The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pmjphuket, 2021-05-05 00:59:10

คู่มือการดำเนินงาน ผู้แสดงความสามารถ ตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559

ผู้แสดงความสามารถ

การดาเนินงาน

ผ้แู สดงความสามารถ

ตามพระราชบัญญัติ
ควบคุมการขอทาน

พ.ศ.2559



คำนำ

พระราชบญั ญตั ิควบคุมการขอทาน มผี ลบงั คบั ใชเ้ มอ่ื วนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2559 สาระสาคญั
ประการหน่ึงของพระราชบญั ญตั ิน้ี คือ การแยกผูแ้ สดงความสามารถออกจากผูท้ าการขอทานซ่งึ เป็นปจั จยั หน่ึง
ท่ีทาใหจ้ านวนผูท้ าการขอทานลดนอ้ ยลง และเป็นการเพ่ิมคุณค่า ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ อนั เน่ืองจาก
ผูแ้ สดงความสามารถไดร้ ับเงินค่าตอบแทนจากความพึงพอใจของผูช้ มหรือผูฟ้ ังต่อการแสดงน้ัน
ไม่ไดใ้ หเ้พราะความสงสาร ดงั นน้ั การออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ โดยคณะกรรมการควบคุมการขอทาน
มรี ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ เป็นประธานกรรมการไดเ้ ห็นชอบ
มอบหมายใหส้ านกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั ทกุ จงั หวดั และศูนยค์ มุ้ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ
กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยออกบตั ร ทาหนา้ ทพ่ี จิ ารณาการแสดงความสามารถตามระเบยี บคณะกรรมการ
ควบคุมการขอทาน ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการในการแจง้ และการมบี ตั รประจาตวั เป็นผูแ้ สดงความสามารถ
พ.ศ. 2559 ทก่ี าหนดไว้ จงึ ควรมแี นวทางในการดาเนินงานกบั ผูแ้ สดงความสามารถ

ดงั นนั้ กองคุม้ ครองสวสั ดิภาพและเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ กรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ
จึงไดจ้ ดั ทาคู่มอื การดาเนินงานเก่ียวกบั ผูแ้ สดงความสามารถฉบบั น้ี เพ่อื ใหห้ น่วยงานซ่งึ ไดร้ บั มอบหมาย
ใหเ้ป็นผูพ้ จิ ารณาการออกบตั รและหน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ไดใ้ ชเ้ป็นคู่มอื ปฏบิ ตั ิในขนั้ ตอนต่าง ๆ เพอ่ื ดาเนินงาน
กบั ผูแ้ สดงความสามารถ โดยม่งุ หวงั เพอ่ื พฒั นาและยกระดบั ผูแ้ สดงความสามารถ ใหม้ มี าตรฐานและคุณภาพ
สรา้ งการยอมรบั มคี วามเสมอภาค และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอย่างมศี กั ด์ิศรี อย่างไรก็ตามผูจ้ ดั ทาจะไดด้ าเนินการ
ปรบั ปรุงเพ่ิมเติมเน้ือหาหากมีขอ้ มูล หรือขอ้ เสนอแนะอนั เป็นประโยชน์ใหแ้ ก่ผูป้ ฏิบตั ิงานท่ีเก่ียวกบั
ผูแ้ สดงความสามารถต่อไป

กลมุ่ การส่งเสรมิ และพฒั นา
กองคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพและเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ



สำรบญั

เร่อื ง หนำ้

1. ขอทำนกบั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถแตกตำ่ งกนั อย่ำงไร 1
2. สถำนทอ่ี อกบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 2
3. กำรดำเนินงำนผูแ้ สดงควำมสำมำรถตำมพระรำชบญั ญตั คิ วบคุมกำรขอทำน พ.ศ. 2559 3-32
3-13
- ขน้ั ตอนกำรขอมบี ตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 14-19
- ขน้ั ตอนกำรกรอกขอ้ มลู ลงในระบบลงทะเบยี นผูแ้ สดงควำมสำมำรถในท่สี ำธำรณะ 20-21
- รูปแบบบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 22-26
- กำรดำเนินกำรในสว่ นขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 27-29
- กรณีบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถหำย/ชำรุด/หมดอำยุ 30-32
- ขน้ั ตอนกำรดำเนินงำนของพนักงำนเจำ้ หนำ้ ท่หี รอื เจำ้ พนักงำนทอ้ งถน่ิ เม่ือพบผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 33-40
4. คำถำมเกย่ี วกบั กำรออกบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 41
5. หมำยเลขโทรศพั ทห์ น่วยงำนออกบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ 42-67
เอกสำรประกอบ
- ระเบยี บคณะกรรมการควบคุมการขอทาน 43-44
วา่ ดว้ ยการจาแนกลกั ษณะผูท้ าการขอทานกบั ผูแ้ สดงความสามารถ พ.ศ. 2559
- ระเบยี บคณะกรรมการควบคุมการขอทาน 45-48
วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารในการแจง้ และการมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
- ระเบยี บคณะกรรมการควบคุมการขอทาน 49
วา่ ดว้ ยการแจง้ ของผูป้ ระสงคจ์ ะแสดงความสามารถต่อเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ 50
- คาสงั่ กรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร เร่อื ง การมอบหมายผูอ้ อกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
- ประกาศกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร 51
เรอ่ื ง กาหนดหน่วยงานใหเ้ป็นสถานทอ่ี อกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ 52-55
- ประกาศกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร เร่อื ง กาหนดแบบคาขอมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
- ประกาศกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร เร่อื ง กาหนดแบบใบแจง้ 56
และใบรบั แจง้ ของเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ 57-59
- แบบฟอรม์ ใบรบั แจง้ ของเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ทอ่ี อกใหก้ บั ผูแ้ สดงความสามารถ 60
- แบบฟอรม์ ใบรบั รองคณะกรรมการในการพจิ ารณาการออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
- ตวั อย่าง ขน้ั ตอนการจดั ทาประกาศกาหนดพ้นื ทแ่ี สดงความสามารถ และประกาศเทศบาลนครลาปาง 61-64
เรอ่ื ง กาหนดพ้นื ทแ่ี สดงความสามารถของผูแ้ สดงความสามารถ
- วธิ กี ารในการแจง้ และการมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ 65-66
และขนั้ ตอนการขอมบี ตั ร (Info graphic) 67
- ตวั อย่าง ทาเนียบคณะนกั แสดงพ้นื บา้ น 68
คณะผูจ้ ดั ทำ



ขอทานกบั ผูแ้ สดงความสามารถ 1

แตกต่ำงกนั อยำ่ งไร?

ขอทำน

ขอทำน คือ การขอเงินหรือทรพั ยส์ ินจากผูอ้ ่ืนเพ่ือเล้ียงชีพ การขอทาน
ดว้ ยการกระทาเพ่ือใหผ้ ูอ้ ่ืนเกิดความสงสารและส่งเงินหรือทรัพยส์ ินให้
ซ่งึ การกระทาดงั กล่าวมไิ ดเ้ ป็นการแสดงความสามารถ การขอกนั ฉนั ญาติ
มติ รหรือการเร่ียไรตามกฎหมายว่าดว้ ยการควยคุมการเร่ียไร ไม่ถือว่าเป็น
การขอทานตาม พ.ร.บ. ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

กำรกระทำเพ่อื ใหผ้ ูอ้ น่ื เกดิ ควำมสงสำรมลี กั ษณะ ดงั น้ี

1. แสดงใหผ้ ูอ้ น่ื เหน็ ถงึ ความพกิ าร ความเจบ็ ป่วย มบี าดแผล หรอื เป็นโรคเร้อื รงั
2. นาเดก็ สตรมี คี รรภ์ คนชรา คนพกิ าร คนเจบ็ ป่วย มบี าดแผลหรอื เป็นโรคเร้อื รงั มาใชเ้ป็นเครอ่ื งมอื เพอ่ื ใหผ้ ูอ้ น่ื
เกดิ ความสงสารและสง่ มอบเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ให้
3. แสรง้ ทาเป็นพกิ าร เจบ็ ป่วย มบี าดแผลหรอื เป็นโรคเร้อื รงั
4. การใชส้ ตั วไ์ มว่ า่ จะเป็นปกติ พกิ าร เจบ็ ป่วย มบี าดแผล หรอื เป็นโรคเร้อื รงั เพอ่ื ใหผ้ ูอ้ น่ื เกดิ ความสงสาร
โดยมเี จตนาใชส้ ตั วน์ นั้ เป็นเครอ่ื งมอื ในการขอทาน

ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ

ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ คือ ผูท้ ท่ี าการแสดงความสามารถไมว่ ่าจะเป็นการเลน่ ดนตรีหรอื การแสดงอ่นื ใด
เช่น การแสดงกายกรรม การแสดงนาฏศิลป์ การแสดงศิลปะการแสดงละคร หรือการนาสตั วม์ าแสดงความสามารถ
เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ จากผูช้ มหรอื ผูฟ้ งั

กำรแสดงควำมสำมำรถมีลกั ษณะดงั น้ี

1 .การแสดงดนตรี ละคร นาฏศิลป์หรอื ศิลปะอ่นื ใด
กายกรรม มายากล การนาสตั วม์ าแสดงความสามารถ
2. การรอ้ งเพลงไมว่ ่าจะมดี นตรหี รอื ไมม่ ดี นตรีประกอบ
3. การแต่งกายหรอื ตกแต่งร่างกายอนั เป็นศิลปะท่แี สดงต่อผูช้ ม
4. การแสดงอน่ื ใดทท่ี าใหผ้ ูช้ มและผูฟ้ งั พงึ พอใจ เช่น การเตน้ รา
หรอื การเตน้ ประกอบจงั หวะ

2 สถานท่อี อกบตั รประจาตวั
ผูแ้ สดงความสามารถ

ตามระเบียบคณะกรรมการควบคุมการขอทานว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ วิธีการในการแจง้ และการขอมีบตั รประจาตวั
ผูแ้ สดงความสามารถ พ.ศ. 2559 ขอ้ 4 กาหนดไวว้ ่า “ผูใ้ ดประสงค์จะมีบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
ไม่ว่าจะอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือจงั หวดั อ่ืนอาจย่นื คาขอมบี ตั รต่อสานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั
หรอื หน่วยงานในสงั กดั กรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ ารตามทอ่ี ธิบดปี ระกาศกาหนดแลว้ แต่กรณี”

ซ่ึง ตามประกาศกรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ เร่ือง กาหนดหน่วยงานใหเ้ ป็นสถานท่ีออกบตั ร ประจาตวั
ผูแ้ สดงความสามารถ ไดก้ าหนดใหส้ านกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวดั และศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่พี ่งึ
กรุงเทพมหานคร เป็นสถานทอ่ี อกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ

ผูท้ ่ตี อ้ งกำรขอมีบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ
ย่นื คำขอมีบตั รผูแ้ สดงควำมสำมำรถตำมสถำนท่ีออกบตั รท่ีสะดวก ไดท้ ่ี

สว่ นกลำง ศูนยค์ มุ้ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ กรุงเทพมหานคร
(บา้ นมติ รไมตรกี รงุ เทพฯ) โทร. 02-246-8661

สว่ นภมู ิภำค สานกั งานพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั ทกุ จงั หวดั
(หมายเลขโทรศพั ทต์ ดิ ต่อในหนา้ ท่ี 41)

การดาเนนิ งาน 3
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

ขน้ั ตอนการขอมบี ตั รประจาตัวผแู้ สดงความสามารถ

1. ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานประกอบการขอมบี ัตร ดังน้ี

1.1 บตั รประจาตวั ประชาชน หรอื บตั รท่ที างราชการออกให้
1.2 รูปถ่ายขนาด 1 น้ิว ถา่ ยไวไ้ มเ่ กนิ 6 เดอื น จานวน 2 รูป
1.3 หลกั ฐานทแ่ี สดงวา่ มคี วามสามารถ เช่น หนงั สอื รบั รองการอบรม ประกาศนียบตั ร
หรอื รางวลั ทไ่ี ดร้ บั จากการแสดงความสามารถ หรอื สง่ิ อ่นื ใด เพอ่ื ใชป้ ระกอบการพจิ ารณา (ถา้ ม)ี
หมายเหตุ : ถงึ แมจ้ ะมหี ลกั ฐานทแ่ี สดงวา่ มคี วามสามารถมายนื ยนั แต่ควรทจ่ี ะแสดงความสามารถ
ใหค้ ณะกรรมการไดพ้ จิ ารณา เพอ่ื เป็นการยนื ยนั ความสามารถ หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการเห็นสมควร

2. กรอกแบบคาขอมบี ัตรประจาตัวผแู้ สดงความสามารถ

ใหผ้ ูข้ อมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
กรอกแบบคาขอมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
หมายเหตุ : กรณีทผ่ี ูแ้ สดงความสามารถขอบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถเป็นหม่คู ณะ
เจา้ หนา้ ทจ่ี ะพจิ ารณาความสามารถและออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถใหเ้ ป็นรายบคุ คล
สามารถดาวนโ์ หลดแบบคาขอมบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
ไดท้ ่ี http://www.dsdw2016.dsdw.go.th (ตวั อยา่ งแบบฟอรม์ หนา้ 5-6)

3. คณะกรรมการในการพิจารณาความสามารถ

ใหพ้ ฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั หรอื ผูอ้ านวยการศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ กรุงเทพมหานคร
มอบหมายบคุ คลในการพจิ ารณาความสามารถของผูข้ อมบี ตั รอยา่ งนอ้ ย 3 คนข้นึ ไป เป็นคณะกรรมการ
ประกอบไปดว้ ยผูแ้ ทนจากหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคธุรกจิ ภาคประชาชนในจงั หวดั
เช่น ผูแ้ ทนสานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั
หรอื ผูแ้ ทนจากสานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั
หรอื ผูแ้ ทนจากสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั หรอื ผูแ้ ทนจากสานกั งานประชาสมั พนั ธจ์ งั หวดั
หรอื ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากสถาบนั การศึกษาในจงั หวดั
หรอื ปราชญช์ าวบา้ น หรอื บคุ คลอ่นื ใดใหพ้ จิ ารณาตามความเหมาะสม

4 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
แบบคำขอมบี ตั รประจำตวั ผู้แสดงควำมสำมำรถ

(สามารถดาวนโ์ หลดแบบคาขอมีบตั รประจาตัวผ้แู สดงความสามารถ
ไดท้ ่ี http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)

การดาเนนิ งาน 5
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

แบบคำขอมบี ัตรประจำตวั ผ้แู สดงควำมสำมำรถ (ต่อ)

(สามารถดาวนโ์ หลดแบบคาขอมบี ตั รประจาตวั ผแู้ สดงความสามารถ
ไดท้ ี่ http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)

6 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

4. การพจิ ารณาออกบัตรประจาตวั ผแู้ สดงความสามารถ

ใหผ้ ูข้ อมบี ตั ร ทาการแสดงใหค้ ณะกรรมการและเจา้ หนา้ ทผ่ี ูอ้ อกบตั ร
พจิ ารณาจากความไพเราะ ความงดงาม และความสามารถของผูแ้ สดง
ทง้ั น้ี ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการ
พจิ ารณาความสามารถ อยา่ งนอ้ ย 2 ใน 3 หรอื ก่งึ หน่ึง
พจิ ารณาวา่ สมควรออกบตั รประจาตวั ใหแ้ ก่ผูข้ อมบี ตั รหรอื ไม่
กรณีทค่ี ณะกรรมการพจิ ารณาไมเ่ หน็ สมควรออกบตั รให้
ตอ้ งแจง้ เหตผุ ลใหผ้ ูข้ อมบี ตั รทราบดว้ ย

เกณฑพ์ จิ ำรณำออกบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ

ในส่วนของการกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนในการพจิ ารณาความสามารถ (ตวั อย่างในหนา้ ท่ี 7 - 12) สามารถปรบั เปลย่ี น
แกไ้ ขไดต้ ามดุลยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาท่ีหน่วยงานออกบตั รแต่งตงั้ ข้นึ ตามความเหมาะสมของแต่ละพ้ืนท่ี
โดยยดึ หลกั การพจิ ารณาผูแ้ สดงความสามารถท่มี คี วามสามารถในการแสดงท่ีจะทาใหผ้ ูท้ ไ่ี ดช้ มหรือไดฟ้ งั เกดิ ความพงึ พอใจ
ในความสามารถอย่างแทจ้ ริงไมใ่ ช่เป็นการพจิ ารณาออกบตั รใหเ้น่ืองจากความสงสาร เพราะกรณีผูท้ ่ไี ม่ผ่านการพจิ ารณา
แต่เป็นบคุ คลในกลมุ่ เป้าหมายเช่น เป็นผูย้ ากไร้ ผูป้ ระสบปญั หาทางสงั คม ผูพ้ กิ าร ตามภารกจิ ของกระทรวงการพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนุษย์ จะดาเนินการใหค้ วามช่วยเหลือ โดยการติดตามเย่ียมบา้ นเพ่ือพิจารณาใหค้ วามช่วยเหลือ
ตามความเหมาะสมตามบทบาทภารกจิ ของหน่วยงานอยูแ่ ลว้

การดาเนนิ งาน 7
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัตคิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

เกณฑ์กำรให้คะแนนในกำรพจิ ำรณำควำมสำมำรถ

ทัง้ น้ี กำรพิจำรณำเกณฑก์ ำรให้คะแนนควำมสำมำรถให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของคณะกรรมกำร

8 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนในกำรพิจำรณำควำมสำมำรถ (ตอ่ )

ทง้ั นี้ กำรพจิ ำรณำเกณฑ์กำรใหค้ ะแนนควำมสำมำรถให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของคณะกรรมกำร

การดาเนนิ งาน 9
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

เกณฑก์ ำรให้คะแนนในกำรพิจำรณำควำมสำมำรถ (ตอ่ )

ท้งั น้ี กำรพิจำรณำเกณฑ์กำรให้คะแนนควำมสำมำรถใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมกำร

10 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
เกณฑ์กำรใหค้ ะแนนในกำรพจิ ำรณำควำมสำมำรถ (ต่อ)

ทง้ั นี้ กำรพจิ ำรณำเกณฑ์กำรใหค้ ะแนนควำมสำมำรถให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมกำร

การดาเนินงาน 11
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

เกณฑ์กำรใหค้ ะแนนในกำรพจิ ำรณำควำมสำมำรถ (ต่อ)

ทงั้ นี้ กำรพิจำรณำเกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนควำมสำมำรถใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของคณะกรรมกำร

12 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559
เกณฑ์กำรใหค้ ะแนนในกำรพจิ ำรณำควำมสำมำรถ (ตอ่ )

ทั้งน้ี กำรพิจำรณำเกณฑก์ ำรใหค้ ะแนนควำมสำมำรถให้อยู่ในดลุ ยพินิจของคณะกรรมกำร

การดาเนนิ งาน 13
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

ใบรบั รองคณะบุคคลในกำรพจิ ำรณำออกบตั รประจำตัวผูแ้ สดงควำมสำมำรถ

(สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มแบบประเมินการแสดงความสามารถดา้ นต่างๆ
และใบรบั รองคณะกรรมการในการพจิ ารณาออกบัตรประจาตัวผู้แสดงความสามารถ

ได้ที่ http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)

14 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั ิควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
ขนั้ ตอนการกรอกขอ้ มลู ลงในระบบลงทะเบยี นผู้แสดงความสามารถในทสี่ าธารณะ
1. กรณผี ู้แสดงความสามารถไมผ่ ่านการพิจารณาความสามารถ

ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีแจง้ ถึงเหตุผลท่ีไม่ผ่านการพิจารณาความสามารถและแจง้ ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถทราบว่า สามารถ
กลบั มาทาบตั รใหมไ่ ดอ้ กี หลงั จากไดม้ กี ารฝึกฝนทกั ษะการแสดงจนเป็นท่พี งึ พอใจของคณะกรรมการและผ่านการพจิ ารณา
หมายเหตุ : กรณีผูแ้ สดงความสามารถท่ไี ม่ผ่านการพจิ ารณา ยงั ไมต่ อ้ งกรอกขอ้ มลู เขา้ สู่ระบบลงทะเบยี นผูแ้ สดงความสามารถ
ในทส่ี าธารณะ เพอ่ื ไมใ่ หเ้กดิ การออกเลขบตั รคา้ งไว้

2. ขน้ั ตอนการกรอกข้อมลู ลงในระบบลงทะเบยี นผแู้ สดงความสามารถ
ในที่สาธารณะ

เมอ่ื ผูข้ อมบี ตั รผ่านการพจิ ารณาของเจา้ หนา้ ทแ่ี ลว้ ใหด้ าเนินการดงั น้ี

2.1 ขนั้ ตอนกำรเขำ้ ระบบ

1) เขา้ เวบ็ ไซต์ www.talentshow.dsdw.go.th
เพอ่ื เขา้ สูร่ ะบบฐานขอ้ มลู ผูแ้ สดงความสามารถ
2) กรอกช่อื ผูใ้ ช้ และรหสั ผา่ น
(หากลมื ช่อื ผูใ้ ชแ้ ละรหสั ผ่านสามารถสอบถามไดท้ ่ี กลมุ่ การสง่ เสรมิ และพฒั นา โทร. 02-659-6136)

2.2 ขั้นตอนกำรบนั ทกึ ขอ้ มลู

1) เมอ่ื เขา้ สู่ระบบลงทะเบยี นผูแ้ สดงความสามารถแลว้ จะปรากฏหนา้ จอดงั รูป
เลอื กเมนู “บนั ทกึ ขอ้ มลู ผูแ้ สดงความสามารถ” เพอ่ื บนั ทกึ ขอ้ มลู

การดาเนนิ งาน 15
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

2. ขัน้ ตอนการกรอกขอ้ มูลลงในระบบลงทะเบยี นผแู้ สดงความสามารถ
ในทีส่ าธารณะ (ตอ่ )

2.2 ขั้นตอนกำรบันทกึ ขอ้ มูล (ตอ่ )

2) เมอ่ื เขา้ สู่หนา้ จอบนั ทึกขอ้ มูลผูแ้ สดงความสามารถ จะปรากฏดงั รูป ใหท้ าการบนั ทกึ ขอ้ มูล โดยการกรอกรายละเอียดขอ้ มูล
ผูม้ าลงทะเบยี นแสดงความสามารถ เช่น ช่ือ-นามสกุล/เลขบตั รประจาตวั ประชาชน/วนั เดือน ปีเกิด/ท่ีอยู่ตามทะเบยี นบา้ น/
ท่ีอยู่ปจั จุบนั (กรณีท่ีอยู่ปจั จุบนั เป็นท่ีเดียวกบั ท่ีอยู่ตามทะเบียนบา้ น ใหใ้ ส่เคร่ืองหมายถูกในช่อง “เป็นท่ีอยู่เดียวกบั
ทอ่ี ยูต่ ามทะเบยี นบา้ น”)

หมำยเหตุ : กรณีทเ่ี ลอื กตาบลไมไ่ ด้ ใหล้ องเปลย่ี นเป็นอาเภออ่นื และกลบั มาเลอื กตาบลอกี ครงั้

16 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัตคิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

2. ข้ันตอนการกรอกข้อมลู ลงในระบบลงทะเบยี นผูแ้ สดงความสามารถ
ในทีส่ าธารณะ (ตอ่ )

2.2 ข้นั ตอนกำรบันทกึ ข้อมลู (ตอ่ )

3) การใสร่ ูปถา่ ยผูม้ าลงทะเบยี นแสดงความสามารถทาได้ 2 วธิ ี

- การใชก้ ลอ้ งทต่ี ดิ ตงั้ กบั คอมพวิ เตอร์ ทาไดโ้ ดยการ กดป่มุ “Allow” จากนนั้ กด “ถา่ ยรูป”
ระบบจะทาการบนั ทกึ รูปถ่ายใหโ้ ดยอตั โนมตั ิ
- ใชไ้ ฟลท์ ม่ี อี ยู่ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ทาไดโ้ ดยการ กดป่มุ “เลอื กไฟล”์ กด “Browse”
เพอ่ื ทาการเลอื กไฟลจ์ ากเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ เมอ่ื เลอื กไฟลท์ ต่ี อ้ งการเรยี บรอ้ ยแลว้ กดปุ่ม “Open”

ถ่ายรูป Adobe Flash Player Setting

Camera and microphone access
www.talentshow.dsdw.go.th is
requesting
access to your camera and microphone.
If you click Allow, you may be recorded.

หมำยเหตุ : ขนาดรูปภาพทใ่ี ชแ้ นบนน้ั จะตอ้ งมขี นาดไมเ่ กนิ 2 MB รูปภาพจงึ จะอพั โหลดไดส้ าเรจ็

การดาเนนิ งาน 17
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

2. ขน้ั ตอนการกรอกข้อมลู ลงในระบบลงทะเบยี นผู้แสดงความสามารถ
ในทส่ี าธารณะ (ต่อ)

2.2 ข้ันตอนกำรบันทึกข้อมูล (ตอ่ )

4) สาหรบั ผูท้ ่มี ผี ูน้ าพามาดว้ ย ใหใ้ ส่เคร่อื งหมายถูกในช่องมผี ูน้ าพามาแสดงความสามารถ และบนั ทึกขอ้ มูลรายละเอียด
ผูน้ าพามาแสดงความสามารถใหค้ รบถว้ น เช่น ช่ือ-นามสกุล/อายุ/เลขบตั รประจาตวั ประชาชน/ความเก่ียวขอ้ ง
กบั ผูแ้ สดงความสามารถ/ทอ่ี ยูป่ จั จบุ นั (กรณีทอ่ี ยูป่ จั จบุ นั เป็นทอ่ี ยู่เดยี วกบั ทอ่ี ยู่ของผูแ้ สดงความสามารถ ใหใ้ ส่เคร่อื งหมายถกู
ในช่อง “เป็นทอ่ี ยู่เดยี วกบั ผูแ้ สดงความสามารถ”)

หมายเหตุ : กรณีท่ีผูข้ อมีบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถอายุตา่ กว่า 18 ปี ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีกรอกรายละเอียดขอ้ มูล
ของผูน้ าพามาแสดงความสามารถลงในระบบทกุ ราย

5) บนั ทกึ ขอ้ มลู รายละเอยี ดความสามารถของผูแ้ สดงความสามารถ โดยในสว่ นน้ีสามารถบนั ทกึ ความสามารถของผูแ้ สดง
ความสามารถไดม้ ากกว่า 1 ประเภทการแสดง เมอ่ื เลอื กประเภทการแสดงแลว้ ใหร้ ะบรุ ายละเอยี ดการแสดงเพม่ิ เติมดว้ ย
เช่น กรณีเลอื กประเภทการแสดงดนตรี ขอใหร้ ะบรุ ายละเอยี ดการแสดงเพม่ิ เตมิ ในช่องดา้ นหลงั (ดงั ภาพ)

หมำยเหตุ
การแสดงดนตรี แบง่ เป็น 2 ประเภทคือ ดนตรบี รรเลง
และดนตรขี บั รอ้ ง เช่น รอ้ งเพลง รอ้ งเพลงประกอบดนตรี
รอ้ งเพลงและเลน่ เคร่อื งดนตรี เลน่ ดนตรไี ทย และเลน่ ดนตรสี ากล
การแสดงนาฏศิลป์ คอื การแสดงทต่ี อ้ งผสมผสานวฒั นธรรม
หรอื เอกลกั ษณข์ องแต่ละทอ้ งถน่ิ เช่น กลอนรา ฟ้อนรา เซ้งิ
เตน้ ราชนเผาลซี อ มโนราห์ ราไทย โปงลาง หุ่นเชดิ 20 สาย ลเิ ก หมอลาพ้นื บา้ น หรอื การแสดงพ้นื บา้ นอ่ืนๆ
การแสดงละคร คือ การแสดงท่ีมีเร่ืองราวและการดาเนินเร่ืองดว้ ยกระบวนลีลาท่าทาง เขา้ กบั บทรอ้ งหรือทานองเพลง
เช่น ละครเพลง ละครหุ่นเชดิ
การแสดงศิลปะ คอื จติ รกรรม เช่น การวาดรูป การระบายสี ประตมิ ากรรม เช่น การปนั้ การหลอ่ หรอื การแกะสลกั
การแสดงกายกรรม คือ การแสดงผาดโผนทอ่ี าศยั ความสมดุล ความคลอ่ งแคลว่ เช่น ศิลปะการกระโดด การตลี งั กา
การแสดงอ่นื ๆนอกเหนือจากประเภทขา้ งตน้ คือ การแสดงความสามารถอ่ืนใดนอกจากการแสดงความสามารถดา้ นดนตรี
นาฏศิลป์ หรือ ศิลปะซ่ึงมที ่ีมาจากความสรา้ งสรรค์ พรสวรรค์ หรือความสามารถของบุคคล และทาใหผ้ ู้ชมเกิดความ
พงึ พอใจ เช่น การแสดงโชว์ มายากล การเตน้ การแต่งกายสวยงาม หรอื การแสดงของสตั วซ์ ง่ึ ไดร้ บั การฝึกฝน
กรณีผูแ้ สดงความสามารถเป็นเด็ก ใหพ้ ิจารณาถึงผลต่อสุขภาพ ความปลอดภยั และอนั ตรายกบั เด็กท่ีอาจจะเกิดข้ึน
จากการแสดงความสามารถและไมข่ ดั ต่อพระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546

18 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
2. ขั้นตอนการกรอกข้อมูลลงในระบบลงทะเบียนผู้แสดงความสามารถ
ในทส่ี าธารณะ (ต่อ)
2.2 ขัน้ ตอนกำรบันทกึ ข้อมลู (ตอ่ )
6) บนั ทกึ ขอ้ มลู รายละเอยี ดในส่วนของ “เอกสารทย่ี น่ื ประกอบดว้ ย” ใหใ้ ส่รายละเอยี ดเอกสารท่ี
ผูแ้ สดงความสามารถนามายน่ื ต่อเจา้ หนา้ ทใ่ี นวนั ทม่ี าลงทะเบยี น
7) บนั ทกึ ขอ้ มลู ในสว่ นของ “การพจิ ารณา/ความเหน็ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่”ี หากเหน็ ควรออกบตั ร
ผูแ้ สดงความสามารถใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายถูกในช่อง “เหน็ ควรออกบตั รผูแ้ สดงความสามารถ” และหากไม่เหน็ ควร
ออกบตั รผูแ้ สดงความสามารถใหใ้ ส่เคร่อื งหมายถูกในช่อง “ไม่เหน็ ควรออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ”
พรอ้ มทงั้ ใส่เหตผุ ลท่ไี ม่เหน็ ควรออกบตั ร (1)
8) บนั ทึกขอ้ มูลในส่วนของ “ความเห็นของผูม้ อี านาจในการออกบตั ร” ใส่ความเห็นของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี/
ความเห็นของผูม้ อี านาจออกบตั รลงในช่องเหตุผลในช่องดงั รูป (2) ตวั อย่างเช่น เห็นควรออกบตั รผูแ้ สดง
ความสามารถ เน่ืองจากมีใบประกาศท่ีชดั เจนมาแสดงหลายใบ และออกประกาศโดยบริษทั /หน่วยงาน
ทม่ี ชี ่อื เสยี ง เช่อื ถอื ได้ ประกอบกบั การแสดงความสามารถผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการ
9) เมอ่ื ทาการบนั ทกึ ขอ้ มลู ทง้ั หมดเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหก้ ด “บนั ทกึ ” (3)

(1)

(2)

(3)

การดาเนินงาน 19
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

3. ข้ันตอนการพมิ พ์บัตรประจาตวั ผู้แสดงความสามารถ

1) กดป่มุ “คน้ หาขอ้ มลู ” จากนน้ั พมิ พ์ ชอ่ื -นามสกลุ ผูแ้ สดงความสามารถ หรอื เลขบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
และกดป่มุ “แสดงขอ้ มลู ”

2) จากนนั้ กดป่มุ พมิ พ์ ระบบจะข้นึ หนา้ บตั รดงั รูป และกดป่มุ “พมิ พ”์

หมำยเหตุ : สามารถพมิ พข์ อ้ มลู ลงในแบบฟอรม์ บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถทก่ี รมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ ารจดั สง่ ให้
ดว้ ยเคร่อื งพมิ พด์ ดี ไฟฟ้า หรอื เขยี นดว้ ยลายมอื แบบตวั บรรจง ชดั เจน และอ่านงา่ ย

20 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัตคิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
รปู แบบบตั รประจาตัวผู้แสดงความสามารถ
1. บัตรประจาตวั ผู้แสดงความสามารถใหม้ รี ายการดงั ต่อไปนี้

1) บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถตอ้ งมรี ายการดงั ต่อไปน้ี
1.1 ช่อื - นามสกลุ วนั เดอื น ปีเกดิ
1.2 ทอ่ี ยูต่ ามทะเบยี นบา้ นในขณะทย่ี น่ื คาขอ
1.3 เลขประจาตวั ประชาชน และเลขทบ่ี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
1.4 ประเภทของการแสดงความสามารถ
1.5 ลายมอื ชอ่ื และตาแหน่งของผูซ้ ง่ึ อธบิ ดมี อบหมาย และรายมอื ชอ่ื ของผูแ้ สดงความสามารถ
1.6 วนั ทอ่ี อกบตั ร และวนั บตั รหมดอายุ
1.7 ประทบั ตราครุฑกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ สแี ดง

ตวั อย่ำง

ตรำครุฑกระทรวง (สแี ดง)
ท่ีใชป้ ระทับลงในบตั รประจำตวั ผแู้ สดงควำมสำมำรถ

2. ขั้นตอนการลงนามและประทบั ตราในบัตร

1) ตดิ รูปถา่ ยขนาด 1 น้ิว และประทบั ตรากระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ใหท้ บั รูปถ่ายผูแ้ สดงความสามารถ
2) เสนอใหห้ วั หนา้ หน่วยงานทท่ี าการออกบตั ร ลงนามในบตั ร

3) ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถลงชอ่ื ในบตั ร
4) มอบบตั รใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถ เพอ่ื นาไปยน่ื ต่อเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ในเขตพ้นื ทท่ี จ่ี ะไปทาการแสดงต่อไป
หมำยเหตุ : ใหเ้จา้ หนา้ ทส่ี านกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั /ศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ กรุงเทพมหานคร
พิจารณาดาเนินการออกบตั รใหแ้ ลว้ เสร็จภายใน 7 วนั นบั ตง้ั แต่วนั ท่ีผูม้ าแจง้ ขอมีบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
มเี อกสารหลกั ฐานครบ หากมคี วามลา่ ชา้ ตดิ ขดั ประการใดขอใหเ้จา้ หนา้ ท่ชี ้แี จงทาความเขา้ ใจกบั ผูแ้ สดงความสามารถ

การดาเนนิ งาน 21
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

ตวั อย่ำง

บตั รประจำตัวผู้แสดงควำมสำมำรถ

ตัวอยำ่ งบัตร ตัวอย่ำงบัตร
(ดำ้ นหน้ำ) (ด้ำนหลัง)

6 cm.

ตวั อย่ำง

บัตรประจำตัวผู้แสดงควำมสำมำรถของผู้พกิ ำรทำงสำยตำ

ตวั อยำ่ งบัตร ตวั อยำ่ งบัตร
(ด้ำนหนำ้ ) (ด้ำนหลัง)

22 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั ิควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559
การดาเนนิ การในส่วนขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

เมอ่ื ผู้แสดงความสามารถได้รับบตั รแลว้ หากประสงคจ์ ะแสดงความสามารถในพน้ื ทใ่ี ด
ใหแ้ จง้ แกเ่ จา้ พนกั งานทอ้ งถนิ่ ในเขตพื้นท่ีน้นั

เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ตามมาตรา 5 แหง่ พระราชบญั ญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 หมายความวา่
1. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล สาหรบั ในเขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล
2. นายกเทศมนตรี สาหรบั ในเขตเทศบาล
3. นายกเมอื งพทั ยา สาหรบั ในเขตเมอื งพทั ยา
4. ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร สาหรบั ในเขตกรุงเทพมหานคร
5. ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ หรอื หวั หนา้ ของคณะผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ สาหรบั ในเขตองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ท่มี กี ฎหมายจดั ตงั้

แต่มใิ ช่องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั

สาหรับเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ ให้ดาเนนิ การดงั น้ี

1. ใหด้ าเนินการประกาศกาหนดเขตพ้นื ท่หี รือสถานท่ีอนั เป็นท่สี าธารณะ วนั เวลาการแสดง การใชอ้ ุปกรณ์หรือส่งิ อ่ืนใด
ท่อี นุญาตใหใ้ ชใ้ นการแสดงความสามารถ (กรณีเป็นเอกชนอนุญาตใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถใชพ้ ้นื ท่ี โดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย
ตอ้ งมาแจง้ เพม่ิ เป็นพ้นื ทก่ี าหนดจากทอ้ งถน่ิ ) โดยตวั อยา่ งขนั้ ตอนการจดั ทาประกาศกาหนดพ้นื ท่แี สดงความสามารถ ดงั น้ี

การดาเนนิ งาน 23
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

เมอ่ื ผแู้ สดงความสามารถได้รบั บตั รแล้ว หากประสงคจ์ ะแสดงความสามารถในพืน้ ทใ่ี ด
ใหแ้ จง้ แก่เจา้ พนักงานท้องถน่ิ ในเขตพนื้ ที่นนั้ (ตอ่ )

ตวั อย่ำงประกำศกำหนดพื้นท่ีแสดงควำมสำมำรถ
ของผู้แสดงควำมสำมำรถตำมพระรำชบญั ญัติควบคุมกำรขอทำน พ.ศ. 2559

24 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
เมอ่ื ผแู้ สดงความสามารถได้รับบตั รแลว้ หากประสงคจ์ ะแสดงความสามารถในพน้ื ทใ่ี ด
ใหแ้ จง้ แกเ่ จา้ พนักงานท้องถ่นิ ในเขตพืน้ ท่ีน้นั (ต่อ)
สาหรบั เจ้าพนักงานทอ้ งถิน่ ให้ดาเนินการดงั นี้ (ต่อ)
2. หลงั จากทาการประกาศกาหนดพ้ืนท่ีแสดงความสามารถเรียบรอ้ ยแลว้ เม่ือมีผูม้ าแจง้ แสดงความสามารถ
ใหเ้ จา้ พนกั งานทอ้ งถ่ินนาแบบใบแจง้ ของผูป้ ระสงค์จะแสดงความสามารถใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถกรอก รายละเอียด
ลงในแบบฟอรม์ ใหค้ รบถว้ น (สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)
แบบใบแจง้ ของผปู้ ระสงค์จะแสดงควำมสำมำรถตำมพระรำชบญั ญตั คิ วบคุมกำรขอทำน พ.ศ. 2559

หมายเหตุ : ผูแ้ สดงความสามารถอาจมหี นงั สอื แต่งตง้ั ใหบ้ คุ คลหน่ึงบุคคลใดซง่ึ บรรลุนิตภิ าวะดาเนินการแจง้ แสดงความสามารถ
แทนตนได้ โดยเอกสารท่ตี อ้ งใชป้ ระกอบการแจง้ ไดแ้ ก่ 1. หนงั สอื มอบอานาจ2. สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชนของผูม้ อบ
อานาจและผูร้ บั มอบอานาจ 3. สาเนาบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ (พรอ้ มเซน็ รบั รองสาเนาถกู ตอ้ ง)

การดาเนนิ งาน 25
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั ิควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

เมอื่ ผู้แสดงความสามารถไดร้ บั บตั รแล้ว หากประสงค์จะแสดงความสามารถในพน้ื ทใ่ี ด
ให้แจ้งแกเ่ จ้าพนักงานท้องถนิ่ ในเขตพ้นื ที่นั้น (ต่อ)

สาหรับเจ้าพนักงานทอ้ งถิน่ ใหด้ าเนนิ การดงั น้ี (ตอ่ )

3. หลงั จากเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ รบั เอกสารจากผูแ้ สดงความสามารถเรียบรอ้ ยแลว้ ใหเ้ จา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ ออกใบรบั แจง้
ของผูป้ ระสงค์จะแสดงความสามารถใหแ้ ก่ผูแ้ สดงความสามารถไวเ้ ป็นหลกั ฐาน เพ่ือใชใ้ นการแสดง ความสามารถ
ในทท่ี ท่ี อ้ งถน่ิ ประกาศไวต้ ่อไป
(สามารถดาวนโ์ หลดใบรบั แจง้ ของผูป้ ระสงคจ์ ะแสดงความสามารถไดท้ ่ี http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)

แบบใบรบั แจ้งของผปู้ ระสงคจ์ ะแสดงควำมสำมำรถตำมพระรำชบญั ญตั คิ วบคุมกำรขอทำน พ.ศ. 2559

26 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

เม่อื ผู้แสดงความสามารถไดร้ ับบตั รแล้ว หากประสงคจ์ ะแสดงความสามารถในพื้นที่ใด
ใหแ้ จง้ แก่เจ้าพนกั งานทอ้ งถ่นิ ในเขตพนื้ ท่ีน้นั (ตอ่ )

สาหรับผแู้ สดงความสามารถดาเนินการดงั น้ี

1. เอกสารทต่ี อ้ งใชใ้ นการแจง้ แสดงความสามารถ
สาหรบั ผูแ้ สดงความสามารถท่แี จง้ แสดงความสามารถดว้ ยตนเอง
- บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ (ตวั จรงิ )
สาหรบั ผูท้ แ่ี ต่งตง้ั ใหบ้ คุ คลหน่ึงบุคคลใดซง่ึ บรรลุนิตภิ าวะดาเนินการแทนตนหรอื หมคู่ ณะ ใหเ้ ตรยี มเอกสารดงั ต่อไปน้ี
- หนงั สอื มอบอานาจ
- สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชนของผูม้ อบอานาจและผูร้ บั มอบอานาจ
- สาเนาบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ (พรอ้ มเซน็ รบั รองสาเนาถกู ตอ้ ง)
2. สถานทท่ี ่สี ามารถแจง้ แสดงความสามารถ สาหรบั ในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถติดต่อขออนุญาตไดท้ ่สี านกั งานเขต
ทง้ั 50 เขต ในส่วนของภูมภิ าคสามารถแจง้ แสดงความสามารถไดท้ ่ีองคก์ ารบริหารส่วนทอ้ งถ่ินในเขตพ้ืนท่ีท่ีตอ้ งการ
ทาการแสดงความสามารถ เช่น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล เทศบาล
3. เมอ่ื เดินทางไปแจง้ แสดงความสามารถ เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ จะออกใบรบั แจง้ แสดงความสามารถใหเ้ ป็นหลกั ฐานสาหรบั
ใชใ้ นการแสดงความสามารถต่อไป
4. เม่ือผูแ้ สดงความสามารถทาการแสดงความสามารถ ผูแ้ สดงความสามารถจะตอ้ งมีเอกสารหลกั ฐานยืนยนั
ต่อเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่ิน คือ บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ (ตวั จริง) และใบรบั แจง้ แสดงความสามารถท่ีออก
โดยเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ในพ้นื ทน่ี นั้ ๆ
หมายเหตุ : หากผูแ้ สดงความสามารถฝ่ าฝืนเง่ือนไขการเขา้ ใชพ้ ้ืนท่ีในการแสดงความสามารถ เจา้ พนกั งานท้องถ่ิน
ในพ้ืนท่ีมอี านาจสงั่ ใหผ้ ูน้ น้ั หยุดหรือยกเลกิ กระทาการแสดงได้ ตามมาตรา 14 แห่งพระราชบญั ญตั ิควบคุมการขอทาน
พ.ศ. 2559 และตอ้ งรบั ผิดตามมาตรา 368 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา “ถา้ เจา้ พนกั งานไดส้ งั่ การ
ตามอานาจท่ีมีกฎหมายใหไ้ วแ้ ต่ผูแ้ สดงความสามารถไม่ปฏิบตั ิตามคาสงั่ นนั้ โดยไม่มีเหตุหรือข้อแกต้ วั อนั สมควร
ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ สบิ วนั หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พนั บาทหรอื ทงั้ จาทงั้ ปรบั ”

สำนกั งำนเขต

การดาเนินงาน 27

ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

กรณีบัตรประจาตวั ผู้แสดงความสามารถหาย/ชารุด/หมดอายุ

1. กรณบี ัตรประจาตัวผแู้ สดงความสามารถหาย/ชารดุ

ใหข้ อทาบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถใหม่ (กรณีบตั รเดิมหายโดยยงั ไม่หมดอายุ) กลบั ไปติดต่อขอทาบตั รใหม่
เพอ่ื ทดแทนบตั รเดมิ ทส่ี ูญหาย/ชารุด จากหน่วยงานเดมิ ทอ่ี อกบตั รใหเ้ทา่ นนั้

1) ขน้ั ตอนกำรขอทำบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ (กรณีบตั รหำย)
1.1 ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถกรอกแบบคารอ้ งขอมีบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถกรณี บตั รสูญหาย/ชารุด
(สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี http://www.dsdw2016.dsdw.go.th)

ตวั อย่ำง (แผ่นท่ี 1) ตวั อยำ่ ง (แผ่นท่ี 2)

2) หลกั ฐำนประกอบกำรแจง้ มีดงั น้ี
2.1) สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน หรอื สาเนาบตั รทท่ี างราชการออกให้
2.2) รูปถ่ายขนาด 1 น้ิว ถ่ายไวไ้ มเ่ กนิ 6 เดอื น จานวน 2 รูป

28 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559
1. กรณบี ตั รประจาตัวผแู้ สดงความสามารถหาย/ชารุด (ต่อ)

3) หำกผูม้ ำแจง้ ขอมีบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ มเี อกสำรหลกั ฐำนครบ
ใหเ้จา้ หนา้ ท่พี ิจารณาดาเนินการออกบตั รใหม่ให้ โดยไม่ตอ้ งแสดงความสามารถใหค้ ณะกรรมการพิจารณาใหม่ และดาเนินการ
ออกบตั รใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 7 วนั หากมคี วามลา่ ชา้ ตดิ ขดั ประการใดขอใหเ้จา้ หนา้ ทช่ี ้แี จงทาความเขา้ ใจกบั ผูแ้ สดงความสามารถ
4) ขน้ั ตอนในกำรออกบตั ร

เมอ่ื ตรวจสอบเอกสารครบถว้ นแลว้ ใหเ้จา้ หนา้ ทด่ี าเนินการดงั น้ี
3.1 เขา้ เวบ็ ไซต์ www.talentshow.dsdw.go.th เพอ่ื เขา้ สู่ระบบฐานขอ้ มลู ผูแ้ สดงความสามารถ
3.2 กรอกชอ่ื ผูใ้ ช้ และรหสั ผ่าน
3.3 คน้ หาขอ้ มลู ผูข้ อบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ จากชอ่ื หรอื นามสกลุ

3.4 จากนนั้ กดท่ีคาว่าแกไ้ ข (ระบบจะเขา้ ไปสู่ขอ้ มูลเดิมท่ีไดอ้ อกบตั รให้ โดยสามารถพิมพเ์ พ่ิมเติมในระบบถึงเหตุผล
ท่อี อกบตั รในช่องเหตุผลท่เี หน็ ควรออกบตั ร เพ่อื หมายเหตุว่าเป็นการออกบตั รใหม่ทดแทนการออกบตั รเก่าท่สี ูญหาย
ครง้ั ท.่ี .......วนั ท.่ี .......................โดยบตั รใชเ้ลขทเ่ี ดมิ และมวี นั บตั รหมดอายุตามบตั รเก่าทส่ี ูญหาย/ชารุด)
3.5 พมิ พบ์ ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
3.6 ตดิ รูปถ่ายขนาด 1 น้ิว
3.7 ประทบั ตรากระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ดว้ ยหมกึ สแี ดง ใหท้ บั รูปถ่ายผูแ้ สดงความสามารถ
3.8 เสนอใหห้ วั หนา้ หน่วยงานของท่ที าการออกบตั ร ลงนามในบตั ร
3.9 ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถ ลงลายมอื ช่อื ในบตั ร และใหน้ าไปยน่ื ต่อเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ไปแจง้ ทาการแสดงต่อไป
หมำยเหตุ :
1. สามารถพิมพข์ อ้ มูลลงในแบบฟอรม์ บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถท่กี รมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการจดั ส่งให้
ดว้ ยเคร่อื งพมิ พด์ ดี ไฟฟ้า หรอื เขยี นดว้ ยลายมอื แบบตวั บรรจง ชดั เจน และอ่านงา่ ย
2. กรณีผูแ้ สดงความสามารถท่ไี ม่ผ่านการพจิ ารณา ใหเ้จา้ หนา้ ทช่ี ้ีแจงถงึ เหตุผลทไ่ี ม่ผ่าน และสามารถใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถ
กลบั มาทาบตั รใหมไ่ ดอ้ กี หลงั จากมกี ารพฒั นาความสามารถแลว้

การดาเนนิ งาน 29
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

8. 2. กรณบี ตั รประจาตัวผแู้ สดงความสามารถหมดอายุ

1) บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถมอี ายุสป่ี ีนบั แต่วนั ทอ่ี อกบตั รประจาตวั นน้ั
เมอ่ื บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถหมดอายุ ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถย่นื คาขอมบี ตั รใหม่ต่อเจา้ หน้าท่ภี ายในหกสบิ วนั
นบั แต่วนั ท่ีบตั รเดิมหมดอายุ หรือสามารถขอมีบตั รใหม่ก่อนวนั ท่ีบตั รเดิมหมดอายุก็ได้ โดยย่ืนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
ภายในหกสิบวนั สามารถขอต่อบตั รใหม่จากหน่วยงานเดิมท่ีออกบตั รให้ และเพ่ือเป็นการอานวยความสะดวก
ใหก้ บั ผูแ้ สดงความสามารถ กรมพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ โดยกองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานจะดาเนินการจดั ทาร ะบบ
เพ่ือใหส้ ามารถต่อบตั รใหม่ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งไปทาท่ีเดิม เม่อื ระบบสมบูรณ์พรอ้ มสาหรบั การใชง้ านแล้ว จะแจง้ รายละเอียด
ขนั้ ตอนการเขา้ ระบบใหห้ น่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งทราบต่อไป

1.1 การยน่ื คาขอมบี ตั รใหมก่ รณีบตั รเดมิ หมดอายุ ใหใ้ ชเ้อกสารหลกั ฐานดงั ต่อไปน้ี
1) เอกสารอยา่ งใดอย่างหน่ึงต่อไปน้ี
ก) บตั รประจาตวั ประชาชน หรอื บตั รท่ที างราชการออกให้
ข) สูตบิ ตั รสาหรบั บคุ คลอายุตา่ กวา่ เจด็ ปี
ค) หนงั สอื รบั รองการเกดิ ตามแบบทก่ี รมการปกครองกาหนด
2) รูปถ่ายขนาด 1 น้ิวถ่ายไวไ้ มเ่ กนิ 6 เดอื น จานวน 2 รูป
3) บตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถทห่ี มดอายุไปแลว้ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการพจิ ารณา

1.2 ระเบียบคณะกรรมการควบคุมการขอทาน ว่าดว้ ย หลกั เกณฑ์ วิธีการในการแจง้ และการมีบตั รประจาตัว
ผูแ้ สดงความสามารถ พ.ศ. 2559 ขอ้ 9 กาหนดไวว้ ่า เม่อื บตั รหมดอายุ ใหผ้ ูแ้ สดงความสามารถย่ืนคาขอมีบตั รใหม่
ต่อเจา้ หนา้ ทภ่ี ายใน 60 วนั นบั แต่วนั ทบ่ี ตั รเดมิ หมดอายุ ถา้ เกนิ เวลาทก่ี าหนด กเ็ ขา้ ขา่ ยมคี วามผดิ

30 การดาเนินงาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

ขน้ั ตอนการดาเนินงานของพนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือเจา้ พนกั งานทอ้ งถิน่ เมื่อพบผู้แสดงความสามารถ

เมอ่ื พบผูแ้ สดงความสามารถ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รอื เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ขอดูบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
และใบรบั แจง้ จากเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ในเขตพ้นื ทน่ี น้ั และพจิ ารณาว่าเป็นการแสดงความสามารถจรงิ หรอื ไม่
หากพนกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ พบเหน็ ผูแ้ สดงความสามารถ ซง่ึ มกี รณีดงั ต่อไปน้ี

กรณีนาเดก็ มาแสดงความสามารถ

พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองเดก็ พ.ศ.2546 มาตรา 4 กาหนดว่า “เดก็ ” หมายความวา่
บคุ คลซง่ึ มอี ายุตา่ กว่าสบิ แปดปีบรบิ ูรณ์ แต่ไม่รวมถงึ ผูท้ บ่ี รรลุนิตภิ าวะดว้ ยการสมรส
เม่ือพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีหรือเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่ินพบเห็นการนาเด็กมาแสดงความสามารถ หากการแสดง ความสามารถนนั้
เป็นการแสดงท่ีเขา้ ข่ายเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจของเด็ก มาตรา 4 กาหนดว่า “ทารุณกรรม” หมายความว่า
การกระทาหรือละเวน้ การกระทาใดๆ จนเป็ นเหตุใหเ้ ด็กเส่ือมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิ ตใจ
การกระทาความผิดทางเพศต่อเด็กการใชเ้ ด็กใหก้ ระทาหรือประพฤติในลกั ษณะท่ีน่าจะเป็นอนั ตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ
หรอื ขดั ต่อกฎหมายหรอื ศีลธรรมอนั ดที งั้ น้ี ไมว่ า่ เดก็ จะยนิ ยอมหรอื ไมก่ ็ตาม

มาตรา 26 (1) และ (5) กาหนดว่า ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายอ่นื ไมว่ ่าเดก็ จะยนิ ยอมหรอื ไม่ หา้มมใิ หผ้ ูใ้ดกระทาการ ดงั ต่อไปน้ี
(1) กระทาหรอื ละเวน้ การกระทาอนั เป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรอื จติ ใจของเดก็
(5) บงั คบั ขู่เข็ญ ชกั จูง ส่งเสริม ยินยอม หรือกระทาดว้ ยประการใดใหเ้ ด็กไปเป็นขอทาน เด็กเร่ร่อ น หรือใชเ้ ด็ก
เป็นเคร่อื งมอื ในการขอทานหรอื การกระทาผดิ หรอื กระทาดว้ ยประการใดอนั เป็นการแสวงหาประโยชนโ์ ดยมชิ อบจากเดก็
มาตรา 44 (2) กาหนดว่า เม่อื พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีหรือผูม้ ีหนา้ ท่ีคุม้ ครองสวสั ดิภาพพบเห็นเด็กท่ีเส่ียงต่อการกระทาผิด
ใหส้ อบถามเด็กและดาเนินการหาขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั ตวั เด็กรวมทง้ั สภาพความสมั พนั ธภ์ ายในครอบครวั ความเป็นอยู่การเล้ยี งดู
อุปนิสยั และความประพฤติของเด็กเพ่ือทราบขอ้ มูลเก่ียวกบั เด็ก และถา้ เห็นว่าจาเป็นตอ้ งคุม้ ครอง สวสั ดิภาพแก่เด็ก
โดยวิธีส่งเขา้ สถานคุม้ ครองสวสั ดิภาพหรือสถานพฒั นา และฟ้ื นฟูก็ใหเ้ สนอประวตั ิพรอ้ มความเห็นไปยงั ปลดั กระทรวง
หรอื ผูว้ ่าราชการจงั หวดั แลว้ แต่กรณี เพอ่ื พจิ ารณาสงั่ ใหใ้ ชว้ ธิ กี ารคุม้ ครองสวสั ดภิ าพทเ่ี หมาะสมแก่เดก็

ในกรณีพนกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รือผูม้ หี นา้ ทค่ี ุม้ ครองสวสั ดิภาพเดก็ เหน็ ว่าเดก็ จาเป็นตอ้ งไดร้ บั การสงเคราะหก์ ็ใหพ้ จิ ารณา
ใหก้ ารสงเคราะห์ แต่ถา้ เหน็ ว่ายงั ไม่สมควรส่งตวั เด็กไปยงั สถานแรกรบั สถานสงเคราะหส์ ถานคุม้ ครอง สวสั ดิภาพ หรือสถาน
พฒั นาและฟ้ืนฟูก็ใหม้ อบตวั เดก็ แก่ผูป้ กครองหรือบุคคลทย่ี นิ ยอมรบั เด็กไปปกครองดูแลโดยอาจแต่งตั้งผูค้ ุม้ ครองสวสั ดิภาพ
แก่เด็กหรือไม่ก็ไดแ้ ละเมอ่ื ไดป้ รึกษาหารือร่วมกบั ผูป้ กครองหรือบุคคลท่จี ะรบั เด็กไปปกครองดูแลแลว้ อาจจะวางขอ้ กาหนด
เพ่อื ป้องกนั มใิ หเ้ ดก็ มคี วามประพฤติเสยี หายหรอื เสย่ี งต่อการกระทาผดิ โดยใหผ้ ูป้ กครองหรอื บคุ คลท่รี ับเดก็ ไปปกครองดูแล
ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามความเหมาะสม

หากปรากฏชดั ว่าผูป้ กครองหรือผูท้ ่ีรบั เด็กไวป้ กครองดูแลละเลยไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี
หรอื ผูม้ หี นา้ ทค่ี ุม้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ทห่ี รอื ผูม้ หี นา้ ทค่ี ุม้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ รบั เดก็ กลบั ไปดูแล

การดาเนินงาน 31
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบญั ญตั ิควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559

ขนั้ ตอนการดาเนินงานของพนกั งานเจา้ หน้าทีห่ รือเจ้าพนกั งานทอ้ งถิ่น เมอ่ื พบผแู้ สดงความสามารถ (ต่อ)

กรณีนาสตั วม์ าแสดงความสามารถ

พระราชบญั ญตั ิป้องกนั การทารุณกรรมและจดั สวสั ดภิ าพสตั ว์ พ.ศ.2557 มาตรา 3
ใหค้ วามหมายคาวา่ “สตั ว”์ ใหห้ มายความรวมถงึ สตั วเ์ ล้ยี งเพอ่ื ใชใ้ นการแสดงดว้ ย
โดยการนาสตั วม์ าแสดงความสามารถตอ้ งไมเ่ ขา้ ขา่ ยเป็นการกระทาหรอื งดเวน้ การกระทาใดๆ
ทท่ี าใหส้ ตั วไ์ ดร้ บั ความทกุ ขท์ รมานไมว่ ่าทางร่างกายหรอื จิตใจ ไดร้ บั ความเจบ็ ปวด ความเจบ็ ป่วย
ทพุ พลภาพ หรอื อาจทาใหส้ ตั วน์ น้ั ตาย รวมถงึ การใชส้ ตั วพ์ กิ าร สตั วเ์ จบ็ ป่วย
สตั วช์ ราหรอื สตั วท์ ก่ี าลงั ตงั้ ทอ้ งเพอ่ื แสวงหาประโยชน์ ใชส้ ตั วท์ างานจนเกนิ สมควร
หรอื ใชใ้ หท้ างานอนั ไม่สมควร เพราะเหตทุ ส่ี ตั วน์ น้ั เจ็บป่วย ชราหรอื อ่อนอายุ อนั เป็นการกระทาทถ่ี อื วา่ เป็นการทารุณกรรมสตั ว์

หากพนกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รือเจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ พบเหน็ การนาสตั วม์ าแสดงความสามารถ ซ่งึ อาจเขา้ ข่ายเป็นการกระทา
อนั เป็นการทารุณกรรมสตั วโ์ ดยไม่มีเหตุอนั สมควร ซ่ึงเป็นความผิดตามมาตรา 20 แห่งพ.ร.บ.ป้ องกนั การทารุณกรรม
และจดั สวสั ดภิ าพสตั ว์ พ.ศ.2557 ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รอื เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ ดาเนินการกบั ผูน้ น้ั ตามกฎหมายต่อไป

มาตรา 20 กาหนดวา่ หา้ มมใิ หผ้ ูใ้ ดกระทาการอนั เป็นการทารุณกรรมสตั วโ์ ดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร
มาตรา 21 กาหนดว่า การกระทาดงั ต่อไปน้ี ไมถ่ อื ว่าเป็นการทารุณกรรมสตั วต์ ามมาตรา 20
(1) การฆ่าสตั วเ์ พอ่ื ใชเ้ป็นอาหาร ทงั้ น้ี เฉพาะสตั วเ์ ล้ยี งเพอ่ื ใชเ้ป็นอาหาร
(2) การฆ่าสตั วต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคุมการฆ่าสตั วแ์ ละจาหน่ายเน้ือสตั ว์
(3) การฆ่าสตั วเ์ พอ่ื ควบคุมโรคระบาดตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรคระบาดสตั ว์
(4) การฆ่าสตั วใ์ นกรณีทส่ี ตั วแพทยเ์ หน็ ว่าสตั วป์ ่วย พกิ าร หรือบาดเจบ็ และไม่สามารถเยยี วยา หรอื รกั ษาใหม้ ชี วี ติ อยู่รอดได้
โดยปราศจากความทกุ ขท์ รมาน
(5) การฆ่าสตั วต์ ามพธิ กี รรมหรอื ความเช่อื ทางศาสนา
(6) การฆ่าสตั วใ์ นกรณีท่มี ีความจาเป็นเพ่อื ป้องกนั อนั ตรายแก่ชีวิตหรือร่างกายของมนุษย์ หรือสตั วอ์ ่ืน หรือป้องกนั
ความเสยี หายทจ่ี ะเกดิ แก่ทรพั ยส์ นิ
(7) การกระทาใด ๆ ต่อร่างกายสตั วซ์ ่ึงเขา้ ลกั ษณะของการประกอบวิชาชีพการสตั วแพทย์ โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพ
การสตั วแพทยห์ รือผูซ้ ่ึงไดร้ บั ยกเวน้ ใหก้ ระทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งข้ึนทะเบียนและไดร้ บั ใบอนุญาตเป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพ
การสตั วแพทยจ์ ากสตั วแพทยส์ ภาตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวชิ าชพี การสตั วแพทย์
(8) การตดั หู หาง ขน เขา หรืองาโดยมเี หตุอนั สมควรและไม่เป็นอนั ตรายต่อสตั ว์ หรือการดารงชีวิตของสตั ว์ (9)
การจดั ใหม้ กี ารต่อสูข้ องสตั วต์ ามประเพณีทอ้ งถน่ิ
(10) การกระทาอ่นื ใดทม่ี กี ฎหมายกาหนดใหส้ ามารถกระทาไดเ้ป็นการเฉพาะ
(11) การกระทาอ่นื ใดทร่ี ฐั มนตรีประกาศกาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ

32 การดาเนนิ งาน
ผู้แสดงความสามารถ
ตามพระราชบัญญัติควบคมุ การขอทาน พ.ศ. 2559

ขั้นตอนการดาเนนิ งานของพนกั งานเจ้าหนา้ ทหี่ รอื เจา้ พนกั งานทอ้ งถิ่น เมือ่ พบผู้แสดงความสามารถ (ต่อ)

กรณีแสดงความสามารถโดยมกี ารเรย่ี ไร

เม่ือพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีหรือเจา้ พนักงานทอ้ งถ่ินพบเห็นผูแ้ สดงความสามารถโดยมีลกั ษณะของการเร่ี ยไรดว้ ยน้นั
ใหพ้ จิ าณาดงั ต่อไปน้ี

3.1 มบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถและใบอนุญาตใหท้ าการเร่ยี ไร
• ถา้ ผูน้ น้ั นาเงนิ ทไ่ี ดไ้ ปใชส้ ว่ นตวั ถอื ว่าผูน้ น้ั เป็นผูแ้ สดงความสามารถ ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559
• ถา้ ผูน้ นั้ นาเงนิ ท่ไี ดไ้ ปดาเนินการตามวตั ถุประสงคแ์ ห่งการเร่ยี ไร ถอื ว่าผูน้ น้ั เป็นบคุ คลผูไ้ ดร้ บั อนุญาตใหท้ าการเร่ยี ไร
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการเรย่ี ไร พ.ศ.2487
3.2 มบี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ แต่ไมม่ ใี บอนุญาตใหท้ าการเร่ยี ไร
• ถา้ ผูน้ น้ั นาเงินท่ีไดไ้ ปดาเนินการตามวตั ถุประสงคแ์ ห่งการเร่ียไร ถือว่าผูน้ นั้ เป็นบุคคลผูท้ าการเร่ียไร ตาม พ.ร.บ.
ควบคุมการเร่ียไร พ.ศ.2487 โดยแนะนาใหไ้ ปตดิ ต่อขออนุญาตทาการเร่ียไรท่กี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย หรอื ท่วี ่า
การอาเภอของแต่ละจงั หวดั
3.3 มใี บอนุญาตใหท้ าการเรย่ี ไร แต่ไมม่ บี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
• ใหด้ าเนินการใหผ้ ูน้ นั้ ติดต่อศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่พี ่งึ กรุงเทพมหานคร หรือ สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของ
มนุษยจ์ งั หวดั เพอ่ื ออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ
3.4 ไมม่ ใี บอนุญาตใหท้ าการเรย่ี ไรและไมม่ บี ตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ

• พนกั งานเจา้ หนา้ ท่หี รือเจา้ พนกั งานทอ้ งถ่นิ ในเขตพ้นื ทม่ี อี านาจสงั่ ใหผ้ ูน้ น้ั หยุดหรือเลกิ การกระทาดงั กลา่ ว ตามมาตรา 14
วรรคสอง แห่งพระราชบญั ญตั ิควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559 แลว้ แนะนาใหไ้ ปติดต่อศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่พี ่ึงกรุงเทพมหานคร
หรือ สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวดั เพ่ือออกบตั รประจาตวั ผูแ้ สดงความสามารถ หรือติดต่อ
ขออนุญาตทาการเรย่ี ไร ทก่ี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยหรอื ทว่ี ่าการอาเภอของแต่ละจงั หวดั แลว้ แต่กรณี

• หากผูน้ นั้ ทราบคาสงั่ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
ซง่ึ สงั่ การตามอานาจทม่ี กี ฎหมายใหไ้ ว้
ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ นน้ั โดยไมม่ เี หตุ
หรอื ขอ้ แกต้ วั อนั สมควร
ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ สบิ วนั
หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พนั บาท
หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั
ตามมาตรา 368
แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา

33

คาถามเกยี่ วกบั

การออกบตั รประจาตัวผู้แสดงความสามารถ

34

ผู้แสดงควำมสำมำรถ

1คำถำม
ผแู้ สดงควำมสำมำรถตอ้ งมคี ณุ สมบัติอยำ่ งไร
ต้องทำอะไรบำ้ ง (ผู้แสดงควำมสำมำรถ)

คำตอบ

1.มีสัญชำติไทย
2.เป็นผมู้ ีควำมสำมำรถในศลิ ปะแขนงต่ำงๆ หรอื มคี วำมสำมำรถเฉพำะตวั
ข้ันตอน

- ผ้ปู ระสงคข์ อมบี ัตรไมว่ ำ่ อยใู่ นกรุงเทพมหำนคร หรือจงั หวดั อื่น สำมำรถยน่ื คำขอมบี ัตรไดท้ ีส่ ำนักงำนพฒั นำสงั คม
และควำมมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด และศูนย์คุ้มครองคนไรท้ ี่พ่ึงกรงุ เทพมหำนคร
- นำเอกสำรหลักฐำนและกรอกแบบคำขอมีบัตร
(สำมำรถดำวน์โหลดไดท้ ่ีเว็บไซต์ของกรมพัฒนำสงั คมและสวัสดกิ ำร www.dsdw.go.th) นำมำสง่ ให้หน่วยงำน
ท่ีรับคำขอ
- หนว่ ยงำนที่รับคำขอพจิ ำรณำเอกสำรหลักฐำน และกำรแสดงควำมสำมำรถพรอ้ มทงั้ แจ้งผลกำรพจิ ำรณำ

คำถำม 2ใหแ้ กผ่ ู้ย่ืนคำขอภำยใน 7 วัน นบั แตว่ ันท่ีได้รบั เอกสำรหลักฐำนครบถ้วน

หำกผู้ทไ่ี ม่มบี ตั รแลว้ ทำกำรแสดงตำมที่ต่ำงๆ ถือว่ำผิดกฎหมำย

หรอื ไม่ มีโทษอยำ่ งไร คำตอบ

- ถอื ว่ำ ผดิ กฎหมำย

- ตำมมำตรำ 14 พนกั งำนเจำ้ หนำ้ ที่/เจ้ำพนักงำนท้องถ่นิ ในเขตพนื้ ท่ี มอี ำนำจส่งั ให้ผูน้ ัน้ หยดุ หรอื เลิกกำรแสดงได้

***แต่ถ้ำไม่ปฏบิ ัติตำมให้ดำเนนิ กำรตำมประมวลกฎหมำยวธิ ีพจิ ำรณำควำมอำญำ มำตรำ 368 กำหนดไว้ว่ำ

ผูใ้ ดทรำบ คำสงั่ ของเจำ้ พนกั งำนซ่งึ สง่ั กำรตำมอำนำจทม่ี กี ฎหมำยใหไ้ วแ้ ตไ่ ม่ปฏิบตั ิตำมคำสัง่ นนั้ โดยไมม่ ีเหตุ

หรอื ขอ้ แกต้ ัวอันสมควร ต้องระวำงโทษจำคกุ ไมเ่ กิน 10 วนั หรือปรับไม่เกิน 5,000 บำท หรือทัง้ จำทง้ั ปรับ

แต่ในกรณที ม่ี บี ตั รประจำตวั ผแู้ สดงควำมสำมำรถแลว้ แต่บัตรหมดอำยแุ ล้วยังไมต่ อ่ ไปทำกำรแสดงทต่ี ่ำงๆ

โดยตำมระเบยี บคณะกรรมกำรควบคมุ กำรขอทำน วำ่ ดว้ ย หลกั เกณฑ์ วธิ ีกำรในกำรแจ้งและกำรมีบตั ร

ประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ พ.ศ. 2559 ขอ้ 9 กำหนดไวว้ ำ่ เมือ่ บัตรหมดอำยุ ให้ผู้แสดงควำมสำมำรถยื่นคำขอ

มบี ัตรใหม่ ต่อเจำ้ หนำ้ ทภี่ ำยใน 60 วนั นบั แต่วนั ท่บี ตั รเดิมหมดอำยุ ถำ้ เกินเวลำท่ีกำหนด กเ็ ขำ้ ข่ำยมีควำมผดิ ตำมที่

ตอบขำ้ งตน้

35

ผแู้ สดงควำมสำมำรถ

3คำถำม

กรณีผ้มู ีบัตรประจำตวั ผแู้ สดงควำมสำมำรถจะไปแสดงควำมสำมำรถในสถำนท่ีเอกชนหรือ
สถำนทร่ี ำชกำรโดยไดร้ ับอนญุ ำตจำกผู้ดูแลสถำนที่ดงั กล่ำวซง่ึ มิใชเ่ ขตพ้ืนที่ที่เจำ้ พนักงำน
ท้องถ่ินประกำศไวจ้ ะสำมำรถดำเนินกำรไดห้ รือไมอ่ ย่ำงไร

คำตอบ

กรณีแสดงควำมสำมำรถในพื้นทีข่ องเอกชนหรือสถำนทร่ี ำชกำร ซึ่งนอกเหนอื จำกเขตพื้นทที่ ี่อยใู่ นกำรครอบครองดูแล
ของทอ้ งถิน่ กฎหมำยไมไ่ ดก้ ำหนดให้ผแู้ สดงควำมสำมำรถแจง้ เจ้ำพนักงำนทอ้ งถน่ิ จึงสำมำรถแสดงควำมสำมำรถได้
ตำมท่ีเจ้ำของพนื้ ท่ีอนุญำต โดยผแู้ สดงควำมสำมำรถต้องแจ้งเพื่อเปน็ ผู้แสดงควำมสำมำรถมำตรำ 14 วรรคหน่งึ
ประกอบระเบยี บคณะกรรมกำรควบคุมกำรขอทำนวำ่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ ีกำรในกำรแจง้ และกำรมบี ตั รประจำตัว
เปน็ ผแู้ สดงควำมสำมำรถ ทั้งน้ี เพอื่ ป้องกันกำรขอทำนแอบแฝงและกำรแสวงหำประโยชนจ์ ำกผ้ทู ำกำรขอทำนตำม
มำตรำ 13 และมำตรำ 22 ควรทำควำมเข้ำใจและขอควำมร่วมมือกบั เอกชนและหนว่ ยงำนรำชกำรเจำ้ ของพนื้ ท่ใี ห้แจ้ง
เจ้ำพนกั งำนทอ้ งถนิ่ วำ่ ได้อนุญำตใหผ้ ู้แสดงควำมสำมำรถเขำ้ มำแสดงควำมสำมำรถในพนื้ ทข่ี องตนเอง ซ่งึ พนักงำน
เจำ้ หน้ำทจ่ี ะไดส้ ำมำรถตรวจสอบและแนะนำให้ปฏบิ ตั ิตำมกฎหมำยไดถ้ กู ตอ้ ง

4คำถำม

กรณีทอ่ี งค์กำรบริหำรส่วนตำบลหรอื เทศบำลเหน็ วำ่ ไมม่ พี นื้ ท่เี หมำะสมจึงไมป่ ระกำศ
เป็นเขตพื้นทีฯ่ ตำมมำตรำ 14 แหง่ พระรำชบญั ญตั ิควบคุมกำรขอทำน
พ.ศ.2559 ไดห้ รือไมอ่ ยำ่ งไร

คำตอบ

กำรกำหนดเขตพืน้ ท่หี รอื สถำนท่ใี ดอันเปน็ ทส่ี ำธำรณะตำมมำตรำ 14 มีเจตนำรมณ์ใหเ้ จ้ำพนักงำนท้องถิ่นในเขตพืน้ ที่
สำมำรถกำหนดรำยละเอียด เพื่อให้กำรแสดงควำมสำมำรถเป็นไปตำมควำมเหมำะสมและเพอ่ื ใหเ้ กิดควำมชดั เจน
ในเรื่องเขตพืน้ ทห่ี รือสถำนท่ีใดอันเปน็ ที่สำธำรณะที่อยใู่ นควำมครอบครองดูแลของทอ้ งถนิ่
รวมทง้ั เป็นกำรอำนวยควำมสะดวกใหแ้ ก่ประชำชน กฎหมำยจงึ กำหนดให้เจ้ำพนักงำนทอ้ งถ่ินประกำศเขตพ้ืนท่ีหรอื
สถำนทใี่ ดอนั เป็นท่ีสำธำรณะ วันเวลำ กำรใชอ้ ปุ กรณ์หรือส่งิ อืน่ ใด สำมำรถดำเนินกำรไดต้ ำมควำมเหมำะสมของพ้ืนที่

36

ผู้แสดงควำมสำมำรถ

5คำถำม

อบจ. ไมไ่ ด้เปน็ เจ้ำพนกั งำนท้องถ่ิน ถำ้ หำกสถำนที่ที่ อบจ. รับผิดชอบจะทำอย่ำงไร
ในกำรขออนุญำตตำมมำตรำ 14 เชน่ สนำมกีฬำจังหวดั

คำตอบ

หน่วยงำนผ้ใู ช้ประโยชน์ดแู ล ครอบครองพนื้ ทสี่ ำมำรถอนุญำตได้

6คำถำม

กรณีเจอผแู้ สดงควำมสำมำรถมีบตั รผูแ้ สดงควำมสำมำรถแตไ่ ม่ได้ขออนญุ ำตจำก
ทอ้ งถน่ิ ถือว่ำผดิ หรอื ไม่ และต้องดำเนนิ กำรอยำ่ งไร ในกรณีทำกำรแสดงในตลำดนดั
มบี ัตรผแู้ สดงควำมสำมำรถแตไ่ มท่ รำบว่ำไดข้ ออนญุ ำตเจำ้ ของตลำดหรือไม่ เนือ่ งจำก
ไมม่ ีเอกสำรอะไร บอกว่ำอนญุ ำตจะตอ้ งดำเนนิ กำรอย่ำงไรและถอื ว่ำผดิ หรอื ไม่

คำตอบ

ผดิ มำตรำ 14 แห่ง พ.ร.บ.ควบคุมกำรขอทำน พ.ศ.2559 พนกั งำนเจ้ำหน้ำที่หรอื เจำ้ พนกั งำนทอ้ งถิ่นในเขตพ้นื ท่ีน้ัน
เมือ่ เจำ้ พนกั งำนท้องถ่ินในเขตพืน้ ทีไ่ ด้รับแจง้ แลว้ ใหอ้ อกใบรับแจ้งไวเ้ ปน็ หลกั ฐำน ท้ังน้ี ให้เจำ้ พนักงำนท้องถน่ิ ในเขตพ้ืนท่ี
ประกำศเปน็ กำรทัว่ ไปเพ่ือกำหนดเขตพ้นื ทหี่ รือสถำนทใี่ ดอันเปน็ ทีส่ ำธำรณะ วนั เวลำ กำรใชอ้ ปุ กรณ์ หรอื ส่ิงอนื่ ใด
ใหใ้ ชใ้ นกำรแสดงควำมสำมำรถ แตถ่ ำ้ แสดงในทขี่ องเอกชน กำรอนุญำตเปน็ ของเจ้ำของสถำนท่นี น้ั อำจสอบถำม
กำรขออนญุ ำตจำกสำนักงำนขำยของตลำด ถำ้ ผแู้ สดงควำมสำมำรถมบี ัตรแตไ่ มม่ หี ลกั ฐำนกำรอนญุ ำต

37

ผแู้ สดงควำมสำมำรถ

7คำถำม

จำกกำรสอบถำมผแู้ สดงควำมสำมำรถ เม่ือไปขอแจ้งแสดงควำมสำมำรถ
ในพื้นท่ีตอ่ เจ้ำพนักงำนทอ้ งถิ่นกลับถกู เทศกจิ เรียกเกบ็ เงินแต่ละพ้ืนทม่ี ำก
น้อยต่ำงกันซ่งึ ตำมพ.ร.บ.ควบคุมกำรขอทำน ไมส่ ำมำรถเรยี กเก็บเงินได้
เนอ่ื งจำกไปขออนญุ ำตแสดงในพ้ืนที่

คำตอบ

กำรแจ้งเพ่ือแสดงควำมสำมำรถเป็นไปตำมมำตรำ 14 แหง่ พ.ร.บ.ควบคุมกำรขอทำน พ.ศ.2559
ซ่งึ เจำ้ พนักงำนเทศกจิ อำจเข้ำใจผดิ คดิ ว่ำเปน็ กฎหมำยขออนุญำตใชส้ ถำนที่สำธำรณะทม่ี ีกำรประกำศผ่อนผัน
ให้กระทำได้ในระหวำ่ งวัน เวลำท่ีกำหนด ตำมพระรำชบัญญัติรักษำควำมสะอำดและควำมเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ยของ
บ้ำนเมือง พ.ศ. 2535 และฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2560

8คำถำม

กำรประกำศพืน้ ท่ใี ห้แสดงควำมสำมำรถขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ถำ้ พื้นทีต่ ลำดเอกชน
ไม่ยินยอมใหเ้ ปน็ พน้ื ทีแ่ สดงควำมสำมำรถ แต่ผูแ้ สดงควำมสำมำรถอยำกทำกำรแสดง
ควรดำเนินกำรอย่ำงไร

คำตอบ

ทอ้ งถ่ินอำจประสำนขอควำมรว่ มมือกับทำงตลำดเอกชนในกำรเขำ้ มำมีสว่ นรว่ มในกำรจัดพ้นื ที่
ให้ผู้แสดงควำมสำมำรถไดเ้ ข้ำมำใชพ้ ้ืนท่ีแสดงได้

38

ผ้แู สดงควำมสำมำรถ

9คำถำม

กรณีผู้พิกำรยื่นคำขอมีบัตรผู้แสดงควำมสำมำรถแต่เป็นลักษณะของกำรให้คำแนะนำ
แ ก่ ป ร ะ ช ำ ช น ท่ั ว ไ ป รู้ จั ก คู่ มื อ ม ำต ร ฐ ำ น ก ำ รใ ช้ อั ก ษ ร เ บ ร ล ล์ โ ด ย แ จ้ ง ว่ ำ จะ เ ข้ ำ ไ ป
แสดงควำมสำมำรถที่โรงเรียน บริษัท ห้ำง ร้ำน และสถำนที่รำชกำรตำมแต่จะมีผู้ให้ควำมสนใจ
และอนุญำตให้เข้ำไปแสดงควำมสำมำรถ ถือว่ำลักษณะของกำรแสดงควำมสำมำรถของผู้พิกำร
ท่ำนนี้เข้ำลักษณะของผู้แสดงควำมสำมำรถตำมระเบียบคณะกรรมกำรควบคุมกำรขอทำน
ว่ำดว้ ยกำรจำแนกลักษณะผทู้ ำกำรขอทำนกับผู้แสดงควำมสำมำรถ พ.ศ.2559 ขอ้ 6 หรอื ไม่

-ระเบียบว่ำด้วยกำรจำแนกลักษณะผูท้ ำกำรขอทำนกบั ผแู้ สดงควำมสำมำรถ คำตอบ
พ.ศ.2559 ข้อ 6 ระบุไว้วำ่ กำรแสดงควำมสำมำรถ มีลกั ษณะดงั นี้

1. กำรแสดงดนตรี กำรแสดงละคร กำรแสดงนำฏศลิ ป์

กำรแสดงงำนศลิ ปะอืน่ ใด กำรแสดงกำยกรรม มำยำกล กีฬำ หรือกำรนำสตั ว์มำแสดงควำมสำมำรถ

2. กำรร้องเพลงไมว่ ำ่ จะมหี รือไมม่ ดี นตรปี ระกอบ

3. กำรแตง่ กำยหรือตกแต่งร่ำงกำยอันเปน็ ศิลปะเพ่อื กำรแสดงแกผ่ ชู้ มซง่ึ ตำมระเบียบฯไมไ่ ดก้ ำหนดเร่ือง

ควำมสำมำรถทำงดำ้ นวิชำกำรว่ำเป็นลักษณะของผแู้ สดงควำมสำมำรถ และไม่สำมำรถตีควำมใหเ้ ขำ้ กับกำร

กำหนดลักษณะทีก่ ลำ่ วมำขำ้ งตน้ ได้

คำถำม 10
ประโยชนจ์ ำกกำรมบี ตั รผ้แู สดงควำมสำมำรถ
คำตอบ

- ทำใหผ้ ู้แสดงควำมสำมำรถ สำมำรถไปแสดงในพนื้ ท่ีที่ทอ้ งถนิ่ กำหนดไว้ โดยกำรไปแจง้ ต่อเจ้ำพนักงำนท้องถนิ่
ในเขตพื้นที่นนั้ โดยไมเ่ สยี ค่ำใชจ้ ำ่ ยและไมต่ กเป็นเหย่ือของผแู้ สวงหำประโยชน์
- ผู้แสดงควำมสำมำรถจะใช้กำรแสดงควำมสำมำรถของตนเองในศลิ ปะแขนงต่ำงๆหรือควำมสำมำรถเฉพำะตวั ไม่วำ่ จะเป็นกำรเล่น
ดนตรีหรือกำรแสดงอืน่ ใด ซึ่งทำให้ผ้ชู มหรือผ้ฟู ังเกดิ ควำมพึงพอใจต่อกำรแสดงน้ัน โดยสง่ มอบเงินหรอื ทรัพย์สนิ ใหเ้ ปน็ กำรตอบแทน
โดยไมถ่ อื ว่ำเปน็ กำรขอทำน ทำให้เกิดควำมร้สู ึกทีด่ ีต่อตนเองมีศักดิ์ศรีของควำมเปน็ มนษุ ย์ ตอ้ งพยำยำมพฒั นำควำมสำมำรถของ
ตนเองใหด้ ยี ่ิงขน้ึ เพอื่ ใหผ้ ชู้ มหรือผ้ฟู งั มคี วำมพึงพอใจเพ่ิมมำกขน้ึ
- กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนษุ ยม์ ียุทธศำสตรท์ จ่ี ะดำเนินกำรเสริมสร้ำงศักยภำพผ้แู สดงควำมสำมำรถ
(ตำมประเภทและช่วงวัย) ซ่ึงจะทำใหผ้ ู้แสดงควำมสำมำรถท่ีมบี ตั รประจำตวั ผู้แสดงควำมสำมำรถได้เข้ำรับกำรฝึกทกั ษะจนนำไปสู่
กำรพัฒนำควำมสำมำรถในระดับมอื อำชพี

39

ผู้แสดงควำมสำมำรถ

คำถำม 11

ทำไมกลุ่มผ้แู สดงควำมสำมำรถบำงสว่ นถงึ ไม่มำลงทะเบยี น

คำตอบ

กำรประชำสมั พนั ธย์ ังไมเ่ พยี งพอและทว่ั ถึง ทำให้กลุ่มผแู้ สดงควำมสำมำรถยงั ไม่ทรำบว่ำกฎหมำยมกี ำรกำหนดให้
ผแู้ สดงควำมสำมำรถต้องมำย่นื ขอทำบตั รผู้แสดงควำมสำมำรถ

คำถำม 12

พื้นทปี่ ระกำศใหเ้ ปน็ พนื้ ทีแ่ สดงควำมสำมำรถ แตพ่ นื้ ทน่ี ัน้ ไม่มผี ูส้ ัญจร แล้วไปแสดงทม่ี คี นเดนิ
แต่ผิดจะทำอย่ำงไร

คำตอบ

กำรฝ่ำฝืนไปแสดงในท่ีทข่ี ัดตอ่ กฎหมำยอ่ืน ทำให้ไมส่ ำมำรถแสดงได้ควรมองในแงข่ องกำรเคำรพต่อกฎ ระเบียบ และกำรสรำ้ ง
ระเบยี บวนิ ัยในสงั คม ซงึ่ ยอ่ มสง่ ผลกระทบถงึ ผู้ใช้ประโยชน์อยำ่ งไมถ่ กู ต้องมำก่อนเชน่ เดียวกบั กำรจัดระเบยี บหำบเร่ แผงลอย
ของกรงุ เทพมหำนคร

คำถำม 13

ผู้แสดงควำมสำมำรถ เหตผุ ลที่เมอื งพัทยำไมส่ ำมำรถประกำศเขตพน้ื ท่ใี นกำรแสดงควำมสำมำรถได้

คำตอบ

ทำงเมืองพทั ยำกำลังรอดำเนินกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรทำงำน และกำหนดขอบเขตให้ผู้แสดงควำมสำมำรถ แสดงพ้ืนทใี่ ดไดบ้ ้ำง
แต่สว่ นใหญบ่ ำงคนเขำ้ มำขอแสดงควำมสำมำรถ ทำงเมอื งพทั ยำจะสอบถำมข้อมลู ที่อยู่ กำรมบี ัตรผแู้ สดงควำมสำมำรถ เมอื่ มบี ตั ร
แลว้ เมืองพัทยำก็จะจัดสถำนทใี่ หก้ บั ผู้แสดงควำมสำมำรถในกำรจัดแสดง ยกเว้นพนื้ ท่นี ้นั จะเป็นพ้นื ทเ่ี อกชนท่ตี อ้ งไปตกลงกบั เจ้ำของ
พ้ืนท่ีเอง

40

ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ

คำถำม 14

กรณี เด็กอำยุ 9 ขวบ แสดงควำมสำมำรถในถนนคนเดินช่วงเวลำ 2-4 ทุ่ม
เพรำะมีนักท่องเที่ยวจำนวนมำกคำถำมคือว่ำเด็กอำยุเท่ำนี้เป็นผู้แสดง ควำมสำมำรถ
ตำม พ.ร.บ. ควบคุมกำรขอทำน พ.ศ. 2559 ได้หรือไม่ มีควำมเหมำะสมหรือไม่ถ้ำไม่
มี ค ว ำ ม เ ห ม ำ ะ ส ม ผิ ด ก ฎ ห ม ำ ย อ ะ ไ ร บ้ ำ ง จ ะ ใ ห้ เ ด็ ก แ ส ด ง ค ว ำ ม ส ำ ม ำ ร ถ ต้ อ ง ท ำ อ ะ ไ ร บ้ ำ ง
ใครเข้ำมำเก่ียวข้อง ผู้ออกบัตรต้องทำอย่ำงไร แล้วท้องถ่ินต้องทำอย่ำงไร กฎหมำย
ประกำศเกีย่ วข้องตอ้ งปรับปรงุ หรือไม่

คำตอบ

เด็กเป็นผู้แสดงควำมสำมำรถได้ แต่ต้องมีผู้ปกครองเป็นผู้ดูแลและรับผิดชอบไม่ให้เกิดกำรกระทำ
ท่ีจะเป็นควำมผิดตำม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 เช่น ในเรื่องของเวลำ สถำนท่ีในกำรแสดง กำรมีผลกระทบ
ต่อสุขภำพ กำรศึกษำ ควำมเหมำะสม และควำมปลอดภัย โดยผู้ออกบัตรต้องมีหลักฐำนของผู้ปกครองเด็ก
ให้ชัดเจน และครบถ้วนว่ำมีควำมสัมพันธ์อย่ำงไรกับเด็ก เป็นกำรแสวงหำประโยชน์กับเด็กหรือไม่ ต้องช้ีแจง
ทำควำมเข้ำใจกบั ผ้ปู กครองเดก็ และท้องถ่ินตอ้ งเขม้ งวดในกำรออกตรวจและดำเนินกำรตำมระเบียบอย่ำงเคร่งครัด
ระหว่ำงท่ีเด็กแสดงควำมสำมำรถควรมีผู้ปกครองมำดูแลด้วย นำเอกสำรหลักฐำนมำแสดง ส่วนในกำรแสดงที่ว่ำ
เด็กจะเหมำะสมหรือไม่ต้องนำ พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มำพิจำรณำ ซ่ึงกำหนดเก่ียวกับกำรดูแลเด็ก
ท่ีเหมำะสม สำมำรถแสดงได้ กฎหมำยมีเจตนำรมณ์ในกำรแยกผู้แสดงควำมสำมำรถออกจำกกำรเป็นผู้ทำกำรขอทำน
ปัจจุบนั อยำ่ มองวำ่ ผแู้ สดงควำมสำมำรถคอื ขอทำน ซึ่งผแู้ สดงควำมสำมำรถไม่ใช่ขอทำน แต่ส่ิงสำคัญขอให้สื่อสำร
กบั คนในสงั คมวำ่ ผทู้ ำกำรขอทำนได้ยกระดบั เป็นผู้แสดงควำมสำมำรถ ใช้ควำมสำมำรถในกำรหำรำยได้ ตำมระดบั สำกล
ในกำรแสดงควำมสำมำรถไมว่ ่ำจะเปน็ ผพู้ ิกำรหรือคนปกติ

ในกำรแสดงควำมสำมำรถของเด็ก มีกรณีตัวอย่ำง มีเด็กผู้หญิงอำยุ 3 ขวบ มำแสดงเล่นฮูล่ำฮูป เพื่อเล้ียง
คนในครอบครัว ซ่ึงเป็นผู้ปกครองแต่ไม่ใช่พ่อแม่เด็ก หน่วยงำนก็ได้เข้ำมำดำเนินกำรช่วยเหลือทั้งตัว เด็ก
และครอบครัวปัจจุบันเด็กและครอบครัวได้มีชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดี เด็กได้รับกำรดูแลตำมวัย โดยอำจอำศัยภำคี
เครือข่ำยให้เข้ำมำมีสว่ นร่วมในกำรแก้ปญั หำดงั กล่ำว

41

หน่วยงำน ออกบตั รประจำตวั ผูแ้ สดงควำมสำมำรถ

กรุงเทพมหำนคร พมจ.พระนครศรอี ยธุ ยา T. 0 3533 5857 F. 0 3533 6551

ศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ กรงุ เทพมหานคร พมจ.พจิ ติ ร T. 0 5661 1130, 0 5661 5513
(บา้ นมติ รไมตรกี รงุ เทพฯ) 0 2246 8661
พมจ.พะเยา T. 0 5444 9658 F. 0 5441 1146

สว่ นภมู ภิ ำค พมจ.พทั ลงุ T. 0 7461 3289 F. 0 7461 2609

พมจ.กระบ่ี T. 0 7561 1044 F. 0 7561 2586 พมจ.พงั งา T. 0 7641 2179, 0 7643 0286

พมจ.กาแพงเพชร T. 0 5570 5030-31 F. 0 5570 5030-1 พมจ.ภเู ก็ต T. 0 7621 2762 F. 0 7621 2761

พมจ.กาญจนบรุ ี T. 0 3451 2455 พมจ.มกุ ดาหาร T. 0 4261 1442

พมจ.กาฬสนิ ธุ์ T. 0 4382 1649 พมจ.แมฮ่ ่องสอน T. 0 5361 1261 F. 0 5361 1261

พมจ.ขอนแก่น T. 0 4323 7080 F. 0 4323 7986 พมจ.มหาสารคาม T. 0 4377 7116 F. 0 4377 7577

พมจ.จนั ทบรุ ี T. 0 3951 1588 F. 0 3952 5296 พมจ.ยโสธร T. 0 4571 1579 F. 0 4571 1080

พมจ.ฉะเชงิ เทรา T/F 0 3851 1634 พมจ.ยะลา T. 0 7320 3509 F. 0 7324 3004

พมจ.ชลบรุ ี T. 0 3827 7877 F. 0 3828 5208 พมจ.รอ้ ยเอด็ T. 0 4351 1996 F. 0 4351 1993

พมจ.ชยั นาท T. 0 5641 1103 พมจ.ระนอง T. 0 7780 0130 F. 0 7781 1866

พมจ.ชยั ภูมิ T. 0 4405 6550-3 F. 0 4405 6554 พมจ.ระยอง T. 0 3869 4141 F. 0 3869 4075

พมจ.เชยี งใหม่ T. 0 5311 2716 F. 0 5311 2718 พมจ.ราชบรุ ี T. 0 3233 7620 F. 0 3232 1981

พมจ.เชยี งราย T. 0 5315 0158 F. 0 5315 0153 พมจ.ลาปาง T. 0 5426 5042-4 F. 0 5426 5043

พมจ.ชมุ พร T. 0 7751 1710 F. 0 7750 2996 พมจ.ลาพูน T. 0 5351 1188

พมจ.ตาก T. 0 5551 1452 F. 0 5551 7446 พมจ.เลย T. 0 4281 4984 F. 0 4283 2320

พมจ.ตราด T. 0 3951 1588 F. 0 3952 5296 พมจ.ลพบรุ ี T. 0 3677 0168-9, 0 3677 0206

พมจ.ตรงั T. 0 7521 8366 F. 0 7522 0213 พมจ.ศรสี ะเกษ T. 0 4562 2039 F. 0 4561 1474

พมจ.นราธวิ าส T. 0 7353 2105-6 F. 0 7353 2105-6 พมจ.สุพรรณบรุ ี T. 0 3553 5386-7

พมจ.น่าน T. 0 5471 6404 F. 0 5471 6402 พมจ.สรุ าษฎรธ์ านี T. 0 7735 5080-1

พมจ.นครปฐม T. 0 3434 0015-7 F. 0 3434 0153 พมจ.สรุ นิ ทร์ T. 0 4455 8408 F. 0 4455 8410

พมจ.นครราชสมี า T. 0 4424 3000 F. 0 4425 5732 พมจ.สุโขทยั T. 0 5561 1234

พมจ.นครนายก T. 0 3731 1480 พมจ.สระบรุ ี T. 0 3623 3113 F. 0 3621 1794

พมจ.นครพนม T. 0 4251 1022, 0 4251 1506 พมจ.สระแกว้ T. 0 3742 5068 F. 0 3742 5201

พมจ.นครสวรรค์ T. 0 5680 3532-5 พมจ.สตูล T. 0 7471 1375

พมจ.นครศรธี รรมราช T. 0 7535 6165 F. 0 7534 1026 พมจ.สมทุ รสาคร T. 0 3441 1041 F. 0 3442 7120

พมจ.นนทบรุ ี T. 0 2580 0737 F. 0 2950 2134 พมจ.สมทุ รสงคราม T. 0 3471 2614 F. 0 3471 5730

พมจ.บรุ รี มั ย์ T. 0 4466 6550-1 F. 0 4466 6550 พมจ.สมทุ รปราการ T. 0 2395 2224 F. 0 2382 6046

พมจ.บงึ กาฬ T. 0 4249 2462-3 F. 0 4249 2487 พมจ.สงขลา T. 0 7431 1188 F. 0 7431 3620

พมจ.ปทมุ ธานี T. 0 2581 6043 F. 0 2581 4937 พมจ.สงิ หบ์ รุ ี T. 0 3650 7163 F. 0 3650 7162

พมจ.ปราจนี บรุ ี T. 0 3748 2407 F. 0 3748 2411 พมจ.สกลนคร T. 0 4271 1439 F. 0 4273 3571

พมจ.ปตั ตานี T. 0 7333 3762 F. 0 7334 9145 พมจ.หนองบวั ลาภู T. 0 4231 2030 F. 0 4231 1934

พมจ.ประจวบครี ขี นั ธ์ T. 0 3261 1349 F. 0 3260 3164 พมจ.หนองคาย T. 0 4241 1027 F. 0 4242 2840

พมจ.แพร่ T. 0 5451 1572-3 พมจ.อตุ รดติ ถ์ T. 0 5541 1983, 0 5541 4061

พมจ.พษิ ณุโลก T. 0 5524 6827 F. 0 5525 9565 พมจ.อ่างทอง T. 0 3561 6156

พมจ.เพชรบรู ณ์ T. 0 5672 5743-5 พมจ.อานาจเจรญิ T. 0 4545 1979

พมจ.เพชรบรุ ี T. 0 3242 6091 F. 0 3241 0643 พมจ.อทุ ยั ธานี T. 0 5651 1617 F. 0 5651 1229

พมจ.อบุ ลราชธานี T. 0 4534 4641 F. 0 4534 4579 พมจ.อดุ รธานี T. 0 4232 5615



42

เอกสำรประกอบ

43

ระเบียบคณะกรรมกำรควบคุมกำรขอทำน
ว่ำด้วยกำรจำแนกลกั ษณะผทู้ ำกำรขอทำนกับผแู้ สดงควำมสำมำรถ พ.ศ. 2559


Click to View FlipBook Version