสังคม วัฒนธรรมองค์การที่มีประสิทธิผลจึงเป็นส่ิงสำ�คัญที่องค์การจะต้องดำ�เนินการ
สร้างและปลูกฝังแก่บุคลากร วัฒนธรรมที่มีประสิทธิผลประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบช่วยเหลือเกื้อกูล ซ่ึงจะเน้น 
ค่ า นิ ย ม ก า ร ทำ � ง า น เ ป็ น ที ม   ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท่ี ดี ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ล า ก ร   ก า ร ส อ น ง า น ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ล า ก ร ที่ มี 
ความเชยี่ วชาญช�ำ นาญแกบ่ คุ ลากรทยี่ งั มปี ระสบการณน์ อ้ ย วฒั นธรรมพนั ธกจิ  ทมี่ งุ่ การสรา้ งคา่ นยิ มและพฤตกิ รรม 
การทำ�งานที่ยึดเป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ขององค์การเป็นหลักในการดำ�เนินงาน ซึ่งทำ�ให้การทำ�งานมีทิศทาง
ชัดเจนและมีแนวทางในการบรรลุเป้าประสงค์อย่างมีเหตุมีผลและมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
มีความพึงพอใจและองค์การได้รับการยอมรับจากสังคม ขณะเดียวกันภายใต้การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว 
ของสังคมทำ�ให้องค์การด้านสังคมจะต้องมีการเรียนรู้อยู่อย่างกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถปรับตัว 
ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังน้ัน วัฒนธรรมนวัตกรรม จึงเป็นส่ิงท่ีองค์การจะต้องดำ�เนินการสร้าง 

6 มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ทีข่ องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั

และปลูกฝังแก่สมาชิกขององค์การเช่นเดียวกัน โดยการส่งเสริมให้สมาชิกองค์การมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 
และมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อจะได้เป็นฐานในการคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมในการ
แก้ปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อนมากข้ึนได้อย่างมีประสิทธิผล นอกเหนือจากวัฒนธรรมท้ังสามประเภทนี้แล้ว
วัฒนธรรมธรรมาภิบาล ก็เป็นสิ่งท่ีสำ�คัญย่ิงเพราะจะทำ�ให้องค์การสามารถบริหารงานได้อย่างโปร่งใส มีความ 
รับผิดชอบต่อสาธารณะ เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นความมีประสิทธิภาพ และยึดหลักคุณธรรมในการ
ดำ�เนินงาน ซ่ึงจะทำ�ให้องค์การมีความชอบธรรมและได้รับการยอมรับจากสังคม อันเป็นปัจจัยที่ทำ�ให้องค์การ 
มีความยั่งยืนต่อไป วัฒนธรรมดังที่กล่าวมาจึงเป็นเง่ือนไขสำ�คัญที่สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 
จังหวัดควรดำ�เนินการสร้างและปลูกฝังให้ดำ�รงอยู่ภายในองค์การ เพื่อให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง 
ของมนษุ ยจ์ งั หวดั  มแี บบแผน คา่ นยิ ม และพฤตกิ รรมในการด�ำ เนนิ งานอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลและไดร้ บั การยอมรบั จาก 
ภาคประชาชน จากหนว่ ยงานอน่ื ๆ ในจังหวดั  และจากผู้บริหารระดับสูงทง้ั ภายในกระทรวงและนอกกระทรวง 

ด้านภาวะผู้นำ�ก็เป็นส่ิงสำ�คัญย่ิงในการทำ�ให้องค์การมีพลังขับเคล่ือนไปสู่ความสำ�เร็จ ภาวะผู้นำ� 
ดงั กลา่ วคือภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง องค์การจำ�เป็นต้องสร้างภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในทุกระดับ 
ต้ังแต่ระดับผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงาน ไปจนถึงหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย และรวมไปถึงบุคลากรทุกคน 
ภาวะผู้นำ�การเปล่ียนแปลง มีขอบเขตในเร่ือง การสร้างวิสัยทัศน์ท้ังในระดับส่วนบุคคลและระดับองค์การ 
การถ่ายทอดวิสัยทัศน์ได้อย่างมีพลังเพื่อสร้างแรงดลใจให้แก่สมาชิกขององค์การ การกำ�หนดเป้าหมายท่ีท้าทาย 
การกระตนุ้ ปญั ญาและการคิดอยา่ งมเี หตมุ ีผล รวมทงั้ การคำ�นึงถงึ สวสั ดิการสวสั ดภิ าพแก่บุคลากร ดงั น้นั หนว่ ยงาน 
และผู้นำ�หน่วยงานจึงจำ�เป็นต้องสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาให้พัฒนาตนเองเข้าร่วมกิจกรรมท่ีสร้างปัญญากับ 
หน่วยงานภายนอก และมีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงาน ซึ่งเป็นรากฐาน
ของการก่อเกิดวิสัยทัศน์ รวมทง้ั มีการส่ือสารวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจและยทุ ธศาสตร์แก่ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาอยา่ งตอ่ เน่ือง

4 .   มิ ติ ผ ล ผ ลิ ต แ ล ะ ผ ล ลั พ ธ์   ต า ม ก ร อ บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ข อ ง สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ 
ความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัด ตามกฎหมายม ี 10 ด้าน 34 มาตรฐาน และ 51 ตัวชีว้ ัด ไดแ้ ก ่

4.1 ด้านการจัดทำ�นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับ
จังหวัด รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคม และเสนอแนะแนวทางแก้ไข 6 มาตรฐาน 
6 ตวั ชี้วัด

4 . 2   ด้ า น ก า ร ป ร ะ ส า น แ ล ะ จั ด ทำ � แ ผ น ง า น   โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ กิ จ ก า ร ด้ า น ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ
ความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง 3 มาตรฐาน 
5 ตัวชว้ี ัด

4.3 ด้านการส่งเสรมิ และประสานการด�ำ เนนิ งาน การจัดกจิ กรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมาย
ของหนว่ ยงานในกระทรวง 3 มาตรฐาน 3 ตวั ช้วี ัด

4.4 ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำ�เนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัด 
ทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชน 5 มาตรฐาน 10 ตวั ชวี้ ัด

4.5 ด้านการส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมท้ังการส่งต่อ
ให้หน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีอำ�นาจหน้าท่ีในการจัดสวัสดิการ
สงั คมตามกฎหมาย 4 มาตรฐาน 7 ตัวชว้ี ัด

มาตรฐานการปฎิบัติหน้าทขี่ องสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด 7

4.6 ด้านการกำ�กับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำ�เนินการตามกฎหมาย นโยบายของ 
กระทรวง และตดิ ตามและประเมนิ ผล แผนการปฏบิ ตั ริ าชการของกระทรวงในความรบั ผดิ ชอบ 
ของสว่ นราชการและหน่วยงานสงั กัดกระทรวงในระดบั จังหวัด 1 มาตรฐาน 4 ตวั ชวี้ ัด

4.7 ด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 
5 มาตรฐาน 5 ตัวชว้ี ัด

4.8 ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ รวมท้ังความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงาน
ของกระทรวง 5 มาตรฐาน 7 ตวั ชีว้ ัด

4.9 ด้านการรบั เร่ืองราวร้องทกุ ขแ์ ละแก้ไขปญั หาสังคม ในระดบั จงั หวัด 1 มาตรฐาน 3 ตวั ชวี้ ดั
4.10 ด้านการปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องหรือ 

ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 1 มาตรฐาน 1 ตัวชว้ี ดั

การขบั เคลือ่ นมาตรฐาน

1. สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดทุกจังหวัด นำ�มาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ี 
ของส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ไปถอื ปฏบิ ตั  ิ เพอ่ื พฒั นาองคก์ ารและบคุ ลากร ตามนโยบาย 
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์ 9-5-5 ในสว่ น A2 นโยบายบรหิ ารการพฒั นา ขอ้  

1) การพฒั นาบคุ ลากรสู่มืออาชพี
2) การพฒั นาองคก์ รเพื่อขบั เคล่อื นนโยบาย และมุ่งสูม่ าตรฐานในระดบั อาเซยี น
3) การพฒั นาระบบ กระบวนการท�ำ งานให้เกดิ ประสิทธิผล
2. กลไก เครือ่ งมือในการขับเคลื่อนมาตรฐานฯ ไดแ้ ก่
1) คณะทำ�งานนิเทศงานตามมาตรฐานฯ โดยกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคง 

ของมนษุ ย์ เป็นเลขาคณะทำ�งาน
2) คณะท�ำ งานประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานฯ โดยกองตรวจราชการ เปน็ เลขาคณะท�ำ งาน
3) คู่มอื การปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานฯ สำ�หรบั ผปู้ ฏิบัติ
4) แนวทางการตรวจประเมนิ  ส�ำ หรบั ผู้ตรวจประเมิน
5) การตรวจ ตดิ ตามใหอ้ ยูใ่ นแผนการตรวจของผู้ตรวจราชการกระทรวง
6) การรายงานผลการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานฯ ใหร้ ายงานรอบ 6 เดอื น และ 12 เดอื น (ไตรมาส 2,4) 

พรอ้ มกบั รายงานของผตู้ รวจราชการกระทรวง และรายงานภาพรวมในชว่ งเดอื นตลุ าคมของทกุ ปี

8 มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั

ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย

ดา้ นบคุ ลากร

1. การพิจารณาแต่งต้ังบุคลากรท่ีปฏิบัติงานใน สนง.พมจ.ในแต่ละกลุ่ม/ฝ่าย ขอให้พิจารณาตรงกับ 
กรอบอัตราโครงสร้างของ สนง.พมจ.น้ัน (ตามกรอบอัตรากำ�ลังที่กำ�หนดไว้) เพ่ือให้การปฏิบัติงานดำ�เนินการ 
อยา่ งเปน็ ระบบ ไมเ่ กดิ การยา้ ยงานตามบคุ ลากร สามารถทำ�งานตามโครงสรา้ งได้อยา่ งตอ่ เนื่อง

2. ตำ�แหน่งหัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เห็นควรกำ�หนดตำ�แหน่งดังกล่าว ให้เป็น 
นักสังคมสงเคราะห์ชำ�นาญการพิเศษ เน่ืองจากเนื้องานส่วนใหญ่เป็นงานด้านสวัสดิการสังคม อีกท้ังเป็นการ 
เปิดโอกาสการเติบโต ก้าวหน้าในต�ำ แหน่งนักสังคมสงเคราะห์

3 .   ก ร ะ ท ร ว ง ฯ   ค ว ร จั ด ห ลั ก สู ต ร ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร อ ย่ า ง ท่ัว ถึ ง แ ล ะ ต่ อ เ น่ือ ง ทุ ก ร ะ ดั บ 
โดยอาจร่วมกับสถาบันการศึกษา โดยเฉพาะหลักสูตรที่สอดคล้องกับบทบาทและภารกิจใหม่ เช่น การวิเคราะห์
สถานการณ์ด้านสังคม การจัดทำ�และขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ หลักการและแนวทางการทำ�งานร่วมกับชุมชน 
การประเมนิ ผล การเงินการคลงั  ฯลฯ

ดา้ นงบประมาณ

4. การพิจารณาจัดสรรงบประมาณในการดำ�เนินโครงการ กิจกรรม ขอให้พิจารณาจากคำ�ขอ 
งบประมาณจาก สนง.พมจ. ซ่งึ มองจากสภาพปัญหา ขนาดพ้นื ท่ ี จำ�นวนกล่มุ เป้าหมาย และสถานการณ์ทางสังคม 
ของจงั หวดั นน้ั ๆ และใหร้ วมถึงการพิจารณาสรรหาบคุ ลากรใน สนง.พมจ.นนั้ ๆ ด้วย

5. ควรสนับสนุนงบประมาณท่ีเหมาะสม ให้กับ สนง.พมจ.ในการดำ�เนินงานตามมาตรฐานการปฏิบัติ
งานของส�ำ นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

ดา้ นการพัฒนา

6. นำ�มาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของ สนง.พมจ. ยกระดับในการประเมินรางวัลคุณภาพการบริการ
ภาครัฐของ กพร. โดยต้องมกี ารประเมนิ ในทุกปี

7. การส่งเสริมความรู้ และกระตุ้นการใช้มาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของ สนง.พมจ. โดยเฉพาะ
ผู้นำ�องค์การ (พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด) ให้เข้าใจและสามารถขับเคล่ือนการพัฒนาองค์การ 
ตามมาตรฐานการปฏบิ ตั ิหน้าท่ขี อง สนง.พมจ. อยา่ งตอ่ เนื่อง

8. สร้างความรู้ ความเข้าใจมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของ สนง.พมจ.ให้คณะทำ�งานนิเทศ และ 
คณะท�ำ งานประเมินผล

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ที่ของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 9

ขอ้ ส่งั การของปลดั กระทรวง

1. กำ�หนดเป็นนโยบายให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ทุกจังหวัด ใช้ชุดมาตรฐาน 
การปฏิบตั หิ น้าที่ของส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย ์ ถือปฏิบตั ิเปน็ แนวทางการปฏิบตั ิงาน

2. ให้กองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวง ส่งเสริม สนับสนุน เพ่ือเป็นขวัญกำ�ลังใจให้หน่วยงาน 
ที่ประสบความสำ�เรจ็ ในการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน ตามความเหมาะสม

3. ให้กองยุทธศาสตร์และแผนงาน นำ�มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.พมจ. นำ�ไปใช้ประโยชน์
ในการจัดท�ำ นโยบายของกระทรวง

4. แต่งต้ังคณะทำ�งานนิเทศ และคณะทำ�งานประเมินผล ตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของ สนง.
พมจ. เพื่อเปน็ กลไกในการขบั เคลื่อนงานมาตรฐาน



10 มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ทีข่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัด

บทท่ ี 3

มาตรฐาน ตัวชีว้ ัดและเกณฑ์

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวัด ประกอบด้วย 
4 มติ ิ 20 ด้าน 56 มาตรฐาน 111 ตัวชวี้ ดั และเกณฑ์ ดังนี้

1. มติ ปิ ัจจัยนำ�เข้า 

มี 4 ด้าน 6 มาตรฐาน 37 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ด้านโครงสร้างองค์การ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และ 
งบประมาณเป็นมาตรฐานท่ีหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 
ต้องดำ�เนินการสนับสนุน เพ่ือให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีทรัพยากรเพียงพอ 
และเหมาะสมกบั การปฏิบตั ิหนา้ ที่ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและบรรลผุ ลส�ำ เรจ็ ตามเป้าหมายของกระทรวง

มติ ทิ ่ ี 1. มติ ปิ ัจจัยน�ำ เข้า 4 ด้าน 6 มาตรฐาน 37 ตัวช้ีวัด

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์
1. โครงสร้างองค์การ
1. การแบง่ ฝา่ ย 1. จำ�นวน 1 ฝ่าย 2 กลุ่ม ประกอบด้วย มคี รบทั้ง 1 ฝ่าย 2 กลมุ่
2. บคุ ลากร ครอบคลมุ บทบาท -- ฝา่ ยบริหารท่วั ไป 
หน้าที่ -- กลมุ่ นโยบายและวิชาการ
-- กลมุ่ การพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร

2. โครงสร้าง  2. สนง.พมจ. มีพืน้ ท่ีปฏบิ ัติงานทเี่ ป็นสดั ส่วน ไมน่ อ้ ยกวา่  2.3 ตารางเมตร 
เชงิ กายภาพ และเหมาะสม โดยมอี าคารสำ�นกั งาน  ต่อคน 
ที่แยกเป็นเอกเทศ หรอื มีสถานปฏบิ ตั งิ าน   
ท่อี ย่ใู นศาลากลางเพยี งพอต่อภารกิจ
3. มีห้องประชมุ เป็นสัดส่วน 1 หอ้ ง
4. มีหอ้ งส�ำ หรับสอบขอ้ เท็จจรงิ   1 หอ้ ง 
และใหค้ ำ�ปรกึ ษาแก่ผู้ใช้บริการ
5. มีหอ้ งเกบ็ พัสดเุ ป็นสัดสว่ น 1 ห้อง
6. มพี น้ื ทส่ี �ำ หรบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารอยา่ งเพยี งพอ อยา่ งนอ้ ย 9 ตารางเมตร
7. มีมมุ อเนกประสงค์ส�ำ หรับบริการประชาชน อยา่ งนอ้ ย 4 ตารางเมตร
และบุคลากร

3. ปริมาณบคุ ลากร 8. จำ�นวนข้าราชการ พนกั งานราชการ และ/ 4–11 คนต่อกลุ่ม/ฝา่ ย
เพยี งพอตอ่ การ หรอื ลูกจ้างประจ�ำ  ตอ่ กล่มุ /ฝ่าย
ปฏบิ ตั ติ ามบทบาท
หน้าที่

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวดั 11

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั เกณฑ์
3. วสั ดุอปุ กรณ์ 4. คณุ ภาพ  9. พมจ.ผ่านการอบรมการบริหารระดับสงู ผา่ น
10. รอ้ ยละของหัวหน้ากล่มุ /ฝา่ ย  รอ้ ยละ 100 
ของบุคลากร อย่างน้อย 1 คน 
เหมาะสมตอ่ การ ได้รบั การอบรมผบู้ ริหารระดบั กลาง ต่อส�ำ นักงาน 
ปฏิบตั หิ นา้ ที่ 11. จำ�นวนนักสงั คมสงเคราะห ์ ร้อยละ 80 

5. ความเพยี งพอ รบั อนุญาตตาม พ.ร.บ.วชิ าชพี ร้อยละ 50 
ของวสั ดุอุปกรณ์ สังคมสงเคราะห ์ พ.ศ.2556  
ทจี่ �ำ เปน็ ต่อการ 12. ร้อยละของบคุ ลากรทเ่ี ขา้ อบรมพัฒนา
ท�ำ งาน ความรูท้ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกับงานในแต่ละปี รอ้ ยละ 20 
13. ร้อยละของบุคลากรทไ่ี ด้รบั การ  รอ้ ยละ 80 
ฝึกทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษ   ร้อยละ 90 
และ/หรอื  ภาษาของประเทศสมาชิก ร้อยละ 100 
ประชาคมอาเซียน 1 คน/ปี /สนง.พมจ.
14. รอ้ ยละของบุคลากรท่สี ามารถ 
ใช้ภาษาอังกฤษในการสอื่ สาร 16–24 เครอ่ื ง ตอ่ ส�ำ นกั งาน
15. ร้อยละของบุคลากรทง้ั หมด ที่มี  4 เครื่องตอ่ สำ�นักงาน 
วฒุ กิ ารศกึ ษาไมต่ า่ํ กวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรี 5 เครอ่ื งตอ่ สำ�นกั งาน
16. ร้อยละของบุคลากรปฏบิ ตั ิงาน  1 เครอ่ื งตอ่ สำ�นักงาน
ตรงตามกรอบอตั รากำ�ลงั ท่ีกำ�หนด 2 เครอ่ื งต่อสำ�นักงาน
17. ร้อยละของบุคลากรที่มสี มรรถนะ  4–6 คสู่ ายตอ่ ส�ำ นกั งาน
ตามที ่ กพ. กำ�หนด 4 เครือ่ งตอ่ ส�ำ นักงาน
18. จ�ำ นวนบุคลากรทีไ่ ดไ้ ปอบรม/ศึกษา  2 เคร่อื งตอ่ ส�ำ นกั งาน
ดูงาน/ประชมุ วชิ าการ ในตา่ งประเทศ 1 เครื่องตอ่ สำ�นักงาน
19. จำ�นวนคอมพิวเตอร์แบบตง้ั โตะ๊ 4 เครื่องต่อสำ�นกั งาน
20. จ�ำ นวนคอมพิวเตอรก์ ระเป๋าหิว้   1 เครื่องต่อสำ�นักงาน 
(Note book) 1 ชดุ ต่อส�ำ นักงาน
21. จำ�นวนเคร่อื งพมิ พ ์ (Printer) 2 เครื่องตอ่ ส�ำ นักงาน
22. จำ�นวนเครอ่ื งถา่ ยเอกสาร 1 ชดุ ต่อส�ำ นกั งาน
23. จ�ำ นวนเครื่องฉาย LCD
24. จ�ำ นวนโทรศัพทส์ ายตรง
25. จ�ำ นวนโทรศพั ทม์ อื ถอื
26. จำ�นวนเครื่องโทรสาร
27. จ�ำ นวนเครอ่ื งโรเนยี วดจิ ติ อล
28. จำ�นวนกลอ้ งดจิ ิตอล
29. จำ�นวนเครือ่ งฉายวสั ดทุ บึ แสง  
(Visualize)
30. จ�ำ นวนเครอ่ื งขยายเสยี งเคลอ่ื นที่
31. จำ�นวนโทรทัศน์
32. ชุดประชาสมั พันธ์เคลือ่ นท่ี

12 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัด

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์
4. งบประมาณ 6. ความทันเวลา 
33. ระบบประชุมทางไกลออนไลน ์ 1 จดุ ใชง้ านตอ่ ส�ำ นกั งาน 
ในการเบิกจา่ ย  (web conference)
งบประมาณ 34. จ�ำ นวนยานพาหนะ รถยนต ์   4–6 คันต่อส�ำ นักงาน 
ทสี่ ามารถใชง้ านได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน  
ของส�ำ นกั งบประมาณ
35. จ�ำ นวนยานพาหนะทไ่ี ดท้ �ำ ประกนั ภยั    รอ้ ยละ 100 
ตามมติ ครม. พ.ศ. 2548
36. จำ�นวนรถจกั รยานยนตท์ ่สี ามารถใชง้ านได ้ 1 คันต่อสำ�นักงาน
ตามเกณฑม์ าตรฐานของส�ำ นกั งบประมาณ

37. ร้อยละการเบกิ จ่ายตามท ่ี ครบตามเกณฑ ์
สำ�นกั งบประมาณกำ�หนด ท่สี �ำ นกั งบประมาณก�ำ หนด

2. มิติระบบและกระบวนการ 

มี 4 ด้าน 8 มาตรฐาน 12 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ด้านระบบและกระบวนการสื่อสารขององค์การ ด้านระบบ 
และกระบวนการกำ�กับติดตามงาน ด้านระบบและกระบวนการประเมินผล และด้านระบบและกระบวนการ
ควบคุมภายใน หากองค์การมีการสื่อสารในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ จะทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าใจ
นโยบาย เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กฎหมาย ระเบียบ และวิธีการปฏิบัติงานได้ดีย่ิงข้ึน ทำ�ให้การปฏิบัติงาน 
มปี ระสิทธิภาพและบรรลเุ ป้าประสงค์ขององค์การ

มิต ิ 2. มิตริ ะบบและกระบวนการ 4 ด้าน 8 มาตรฐาน 12 ตวั ช้วี ัด

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชี้วัด เกณฑ์

1. ระบบและกระบวนการ  1. การกำ�หนดรปู แบบ  1. จ�ำ นวนรปู แบบการสอ่ื สารภายใน อยา่ งนอ้ ย 5 รปู แบบ
สอื่ สารขององค์การ การสอ่ื สาร  ส�ำ นกั งาน
ในสำ�นักงาน ไมเ่ กิน 1 วัน ท�ำ การ 
หลงั จากรับเรือ่ ง
2. ความทนั เวลา  2. ระยะเวลาทีม่ ีการส่งตอ่ ข่าวสาร  1 ครั้งตอ่ เดือน 
ของการสือ่ สาร แก่ผเู้ กี่ยวข้อง อย่างนอ้ ย 4 คร้งั  
ตอ่ เดือน
3. ความถ่ใี นการถา่ ยทอด 3. จำ�นวนคร้ังของการประชมุ ช้แี จง 
ข่าวสาร และแลกเปลย่ี นขา่ วสารในส�ำ นกั งาน
4. จ�ำ นวนครั้งของการประชมุ ช้ีแจงและ 
แลกเปล่ียนข่าวสารภายใน/ระหวา่ ง
กลุ่ม/ ฝ่าย หรือ ระหว่างกลุ่มฝา่ ย  
และ/หรอื  กบั  พมจ.

มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ทีข่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด 13

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั เกณฑ์

2. ระบบและกระบวนการ  4. การกำ�กบั ตดิ ตามงาน 5. มแี ผนก�ำ กบั และติดตามงาน  มคี รบทุกกลุ่ม/ฝา่ ย
กำ�กับตดิ ตามงาน ตามแผนปฏิบตั ิงาน ภาพรวมและของแตล่ ะกลมุ่ /ฝา่ ย
ประจ�ำ ปี

5. การมรี ายงาน  6. รอ้ ยละของโครงการทม่ี รี ายงาน  รอ้ ยละ 100
การปฏบิ ัติงาน  ตามระยะเวลาทก่ี �ำ หนด
ตามโครงการ

3. ระบบและกระบวนการ  6. ความโปร่งใส  7. ร้อยละของ จนท. ทีไ่ ด้รับรเู้ กณฑ ์ รอ้ ยละ 100
ประเมนิ ผล ของระบบ  ในการประเมนิ ผล ไม่เกินรอ้ ยละ 10
การประเมินผล
8. ร้อยละของบคุ ลากรทร่ี ้องเรยี นเก่ยี วกบั
การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน

7. การเขยี นรายงาน  9. ร้อยละของ จนท. ท่เี ขยี นรายงานผลงาน รอ้ ยละ 100
ผลการปฏิบัติงาน ในแบบฟอร์ม
ประจ�ำ เดือน 
ของบุคลากร

4. ระบบและกระบวนการ  8. การจดั วางระบบ  10. จ�ำ นวนแผนการจดั วางระบบการควบคมุ   1 แผนต่อป ี
ควบคุมภายใน การควบคมุ ภายใน ภายใน ครอบคลมุ ทุกกลุ่ม/ฝา่ ย
11. จำ�นวนการประชุมช้ีแจง  2 ครัง้ ตอ่ ป ี
และก�ำ กับให้มีการดำ�เนินงาน 
ตามแผนควบคมุ ภายใน
12. จำ�นวนรายงานผลการดำ�เนนิ งาน  1 ฉบบั ต่อปี
ตามแผนควบคมุ ภายใน

14 มาตรฐานการปฎิบัติหน้าทีข่ องสำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวดั

3. มิตวิ ฒั นธรรมองค์การ 

มี 2 ด้าน 8 มาตรฐาน 11 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ และด้านภาวะผู้นำ� สำ�นักงาน 
พฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด

การสร้างวัฒนธรรมองค์การที่มีประสิทธิผลเป็นสิ่งสำ�คัญสำ�หรับองค์การยุคใหม่ วัฒนธรรมองค์การ
ท่ีมีประสิทธิผลที่ สนง.พมจ.ควรดำ�เนินการสร้างและปลูกฝังแก่บุคลากรได้แก่ วัฒนธรรมแบบช่วยเหลือเกื้อกูล
ซึ่ ง เ น้ น ก า ร ทำ � ง า น เ ป็ น ที ม   ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท่ี ดี ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ล า ก ร   ก า ร ส อ น ง า น ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ล า ก ร ที่ มี  
ค ว า ม เช่ี ย ว ช า ญ ชำ � น า ญ แ ก่ บุ ค ล า ก ร ท่ี ยั ง มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ น้ อ ย   วั ฒ น ธ ร ร ม พั น ธ กิ จ   ท่ี มุ่ ง ก า ร ส ร้ า ง ค่ า นิ ย ม 
และพฤติกรรมการทำ�งาน ที่ยึดเป้าประสงค์และยุทธศาสตร์ขององค์การเป็นหลัก วัฒนธรรมนวัตกรรม ที่เน้น 
การส่งเสริมให้สมาชิกองค์การมีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อจะได้เป็นฐาน
ในการคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมในการแก้ปัญหาสังคมท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้นได้อย่างมีประสิทธิผล 
และวัฒนธรรมธรรมาภิบาล ที่เน้นการบริหารงานอย่างโปร่งใส มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ เปิดให้ประชาชน 
มีสว่ นร่วม เน้นความมปี ระสิทธิภาพ และยดึ หลกั คุณธรรมในการด�ำ เนนิ งาน 

ในยุคปัจจุบัน องค์การจำ�เป็นต้องสร้างภาวะผู้นำ�การเปล่ียนแปลงให้เกิดขึ้นในทุกระดับต้ังแต่ระดับ 
ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงาน ไปจนถึงหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย และรวมไปถึงบุคลากรทุกคน ภาวะผู้นำ� 
การเปล่ียนแปลงมีขอบเขตในเรื่อง การสร้างวิสัยทัศน์ ทั้งในระดับส่วนบุคคลและระดับองค์การ การถ่ายทอด
วิสัยทัศน์ได้อย่างมีพลังเพ่ือสร้างแรงดลใจให้แก่สมาชิกขององค์การ การกำ�หนดเป้าหมายที่ท้าทาย การกระตุ้น
ปัญญาและการคิดอย่างมีเหตุมีผล รวมท้ังการคำ�นึงถึงสวัสดิการสวัสดิภาพแก่บุคลากร ดังนั้นหน่วยงานและผู้นำ�
หน่วยงานจึงจำ�เป็นต้องสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาให้พัฒนาตนเองเข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างปัญญากับหน่วยงาน
ภายนอก และมีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงาน ซึ่งเป็นรากฐานของการ 
ก่อเกดิ วสิ ัยทัศน ์ รวมท้งั มีการสอ่ื สารวิสยั ทัศน ์ พันธกิจและยุทธศาสตรแ์ ก่ผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชาอยา่ งต่อเนอื่ ง

มติ  ิ 3. มิติวัฒนธรรมองคก์ าร 2 ด้าน 8 มาตรฐาน 11 ตวั ชีว้ ดั

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์

1.วัฒนธรรมองคก์ าร  1. การท�ำ งานเปน็ ทมี 1. จำ�นวนกจิ กรรมหรอื โครงการ  ไมน่ ้อยกว่า 5 กจิ กรรม
ท่สี ง่ เสริมการทำ�งานเป็นทีม หรอื โครงการต่อปี 
2. การสร้างความสมั พนั ธ์ 1 กจิ กรรมหรอื โครงการ 
ในส�ำ นกั งาน 2. จ�ำ นวนกิจกรรมพัฒนาทีมงาน ต่อปี
อยา่ งนอ้ ย 4 ครั้งตอ่ ปี
3. การเรียนรรู้ ่วมกนั   3. จ�ำ นวนกจิ กรรมสรา้ งสมดลุ ในชีวติ   รอ้ ยละ 80
ภายในองค์การ และงาน (Work Life Balance)
อยา่ งนอ้ ย 6 คร้งั ตอ่ ปี
4. การจดั การความร ู้ 4. ร้อยละของบุคลากรท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรม
ในองค์การ แตล่ ะกิจกรรม อย่างนอ้ ย 1 เร่อื ง 
ต่อกล่มุ /ฝ่ายตอ่ ปี
5. จ�ำ นวนการจัดเสวนาในประเด็นใหมๆ่   
ท่เี กี่ยวข้องกบั สังคมภายในหนว่ ยงาน

6. จ�ำ นวนเรื่องทมี่ ีการจดั การความรู้

มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัด 15

ด้าน มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั เกณฑ์

2. ภาวะผนู้ �ำ 5. การสร้างค่านยิ ม  7. จ�ำ นวนค่านิยมร่วมท่ีสอดคล้องกับหลกั   อยา่ งนอ้ ย 6 ขอ้
ธรรมาภิบาลในองคก์ าร ธรรมาภบิ าลทม่ี กี ารประกาศตอ่ สาธารณะ

6. การสนับสนุนการพัฒนา 8. ร้อยละของเจา้ หน้าที่ท่ีไดร้ ับอนญุ าต  รอ้ ยละ 80
ผ้ใู ต้บงั คับบัญชา ใหไ้ ปอบรมหรอื สมั มนาในรอบปี

7. การสื่อสารวิสัยทศั น ์ 9. จำ�นวนครัง้ ท่ีมกี ารถ่ายทอดเน้อื หา   อย่างนอ้ ย 12 คร้ังตอ่ ป ี
พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ วสิ ัยทศั น ์ พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ อย่างน้อย 4 ครั้งตอ่ ปี

10. จ�ำ นวนครั้งที่มีการถา่ ยทอด
กระบวนการท�ำ งานเชงิ ยทุ ธศาสตร์

8. การถา่ ยทอดความรใู้ หมๆ่   11. จำ�นวนครง้ั ในการถ่ายทอดความร ู้ 1 คร้ังต่อเดอื น
ให้กับผใู้ ตบ้ งั คบั บัญชา แกผ่ ูใ้ ต้บงั คบั บญั ชา

4. มติ ผิ ลผลิตและผลลพั ธ์ 

กรอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี อง สนง.พมจ. ตามกฎหมายม ี 10 ดา้ น 34 มาตรฐาน และ 51 ตวั ชว้ี ดั  ไดแ้ ก ่
4.1 ด้านการจัดทำ�นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 

รวมทัง้ รายงานสถานการณท์ างสังคม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
4.2 ด้านการประสานและจัดทำ�แผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคง

ของมนษุ ยใ์ นระดับจงั หวดั  ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง
4.3 ด้านการส่งเสริมและประสานการดำ�เนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมาย 

ของหน่วยงานในกระทรวง
4.4 ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำ�เนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัด ท้ังภาครัฐ

และภาคเอกชน
4.5 ด้านการส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมท้ังการส่งต่อ 

ให้หน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีมีอำ�นาจหน้าท่ีในการจัดสวัสดิการสังคม
ตามกฎหมาย
4.6 ดา้ นการกำ�กับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ด�ำ เนินการตามกฎหมาย นโยบายของกระทรวง 
แ ล ะ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล   แ ผ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ใ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง 
ส่วนราชการและหนว่ ยงานสงั กัดกระทรวงในระดับจงั หวดั
4.7 ดา้ นการเป็นศูนยข์ อ้ มูลดา้ นการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยใ์ นระดับจงั หวัด
4.8 ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย ์ รวมทง้ั ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการและผลการปฏิบัตงิ านของกระทรวง
4.9 ด้านการรบั เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ข์และแกไ้ ขปัญหาสงั คม ในระดับจังหวัด
4.10 ด้านการปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย

16 มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ศึ ก ษ า   วิ เ ค ร า ะ ห์   แ ล ะ ร า ย ง า น ส ถ า น ก า ร ณ์ สั ง ค ม   เ พ่ื อ กำ � ห น ด น โ ย บ า ย 
ในระดบั จงั หวดั  รวมทงั้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข การวเิ คราะหแ์ ละรายงานสถานการณท์ างสงั คมเปน็ เงอื่ นไขเบอื้ งตน้  
ที่ทำ�ให้ทราบปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ซ่ึงจะเป็นรากฐานในการกำ�หนดนโยบาย 
ได้อยา่ งตรงประเด็นและถูกต้องตอ่ ไป 
มติ  ิ 4 มิตผิ ลผลิตและผลลัพธ์ 10 ดา้ น  34 มาตรฐาน 51 ตวั ช้วี ดั

ด้าน มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั เกณฑ์

1. การจดั ทำ�นโยบายและ 1. การจดั การวเิ คราะหส์ ถานการณ ์ 1. จำ�นวนครงั้ การวิเคราะห์ 1 ครง้ั ต่อปี
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคม ภาพรวม และแนวโนม้   1 ฉบับต่อปี
และความมน่ั คงของมนุษย ์ ดา้ นสังคมและกลุม่ เป้าหมาย 
ในระดบั จงั หวดั  รวมทง้ั ในจังหวัดรว่ มกับหน่วยงาน 
รายงานสถานการณ ์ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
ทางสงั คม และเสนอแนะ 
แนวทางแก้ไข 2. การจดั ท�ำ รายงาน การวเิ คราะห ์ 2. จำ�นวนรายงาน
แนวโน้ม การจัดลำ�ดบั  
ความสำ�คัญดา้ นสังคม  
และกลมุ่ เป้าหมายในจงั หวดั

3. การศึกษาวจิ ยั 3. จำ�นวนรายงานวิจยั 1 เร่ืองตอ่ ปี

4. การจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การ 4. จำ�นวนแผนยทุ ธศาสตร ์ 1 แผนตอ่  5 ปี
พัฒนาสังคมและความม่นั คง การพัฒนาสงั คมและความมัน่ คง
ของมนษุ ยจ์ ังหวดั ของมนุษยจ์ งั หวัด

5. การปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ 5. จำ�นวนครงั้ ในการปรับปรงุ   1 คร้ังตอ่ ปี
การพัฒนาสงั คมและความ แผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนา
ม่ันคงของมนุษย์จังหวดั สังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
จงั หวัด

6. แผนกลยุทธ์ดา้ นสังคม  6. จำ�นวนโครงการด้านสงั คม  อย่างน้อย  
ในแผนพัฒนาจังหวดั ที่ได้รับการบรรจุในแผนพัฒนา 1 โครงการ
จังหวดั

2. การประสานและจดั ทำ�  7. การจดั ท�ำ และขบั เคลอ่ื นแผน 7. จำ�นวนแผนดา้ นสังคม  6 แผนต่อปี
แผนงาน โครงการและ ดา้ นสงั คม ทมี่ กี ารจัดท�ำ และขบั เคลอ่ื น 1 แผนตอ่ ปี
กิจการดา้ นการพฒั นาสังคม  รอ้ ยละ 100
และความมน่ั คงของมนษุ ย ์ 8. แผนปฏบิ ัติงานประจำ�ปี 8. จ�ำ นวนแผนปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ปี
9. ร้อยละของโครงการท่ไี ด้รบั
ในระดบั จงั หวัดใหเ้ ป็นไป 
ตามนโยบายของกระทรวง การน�ำ ไปปฏบิ ัติ

9. การประเมินผลแผน 10. จ�ำ นวนแผนดา้ นสังคม  ทุกแผน
ท่ไี ด้รบั การประเมิน 1 ฉบับต่อปี

11. จำ�นวนรายงานการประเมนิ ผล
แผนปฏบิ ัติงานประจ�ำ ปี

มาตรฐานการปฎิบตั ิหนา้ ที่ของสำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 17

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์

3. การสง่ เสรมิ และประสาน  10. ความครบถว้ นในการด�ำ เนนิ งาน  12. รอ้ ยละของภารกิจ  ร้อยละ 100
การดำ�เนินงานการจัด ที่ได้รบั การมอบหมาย  ทีม่ ีการปฏิบตั  ิ ร้อยละ 80
กิจกรรมตา่ งๆ ตามภารกิจ จากหนว่ ยงานในกระทรวง ตามทไ่ี ด้รบั การประสาน
และเปา้ หมายของ  เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
หนว่ ยงานในกระทรวง
11. ความทนั เวลาในการปฏบิ ตั งิ าน  13. รอ้ ยละของภารกิจท่มี ีการ
ทีไ่ ดร้ ับการมอบหมาย ปฏิบัติตามเวลาทก่ี ำ�หนด

12. การรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน 14. รอ้ ยละของโครงการ/กิจกรรม  ร้อยละ 80
ตามภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทด่ี �ำ เนนิ งานมีการรายงานผล
การด�ำ เนินงาน

4. การสง่ เสรมิ  สนับสนุน  13. จดั ทำ�ระบบ และวเิ คราะห์  15. จำ�นวนระบบขอ้ มูลองค์กร  1 ระบบ
และประสานการดำ�เนนิ งาน  ข้อมลู องคก์ รเครอื ข่าย เครอื ข่าย 1 ครง้ั ตอ่ ปี
กับองคก์ รเครอื ขา่ ย  ร้อยละ 80
ในจงั หวดั ทั้งภาครัฐ  16. จำ�นวนการปรบั ปรุงข้อมูล
และภาคเอกชน องค์กรเครอื ขา่ ย
14. การมแี กนน�ำ ประสานงาน
เครือขา่ ย 17. รอ้ ยละของตำ�บลท่ีมแี กนนำ�
ประสานงานเครือข่ายครบ 
ทุกกลมุ่ เป้าหมายที่กำ�หนด

15. การส่ือสารกับองค์กร  18. ร้อยละขององคก์ รเครอื ขา่ ย  รอ้ ยละ 80
เครอื ข่าย ที่มกี ารส่งขอ้ มลู ขา่ วสาร อยา่ งน้อย 
ไตรมาสละ 1 ครั้ง
19. จ�ำ นวนครัง้ ในการส่งขอ้ มลู
ขา่ วสารใหก้ บั องคก์ รเครอื ขา่ ย

16. การสนบั สนนุ การดำ�เนนิ งาน 20. จ�ำ นวนการจัดประชุมร่วม  12 ครั้งตอ่ ป ี
เครอื ข่าย แกนน�ำ เครือขา่ ย

21. จ�ำ นวนการจดั อบรมใหค้ วามรู้ 12 ครงั้ ตอ่ ปี
และพัฒนาศกั ยภาพสมาชิก 
องค์กรเครือขา่ ย

22. ร้อยละขององค์กรเครือข่าย  ร้อยละ 80
ทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั  สนง.พมจ.

23. ร้อยละขององค์กรเครอื ขา่ ย  ร้อยละ 50
ทีย่ ืน่ ขอและไดร้ ับการสนบั สนุน
งบประมาณจาก สนง.พมจ.

17. การตดิ ตามประเมินผล 24. รอ้ ยละของโครงการท่มี รี ายงาน รอ้ ยละ 100
โครงการท่ีเครือขา่ ยไดร้ บั   ประเมนิ ผลการด�ำ เนินงาน
การสนับสนุนงบประมาณ 
จาก กระทรวงการพัฒนา
สงั คมและความมั่นคง 
ของมนษุ ย์

18 มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั

ด้าน มาตรฐาน ตัวช้วี ัด เกณฑ์

5. การสง่ เสริมและประสานงาน  18. การส่งเสริมการจดั   25. จ�ำ นวนโครงการทีม่ กี าร  6 โครงการ
การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหา สวัสดิการสงั คม  บรู ณาการการชว่ ยเหลอื  
ทางสังคม รวมทง้ั การสง่ ตอ่   แก่กลุ่มเปา้ หมาย ผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม 1 โครงการ
ใหห้ นว่ ยงานอน่ื ทเี่ กีย่ วขอ้ ง   มแี ผนผังครบทกุ
ทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน  26. จำ�นวนโครงการทมี่ ลี กั ษณะ  กิจกรรม 
ท่ีมีอำ�นาจหน้าทีใ่ นการ  เป็นนวัตกรรม ทีใ่ ห้บริการ
จัดสวัสดิการสังคม  19. การใหบ้ ริการ  ร้อยละ 85
ตามกฎหมาย ตอ่ กล่มุ เป้าหมาย 27. มแี ผนผังแสดงข้นั ตอน  6 ครงั้ ต่อปี
และก�ำ หนดเวลาของกจิ กรรม 
20. การสง่ เสริมความเขม้ แข็ง  ทใี่ ห้บริการแตล่ ะประเภท ร้อยละ 80 ของ
ในการปฏบิ ตั ิงานด้านพฒั นา องคก์ รปกครอง
สงั คมและการจดั สวสั ดกิ าร 28. ร้อยละของผู้รบั บรกิ ารทม่ี  ี ส่วนท้องถน่ิ  
สังคมให้กบั องคก์ รปกครอง ความพึงพอใจต่อการให้บริการ ทไ่ี ดร้ บั เชญิ เขา้
สว่ นท้องถ่นิ อบรม/สมั มนา 
29. จำ�นวนครัง้ การอบรม/สมั มนา  ในแต่ละคร้งั
21. การให้ความชว่ ยเหลือ  ดา้ นพฒั นาสังคมและ  ร้อยละ 100
ผปู้ ระสบปัญหาเร่งดว่ น การจัดสวัสดิการสงั คม 
แกบ่ คุ ลากรที่รับผดิ ชอบ  1 แผนตอ่ ปี
6. การก�ำ กบั ดแู ลหน่วยงานใน  22. การกำ�กับ ดแู ล และตดิ ตาม ในหน่วยงานทอ้ งถนิ่ อย่างน้อย 1 ครง้ั  
สังกัดกระทรวงให้ด�ำ เนินการ  การดำ�เนินงานตามนโยบาย  ตอ่ ไตรมาส
ตามกฎหมาย นโยบาย  ของกระทรวง 30. ร้อยละขององค์กรปกครอง  อยา่ งนอ้ ย 1 ครง้ั  
ของกระทรวง และตดิ ตาม  สว่ นท้องถนิ่ ทไ่ี ด้เข้าร่วม  ต่อไตรมาส
และประเมินผลแผนการ การอบรม /สัมมนา   อย่างนอ้ ย  
ปฏิบตั ิราชการของกระทรวง ถ่ายทอดความรู้ 6 ครง้ั ตอ่ ปี
ในความรับผดิ ชอบของ 
ส่วนราชการและหน่วยงาน 31. รอ้ ยละของผู้ประสบปญั หา 
สังกดั กระทรวงในระดบั เรง่ ดว่ นท่ีได้รับการชว่ ยเหลือ
จงั หวัด ทันเหตุการณ์

32. จ�ำ นวนแผนบรู ณาการ 
ของหน่วยงานในพืน้ ท่จี งั หวัด

33. จำ�นวนครัง้ การรายงานผล 
ตามแผนบรู ณาการ

34. จ�ำ นวนรายงานการเบกิ จา่ ย 
งบประมาณของหนว่ ยงาน 
ในพืน้ ทจี่ ังหวดั

35. จ�ำ นวนครงั้ ของการประชุม
หนว่ ยงาน พม.ในพน้ื ทจ่ี งั หวัด

มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด 19

ดา้ น มาตรฐาน ตัวชวี้ ัด เกณฑ์

7. การเป็นศนู ยข์ อ้ มลู   23. การจดั ตั้งศูนยป์ ฏิบัติการ  36. มีศนู ย์ปฏบิ ตั ิการด้านขอ้ มลู   1 ศูนย์
ด้านการพัฒนาสังคม  ด้านขอ้ มูล การพัฒนาสงั คม 
และความมั่นคงของมนุษย ์ และความมนั่ คงของมนุษย์
ในระดับจังหวดั 24. ความครอบคลุมของข้อมูล
37. จำ�นวนเรือ่ งทีม่ กี ารเก็บรวบรวม ครบทกุ เรอ่ื ง 
ตามขอ้ ก�ำ หนด
ของกระทรวงฯ

25. ความทนั สมัยของข้อมลู 38. จ�ำ นวนคร้ังในการปรับปรงุ 2 ครง้ั ตอ่ ปี 
26. ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู ขอ้ มลู ในแต่ละเรือ่ ง

39. รอ้ ยละของเรอ่ื งท่จี ัดเกบ็ ร้อยละ 100
สามารถอา้ งอิงแหลง่  
หรือแสดงวธิ ีการจัดเก็บ

27. การน�ำ ขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ 40. จ�ำ นวนครงั้ ในการให้บริการ  อย่างนอ้ ย  
ดา้ นข้อมลู 5 ครงั้ ตอ่ ปี

8. การเผยแพร ่ ประชาสัมพันธ ์ 28. แผนการประชาสัมพันธ์ 41. จำ�นวนแผนการประชาสัมพันธ ์ 1 แผนต่อปี
และรณรงค์ให้มีการด�ำ เนนิ ของหน่วยงาน
กิจกรรมเก่ยี วกับการพฒั นา
สงั คมและความมน่ั คง  29. การด�ำ เนนิ งานด้านเวบ็ ไซต์ 42. จำ�นวนครัง้ ของการเขา้ ชม  6,000 ครั้งตอ่ ปี
เว็บไซต์ 4 ครง้ั ต่อเดือน
ของมนษุ ย ์ รวมทง้ั  
ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ 43. ความถใี่ นการปรับปรุงขอ้ มูล

และผลการปฏบิ ัติงาน  30. มกี ารด�ำ เนินงาน  44. จำ�นวนช่องทางการเผยแพร่  อยา่ งนอ้ ย  
ด้าน Social Media Social Media 2 ชอ่ งทาง
ของกระทรวง

31. การรณรงคร์ ว่ มกับ  45. จำ�นวนโครงการรณรงค์ 5 โครงการต่อปี
ภาคประชาสงั คม   46. ร้อยละขององค์การ  รอ้ ยละ 70
และองคก์ ารภาครฐั ภาคประชาสงั คม และองคก์ าร
ภาครัฐ ท่ีร่วมรณรงค์

32. การประชาสัมพันธ ์ 47. จ�ำ นวนขา่ วสารทไ่ี ดร้ ับ  12 ขา่ วต่อปี
ผา่ นสอื่ มวลชน การตีพมิ พ์ในหนงั สือพมิ พ ์
และ/หรอื  การกระจายเสยี ง 
ในวทิ ยุชมุ ชน หรอื เคเบิลทวี ี
ทอ้ งถ่ิน

20 มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ทีข่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์

9. การรับเรื่องราวร้องทุกข ์ 33. การรบั เร่อื งราวรอ้ งทกุ ข ์ 48. รอ้ ยละทไ่ี ดร้ บั การชว่ ยเหลอื   รอ้ ยละ 100
และแก้ไขปญั หาสงั คม  และแกไ้ ขปัญหา หรือส่งตอ่ จากการรับเร่ืองราว
ในระดับจังหวัด ร้องทกุ ข์ ภายใน 3 วนั
อย่างน้อย  
10. การปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับ  49. ระยะเวลาในการรายงาน  3 ชอ่ งทาง
หรอื สนับสนนุ   การช่วยเหลือส่งตอ่ ร้อยละ 95
การปฏบิ ตั ิงานของ 
หนว่ ยงานอ่ืนทเี่ ก่ียวข้อง  50. ช่องทางในการเขา้ ถึง 
หรอื ทไี่ ด้รับมอบหมาย การรอ้ งทุกข์

34. การปฏิบตั ิงานตามภารกจิ   51. รอ้ ยละของภารกจิ  
ที่ไดร้ ับมอบหมายจากจงั หวัด หรอื งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทข่ี องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัด 21

วิสัยทัศน์
“เป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลือ่ นและบรู ณาการนโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาสังคม

ส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมผี ลสมั ฤทธ์”ิ
ค่านยิ มองคก์ าร

“อทุ ิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อ�ำ นวยประโยชนส์ ขุ ”

บทท่ี 4

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

จากการท่ีได้นำ�เสนอมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์  23
ของจังหวัด ในบทที่ 3 โดยบทนี้จะเป็นการนำ�เสนอเรื่องของการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ 
ตัวช้ีวัดการปฏิบัติหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนตาม
มาจากการนำ�มาตรฐานและตัวช้ีวัดไปปฏิบัติ โดยมีการติดตามผลว่า การปฏิบัติตามมาตรฐานและตัวชี้วัดน้ันๆ 
ได้นำ�สู่การบรรลุผลสำ�เร็จท่ีก่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง และบังเกิดผลดีต่อผู้เกี่ยวข้องและประชาชนมากน้อย
เพียงใด นอกจากการประเมินผลเป็นการติดตามดูการบรรลุผลลัพธ์แล้ว ยังเป็นการวัดหรือประเมินตนเองของ 
ผู้ปฏิบัติงาน (Self Assessment) ว่าได้ปฏิบัติตามแนวทางสู่มาตรฐานหรือไม่ ควรปรับปรุงตนเองเรื่องใดบ้าง 
และอย่างไร เพ่ือให้บรรลุผลสำ�เร็จ การประเมินนี้จึงได้กำ�หนดเกณฑ์และระดับคะแนนตามตัวช้ีวัดเพื่อเป็น 
เคร่อื งมอื ในการวดั ระดับการบรรลเุ ปา้ หมายอยา่ งเป็นรูปธรรม

การประเมนิ ผลตามมาตรฐานและตัวช้ีวดั

การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและ 
ความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดนี ้ จะเป็นการประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั ใน 3 มิติ คือ

1. มิต ิ 2 มติ ริ ะบบและกระบวนการ มี 4 ด้าน 8 มาตรฐาน 12 ตัวช้วี ดั
2. มิต ิ 3 มติ ิวฒั นธรรมองคก์ าร มี 2 ดา้ น 8 มาตรฐาน 11 ตัวช้ีวดั
3. มติ ิ 4 มติ ิผลผลิตและผลลัพธ ์ ม ี 10 ดา้ น 34 มาตรฐาน 51 ตัวชว้ี ดั

วธิ กี ารประเมนิ ตามมาตรฐาน

การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานใน 3 มิติ จะเป็นเรื่องของการให้คะแนนตามผลประเมิน 
เพือ่ ใหม้ ีเกณฑว์ ดั ผลทีม่ คี า่ หรือคะแนนคงทส่ี �ำ หรบั การประเมนิ ในแตล่ ะเรอ่ื งและแต่ละครง้ั ทีป่ ระเมนิ

ระบบคะแนน

ระบบคะแนนในคู่มือฉบับน้ีใช้ตัวเลขฐานสิบ เน่ืองจากเป็นเลขฐานที่มีความสามารถในการอธิบาย 
ความหมายได้อย่างชัดเจน และเหมาะสมในการเปรียบเทียบในระดับต่างๆ ตัวช้ีวัดแต่ละตัว จะมีท้ังการให้คะแนน 
ที่เหมือนกันและต่างกัน ตัวชี้วัดท่ีมีความยากและซับซ้อน หากปฏิบัติได้ตามเกณฑ์จะได้รับคะแนนเต็ม 10 
หากปฏิบตั ิไม่ได ้ คะแนนจะลดหลั่นลงมาตามลำ�ดับจนถงึ  0 

ระดบั คะแนนของตัวช้ีวดั

10  หมายถงึ   ดี
7.5  หมายถึง  คอ่ นขา้ งด ี
5  หมายถึง  ควรปรบั ปรุง
2.5  หมายถงึ   ตอ้ งปรับปรงุ
0  หมายถึง  ตอ้ งปรบั ปรงุ อยา่ งเรง่ ด่วน

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั

ตัวชี้วัดบางตัวมีลักษณะที่ยังสามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้ เช่น หากทำ�ได้ตามเกณฑ์จะได้รับคะแนน 7.5 
หากทำ�ไดม้ ากกวา่ เกณฑจ์ ะไดร้ ับคะแนน 10 

ระดบั คะแนนในภาพรวมของมาตรฐานแต่ละด้าน
8.5–10  หมายถึง  ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดี
7.0–8.4  หมายถึง  ผ่านเกณฑ์ในระดับคอ่ นข้างดี 
5.5–6.9  หมายถงึ   ตกเกณฑ์และควรปรับปรุง
3.0–5.4  หมายถึง  ตกเกณฑแ์ ละต้องปรับปรงุ
ตํา่ กว่า 3  หมายถึง  ตกเกณฑแ์ ละตอ้ งปรับปรุงอยา่ งเร่งด่วน

เกณฑ์การประเมินผล

มติ ิท ่ี 2 มติ ริ ะบบและกระบวนการ มี 4 ดา้ น 8 มาตรฐาน และ 12 ตัวชีว้ ัด

1. ดา้ นระบบและกระบวนการสื่อสารขององคก์ าร มี 3 มาตรฐาน คอื
มาตรฐาน 1 การก�ำ หนดรปู แบบการสือ่ สารในสำ�นักงาน
ตัวช้วี ัด 1 จำ�นวนรูปแบบการสอื่ สารภายในส�ำ นักงาน
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 5 รปู แบบ (บอรด์ สอ่ื สารประชาสมั พนั ธข์ า่ วสารในองคก์ าร, แผนผงั  
แสดงการสอ่ื สารตามสายบงั คบั บญั ชา รวมถงึ การสอ่ื สารแบบไมเ่ ปน็ ทางการดว้ ย  
ฯลฯ)

รูปแบบการสอ่ื สารในสำ�นักงาน คะแนน หลักฐานประกอบ
• มีรูปแบบการสือ่ สารภายในองคก์ าร 5 รปู แบบข้ึนไป
• มรี ปู แบบการสือ่ สารภายในองค์การ 4 รูปแบบ 10 • บนั ทกึ การประชุม
• มีรูปแบบการสอื่ สารภายในองค์การ 3 รปู แบบ 7.5 • ภาพถ่ายแสดงรูปแบบ
• มีรูปแบบการสือ่ สารภายในองคก์ าร 2 รปู แบบ 5 • ผงั การสือ่ สารในองคก์ าร
• มรี ปู แบบการส่อื สารภายในองค์การ 1 รูปแบบ หรือไม่มีเลย 2.5 (แผนผงั แสดงขนั้ ตอนการส่อื สาร 
0 ภายในส�ำ นักงานในภาพรวม 1 แผนผงั   

และในแตล่ ะกล่มุ /ฝา่ ยๆ ละ 1 แผนผงั )

24 มาตรฐานการปฎิบตั ิหนา้ ทขี่ องสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั

มาตรฐาน 2  ความทนั เวลาของการสื่อสาร
ตวั ชี้วัด 2  ระยะเวลาที่มกี ารสง่ ต่อข่าวสารแก่ผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง
เกณฑ ์ ไมเ่ กนิ  1 วนั ท�ำ การหลงั จากรบั เรอ่ื ง (รวมท้งั จากกระทรวงฯ และกรมตา่ งๆ  
ท่ีสง่ เข้ามายัง สนง.พมจ. ท้ังหมด เมื่องานธรุ การลงเลขรบั แลว้  เจ้าหนา้ ท ่ี
ผ้เู ก่ยี วข้องกับงานดงั กล่าว ได้รับภายใน 1 วนั )


ระยะเวลาท่มี กี ารส่งตอ่ ขา่ วสารแก่ผูท้ ่เี กีย่ วข้อง คะแนน หลักฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 90 ขนึ้ ไปของหนังสือจากองคก์ ารภายนอก  10 • ทะเบียนคมุ หนงั สอื รบั –ส่ง 
• รอ้ ยละ 70–89 ของหนงั สือจากองค์การภายนอก  7.5 • สำ�เนาหนังสอื มอบหมาย 
• รอ้ ยละ 50–69 ของหนังสอื จากองคก์ ารภายนอก  5
• ตา่ํ กวา่ รอ้ ยละ 50 ของหนงั สือจากองค์การภายนอก 2.5

วธิ ีการค�ำ นวณ
จ�ำ นวนหนงั สือจากภายนอกทไี่ ดร้ ับในรอบปที ผ่ี ้เู กี่ยวข้องไดร้ ับภายใน 1 วันทำ�การ X 100

จ�ำ นวนหนงั สือจากภายนอกที่ได้รับทง้ั หมด

ตัวอย่าง เม่ือส้ินปีงบประมาณ ให้นำ�วันท่ีซ่ึงธุรการลงเลขรับกับวันท่ีซ่ึงผู้เก่ียวข้องได้รับหนังสือ 
มาเปรียบเทียบ และนับจำ�นวนหนังสือท่ผี ้ทู ่เี ก่ยี วข้องมีการเซ็นรับภายใน 1 วัน เช่น ปีงบประมาณ 2559 มีหนังสือ 
เข้ามาใน สนง.พมจ. 1,000 ฉบับ มีผู้ได้รับภายใน 1 วัน 850 ฉบับ ที่เหลือได้รับหนังสือน้ันเกิน 1 วัน ฉะนั้น 
สนง.พมจ. นมี้ ีหนงั สือ รอ้ ยละ 85 ท่ีผ้เู กี่ยวข้องไดร้ ับภายใน 1 วัน คะแนนในขอ้ นีจ้ งึ ได้ เท่ากับ 7.5 คะแนน

มาตรฐาน 3  ความถ่ใี นการถา่ ยทอดข่าวสาร
ตัวชวี้ ดั  3  จ�ำ นวนคร้ังของการประชมุ ชีแ้ จงและแลกเปลีย่ นขา่ วสารในส�ำ นักงาน
เกณฑ ์ 1 ครง้ั ตอ่ เดอื น (12 ครง้ั ตอ่ ป)ี

จำ�นวนครั้งของการประชุมชี้แจงและแลกเปล่ยี นข่าวสาร  คะแนน หลักฐานประกอบ
ในสำ�นกั งาน
10 • รายงานการประชุม
• มีการประชมุ ชี้แจงแลกเปลยี่ นขา่ วสารในสำ�นักงาน     • บันทกึ การประชุม
1 ครง้ั ต่อเดือน (12 ครงั้ ตอ่ ปีขึ้นไป) 7.5

• มีการประชมุ ชแี้ จง แลกเปล่ยี นข่าวสารบอ่ ยครงั้    5
(8–11 ครง้ั ต่อป)ี
2.5
• มีการประชุมชี้แจง แลกเปลีย่ นข่าวสารบางครง้ั   
(5–7 ครั้งต่อป)ี 0

• มกี ารประชุมชี้แจง แลกเปลย่ี นข่าวสารนอ้ ยครั้ง  
(1–4 คร้ังต่อปี)

• ไม่มีการประชมุ ช้ีแจงแลกเปลี่ยนข่าวสาร

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 25

ตวั ชวี้ ดั  4  จ�ำ นวนครงั้ ของการประชมุ ช้ีแจงและแลกเปล่ยี นข่าวสารภายใน  
หรอื ระหวา่ งกลุม่ /ฝ่าย หรือระหวา่ งกลุ่ม/ฝา่ ย และ/หรอื  กบั  พมจ.
อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ตอ่ เดอื น
เกณฑ ์

จำ�นวนครงั้ ของการประชมุ ชแ้ี จงและแลกเปลย่ี นขา่ วสารภายใน  คะแนน หลักฐานประกอบ

• ม ี 4 ครงั้ ต่อเดอื น ขึ้นไป 10 • รายงานการประชุม
• ม ี 3 ครั้งต่อเดือน  7.5 • บนั ทึกการประชุม
• มี 2 ครง้ั ต่อเดือน  5
• มี 1 ครงั้ ต่อเดอื น  2.5
• ไมม่ ี หรอื มนี อ้ ยกวา่  1 ครงั้ ตอ่ เดอื น 0

2. ด้านระบบและกระบวนการก�ำ กับติดตามงาน ม ี 2 มาตรฐาน คอื
มาตรฐาน 4  การกำ�กับตดิ ตามงานตามแผนปฏบิ ตั งิ านประจำ�ปี
ตวั ช้ีวดั  5  มแี ผนก�ำ กับและตดิ ตามงานภาพรวมและของแตล่ ะกลมุ่ /ฝา่ ย
เกณฑ ์ มคี รบทกุ กลมุ่ /ฝา่ ย

การมีแผนก�ำ กบั ติดตามงานภาพรวมและแผนของกลุ่ม/ฝา่ ย คะแนน หลักฐานประกอบ

• มีแผนแสดงขนั้ ตอนการกำ�กบั ติดตามงานภาพรวมของส�ำ นกั งาน   10  • แผนปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ปี
และมคี รบทุกกลมุ่ /ฝา่ ย • แผนก�ำ กบั ติดตามงาน 

• มแี ผนแสดงขน้ั ตอนการก�ำ กบั ตดิ ตามงานภาพรวม และมบี างกลมุ่ /ฝา่ ย 7.5 ภาพรวมของสำ�นกั งาน
• มแี ผนแสดงขน้ั ตอนการก�ำ กบั ตดิ ตามงานภาพรวม แตไ่ มม่ ใี นกลมุ่ /ฝา่ ย 5 • แผนก�ำ กบั ติดตามงาน 
• ไมม่ แี ผนแสดงขน้ั ตอนการก�ำ กบั ตดิ ตามงานภาพรวม แตม่ แี ผนภายในกลมุ่ /ฝา่ ย 2.5  ของกล่มุ /ฝา่ ย
• ไมม่ แี ผนแสดงขน้ั ตอนการก�ำ กบั ตดิ ตามงานทง้ั ภาพรวมและกลมุ่ /ฝา่ ย  0 • หรอื แบบการติดตามงาน

มาตรฐาน 5  การมีรายงานการปฏบิ ตั ิงานตามโครงการ
ตวั ช้วี ดั  6  รอ้ ยละของโครงการท่ีมรี ายงานตามระยะเวลาท่ีกำ�หนด
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100 

รอ้ ยละของโครงการทีม่ รี ายงานตามระยะเวลาทกี่ ำ�หนด คะแนน หลักฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 100 ของโครงการในรอบปี
• ร้อยละ 90–99 ของโครงการในรอบปี 10 • ส�ำ เนาการรายงาน
• ร้อยละ 80–89 ของโครงการในรอบปี 7.5
• ร้อยละ 79 ลงมา ของโครงการในรอบปี 5
2.5

วิธกี ารค�ำ นวณ

จำ�นวนโครงการที่มีรายงานการปฏิบัติงาน X 100
จ�ำ นวนโครงการท้ังหมดในรอบปี

26 มาตรฐานการปฎิบัติหน้าทข่ี องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั

หมายเหตุ
1. งานทีน่ ำ�มาเป็นมาตรฐานในการก�ำ กับตดิ ตาม ใหน้ ับเฉพาะงานในลกั ษณะโครงการ
2. เม่อื ส้นิ ปีให้นบั จ�ำ นวนโครงการท้งั หมดที ่ สนง.พมจ. รบั ผดิ ชอบ หรอื  รบั ผดิ ชอบรว่ มกบั หน่วยงาน 
ส่วนกลางหรือหน่วยงานระดับจังหวัด แล้วตรวจสอบว่ามีจำ�นวนก่ีโครงการท่ีมีการเขียนรายงาน 
การปฏบิ ตั งิ าน จากนนั้ จึงน�ำ มาคำ�นวณตามวธิ กี ารคำ�นวณข้างตน้
3. ด้านระบบและกระบวนการประเมินผล ม ี 2 มาตรฐาน คือ
มาตรฐาน 6  ความโปร่งใสของระบบการประเมินผล 
ตวั ชวี้ ัด 7  รอ้ ยละของเจา้ หนา้ ท ่ี ทไ่ี ด้รบั รู้เกณฑ์ในการประเมิน
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

รอ้ ยละของเจา้ หน้าท่ที ี่ได้รับรู้เกณฑ์ในการประเมนิ ผล คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 100  10 • บนั ทกึ การประชุม
• รอ้ ยละ 80–99  7.5 • ส�ำ เนาหนังสอื แจง้ เวียน
• ร้อยละ 60–79 5
• ร้อยละ 40–59  2.5
• รอ้ ยละ 39 ลงมา 0

วธิ กี ารค�ำ นวณ

จ�ำ นวนเจา้ หนา้ ทท่ี ร่ี บั ร้เู กณฑ์การประเมินผล X 100
จ�ำ นวนเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของส�ำ นกั งานท่มี กี ารประเมินในปีน้ัน

ตัวชวี้ ัด 8  ร้อยละของบุคลากรท่ีรอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
เกณฑ ์ ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 10

ร้อยละของผูร้ อ้ งเรียนเก่ียวกบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน คะแนน หลักฐานประกอบ
• ร้อยละ 10 ลงมา 10 • ภาพถา่ ยกล่องรบั  
• รอ้ ยละ 11–19 7.5
• ร้อยละ 20–29  5 เรอื่ งร้องเรียน
• ร้อยละ 30–39  2.5
• ร้อยละ 40 ขึน้ ไป 0

วธิ ีการคำ�นวณ
จ�ำ นวนเจ้าหน้าทที่ ่รี อ้ งเรียนเก่ียวกับการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน X 100

จ�ำ นวนเจา้ หนา้ ทีท่ ้งั หมดของสำ�นักงานทม่ี ีการประเมินในปีนั้น

มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหน้าที่ของสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 27

มาตรฐาน 7  การเขียนรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจำ�เดอื นของบุคลากร 
ตวั ชี้วดั  9  รอ้ ยละของเจา้ หนา้ ทที่ ีเ่ ขยี นรายงานผลงานในแบบฟอร์ม
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

ร้อยละของเจา้ หนา้ ทท่ี เี่ ขยี นรายงานผลงานในแบบฟอร์ม คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 100 10 • สำ�เนาการเขยี นรายงานตาม
• รอ้ ยละ 80–99 7.5
• ร้อยละ 60–79 5 แบบฟอร์ม
• ร้อยละ 40–59 2.5
• รอ้ ยละ 39 ลงมา 0

วิธกี ารค�ำ นวณ จำ�นวนบุคลากรทเ่ี ขยี นรายงาน X 100
จ�ำ นวนเจ้าหน้าทท่ี ้งั หมดของส�ำ นกั งาน

4. ดา้ นระบบและกระบวนการควบคมุ ภายใน ม ี 1 มาตรฐาน 3 ตัวชีว้ ัด
มาตรฐาน 8  การจดั วางระบบการควบคมุ ภายใน
ตัวชว้ี ัด 10  จ�ำ นวนแผนการจดั วางระบบการควบคมุ ภายใน ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ /ฝา่ ย
เกณฑ ์ 1 แผนตอ่ ปี

จำ�นวนแผนการจดั วางระบบการควบคมุ ภายใน คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• มแี ผนการจดั วางรายการควบคมุ ภายใน 10 • แผนการจดั วางระบบ 
• ไมม่ ีแผนการจดั วางรายการควบคุมภายใน 0 การควบคุมภายใน

ตัวชว้ี ัด 11  จ�ำ นวนการประชุมช้ีแจงและกำ�กับใหม้ ีการดำ�เนินงานตามแผนควบคมุ ภายใน
เกณฑ ์ 2 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนการประชุมชแ้ี จง และกำ�กบั ให้มกี ารด�ำ เนินงาน  คะแนน หลักฐานประกอบ
ตามแผนควบคุมภายใน
10 • บนั ทึกการประชุม
• มกี ารประชมุ  2 คร้ังตอ่ ปี 5
• มีการประชุม 1 ครัง้ ต่อปี 0
• ไม่มกี ารประชุม

28 มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทขี่ องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั

ตวั ชีว้ ัด 12  จำ�นวนรายงานผลการดำ�เนนิ งานตามแผนควบคมุ ภายใน
เกณฑ ์ 1 ฉบบั ตอ่ ปี

จำ�นวนรายงานผลการดำ�เนนิ งานตามแผนควบคมุ ภายใน คะแนน หลักฐานประกอบ
• มรี ายงานผลการด�ำ เนนิ งานตามแผนควบคุมภายใน
• ไม่มรี ายงานผลการด�ำ เนนิ งานตามแผนควบคุมภายใน 10 • สำ�เนารายงานผล
0

การคิดคะแนนรวมมติ ริ ะบบและกระบวนการ
ผลรวมคะแนนมติ ิระบบและกระบวนการทงั้ หมด
จ�ำ นวนตัวชว้ี ดั  (12 ตัวชวี้ ดั )

มติ ิที่ 3 มิติวัฒนธรรมองค์การ ม ี 2 ดา้ น 8 มาตรฐาน 11 ตัวชว้ี ัด

1. ดา้ นวฒั นธรรมองค์การ มี 5 มาตรฐาน คือ
มาตรฐาน 1  การทำ�งานเป็นทีม
ตวั ช้ีวดั  1  จ�ำ นวนกิจกรรมหรอื โครงการทส่ี ง่ เสรมิ การทำ�งานเปน็ ทมี
เกณฑ ์ ไมน่ อ้ ยกวา่  5 กจิ กรรมหรอื โครงการตอ่ ปี

จำ�นวนกจิ กรรมหรือโครงการทส่ี ่งเสรมิ การท�ำ งานเปน็ ทีม คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• มกี จิ กรรมหรอื โครงการทส่ี ง่ เสรมิ การท�ำ งานเปน็ ทมี มากกวา่  5 ขน้ึ ไป
• มกี จิ กรรมหรือโครงการทส่ี ่งเสรมิ การทำ�งานเปน็ ทมี  5 กิจกรรม  10 • รายงานผลการส่งเสริม 
• มกี ิจกรรมหรอื โครงการท่สี ง่ เสริมการทำ�งานเป็นทีม 3–4 กจิ กรรม 7.5 การท�ำ งานเป็นทมี
• มกี จิ กรรมหรอื โครงการทส่ี ง่ เสรมิ การท�ำ งานเปน็ ทมี  1–2 กจิ กรรม 5 • เอกสารที่ระบถุ ึง 
• ไม่มีกจิ กรรมหรือโครงการท่สี ่งเสริมการท�ำ งานเปน็ ทีม 2.5 การมอบหมายงาน
0 • ภาพถ่าย
ตวั ช้วี ัด 2  จ�ำ นวนกิจกรรมพฒั นาทมี งาน
เกณฑ ์ 1 กจิ กรรมหรอื โครงการตอ่ ปี

จำ�นวนกิจกรรมพัฒนาทีมงาน คะแนน หลักฐานประกอบ
• 1 กิจกรรม 10 • โครงการหรือกิจกรรมพัฒนาทมี งาน
• ไม่มี 0 • รายงานผลการพัฒนาทมี งาน
• เอกสารที่ระบถุ ึงการมอบหมายงาน
• ภาพถ่าย

มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 29

มาตรฐาน 2  การสรา้ งความสมั พันธใ์ นส�ำ นกั งาน
ตวั ช้วี ดั  3  จ�ำ นวนกิจกรรมสรา้ งสมดุลในชวี ิตและงาน (Work life Balance) 
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนกิจกรรมสรา้ งสมดุลในชวี ิตและงาน  คะแนน หลักฐานประกอบ
(Work life Balance)

• มกี ิจกรรมสร้างสมดุลในชีวิตและงาน 4 ครง้ั   10  • โครงการสรา้ งสมดลุ ในชีวิตและงาน
หรือมากกว่า • เอกสารท่ีระบถุ ึงการมอบหมายงาน

• มกี จิ กรรมสรา้ งสมดุลในชีวิตและงาน 3 คร้งั 7.5 • รายงานผลการสรา้ งสมดุลในชวี ิตและงาน
• มีกจิ กรรมสรา้ งสมดุลในชีวิตและงาน 2 คร้ัง 5 • ภาพถา่ ย
• มีกิจกรรมสร้างสมดุลในชีวติ และงาน 1 ครง้ั 2.5
• ไม่มีกิจกรรมสรา้ งสมดุลในชีวิตและงาน 0

ตวั ชวี้ ัด 4  รอ้ ยละของบุคลากรทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรม
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละของบุคลากรทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
แต่ละกิจกรรม

• รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป 10 • รายงานผลการสร้างสมดลุ ในชีวติ และงาน
• รอ้ ยละ 70–79  7.5 • ใบลงทะเบียน
• ร้อยละ 60–69  5 • ภาพถ่าย
• รอ้ ยละ 50–59  2.5
• รอ้ ยละ 49 ลงมา 0

มาตรฐาน 3  การเรียนรู้ร่วมกนั ภายในองคก์ าร
ตัวชีว้ ัด 5  จ�ำ นวนการจดั เสวนาในประเดน็ ใหมๆ่  ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สงั คมภายในหนว่ ยงาน
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 6 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนการจัดเสวนาในประเด็นใหม่ๆ  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
ที่เกี่ยวข้องกับสังคมภายในหน่วยงาน
• 6 ครั้งต่อปีข้นึ ไป 10 • บนั ทึกสรปุ การจัดเสวนา 
• 4–5 ครงั้ ตอ่ ปี 7.5 (ไม่ใช่ลักษณะการประชมุ  
• 2–3 คร้งั ตอ่ ปี 5 ประจำ�เดอื น)
• 1 ครง้ั ตอ่ ปี 2.5
• ไม่จดั เลย 0

30 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหน้าท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั

มาตรฐาน 4  การจัดการความรูใ้ นองคก์ าร
ตวั ชว้ี ัด 6  จำ�นวนเรือ่ งที่มกี ารจัดการความรู้
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 1 เรอ่ื ง ตอ่ กลมุ่ /ฝา่ ย ตอ่ ปี

จ�ำ นวนเรอื่ งทมี่ ีการจัดการความรู้ คะแนน หลักฐานประกอบ

• ทกุ กลมุ่ /ฝ่ายมกี ารจัดการความรู้ 1 เร่อื ง และบางกลมุ่   10  • เอกสารแผนการจัดการความรู้
มีการจดั การความรูม้ ากกวา่  1 เรอ่ื งต่อปี • เอกสารสรุปผลการจดั การ 

• ทุกกลมุ่ /ฝา่ ยจัดการความรู้ 1 เร่อื ง ตอ่ กลมุ่ /ฝ่ายต่อปี  7.5 ความรู้
• มกี ารจัดการความรู้ 2 กลมุ่ /ฝ่าย 5
• มกี ารจัดการความรู้ 1 กลุ่ม/ฝ่าย 2.5
• ไม่มีการจดั การความรู้ 0

มาตรฐาน 5  การสร้างคา่ นิยมธรรมาภิบาลในองค์การ
ตวั ชี้วดั  7  จ�ำ นวนค่านยิ มร่วมท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภิบาลทีม่ ีการประกาศ 

ตอ่ สาธารณะ
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 6 ขอ้  (คณุ ธรรม/นติ ธิ รรม/โปรง่ ใส/มสี ว่ นรว่ ม/รบั ผดิ ชอบ/คมุ้ คา่ )

จำ�นวนคา่ นิยมร่วมทสี่ อดคลอ้ งกับหลักธรรมาภิบาล คะแนน หลักฐานประกอบ
• มคี า่ นยิ มรว่ มทส่ี อดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภบิ าล 6 ขอ้ หรอื มากกวา่
• มีคา่ นยิ มรว่ มทส่ี อดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภิบาล 5 ขอ้ 10 • เอกสารบนั ทึกการประชุม 
• มีคา่ นยิ มรว่ มท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภิบาล 3–4 ขอ้ 7.5 และขอ้ กำ�หนดคา่ นยิ ม
• มคี ่านยิ มร่วมทส่ี อดคล้องกบั หลักธรรมาภบิ าล 1–2 ข้อ 5 • ภาพถา่ ยแสดงกจิ กรรมรณรงค์
• ไมม่ ี 2.5
0

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ท่ีของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัด 31

2. ด้านภาวะผู้นำ� มี 3 มาตรฐาน คอื
มาตรฐาน 6  การสนับสนนุ การพัฒนาผใู้ ต้บงั คับบัญชา
ตวั ช้วี ดั  8  ร้อยละของเจา้ หน้าท่ที ่ไี ดร้ ับอนุญาตใหไ้ ปอบรมหรือสัมมนาในรอบปี
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละของเจา้ หน้าทที่ ไี่ ดร้ ับอนญุ าตให้ไปอบรม  คะแนน หลักฐานประกอบ
หรือสมั มนาในรอบปี
10 • บญั ชรี ายชอื่ ขา้ ราชการ/ 
• ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป 7.5 เจ้าหน้าที่เขา้ อบรม/สัมมนา
• รอ้ ยละ 60–79 5 • รายงานการอบรม/สัมมนา
• รอ้ ยละ 40–59  2.5
• ร้อยละ 20–39  0
• รอ้ ยละ 19 ลงมา

วธิ คี �ำ นวณ

จ�ำ นวนเจา้ หน้าทท่ี ี่รบั อนญุ าตใหไ้ ปอบรมหรือสัมมนาในรอบปี X 100
จำ�นวนเจ้าหน้าท่ที ง้ั หมดทขี่ ออนญุ าต

มาตรฐาน 7  การสอื่ สารวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ  ยทุ ธศาสตร์
ตวั ชวี้ ัด 9  จำ�นวนครัง้ ท่มี กี ารถา่ ยทอดเนอ้ื หาวสิ ยั ทัศน ์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 12 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนครั้งที่มีการถ่ายทอดเนือ้ หาวิสยั ทศั น ์   คะแนน หลักฐานประกอบ
พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์
10 • รายงานการประชุม หรอื
• มากกว่า 12 ครัง้ /ปี 7.5 • บันทกึ การถ่ายทอด
• 12 ครงั้ /ปี 5
• 6–11 คร้ัง/ปี 2.5
• 1–5 ครั้ง/ปี 0
• ไมม่ ีการถา่ ยทอด

32 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวดั

ตัวช้ีวดั  10  จ�ำ นวนครงั้ ที่มกี ารถา่ ยทอดกระบวนการทำ�งานเชิงยุทธศาสตร์
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนคร้งั ท่ีมีการถา่ ยทอดกระบวนการท�ำ งาน  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
เชิงยทุ ธศาสตร์
10 • รายงานการประชมุ  หรือ
• มีการถา่ ยทอดกระบวนการทำ�งานเชงิ ยุทธศาสตร ์ 4 ครงั้ /ปี 7.5 • บันทึกการถ่ายทอด
• มีการถา่ ยทอดกระบวนการท�ำ งานเชงิ ยุทธศาสตร์ 3 ครัง้ /ปี 5
• มกี ารถา่ ยทอดกระบวนการทำ�งานเชงิ ยทุ ธศาสตร ์ 2 ครั้ง/ปี 2.5
• มกี ารถ่ายทอดกระบวนการทำ�งานเชิงยทุ ธศาสตร ์ 1 คร้ัง/ปี 0
• ไมม่ ี

มาตรฐาน 8  การถา่ ยทอดความรู้ใหม่ๆ ให้กับผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา
ตัวชว้ี ัด 11  จำ�นวนครง้ั ในการถา่ ยทอดความร้แู กผ่ ้ใู ต้บังคบั บญั ชา
เกณฑ ์ 1 ครง้ั ตอ่ เดอื น

จำ�นวนครง้ั ในการถา่ ยทอดความรู้แกผ่ ู้ใตบ้ ังคบั บญั ชา คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• มีการถา่ ยทอดความรูใ้ หมเ่ ป็นประจำ� 1 คร้งั ตอ่ เดอื นข้นึ ไป   10  • รายงานการประชุม หรอื
• บันทกึ การถา่ ยทอด
(ท้ังปีรวม 12 เดอื น) 7.5
• มีการถา่ ยทอดความรใู้ หม่เกอื บทกุ เดือน ( ทัง้ ปรี วม 9–11 เดือน) 5 
• มกี ารถ่ายทอดความรู้ใหม่อยา่ งนอ้ ยเดือนเว้นเดอื น (ทั้งปรี วม 6–8 เดอื น) 2.5
• มีการถา่ ยทอดความรูใ้ หมบ่ างเดือน (ท้ังปรี วม 1–5 เดือน)  0
• ไมเ่ คยถา่ ยทอด

การคดิ คะแนนรวมมติ ิวัฒนธรรมองคก์ าร
ผลรวมคะแนนมิตวิ ฒั นธรรมองค์การทง้ั หมด

จำ�นวนตัวชว้ี ดั  (11 ตวั ชว้ี ดั )

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ทข่ี องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 33

มติ ิท่ ี 4 มิติผลผลิตและผลลัพธต์ ามหน้าทหี่ ลัก มี 11 ด้าน 34 มาตรฐาน 51 ตัวช้วี ดั

1. ด้านการจัดทำ�นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับ

จังหวัด รวมท้ังรายงานสถานการณ์ทางสังคม และเสนอแนะแนวทางแก้ไข มี 6 มาตรฐาน 
6 ตวั ชว้ี ดั  ดงั น้ี
มาตรฐาน 1  การจัดการวเิ คราะห์สถานการณภ์ าพรวมและแนวโนม้ ด้านสงั คม  

และกล่มุ เปา้ หมายในจังหวดั รว่ มกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ตัวช้ีวดั  1  จ�ำ นวนคร้งั การวิเคราะห์
เกณฑ ์ 1 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนคร้ังการวเิ คราะห์ คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 ครง้ั ต่อปี 10 • รายงานการประชมุ คณะท�ำ งาน
• ไม่ไดจ้ ดั 0 • รายชอื่ หน่วยงานท่เี ขา้ รว่ ม

มาตรฐาน 2  การจัดท�ำ รายงานการวเิ คราะหแ์ นวโน้มการจัดล�ำ ดบั ความสำ�คัญดา้ นสงั คม 
และกลุม่ เปา้ หมายในจังหวัด

ตวั ช้วี ัด 2  จำ�นวนรายงาน
เกณฑ ์ 1 ฉบบั ตอ่ ปี

จำ�นวนรายงาน คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 ฉบบั ต่อปี 10 • รายงานการวเิ คราะหแ์ นวโนม้ การจัดลำ�ดับ
• ไมไ่ ด้จดั ท�ำ 0 ความส�ำ คัญด้านสังคม และกลมุ่ เป้าหมาย 

ในจังหวดั

มาตรฐาน 3  การศึกษาวิจยั
ตัวชวี้ ัด 3  จ�ำ นวนรายงานวิจยั
เกณฑ ์ 1 เรอ่ื งตอ่ ปี

จำ�นวนรายงานการวจิ ัย คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• 1 เรือ่ งต่อปี 10 • รายงานการศึกษาวิจยั
• ไม่ไดจ้ ดั ทำ� 0

34 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ีของสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวัด

มาตรฐาน 4  การจัดท�ำ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวัด
ตวั ชีว้ ัด 4  จ�ำ นวนแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัด
เกณฑ ์ 1 แผนตอ่  5 ป ี (ปี 2560-2564)

จำ�นวนแผนยุทธศาสตร์ คะแนน หลักฐานประกอบ

• 1 แผน 10 • แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคม 
• ไม่ไดจ้ ัดทำ� 0 และความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั  5 ปี

มาตรฐาน 5  การปรับปรงุ แผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวดั
ตัวชี้วัด 5  จ�ำ นวนครั้งในการปรับปรงุ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคมและความม่นั คง 

ของมนษุ ย์จงั หวดั
เกณฑ ์ 1 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนคร้งั ในการปรับปรงุ คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 ครัง้ ตอ่ ปี ครบทกุ กลุ่ม/ประเด็น 10 • รายงานการประชุมปรับปรงุ
• 1 คร้ัง แตไ่ ม่ครบทกุ กลุ่ม/ประเดน็ 5 • เอกสารแผนที่ปรบั ปรงุ แล้ว
• ไมไ่ ด้ปรบั ปรงุ 0

มาตรฐาน 6  แผนกลยทุ ธด์ า้ นสงั คมในแผนพัฒนาจังหวัด
ตวั ชี้วดั  6  จำ�นวนโครงการดา้ นสังคมทีไ่ ดร้ บั การบรรจใุ นแผนพฒั นาจงั หวัด
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ

จำ�นวนโครงการดา้ นสงั คมทไ่ี ดร้ บั การบรรจ ุ คะแนน หลกั ฐานประกอบ
ในแผนพัฒนาจงั หวดั
10 • โครงการทเี่ สนอ
• 1 โครงการ 0 • คำ�ส่ังจงั หวัดทแ่ี ต่งตั้งคณะกรรมการ
• ไมม่ ีแผน/โครงการด้านสังคม
• รายงานการประชุมของคณะกรรมการ กบจ.

มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ท่ีของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวดั 35

2 .   ด้ า น ก า ร ป ร ะ ส า น แ ล ะ จั ด ทำ � แ ผ น ง า น   โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ กิ จ ก า ร ด้ า น ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ 
ความม่ันคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง มี 3 มาตรฐาน 
5 ตวั ชว้ี ดั คอื
มาตรฐาน 7  การจดั ทำ�และขับเคลื่อนแผนด้านสังคม
ตวั ชี้วดั  7  จำ�นวนแผนด้านสังคมทีม่ กี ารจดั ทำ�และขบั เคล่อื น
เกณฑ ์ 6 แผนตอ่ ปี

จำ�นวนแผนด้านสังคมทมี่ กี ารจดั ทำ�  คะแนน หลักฐานประกอบ
และขับเคลือ่ น

• 6 แผน 10 • แผนงาน/โครงการที่จัดท�ำ
• 4–5 แผน 7.5 • คำ�สัง่ คณะท�ำ งานรับผิดชอบ 
• 2–3 แผน 5 การขับเคลอ่ื นแผนงาน
• 1 แผน 2.5
• ไม่มแี ผนดา้ นสังคมทีม่ ีการจดั ทำ�และขับเคล่อื น 0

มาตรฐาน 8  แผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปี
ตัวชี้วัด 8  จ�ำ นวนแผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปี
เกณฑ ์ 1 แผนตอ่ ปี

จำ�นวนแผนปฏบิ ัตงิ านประจำ�ปี คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 แผนงาน  10 • เอกสารแผนปฏิบัตงิ านประจำ�ปี
• ไมม่ ีแผนงานหรือโครงการในรอบปี 0 • รายงานการประชุมคณะจัดท�ำ  

แผนปฏิบตั งิ านประจ�ำ ปีของส�ำ นกั งาน
• ค�ำ ส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการจดั ท�ำ แผน

ตวั ชี้วัด 9  ร้อยละของโครงการท่ไี ดร้ ับการนำ�ไปปฏบิ ัติ
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

รอ้ ยละของโครงการที่ได้รบั การนำ�ไปปฏิบตั ิ คะแนน หลักฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 100 10 • บนั ทึกอนมุ ัตโิ ครงการ
• รอ้ ยละ 80–99  7.5 • รายงานการด�ำ เนินงานของโครงการ 
• รอ้ ยละ 60–79  5
• รอ้ ยละ 40–59  2.5 ท่ไี ด้รบั การน�ำ ไปปฏบิ ัติ
• ร้อยละ 39 ลงมา 0

วธิ ีคำ�นวณ
จำ�นวนโครงการในแผนปฏบิ ตั ิงานประจำ�ปที ไ่ี ดร้ ับการนำ�ไปปฏิบตั ใิ นรอบป ี X 100

จ�ำ นวนโครงการท้งั หมดในแผนปฏิบตั งิ านประจ�ำ ปี

36 มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั

มาตรฐาน 9  การประเมินผลแผน 
ตัวชี้วดั  10  จำ�นวนแผนด้านสังคมท่ีไดร้ บั การประเมิน (แผนจากตัวชวี้ ัดที่ 7)
เกณฑ ์ ทกุ แผน

จ�ำ นวนแผนดา้ นสังคมท่ีไดร้ ับการประเมนิ คะแนน หลักฐานประกอบ

• ครบทกุ แผน 10 • คำ�สั่งแตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมิน
• 4–5 แผน 7.5 • รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมิน
• 2–3 แผน 5 • เอกสารการประเมนิ แผน
• 1 แผน  2.5
• ไมไ่ ด้จัดทำ� 0

ตวั ช้ีวัด 11  จ�ำ นวนรายงานการประเมินผลแผนปฏบิ ัติงานประจำ�ปี
เกณฑ ์ 1 ฉบบั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนรายงาน คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 ฉบบั ต่อปี 10 • เอกสารการประเมินแผนปฏิบัตงิ านประจำ�ปี
• ไม่ได้จัดท�ำ 0 • รายงานการดำ�เนนิ งานโครงการ

• สำ�เนาเอกสารผลการด�ำ เนนิ งาน หรอื  เอกสารรายงาน 
ผลการปฏิบตั ิงานสง่ หน่วยงานส่วนกลาง

3. ด้านการส่งเสริมและประสานการดำ�เนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมาย 
ของหน่วยงานในกระทรวง ม ี 3 มาตรฐาน 3 ตวั ชี้วัด ดงั น้ี
มาตรฐาน 10  ความครบถว้ นในการดำ�เนินงานที่ได้รบั การมอบหมายจากหน่วยงาน 
ในกระทรวงเป็นลายลักษณ์อกั ษร
ตัวช้ีวดั  12  รอ้ ยละของภารกจิ ที่มีการปฏบิ ตั ติ ามที่ได้รับการประสาน
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

รอ้ ยละของโครงการ คะแนน หลักฐานประกอบ
• ร้อยละ 100 10
• ร้อยละ 80–99 7.5 • เอกสารสรปุ ภารกจิ
• ร้อยละ 60–79 5
• รอ้ ยละ 40–59 2.5
• ร้อยละ 39 ลงมา 0

วิธีคำ�นวณ

จำ�นวนภารกจิ ท่มี กี ารปฏบิ ัติตามทีไ่ ด้รบั การประสานในรอบป ี X 100
จ�ำ นวนภารกจิ ทม่ี ีการประสานท้ังหมด

มาตรฐานการปฎิบัติหน้าทข่ี องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 37

มาตรฐาน 11  ความทันเวลาในการปฏิบัติงานทไี่ ด้รับการมอบหมาย
ตัวช้ีวดั  13  รอ้ ยละของภารกิจทมี่ กี ารปฏบิ ัติตามเวลาท่กี �ำ หนด
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละของภารกจิ ทมี่ ีการปฏิบตั ติ ามเวลาทีก่ ำ�หนด คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 80 ขึน้ ไป 10 • เอกสารสรปุ ภารกจิ
• รอ้ ยละ 70–79 7.5
• รอ้ ยละ 60–69  5
• รอ้ ยละ 50–59  2.5
• ร้อยละ 49 ลงมา 0

วธิ คี ำ�นวณ

จำ�นวนภารกิจท่มี ีการปฏิบตั ทิ ันเวลาตามทก่ี ำ�หนดในรอบปี X 100
จำ�นวนภารกจิ ที่มกี ารประสานทงั้ หมด

มาตรฐาน 12  การรายงานผลการดำ�เนินงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
ตัวช้วี ดั  14  ร้อยละของโครงการ/กจิ กรรม ทดี่ ำ�เนนิ งานมีการรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละของโครงการ/กิจกรรม ทีด่ ำ�เนนิ งาน  คะแนน หลักฐานประกอบ
มกี ารรายงานผลการดำ�เนนิ งาน

• รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป 10 • สำ�เนาเอกสารรายงาน 
• ร้อยละ 70–79  7.5 ผลการด�ำ เนนิ งาน
• รอ้ ยละ 60–69  5
• รอ้ ยละ 50–59  2.5
• รอ้ ยละ 49 ลงมา  0

4. ดา้ นการสง่ เสรมิ  สนบั สนนุ  และประสานการด�ำ เนนิ งานกบั องคก์ รเครอื ขา่ ยในจงั หวดั  ทง้ั ภาครฐั  
และภาคเอกชน มี 5 มาตรฐาน 10 ตัวช้วี ดั  คอื
มาตรฐาน 13  การจัดทำ�ระบบและวเิ คราะห์ข้อมูลองคก์ รเครือข่าย
ตัวช้ีวัด 15  จำ�นวนระบบขอ้ มูลองคก์ รเครอื ข่าย
เกณฑ ์ 1 ระบบ

จำ�นวนระบบข้อมลู องค์กรเครอื ข่าย คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• 1 ระบบ 10 • เอกสารระบบขอ้ มลู องคก์ รเครือข่าย
• ไม่ได้จดั ท�ำ 0

38 มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัด

ตวั ช้วี ดั  16  จำ�นวนการปรบั ปรงุ ขอ้ มูลองค์กรเครือข่าย
เกณฑ ์ 1 ครง้ั ตอ่ ปี

การปรบั ปรงุ ขอ้ มูลเครอื ขา่ ย คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 คร้ังต่อปี 10 • เอกสารแสดงการปรบั ปรงุ  
• ไมไ่ ดจ้ ดั ท�ำ 0 ขอ้ มลู เครอื ขา่ ย

มาตรฐาน 14  การมีแกนน�ำ ประสานงานเครอื ข่าย
ตวั ชว้ี ดั  17  รอ้ ยละของต�ำ บลทม่ี แี กนน�ำ ประสานงานเครอื ขา่ ยครบทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 

ที่ก�ำ หนด
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

ร้อยละของต�ำ บลท่มี แี กนนำ�ประสานงานเครือข่าย  คะแนน หลักฐานประกอบ
ครบทุกกล่มุ เปา้ หมาย
10 • บญั ชรี ายช่อื แกนนำ� 
• รอ้ ยละ 80 7.5 จำ�แนกตามตำ�บล
• รอ้ ยละ 70–79  5 • บนั ทึกการประชมุ การเลอื กแกนน�ำ
• ร้อยละ 60–69 2.5
• ร้อยละ 50–59  0
• ร้อยละ 49 

วิธีคำ�นวณ

จ�ำ นวนตำ�บลทม่ี แี กนนำ�ประสานงานเครอื ขา่ ย X 100
จำ�นวนต�ำ บลทัง้ หมด

มาตรฐาน 15  การสื่อสารกบั องค์กรเครอื ขา่ ย 
ตัวชว้ี ดั  18  ร้อยละขององค์กรเครอื ขา่ ยทมี่ ีการส่งขอ้ มลู ข่าวสาร
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละขององค์กรเครอื ขา่ ยที่มกี ารส่งขอ้ มูลขา่ วสารไปให้ คะแนน หลักฐานประกอบ
• ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป
• รอ้ ยละ 70–79 10 • บันทึกการตดิ ต่อ และแจกจ่าย 
• ร้อยละ 60–69  7.5 ทงั้ ทางเอกสารและ 
• รอ้ ยละ 50–59  5 สื่ออิเล็กทรอนิคส์อื่นๆ 
• รอ้ ยละ 49 ลงมา 2.5
0

วธิ คี ำ�นวณ

จ�ำ นวนองคก์ รเครอื ข่ายท่ี สนง.พมจ. สง่ ข้อมูลขา่ วสารไปให ้ X 100
จำ�นวนองคก์ รเครือขา่ ยทั้งหมดท่ีมีรายช่ือในทำ�เนียบในปนี ั้น

มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าที่ของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 39

ตวั ชวี้ ดั  19  จ�ำ นวนครัง้ ในการส่งข้อมลู ขา่ วสารใหก้ บั องคก์ รเครอื ขา่ ย
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ยไตรมาสละ 1 ครง้ั

จำ�นวนครั้งในการส่งข้อมลู ขา่ วสารให้กับ  คะแนน หลักฐานประกอบ
องค์กรเครอื ข่าย
10 • บันทกึ การติดต่อ และแจกจา่ ย  
• ครบทุกไตรมาส (4 ไตรมาส) 7.5 ทง้ั ทางเอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิคส์อ่นื ๆ 
• ไม่ครบทกุ ไตรมาส (3 ไตรมาส) 5
• ไม่ครบทกุ ไตรมาส (2 ไตรมาส) 2.5
• ไม่ครบทุกไตรมาส (1 ไตรมาส) 0
• ไมไ่ ดส้ ่งขอ้ มลู

มาตรฐาน 16  การสนับสนุนการด�ำ เนนิ งานเครอื ขา่ ย 
ตัวชว้ี ดั  20  จำ�นวนการจดั ประชมุ ร่วมแกนน�ำ เครือข่าย
เกณฑ ์ 12 ครง้ั ตอ่ ป ี (นบั รวมทกุ เครอื ขา่ ย)

จำ�นวนครง้ั การจดั ประชมุ รว่ มแกนนำ�เครอื ขา่ ย คะแนน หลักฐานประกอบ

• 12 ครั้งต่อป ี ข้ึนไป 10 • เอกสารโครงการ
• 8–11 ครง้ั ตอ่ ปี 7.5 • เอกสารรายงานผลการประชมุ   
• 4–7 ครั้งตอ่ ปี 5 สัมมนา/อบรม
• 1–3 ครั้งตอ่ ปี 2.5 • เอกสารการสนับสนุนความร้วู ชิ าการ 
• ไม่ได้จัดประชุม 0 • เอกสารลายมือชื่อของตัวแทน 

องค์กรเครอื ขา่ ยท่ีเข้าร่วม

ตวั ชวี้ ดั  21  จ�ำ นวนการจัดอบรมให้ความร้แู ละพฒั นาศกั ยภาพสมาชกิ องคก์ รเครือข่าย
เกณฑ ์ 12 ครง้ั ตอ่ ป ี (นบั รวมทกุ เครอื ขา่ ย)

จำ�นวนการจัดอบรมให้กบั องคก์ รเครอื ข่าย คะแนน หลักฐานประกอบ
• 12 ครัง้ ตอ่ ป ี ขึ้นไป 10 • เอกสารโครงการ
• 8–11 ครั้งต่อปี 7.5 • เอกสารรายงานผลการประชมุ   
• 4–7 ครง้ั ต่อปี 5
• 1–3 ครงั้ ต่อปี 2.5 สมั มนา/อบรม
• ไม่ไดจ้ ดั ประชมุ 0 • เอกสารการสนบั สนนุ ความร้วู ชิ าการ 
• เอกสารลายมือช่ือของตัวแทน 

องค์กรเครอื ขา่ ยท่เี ขา้ ร่วม

40 มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าที่ของสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด

ตัวชี้วัด 22  รอ้ ยละขององค์กรเครือขา่ ยทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมกบั  สนง.พมจ.
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 80

รอ้ ยละขององคก์ รเครือข่ายทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม  คะแนน หลักฐานประกอบ
กบั  สนง.พมจ.
10 • เอกสารลายมอื ชอ่ื ของตวั แทน 
• รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป 7.5 องคก์ รเครือขา่ ยที่เขา้ ร่วม
• รอ้ ยละ 60–79 5
• ร้อยละ 40–59 2.5
• ร้อยละ 20–39  0
• ร้อยละ 19 ลงมา

วิธีการค�ำ นวณ
จำ�นวนองคก์ รเครือข่ายทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมการอบรมหรอื กิจกรรมอืน่ ๆ ในรอบปี X 100

จำ�นวนองค์กรเครอื ขา่ ยท้งั หมดในท�ำ เนยี บ

ตวั ชวี้ ัด 23  รอ้ ยละขององคก์ รเครอื ขา่ ยทย่ี น่ื ขอและไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ 
จาก สนง.พมจ.

เกณฑ ์ รอ้ ยละ 50

ร้อยละขององคก์ รเครือข่ายท่ยี นื่ ขอ  คะแนน หลักฐานประกอบ
และไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ 10 • เอกสารการอนุมัติงบประมาณ
• ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป 7.5
• รอ้ ยละ 40–49 5
• ร้อยละ 30–39  2.5
• รอ้ ยละ 20–29  0
• ร้อยละ 19 ลงมา

วธิ ีค�ำ นวณ
จ�ำ นวนองคก์ รเครอื ข่ายท่ไี ด้รับงบประมาณสนบั สนุนจาก สนง.พมจ. X 100

จ�ำ นวนองค์กรเครอื ขา่ ยทัง้ หมดทย่ี นื่ ของบประมาณสนบั สนนุ จาก สนง.พมจ.

มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัด 41

มาตรฐาน 17  การตดิ ตามประเมินผลโครงการทีเ่ ครือข่ายไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณ 
จากกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์

ตวั ชีว้ ัด 24  รอ้ ยละของโครงการท่ีมีรายงานประเมินผลดำ�เนนิ งาน (โครงการท่ีเครือขา่ ย 
ได้รับการสนบั สนุนงบประมาณจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย)์

เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100 (ทกุ โครงการ)

การตดิ ตามประเมินผลองคก์ รเครือข่าย คะแนน หลักฐานประกอบ
• ร้อยละ 100 10 • ค�ำ ส่งั การแต่งตั้ง
• ร้อยละ 80–99 7.5 • รายงานผลการประเมนิ
• รอ้ ยละ 60–79 5
• รอ้ ยละ 50–59  2.5
• ร้อยละ 49 ลงมา 0

วธิ ีค�ำ นวณ

จ�ำ นวนโครงการท่มี รี ายงานประเมนิ ผลดำ�เนินงาน X 100
จ�ำ นวนโครงการท้ังหมดท่ไี ดร้ ับการสนับสนุนงบประมาณจาก พม.

5 .   ด้ า น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ป ร ะ ส า น ง า น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม   ร ว ม ท้ั ง 
ก า ร ส่ ง ต่ อ ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น อ่ื น ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง   ท้ั ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ ภ า ค เ อ ก ช น   ที่ มี อำ � น า จ ห น้ า ที่  
ในการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมตามกฎหมาย มี 4 มาตรฐาน 7 ตัวชว้ี ดั  ดงั น้ี
มาตรฐาน 18  การส่งเสรมิ การจดั สวสั ดกิ ารสงั คมแกก่ ล่มุ เปา้ หมาย
ตัวชี้วดั  25  จ�ำ นวนโครงการทม่ี กี ารบูรณาการการช่วยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม
เกณฑ ์ 6 โครงการ

จ�ำ นวนโครงการท่ีมกี ารบรู ณาการ คะแนน หลักฐานประกอบ
• ม ี 6 โครงการหรือมากกวา่  (ครบทกุ กลมุ่ เป้าหมาย)
• มี 4–5 โครงการ (ไมค่ รบทกุ กลุ่มเป้าหมาย) 10 • เอกสารโครงการ
• มี 2–3 โครงการ (ไม่ครบทกุ กลุ่มเปา้ หมาย) 7.5 • รายงานผลการดำ�เนินการ
• ม ี 1 โครงการ (ไม่ครบทุกกลมุ่ เป้าหมาย) 5
• ไม่มโี ครงการ 2.5
0

42 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด


Click to View FlipBook Version