ศีล 5 คืออะไร หมายถึงอะไร?
ศีล หมายถงึ ความตงั้ ใจท่ีงดเว้นจาก
ความช่วั ความทุจริต และส่งิ ท่ไี ม่ดีทุก
ประการ
“ศีล คือ เจตนา ความตงั้ ใจ ท่จี ะงดเว้น
จากกายทุจริต 3 (คอื ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลกั
ทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม) และวจีทุจริต
4 (คอื ไม่พูดเทจ็ ไม่พูดคาหยาบ ไม่พูด
ส่อเสียด ไม่พดู เพ้อเจ้อ)”
มนุษย์มีเหตุ มีผล รู้จักยบั ยงั้
ช่ังใจ แต่สตั ว์ไม่มีส่งิ นีเ้ ม่อื ใดท่ี
มนุษย์มีศีล 5 ครบ ความเป็ น
มนุษย์ก็สมบูรณ์ กายก็เป็ น
ปกติ วาจากป็ กติ ใจก็ปกติ
เม่อื ไรศีล 5 ขาด ความเป็ น
มนุษย์กล็ ดลง
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
“ศีล” (Morality)
ความหมายของ ศลี 5 ประการ
คอื เบญจ แปลวา่
“5” ศลี แปลวา่
“ปกติ” ดังนนั้
เบญจศีล จงึ แปลวา่
ปกติ 5 อยา่ ง
หรือแปลวา่ ตดั กไ็ ด้ เพราะตัด จากความ
ชั่วหรือมนุษยธรรม กเ็ รยี ก แปลว่า ธรรม
สาหรบั มนุษย์ ศีล 5 จงึ เปน็ เครอื่ งบง่ ช้ี
ศกั ดศิ์ รีแห่งความเปน็ มนุษย์ โดยแตล่ ะขอ้
สามารถแบง่ แยกความเป็นมนุษยก์ บั สัตว์
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
ลักษณะของศีล 5
“ศีล” (Morality)ลกั ษณะของศีล 5 หมายถงึ
ความสารวมทางกายวาจา หรอื แปลว่า ลักษณะความเปน็
ปกติ คอื การไม่ประพฤตผิ ดิ ทางกาย และวาจา เป็นความ
มีระเบียบวินยั กฎเกณฑ์ข้อบังคับสาหรับควบคมุ ประพฤติ
ทางกายของคนในสังคมให้เรยี บรอ้ ยดงี ามเป็นแบบแผน
อันหนงึ่ อนั เดียวกัน จะไดอ้ ย่รู ่วมกันด้วยความสขุ สบาย
ไมก่ ระทบกระท่ังซ่ึงกันและกนั ให้ห่างจากความช่วั ร้าย
ท้ังหลาย การอยรู่ ว่ มกันเปน็ หมู่เหล่า ถา้ ขาดระเบยี บวินยั
ตา่ งคนต่างทาตามอาเภอใจ ความขัดแยง้ และลักล่ันก็จะ
เกิดขึ้น ยิง่ มากคนก็ย่งิ มากเรอื่ ง ไม่มีความสงบสุข การ
งานท่ที ากจ็ ะเสียผล ศีลจึงมฐี านะเปน็ วินยั สาหรบั ทุกคน
เพอ่ื ไต่เตา้ ไปหาความดีงามสงู สดุ ในพระพุทธศาสนา
คอื เปน็ รากฐาน
ของสมาธิ และปญั ญา
ดงั นั้น ลกั ษณะของศีล
5 กค็ อื การประพฤติ
ชอบท่เี ปน็ กศุ ล
คอื การไมล่ ว่ งละเมิด
ทางกายวาจา
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
1. ปาณาตบิ าต เวรมณี
หมายถึง เจตนางดเว้น
จากการฆ่าสัตว์ ความประพฤติ
หรือการดาเนิน ชีวติ ของตนโดย
ไม่เบียดเบยี นชีวติ ร่างกาย
ของผู้อื่นสัตว์อื่น แต่เป็ นผ้มู ใี จ
ประกอบด้วยเมตตากรุณา
มคี วามรักความหวงั ดตี ่อกนั
เป็ นพืน้ ฐาน
การฆ่าสัตว์ต้องประกอบด้วยองค์
5 คือ
1. สัตว์น้ันมชี ีวติ
2. รู้ว่าสัตว์น้ันมชี ีวติ
3. มจี ติ คดิ จะฆ่าสัตว์น้ัน
4. มคี วามพยายามฆ่าสัตว์น้ัน
5. สัตว์ตายด้วยความพยายามน้ัน
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
2. อทินนาทานา เวรมณี
หมายถึง เจตนางดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ
มิได้ให้ด้วยอาการแห่งการขโมย มีความประพฤติหรือ
การดาเนินชีวติ ของคนโดยไม่เบียดเบยี นทรัพย์สิน และ
ไม่ละเมิดกรรมสิทธ์ิของผู้อ่ืน ด้วยการลักขโมย เป็ นต้น
แต่เป็ นการดาเนินชีวติ โดยสุจริตยตุ ิธรรม
หาเลยี้ งชีพโดยชอบ เรียกว่า สัมมาอาชีวะ
พช.กาฬสนิ ธุ์ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
3.กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวรมณี
หมายถึง เจตนางดเวน้ จากการประพฤติผดิ ในกาม
ซ่ึงเป็นความประพฤติ หรือการดาเนินชีวติ ของตน
โดยไม่เบียดเบียนผอู้ ่ืนในทางคู่ครอง ไม่ละเมิด
สิทธ์ิในบุคคลผเู้ ป็นที่รักของผอู้ ื่น รวมท้งั ไมผ่ ดิ
ประเวณีทางเพศ ไมป่ ระพฤตินอกใจคูค่ รองของตนเองมี
ใจมน่ั คงในคู่ครองของตน สามารถควบคุมอารมณ์ใน
เร่ืองเพศได้
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
4.มุสาวาทา เวรมณี
หมายถึง เจตนางดเวน้ จากการพูดเทจ็ คือ มีความ
ประพฤติหรือการดาเนินชีวติ ท่ีปราศจากการ
เบียดเบียนผอู้ ื่นดว้ ยวาจาที่เป็นเทจ็ หลอกลวง
อนั เป็นสาเหตุตดั รอน
หรือทาลายประโยชน์
ของผอู้ ื่นแต่มีความ
ซื่อสตั ย์ มีสจั จะ
รักษาสจั จะ พูดแต่คา
จริง คามีประโยชนค์ า
สมานฉนั สามคั คี
เป็ นตน้
พช.กาฬสนิ ธุ์ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
4.สุราเมระยะมชั ชะปะมาทัฏฐฐานา เวรมณี
หมายถึง เจตนางดเว้นจากของมึนเมา คือ สุราเมรัย
อันเป็ นที่ต้ังแห่งความประมาท คือ ความประพฤติ
หรื อการดาเนิ นชี วิตท่ี ปราศจากการเบี ยดเบี ยนตน เอง
ดว้ ยการด่ืม การสูบ ฉีด สิ่งท่ีเป็ นพิษใหโ้ ทษแก่ร่างกาย
คือเป็ นยาเสพติดทุกประเภทอันเป็ นเหตุให้เกิดความ
ประมาทพลาดพล้งั เกิดความมวั เมา เสียสติสัมปชญั ญะ
และทาใหเ้ สียคุณภาพความเป็นคน แต่มีสติระวงั ตวั มิให้
ติดส่ิงเสพติด เหลา่ น้นั ๆ ท้งั สามารถ
ควบคุมจิตใจ ควบคุมอารมณ์
มิให้ ตกเป็นทาส ของส่ิงเสพติด
ท้งั หลายดว้ ย
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
อานิสงส์ของ
การปฏิบตั ิตาม
หลักศลี 5
พช.กาฬสนิ ธุ์ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม
พช.กาฬสนิ ธ์ุ องคก์ รสง่ เสรมิ คณุ ธรรม