The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anusorn, 2022-05-05 03:53:58

cnc04 (1)

cnc04 (1)

3

หนว่ ยที่ 8
การเขยี นโปรแกรมเอน็ ซงี านกลงึ
(NC Programming for Turning)

สาระการเรยี นรู้
8.1 โครงสร้างและสว่ นประกอบพ้นื ฐานโปรแกรมเอ็นซงี านกลงึ

8.2 คาสงั่ จีโคด้ และเอ็มโคด้ พน้ื ฐานสาหรับงานกลึงซเี อ็นซี
8.3 การขน้ึ รปู ชิ้นงานสาหรับงานกลึงซีเอน็ ซี
8.4 การเขียนโปรแกรมเอน็ ซี สาหรบั งานกลึง
8.5 การเขยี นคาส่งั โปรแกรมงานกลึงปาดหนา้
8.6 การเขยี นคาสงั่ โปรแกรมงานกลงึ ปอก
8.7 การเขียนคาสั่งโปรแกรมงานกลงึ เรยี ว
8.8 การเขียนคาสั่งโปรแกรมงานกลึงโคง้
8.9 คาสั่งวฏั จักรและคาส่ังสาเรจ็ รูปสาหรับการเขียนโปรแกรมงานกลึงซเี อน็ ซี
8.10 การแก้ไขและการตรวจสอบโปรแกรมเอ็นซี กบั เคร่อื งกลึงซีเอ็นซี

สาระสาคัญ
ในการเขียน โปรแกรม เอ็นซีงานกลึงจะมลี กั ษณะโครงสร้างของโปรแกรมท่คี ล้ายกันกบั โปรแกรม

เอน็ ซีงานกัดจะมขี อ้ แตกตา่ งอยบู่ า้ งในเร่ืองของคาส่ังเฉพาะและแนวแกนการเคลื่อนทหี่ ลกั ที่เครื่องกลึงจะมี
แกนการเคล่อื นที่หลักเพียง 2 แนวแกนคือ แนวแกน X และแนวแกน Z ดังนนั้ ในการเขียนโปรแกรมเอน็ ซี
งานกลึงผ้เู ขยี นโปรแกรมจะต้องศกึ ษาเรื่องแกนการเคลอื่ นทขี่ องเครอื่ งจกั ร คาส่งั G-Codeและ M-Code
พน้ื ฐาน ตลอดจนเงือ่ นไขการตัดเฉือนสาหรับงานกลงึ นอกจากนจี้ ะตอ้ งมพี ืน้ ฐานการขึน้ รปู ชิ้นงานกลงึ
ในแบบต่างๆ เชน่ การกลึงปาดหน้า การกลึงปอก การกลึงเรยี ว เปน็ ต้น ในการเขียนโปรแกรมเอน็ ซีงานกลงึ
ในหน่วยน้จี ะอ้างอิงกบั คอนโทรลเลอรM์ ach 3 Turn และคอนโทรลเลอร์Fanuc กับเคร่ืองกลงึ มินซิ เี อน็ ซี ท่ผี ู้สอน
ได้ซ่อมและปรับปรุงขน้ึ มาเพือ่ ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน

จุดประสงคท์ ว่ั ไป
1. เพื่อใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจโครงสร้างโปรแกรมเอน็ ซงี านกลงึ
2. เพือ่ ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจสว่ นประกอบพืน้ ฐานของโปรแกรมงานกลึง
3. เพอ่ื ให้มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจความหมายของจีโค้ดพนื้ ฐานสาหรบั งานกลึง
4. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจความหมายของเอม็ โค้ดพนื้ ฐานสาหรับงานกลงึ
5. เพ่อื ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจวิธีการข้นึ รปู ชิน้ งานสาหรับงานกลงึ ซีเอน็ ซี
6. เพ่ือให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจการเขยี นโปรแกรมคาสง่ั สาหรับกลงึ ปาดหน้า

4

7. เพ่ือใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจการเขยี นโปรแกรมคาสงั่ สาหรบั กลงึ ปอก
8. เพื่อให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการเขยี นโปรแกรมงานกลงึ เรียว
9. เพอ่ื ให้มคี วามร้คู วามเข้าใจการเขียนโปรแกรมเอ็นซีงานกลงึ โค้ง
10. เพือ่ ให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจการเขยี นโปรแกรมคาสัง่ วฏั จักรสาหรบั งานกลึง
11. เพ่อื ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจการปฏิบัติงานกบั เคร่ืองกลงึ ซีเอ็นซี
12. เพอ่ื ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจการตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมเอน็ ซกี บั เครื่องกลึงซเี อ็นซี

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

เมอื่ ศึกษาหน่วยท่ี 8 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ

1. อธบิ ายโครงสร้างโปรแกรมเอน็ ซี (NC Program) งานกลงึ ได้อยา่ งถูกต้อง

2. บอกส่วนประกอบพ้ืนฐานของโปรแกรมงานกลงึ ได้

3. บอกความหมายจีโคด้ พ้ืนฐานสาหรับงานกลงึ ซีเอน็ ซไี ด้

4. บอกความหมายเอ็มโค้ดพ้ืนฐานสาหรับงานกลึงซเี อน็ ซีได้

5. บอกวิธีการขึ้นรปู ช้นิ งานสาหรบั งานกลงึ ซีเอน็ ซไี ด้

6. เขยี นโปรแกรมคาส่งั สาหรบั กลงึ ปาดหนา้ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

7. เขียนโปรแกรมคาสง่ั สาหรับกลึงปอกได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

8. เขียนโปรแกรมเอ็นซสี าหรับกลงึ เรยี วได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

9. เขยี นโปรแกรมเอ็นซีงานกลึงโค้งไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

10. เขยี นโปรแกรมคาสงั่ วฏั จกั รสาหรับงานกลึงได้อยา่ งถูกตอ้ ง

11. ปฏิบัตงิ านกบั เคร่อื งกลงึ ซีเอ็นซีได้อย่างถูกตอ้ ง

12. ตรวจสอบและแกไ้ ขโปรแกรมเอ็นซกี ับเคร่อื งกลงึ ซเี อ็นซไี ด้

5

8.1 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบพ้นื ฐานของโปรแกรมเอน็ ซีงานกลงึ
โครงสร้างและส่วนประกอบพนื้ ฐานของโปรแกรมเอ็นซสี าหรบั งานกลงึ มโี ครงสรา้ งและส่วนประกอบ

พื้นฐานคลา้ ยกันกบั โปรแกรมเอน็ ซีของงานกัด โดยท่โี ครงสร้างของโปรแกรมเอ็นซียงั ประกอบไปดว้ ยการรวมกนั
ของบล็อก หรือบรรทดั คาส่ัง หลาย ๆ บลอ็ กที่เขยี นตามลาดับข้นั ตอนใน การทางานตามทีก่ าหนดไว้ ในแตล่ ะ
บล็อกประกอบด้วยคาส่งั ที่เกีย่ วกบั การทางานและคาส่ังช่วยในการทางาน จะมีรายละเอยี ดทแ่ี ตกตา่ งกนั บา้ ง
ในสว่ นของจานวนแกนการเคลอ่ื นทหี่ ลักของเคร่ืองจกั รทเี่ ครื่องกลึงจะมี 2 สองแนวแกนคอื แกน X และแกน Z
ส่วนเครอ่ื งกัดจะมีแนวแกนการเคลื่อนท่ี 3 แนวแกนคือแกน X แกน Y และแนวแกน Z จึงทาให้การเขยี น
ตาแหนง่ การตดั เฉือนลงในโปรแกรมเอน็ ซสี าหรับงานกลงึ มเี พียง 2 แนวแกน นอกจากนย้ี งั มีคาสัง่ G-Code และ
คาสัง่ M-Code สาหรับงานกลงึ และเงื่อนไขการตดั เฉือนสาหรับงานกลึงซงึ่ จะกลา่ วรายละเอยี ดในหวั ข้อต่อไป
สาหรับสว่ นประกอบพ้นื ฐานยงั คงประกอบดว้ ย หัวโปรแกรม ตวั โปรแกรมและทา้ ยโปรแกรมโดยมีรายละเอียด
เชน่ เดียวกบั งานกดั ตัวอยา่ งโปรแกรมเอน็ ซีสาหรับงานกดั และโปรแกรมเอน็ ซีสาหรบั งานกลงึ ดงั แสดงในรปู ท่ี 8.1

% %
123(MILLING); 124(TURNING);
N10 G90 G21 G54; N10 G90 G21 G54;
N20 G28 X0 Y0 Z0; N20 G95;
N30 T01 M06; M30 G28 U0 W0;
N40 S1000 M03 M08; N40 G50 S8000;
N50 G00 X0 Y0 Z5; N50 T0101 M06;
N60 G00 X20 Y20 Z5; N60 G96 S120 M04 M08;
N70 G01 X20 Y20 Z-5 F100; N70 G00 X100 Z2;
N80 G01 X80 Y80 Z-5; N80 G00 X100 Z-1;
N90 G01 X80 Y80 Z5; N90 G01 X0 Z-1.6 F0.1;
N100 G28 X0 Y0 Z0; N100 G01 X0 Z2;
N110 M05; N110 G28 U0 W0;
N120 M09; N120 M05 M09;
N130 M30; N130 M30;
% %

ตัวอยา่ งโปรแกรมเอ็นซงี านกัด ตวั อย่างโปรแกรมเอน็ ซีงานกลงึ

รูปท่ี 8.1 แสดงการเปรียบเทยี บระหวา่ งโปรแกรมเอน็ ซีงานกัดและโปรแกรมเอ็นซงี านกลึง
N130 M30;
(ทีม่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)
%

6

8.1.1 ชนดิ ของคาสั่งในงานกลึงซีเอน็ ซี
ชนดิ ของคาสัง่ ทใ่ี ช้ในโปรแกรมเอ็นซี สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ เช่นเดียวกับงานกดั ดงั นี้

8.1.1.1 คาสงั่ สาหรับควบคมุ ขนั้ ตอนการทางานของโปรแกรม(Program Technical Commands)
คือ คาสง่ั ทใี่ ชใ้ นการกาหนดลาดับข้นั ตอนการทางานของเครือ่ งจกั รกลซเี อ็นซี

8.1.1.2 คาส่งั ทางเรขาคณติ (Geometrical Commands) คอื คาส่งั ทใ่ี ชใ้ นการควบคุมการเคลือ่ นท่ี
ของเครื่องมอื ตัด เพ่อื ตัดเฉือนชนิ้ งานใหไ้ ดข้ นาด และรปู ร่างทางเรขาคณติ ตามแบบงานทีต่ อ้ งการ

8.1.1.3 คาสัง่ ท่ใี ชค้ วบคุมการทางานของเครอ่ื งจกั รกลซีเอน็ ซี (Technological Commands) เช่น
ความเรว็ปอ้ น ความเร็วรอบเพลาหัวจับชิ้นงาน การ-เปปิดดิ เพลาหวั จับชน้ิ งาแนละการเปลย่ี นทูลTo(ols Chang) เปน็ ตน้
สาหรบั คาส่งั ท่ีใช้สั่งงานทงั้ 3 ชนิดจะแสดงดว้ ยโค้ดตวั อกั ษรตา่ งๆดงั น้ี

1. จีโคด้ (G-Code)
จโี ค้ด (G-Code) เปน็ คาส่งั ควบคุมสั่งการให้เครื่องจกั รกลซเี อ็นซี ทาการเคลื่อนท่ที ลู ใหต้ ดั เฉอื น

ชน้ิ งาน (Machining) ให้เป็นรูปทรงทางเรขาคณิต ซึง่ ตอ้ งกาหนดทิศทางและตาแหนง่ ของการเคลื่อนท่ขี อง
เคร่ืองมือตดั ( Tools) โดยลักษณะของการเคลอ่ื นทจ่ี ะเป็นเส้นตรง เส้นโคง้ กไ็ ด้ และ ใชเ้ ป็นคาสัง่ ในการกาหนด
ระบบการทางานของเครือ่ งจกั ร เชน่ กาหนดวิธีการ เคลื่อนท่แี บบ สมั บรู ณ์ ( Absolute) หรือ แบบต่อเนื่อง
(Incremental) การกาหนดหนว่ ยวดั ระยะทาง การกาหนดรูปแบบคาสั่งวฏั จักร เปน็ ตน้

2. เอ็มโคด้ (M-Code)
เปน็ คาสง่ั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการควบคมุ กลไกการทางานของเครอ่ื งจักรกล CNC ทไ่ี ม่เก่ียวข้อง กบั

การเคลอื่ นที่ของเครือ่ งมือตดั เชน่ การให้เพลาจบั ชน้ิ งานหมุนในทิศทางตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกา การเปดิ และ
ปิดนา้ หล่อเย็น การควบคุมการทางานของโปรแกรมเป็นตน้

3. โคด้ อ่ืน ๆ ทีใ่ ช้ในเวริ ์ดหรอื คาสั่งงานกลึง (ทมี่ า : สมบตั ิ ชิวหา. 2555 : 184)
โคด้ ในแต่ละเวริ ด์ นอกเหนือจากจีโคด้ และเอม็ โคด้ แล้วยังประกอบด้วยโค้ดอ7นื่ ๆปรอะีกเภทดงั น้ี
3.1 เลขท่ีบล็อกหรอื เลขท่บี รรทัด (Block Number: N) ไดแ้ กโ่ คด้ N

บล็อก คาสั่งต่าง ๆ จะเร่ิมตน้ ดว้ ยตวั อกั ษร N และตามดว้ ยตัวเลข ในการกาหนดตัวเลขควร
เวน้ ระยะหา่ ง เชน่ เว้นบลอ็ กละ 5 จะได้ N5, N10, N15, N… หรอื บล็อกละ 10 จะได้ N10, N20, N30, N... ไม่ควร
เขยี นโดยไมเ่ วน้ ระยะห่างเชน่ N1, N2, N3, N... เพราะเวลาจะแกไ้ ขโปรแกรมหรอื แทรกบลอ็ กจะทาให้ไม่สามารถ
กาหนดเลขที่บล็อกไดท้ าใหก้ ารตรวจสอบโปรแกรมย่งุ ยาก

3.2 ตาแหนง่ หรือระยะทางความยาว ไดแ้ กโ่ คด้ X, Y, Z, U, V, W, A, B, C
ในการเคลอื่ นทขี่ องทลู ทง้ั แนวเสน้ ตรงและแนวเสน้ โคง้ ไปยงั จดุ หรือตาแหน่งในการตัดเฉอื น

จะตอ้ งระบโุ ดยใช้ตัวเลข 0( ถงึ 9) โดยมเี ครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (–) นาหนา้ ตวั เลขเพ่ือใชบ้ อกทิศทางในการ
เคลอ่ื นทีต่ ามแกนนน้ั ๆ เช่น X10 Z5 หรือ X50 Z-10 เปน็ ตน้

3.3 ตาแหน่งจดุ ศูนยก์ ลางวงกลม ได้แกโ่ คด้ R หรอื I, J และ K
จโี ค้ด ที่ใช้คือ G02, G03 และตาแหนง่ ของจดุ ศนู ยก์ ลางวงกลม ตาแหนง่ จุดศนู ยก์ ลาง สว่ น

โคง้ ของวงกลมจะใชโ้ คออร์ดเิ นต I, J และ K ในการบอกตาแหนง่ จะใชต้ ัวเลขบอกตาแหน่งในการเคลอื่ นท่ี

7

โดยท่ี I จะวดั ระยะทางในแนวแกน X, J จะวัดระยะทางในแนวแกน Y และ K จะวัดระยะทางในแนวแกน Z โดยท่ี

วดั ระยะทางจากจดุ เริม่ ต้นส่วนโคง้ ไปหาจดุ ศูนย์กลางของส่วนโค้งหรอื บางคอนโทรลเลอรอ์ าจจะบอกเป็นค่ารศั มี

(R) ไดเ้ ลย

3.4 ความเรว็ รอบเพลาสปินเดลิ (Spindle Speed: S) ไดแ้ ก่โค้ด S

ใชต้ ัวอกั ษร S และตามด้วยตัวเลข เช่น S2000 หมายถงึ ความเรว็ รอบ เพลาจับชิ้นงานหรอื

เพลาสปนิ เดลิ หมุนดว้ ยความเร็ว 2,000 รอบต่อนาที (rpm.หรอื rev/min)

3.5 อตั ราป้อน (Feed Rate: F) ได้แก่โค้ด F

อัตราป้อน คือ ความเรว็ ของการเคลื่อนท่ขี อเงคร่อื งมือตดั ในขณะตัดเฉอื นชิ้นงานหรอื เคลอ่ื นที่

ลกึ ลงในช้นิ งานเพื่อกลึงเอาเนอ้ื ชน้ิ งานออก หน่วขยองอตั ราป้อนสามารถกาหนดไดเ้ ปน็ ลกั ษณะดังนค้ี อื

3.5.1 มลิ ลิเมตร/นาทmี (m/min)หรอื นิว้ /นาทinี (ch/min)ใช้สาหรบั การกดั และการเโจคาด้ ะทใ่ี ชค้ ือG94

3.5.2 มิลลเิ มตร/รอบ (mm/rev) หรอื นวิ้ /รอบ (inch/rev) สาหรับการกลงึ โค้ดทีใ่ ชค้ ือ G95

3.6 เคร่ืองมือตดั (Tools: T) ไดแ้ ก่โคด้ T

ใชต้ วั อกั ษร T และตามดว้ ยตวั เลขหมายเลขเคร่อื งมือตัดท่ีจะใชง้ านและตามด้วยหมายเลข

เครื่องมือตัดที่เรยี กใช้ค่า Offset ตามตารางทลู เชน่ T0505 โดยทว่ั ไปจะใชร้ ่วมกบั โคด้ ในการเปล่ยี นเคร่ืองมือตดั

(Tools) ดว้ ยคาสง่ั M06 เชน่ T0505 M06 เปน็ ต้น

3.7 เวลา (Time) ได้แก่โคด้ P

ใช้อักษรตัว P ตามดว้ ยตวั เลข เช่น P01 กาหนดเวลาแชห่ รอื รอ 1 วนิ าทเี ป็นต้น

ข้อท่คี วรจา

1. สาหรับชดุ ควบคมุ บางรุน่ ไมจ่ าเป็นตอ้ งกาหนดเลขทบี่ ล็อกN() ทกุ บรรทัดกไ็ ด้

2. โค้ดบางตัวไมจ่ าเปน็ ต้องเขียนในบลอ็ กต่อไปกไ็ ด้ จนกวา่ จะมกี ารเปลี่ยนแปลงเปน็ คาสั่ ง

อย่างอื่น เช่น G00, G01, G02, G03, M03, M04 และค่า F, S

3. ไม่จาเป็น ตอ้ งใส่คา่ โคออรด์ เิ นต X และ Z ในบลอ็ กตอ่ ๆ ไปหากไม่มีการเปลีย่ นแปลงคา่ แต่ถ้ามี

การเปล่ยี นแปลงจะตอ้ งใสค่ า่ โคออรด์ เิ นตใหม่ เช่น

N50 G01X10Z-30F0.12;

N60 G01X20; (คา่ ในแนวแกนZ และค่า F คงทไี่ มต่ อ้ งเขียนในบรรทัดคาส่ังกไ็ ด้)

4. เราสามารถเขยี นคาสงั่ จีโค้ด หรือเอม็ โคด้ ในบลอ็ กเดียวกนั กไ็ ด้ เชน่

N50 G90 G21 T02 M06 S1000 M03;

5. โค้ดบางตวั ของชุดควบคมุ จะถูกกาหนดขึ้นเอง เมอ่ื เร่มิ ทาโปรแกรม หรือเปน็ คา่ ใชง้ านเร่ิมตน้

(Default หรอื Self Start) เชน่ G90, G21, G40 โค้ดตา่ งๆ เหล่าน้ไี มจ่ าเป็นตอ้ งเขียนไว้ในโปรแกรมก็ได้

6. คาส่ังกลมุ่ เดียวกัน ไม่สามารถใช้ในบรรทัดเดยี วกันได้ เชน่ G00 กับ G01, G02 กับ G03 เปน็ ต้น

8.2 คาสงั่ จีโคด้ และเอ็มโค้ดพืน้ ฐานสาหรับงานกลึงซเี อน็ ซี

คาสั่งจีโค้ด (G-Code) เปน็ คาสัง่ ควบคุมสง่ั การให้เครอื่ งจักรกลซเี อ็นซี ทาการ เคลือ่ นท่ที ลู ใหต้ ัดเฉอื น

ชิ้นงาน โดยลกั ษณะของการเคลอ่ื นที่จะเปน็ เส้นตรง เสน้ โค้งกไ็ ด้ และใชเ้ ป็นคาส่งั ในการกาหนดระบบการทางาน

8
ของเคร่อื งจกั ร เชน่ กาหนดวธิ ีการ เคลอื่ นทีแ่ บบ สัมบรู ณ์ ( Absolute) หรือ แบบตอ่ เน่ือง ( Incremental) การ
กาหนดหนว่ ยวัดระยะทาง เปน็ ต้น ตวั อย่างจีโค้ดพืน้ ฐานโดยปอ้ มมีดอยดู่ ้านในเครื่องจกั รดังแสดงในรปู ท่ี 8.27-8.

G00

รปู ท่ี 8.2 แสดงคาสง่ั G00 การเคลือ่ นทท่ี ูลเปน็ เสน้ ตรงจากจุดหนึง่ ไปยงั อีกจุดหน่งึ ดว้ ยความเร็วสูงสดุ ของ
เครือ่ ง (Rapid Traverse) โดยทที่ ลู ไมส่ ัมผสั ช้ินงาน
(ทีม่ า : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

G01

รปู ท่ี 8.3 แสดงคาสัง่ G01 การเคลอ่ื นท่ีแนวเสน้ ตรงของทลู จากจุดหนงึ่ ไปยงั อกี จดุ หนึ่งโดยตัดเฉือนชิ้นงาน
ตาม อัตราปอ้ น (Feed Rate) ทีก่ าหนด

(ทีม่ า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

9

G02

รูปที่ 8.4 แสดงคาสั่ง G02 การเคล่ือนทที่ ลู ตดั เฉอื นช้ินงานเป็นเสน้ โคง้ ทิศทางตามเข็มนาฬิกา
(ทม่ี า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

G03

รูปท่ี 8.5 แสดงคาสัง่ G03 การเคล่ือนทที่ ลู ตดั เฉือนช้ินงานเป็นเสน้ โคง้ ทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ า
(ท่ีมา : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

10

เสน้ ตัดเฉือน
G41

รูปที่ 8.6 แสดงคาสงั่ G41 เป็นคาส่งั ชดเชยรศั มปี ลายเม็ดมีดโดยทลู อย่ดู ้านซา้ ยมือเสน้ ตัดเฉอื นเมื่อมอง
ตามหลงั ทศิ ทางการเดนิ ของทลู

(ทม่ี า : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

G42 เส้นตัดเฉอื น

รปู ที่ 8.7 แสดงคาส่งั G42 เปน็ คาสั่งชดเชยรัศมปี ลายเมด็ มีดโดยทูลอย่ดู า้ นขวามอื เส้นตัดเฉอื นเม่อื มอง
ตามหลงั ทิศทางการเดนิ ของทลู
(ทีม่ า: ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

นอกจากตัวอย่างคาสั่งจีโคด้ ขา้ งต้นท่ีท่นี ิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมแลว้ ยังมี จีโคด้ อ่นื ๆทเ่ี ป็นจีโคด้
พนื้ ฐานทีใ่ ช้ในงานกลึงซีเอน็ ซี ดงั แสดงตามตารางที่ 8.1 (ท่มี า : สมจิตร จอมคาสิงห์. 2558 : 151)

11

ตารางที่ 8.1 แสดงจีโค้ดพื้นฐานในงานกลึงซีเอ็นซี

จโี คด้ ความหมาย/การทางาน
G00 การเคลือ่ นที่แนวเส้นตรงของเคร่ืองมอื ตัดจากจดุ หน่งึ ไปยังอกี จดุ หนง่ึ ดว้ ยความเรว็ สงู สดุ
ของเคร่ือง (Rapid Traverse) โดยทูลไม่สมั ผัสช้นิ งาน
G01 การเคลอ่ื นท่แี นวเสน้ ตรงของทูลจากจุดหน่งึ ไปยงั อีกจุดหน่ึงโดยตดั เฉอื นชน้ิ งานตามอตั รา
ปอ้ น (Feed Rate) ทกี่ าหนด
G02 การเคลอ่ื นทที่ ูลตัดเฉือนช้ินงานเป็นเส้นโค้งทิศทางตามเข็มนาฬิกา
G03 การเคล่อื นทท่ี ูลตัดเฉือนชิน้ งานเป็นเสน้ โคง้ ทศิ ทางทวนเข็มนาฬิกา
G17 เลือกระนาบการทางาน XY
G18 เลือกระนาบการทางาน XZ
G19 เลอื กระนาบการทางาน YZ
G20 กาหนดหนว่ ยของการเคลอ่ื นที่เปน็ น้วิ
G21 กาหนดหน่วยของการเคลือ่ นท่ีเป็นมิลลเิ มตร
G28 การเคลื่อนท่ไี ปยังจดุ อ้างอิง (Reference) แบบอัตโนมตั ิ
G33 การกลึงเกลยี ว
G40 ยกเลกิ การชดเชยรัศมีของปลายเมด็ มดี (ยกเลกิ คาส่ังของ G41 ,G42 )
G41 เปน็ คาสงั่ ชดเชยรศั มปี ลายเมด็ มีดโดยทลู อยดู่ ้านซ้ายมือเส้นตดั เฉอื น
G42 เปน็ คาสง่ั ชดเชยรัศมปี ลายเมด็ มีดโดยทลู อย่ดู า้ นขวามือเส้นตดั เฉือน
G43 ชดเชยขนาดความยาวทลู ถอยออกจากจุดอา้ งองิ
G49 ยกเลิกการชดเชยขนาดความยาวทูล
G50 กาหนดความเร็วรอบสงู สุดของเพลาสปินเดลิ
G54-59 กาหนดจุดศนู ย์ชิ้นงาน
G80 ยกเลิกคาสั่งวฏั จักร (Canned Cycle)
G81-83 วัฏจกั รสาหรับงานเจาะรู
G90 กาหนดการเคลอื่ นท่เี ปน็ การเคล่อื นท่แี บบสัมบูรณ์ (Absolute Positioning)
G91 กาหนดการเคล่อื นทเี่ ป็นการเคลือ่ นทแ่ี บบต่อเน่อื ง (Incremental Positioning)
G94 กาหนดคา่ อตั ราป้อน (Feed Rate) มหี นว่ ยเปน็ มลิ ลเิ มตร/นาที
G95 กาหนดคา่ อัตราป้อน (Feed Rate) มีหน่วยเปน็ มิลลเิ มตร/รอบ
G96 กาหนดเร็วรอบของสปนิ เดลิ เปล่ยี นแปลงไปตามขนาดของชิ้นงาน
G97 กาหนดสปินเดลิ หมนุ ด้วยความเร็วรอบคงท่ี

12

คาส่ังเอ็มโคด้ (M-Code) เปน็ คาส่งั ท่เี กี่ยวข้องกบั การควบคมุ กลไกการทางานของเครื่องจักรกลซีเอน็ ซี
ทไ่ี มเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเคลอ่ื นทข่ี องเครื่องมอื ตัด คาสัง่ เอม็ โคด๊ จะเป็นคาสัง่ ท่ที าหนา้ ที่ ควบคุมการทางาน
ของโปรแกรม เช่นคาส่ัง M00, M01, M02, M30 และควบคมุ การเปดิ ปิด อุปกรณ์ต่างๆ เชน่ คาสั่ง Mเป0น็ 3ต,น้ M04,
M05, M06, M08 ตัวอยา่ งคาสงั่ เอ็มโค้ดพน้ื ฐานสาหรบั งานกลึง ดังแสดงในรปู ที่ 8.8-8.13

START START

N10 G00... N10 G00...
X.......Y.......Z......; X.......Y.......Z......;

N20 G00, G01, G02... N20 G00, G01, G02...
G03..... G03.....

M05 M05

M02 M30

รูปที่ 8.8 แสดงลักษณะข้อแตกต่างการจบโปรแกรมเมือ่ ใชค้ าส่ัง M02 และ M30
(ทมี่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

M03

รปู ท่ี 8.9 แสดงคาสง่ั M03 ส่ังใหเ้ พลาสปนิ เดลิ หมุนทศิ ทางตามเขม็ นาฬิกา (มองจากดา้ นหลังเพลาสปินเดิล)
(ทมี่ า : https://www.haascnc.com)

13
M04

รูปที่ 8.10 แสดงคาส่งั M04 ส่ังใหเ้ พลาสปินเดิลหมนุ ทศิ ทางทวนเขม็ นาฬกิ า (มองจากดา้ นหลังเพลาสปนิ เดลิ )
(ทม่ี า : https://www.haascnc.com)
M06

รปู ที่ 8.11 แสดงคาสัง่ M06 สงั่ ใหอ้ ุปกรณเ์ ปลีย่ นทูลอตั โนมตั หิ มนุ เปลี่ยนตาแหน่งเครือ่ งมอื ตดั
(ท่ีมา : http://www.goodwaycnc.com)

M13

รูปท่ี 8.12 แสดงคาสง่ั M13 สั่งใหเ้ พลาสปนิ เดิลหมุนทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ าพรอ้ มเปิดนา้ หลอ่ เยน็
(ที่มา : https://www.protolabs.com)

14
M14

รปู ท่ี 8.13 แสดงคาสง่ั M14 สั่งให้เพลาสปินเดลิ หมุนทิศทางทวนเขม็ นาฬิกาพร้อมเปดิ นา้ หลอ่ เย็น
(ท่ีมา : https://www.protolabs.com)

นอกจากตวั อย่างคาส่ังเอ็มโค้ดขา้ งต้นทท่ี ีน่ ยิ มใช้ในการเขยี นโปรแกรมเอน็ ซีแลว้ ยงั มีเอม็ โค้ดพื้นฐาน
อ่ืนๆทใ่ี ช้ในงานกลึงซีเอ็นซี ดังแสดงตามตารางท่ี 8.2 (ที่มา : สมบตั ิ ชิวหา. 2557 : 187)

ตารางที่ 8.2 แสดงเอ็มโค้ดพ้ืนฐานในงานกลึงซเี อน็ ซี

เอ็มโค้ด ความหมาย/การทางาน
M00 หยดุ โปรแกรมช่ัวขณะ
M01 หยุดโปรแกรมแบบมเี งื่อนไข
M02 สิน้ สุดโปรแกรม หรือจบโปรแกรม
M03 เปดิ สปินเดิลหมนุ ตามเขม็ นาฬิกา
M04 เปิดสปินเดลิ หมุนทวนเข็มนาฬกิ า
M05 หยดุ การหมุนของสปินเดลิ
M06 เปล่ียนเคร่อื งมอื ตดั
M08 เปดิ นา้ หลอ่ เยน็
M09 ปิดนา้ หล่อเยน็
M10 เปดิ ปากจับชน้ิ งาน
M11 ปดิ ปากจับชิ้นงาน
M13 เปิดสปนิ เดิลหมนุ ทิศทางตามเข็มนาฬิกาพร้อมเปิดน้าหล่อเย็น
M14 เปดิ สปนิ เดิลหมนุ ทศิ ทางทวนเข็มนาฬกิ าพร้อมเปดิ นา้ หล่อเยน็
M30 จบโปรแกรมแล้วกลบั ไปยังจดุ เริ่มต้นของโปรแกรม

15
8.3 การขึ้นรปู ชนิ้ งานสาหรับงานกลึงซเี อ็นซี

การขึ้นรปู ชิน้ งาน คอื การที่เครื่องมือตัดทาการตดั เฉอื นเน้ือโลหะออกจากชิน้ งานเพื่อให้ไดร้ ปู ทรง และ
ขนาดตามแบบทก่ี าหนด โดยทวั่ ไปนั้นการกลึงซีเอน็ ซี มีลักษณะการขนึ้ รปู อยู่ 2 ลักษณะดงั น้ี

8.3.1 การกลงึ งานตามเสน้ ขอบงาน ( Contour Part) ใช้กับช้นิ งานท่มี กี ารผ่านกระบวนการขน้ึ รูป
มาก่อน เชน่ หล่อขน้ึ รูป หรือผ่านกระบวนการการกลงึ ปอกหยาบ (Roughing) ให้ไดร้ ปู รา่ งลกั ษณะใกล้เคียงกับ
แบบงานที่ กาหนด โดยเผ่อื ขนาดต่างๆ ไวใ้ ห้มีขนาดโตกวา่ ขนาดสาเร็จ แลว้ จึงนาชนิ้ งานมาทาการกลงึ ละเอียด
(Finishing) ตามตาแหน่งโคออร์ดเิ นตทกี่ าหนดไวใ้ ห้ไดต้ ามแบบงานทกี่ าหนด ดงั แสดงในรูปที่ 8.14
(ทม่ี า : อานาจ ทองเสน. 2556 : 282)

รูปท่ี 8.14 แสดงลักษณะการกลึงงานตามเส้นขอบงาน
(ท่มี า : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

8.3.2 การกลึงแบบแบง่ เป็นขน้ั ตอน ตามกระบวนการ การตดั เฉอื น ใชส้ าหรับ ช้นิ งาน ทยี่ งั ไมไ่ ด้ ผ่าน
กระบวนการข้นึ รูปมากอ่ น โดยงานกลงึ ลักษณะน้ีจะใช้เครอ่ื งมอื ตัดในการขึ้นรูปชิน้ งานหลายตวั เช่น เครื่องมอื ตัด
ตัวที่ 1 ใช้ในการปาดหน้าชิ้นงาน F( acing) เคร่ืองมอื ตัดตัวที่ 2 งานกลึงปอกผิวชิน้ งาน ( Roughing) เครือ่ งมอื ตัด
ตวั ที่ 3 ใชส้ าหรบั งานกลงึ เกบ็ ละเอยี ด (Finishing) เป็นตน้ โดยแบง่ การตัดเฉอื นเอาเนอ้ื วัสดุงานออกเป็นช้นั ๆ
ตามลาดบั การใชง้ านของเครื่องมือตัด ดังแสดงในรปู ที่ 8.15

รูปท่ี 8.15 แสดงลักษณะการกลงึ งานแบบแบง่ เป็นข้ันตอนการตัดเฉือน
(ทม่ี า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

16

8.4 การเขยี นโปรแกรมเอ็นซี สาหรบั งานกลึง

ในการเขียนโปรแกรมเอน็ ซงี านกลึงสามารถทจ่ี ะเขียนโปรแกรมได้ท้ังแบบสัมบรู ณ์ (Absolute) และ

แบบต่อเนือ่ ง I(ncremental) เชน่ เดยี วกับงานกดั ซีเอน็ ซใีนการเขยี นโปรแกรมงานกลงึ สว่ นใหญจ่ ะนิยมเขียนโปรแกรม

เอ็นซีแบบสัมบูรณ(์ Absolute) เน่ืองจากเขยี นได้ง่ายและเกดิ ขอ้ ผิดพลาดของตาแหน่งนอ้ ยกวา่ การเขียนโปรแกรมเอน็ ซี

แบบต่อเนอื่ ง กอ่ นท่จี ะทาการเขียนโปรแกรมเอน็ ซี ควรจะศึกษาคู่มอื การใช้งานของเครือ่ งจักรกลซีเอน็ ซเี ฉพาะรนุ่

เพราะแต่ละบริษทั ท่ผี ลิตเครอื่ งจักรกลซีเอ็นซี จะทาการออกแบบ มาไม่เหมือนกนั คาสง่ั บางคาสัง่ ก็จะมกี ารใช้

เฉพาะรนุ่ เช่นการเขยี นโปรแกรมกาหนดคา่ ของส่วนโค้ง ทใ่ี ช้มีทั้งแบบ กาหนดค่า รัศมี (Radius Program) และ

แบบกาหนดค่าเส้นผ่านศูนยก์ ลาง (Diameter Program) โดยโปรแกรมเอน็ ซที ่ใี ช้ ทางานกนั บอ่ ย ๆ ในงานกลงึ

มีดงั นี้

8.4.1 การเขียนโปรแกรมเอ็นซี สาหรบั งานกลึงปาดหนา้ ชน้ิ งาน (Facing)

8.4.2 การเขยี นโปรแกรมเอ็นซี สาหรับงานกลึงปอกผวิ ชิน้ งาน(Roughing)

8.4.3 การเขยี นโปรแกรมเอ็นซี สาหรับงานกลงึ เรยี ว (Taper)

8.4.4 การเขียนโปรแกรมเอน็ ซี สาหรับงานกลงึ โคง้ (Curved Cutting)

8.4.5 การเขียนโปรแกรมวฏั จักรงานกลงึ (Canned Cycle) และคาสง่ั สาเร็จรปู

8.5 การเขียนคาสั่งโปรแกรมงานกลึงปาดหนา้
การเขียนโปรแกรมเอ็นซี สาหรับงานกลึงปาดหน้า โดยการใช้คาสง่ั พนื้ ฐานมีคาส่ังที่จะใช้งานดังนี้

8.5.1 G00 คือ การเคลื่อนท่ขี องเครือ่ งมือตัด จากตาแหน่งหน่งึ ไปยงั อกี ตาแหน่งหน่งึ ดว้ ยความเรว็
สูงสุดของเครอ่ื ง (Rapid Traverse)

บลอ็ กคาสั่งของ G00 มโี ครงสร้างซึ่งประกอบไปด้วยเวิรด์ ตา่ งๆ ของแต่ละโคด้ คือ

N… G00 X… Z…

เมื่อ X...Z... คือ ตาแหนง่ โคออร์ดเิ นตเปา้ หมายในแนวแกนX และแกนZ
8.5.2 G01 คือ คาสง่ั ให้เครื่องมือตัด เคลอื่ นทใี่ นแนวเส้นตรงตดั เฉือนชน้ิ งานจากจุดหนง่ึ ไปยงั อกี จุดหนง่ึ

ตามค่าอัตราป้อนท่กี าหนด
บล็อกคาสัง่ ของ G00 มีโครงสร้างซงึ่ ประกอบไปดว้ ยเวิรด์ ต่างๆ ของแต่ละโค้ด คือ

N… G01 X… Z… F...

เม่ือ X...Z... คือ ตาแหนง่ โคออรด์ ิเนตเปา้ หมายในแนวแกนX และแกนZ
F... คือ ค่าอตั ราป้อน (มิลลเิ มตร ต่อ รอบ)

ในการเขยี นโปรกรมเอน็ ซี สาหรบั งานกลงึ ปาดหน้าช้นิ งานนน้ั สามารถเขียนโปรแกรม เอน็ ซี โดยใชค้ าส่งั
G00 และคาสั่ง G01 สั่งให้ทูลเคลื่อนทีต่ ัดเฉอื นชิน้ งานผา่ นตาแหนง่ ตา่ งๆตามลาดับ ดงั แสดงในรูปที่8.16

17

P3 P2 P1

P4 P5 G00
G01

รูปท่ี 8.16 แสดงลาดบั การเคลอ่ื นทขี่ องทลู กลึงปาดหนา้ ชิ้นงานของเครอื่ งกลงึ ซเี อน็ ซี
(ทม่ี า : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

ตัวอย่างที่ 8.1 จงเขียนโปรแกรมงานกลึง ปาดหนา้ ชนิ้ งาน ใหไ้ ดข้ นาด ตามแบบงานทก่ี าหนด โดยที่ชิ้นงาน
ดิบมีการเผอ่ื ขนาดไว้ 0.2 มิลลิเมตรไวส้ าหรับกลึงปาดหนา้ ครัง้ เดยี วลึกใน แนวแกน Z เทา่ กบั 0.2 มลิ ลเิ มตร,
ให้ใช้ค่าความเรว็ รอบของเพลา สปินเดิล 2000 รอบตอ่ นาที หมุนในทศิ ทาง ตามเขม็ นาฬิกา , อตั ราปอ้ น 0.1
มิลลเิ มตรตอ่ รอบ, และให้ใช้มีดกลงึ ฟอร์มปอกขวาหมายเลข 2, กาหนดจุดตาแหน่งเข้าใกล้ชนิ้ งานท่แี กน X30,
Z2 ป้อมมดี อยดู่ า้ นหน้าเคร่อื งจักร

(ทีม่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

18

ตารางท่ี 8.3 แสดงการเขยี นโปรแกรมงานกลึงปาดหนา้ ช้นิ งาน

บรรทดั จีโค้ด โคออร์ดิเนต/คาส่งั เสรมิ ความหมาย/การทางาน
หัวโปรแกรม
- -% เขียนสัญลักษณ์ของ ISO Program (%)
กาหนดหมายเลขโปรแกรมท่ี 123
0123( Facing) กาหนดช่อื โปรแกรม Facing
กาหนดการเขียนโปรแกรมแบบสมั บรู ณ์
N10 G90G21G54 - กาหนดหน่วยการเคลื่อนท่เี ป็นมิลลิเมตร
กาหนดจดุ ศูนย์ชนิ้ งานลาดับที่1
N20 G95 - กาหนดอัตราปอ้ นเปน็ มิลลิเมตร/รอบ

N30 G28 U0 W0 เคลอ่ื นทท่ี ลู ไปยงั จุดอ้างองิ

N40 - T0202 กาหนดใชท้ ลู หมายเลข 2 และใช้ค่า Offset
ของทลู หมายเลข 2

N50 S2000 M03 M08 หมุนสปนิ เดลิ 2,000 รอบตอ่ นาที

ทศิ ทางตามเข็มนาฬกิ า

เปดิ นา้ หล่อเย็น

N60 G00 X30 Z2 เคลอื่ นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงดว้ ยความเร็วสูงไปท่ี
ตาแหนง่ แนวแกนX30 อยหู่ น้าผิวงานในแกน
Z 2 มิลลิเมตร

N70 G00 X30 Z0 เคลอ่ื นทที่ ลู แนวเส้นตรงดว้ ยความเร็วสงู ไปที่
N80 G01 X0 Z0 F0.1 ตาแหนง่ แนวแกนX30 และในแกน Z 0
เคลอื่ นทท่ี ลู ปาดหน้าชิน้ งานแนวเส้นตรงดว้ ย
N90 G01 X0 Z2 อัตราป้อน 0.1 มลิ ลเิ มตร/รอบ ไปทีต่ าแหน่ง
ในแนวแกน 0 และในแนวแกน Z 0
เคลือ่ นที่ตดั เฉือนช้นิ งานแนวเสน้ ตรงไปท่ี
ตาแหนง่ แนวแกนX0 และในแกน Z 2

19

ตารางที่ 8.3 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ ปาดหนา้ ช้นิ งาน(ต่อ)

บรรทดั จีโคด้ โคออรด์ เิ นต/คาสัง่ เสริม ความหมาย/การทางาน

N100 G00 X30 Z2 เคลือ่ นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงดว้ ยความเร็วสูงไปที่

ตาแหนง่ แนวแกนX30 และในแกน Z 2

N110 G28 U0 W0 เคลือ่ นท่ที ูลไปยงั จุดอ้างองิ

N120 M09 - ปิดน้าหลอ่ เยน็

N130 M05 - ปดิ เพลาสปนิ เดลิ

N140 M30 - จบโปรแกรมแลว้ กลับไปจดุ เรมิ่ ตน้ โปรแกรม

8.6 การเขียนคาส่งั โปรแกรมงานกลงึ ปอก
ในการเขียนคาสัง่ ในงานกลงึ ปอกผิวช้ินงานจะใช้คาส่ังจีโคด้ พืน้ ฐานG00, G01, G02 และ G03 เปน็ คาส่ัง

ทีใ่ ช้สาหรบั ควบคมุ การเคลื่อนทขี่ องเครอื่ งมือตัดใหต้ ดั เฉอื นปอกผิวชิ้นงานใหไ้ ด้รูปทรงตามแบบท่กี าหนด
โดยการกลึงปอกสามารถกลงึ ขึน้ รปู ชนิ้ งานได้ท้งั 2 คือ การกลงึ โดยแบบแบ่งเปน็ ขัน้ ตอนการตัดเฉอื น ซึ่งนิยมใช้
ในการกลึงปอกหยาบก่อนการเกบ็ ละเอียดและการกลงึ งานตามเส้นขอบงาน ซึ่งนยิ มใชใ้ นการกลงึ ปอกละเอยี ด
ครงั้ สุดทา้ ย โดยมรี ปู แบบการเดนิ ทลู ตัดเฉือนชิ้นงานผา่ นตาแหน่งต่างๆตามลาดบั ดังแสดงในรูปที่ 8.17-8.18

P1
P5 P2
P4 P3

G00
G01

รูปท่ี 8.17 แสดงลาดับการเคลื่อนที่ของทูลในการกลึงแบบแบง่ เป็นขน้ั ตอนตามกระบวนการการตดั เฉือน
(ท่มี า : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

20

P7 P1

P6
P5 P4 P3 P2

G00
G01

G02

รปู ที่ 8.18 แสดงลาดับการเคล่อื นที่ของทูลกลงึ ปอกช้ินงานตามเสน้ ขอบงานของเคร่ืองกลงึ ซีเอ็นซี
(ทมี่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

ตวั อย่างที่ 8.2 จงเขียนโปรแกรมงานกลงึ ปอกชิน้ งาน ให้ได้ขนาด ตามแบบงานทก่ี าหนด โดยกาหนดให้
กลงึ ปอกชน้ิ งานตามเส้นขอบงาน , กาหนดให้ใช้ความเร็วรอบของเพลา สปินเดลิ 1,000 รอบต่อนาที , หมนุ ใน
ทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า , อตั ราป้อน 0.12 มลิ ลเิ มตร/รอบ, และใชม้ ีดกลึงฟอรม์ ปอกขวา หมายเลข1 , กาหนด
จดุ ตาแหน่งเขา้ ใกลช้ ิ้นงานท่แี กน X70, Z2,ปอ้ มมีดอยู่ดา้ นหน้าเครื่องจกั ร

(ทีม่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

21

ตารางที่ 8.4 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลึงปอกชิน้ งาน

บรรทดั จโี ค้ด โคออร์ดิเนต/คาสงั่ เสรมิ ความหมาย/การทางาน
หัวโปรแกรม
- -% เขยี นสัญลักษณ์ของ ISO Program (%)
กาหนดหมายเลขโปรแกรมท่ี 123
0124(Rough) กาหนดชื่อโปรแกรม Rough
กาหนดการเขียนโปรแกรมแบบสัมบรู ณ์
N10 G90G21G54 - กาหนดหนว่ ยการเคลือ่ นที่เปน็ มิลลเิ มตร
กาหนดจดุ ศูนย์ชิ้นงานลาดบั ท่ี1
N20 G95 - กาหนดอตั ราป้อนเปน็ มิลลิเมตร/รอบ

N30 G28 U0 W0 เคลอ่ื นทีท่ ูลไปยังจดุ อ้างองิ

N40 - T0101 กาหนดใช้ทลู หมายเลข 1 และใชค้ ่า Offset
ของทลู หมายเลข 1

N50 S1000 M03 M08 หมุนสปินเดลิ 1,000 รอบตอ่ นาที

ทิศทางตามเข็มนาฬิกา

เปดิ น้าหล่อเย็น

N60 G00 X70 Z2 เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเส้นตรงด้วยความเรว็ สูงไปท่ี
N70 G00 X20 Z2 ตาแหนง่ แนวแกน X70 และในแกน Z2
N80 G01 X20 Z0 F0.12 เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเส้นตรงด้วยความเรว็ สูงไปท่ี
ตาแหนง่ แนวแกน X20 และในแกน Z2
N90 G01 X20 Z-20 เคลื่อนทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงด้วยอตั ราปอ้ น 0.12
N100 G01 X40 Z-20 มิลลเิ มตร/รอบไปทต่ี าแหนง่ ในแนวแกน X20
และในแนวแกน Z 0
เคล่ือนทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงกลึงปอกผิวงานไปที่
ตาแหน่งในแนวแกน X20 และแกน Z-20
เคลอ่ื นทที่ ลู แนวเสน้ ตรงกลงึ ปาดหน้าผวิ งาน
ไปทตี่ าแหนง่ ในแนวแกนX 40 และแกนZ-20

22

ตารางท่ี 8.4 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ ปอกชิ้นงาน(ตอ่ )

บรรทัด จโี ค้ด โคออรด์ เิ นต/คาสงั่ เสรมิ ความหมาย/การทางาน

N110 G01 X40 Z-50 เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงกลงึ ปอกผวิ งานไปท่ี

ตาแหนง่ ในแนวแกน X40 และแกน Z-50

N120 G01 X70 Z-50 เคล่ือนทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงกลึงปาดหนา้ ผวิ งาน

ไปทต่ี าแหนง่ ในแนวแกนX70 และแกนZ-50

N130 G00 X70 Z2 เคลื่อนทที่ ลู แนวเส้นตรงดว้ ยความเร็วสูงไปที่

ตาแหนง่ แนวแกน X70 และในแกน Z2

N140 G28 U0 W0 เคล่ือนทท่ี ูลไปยงั จดุ อ้างองิ

N150 M09 - ปิดน้าหลอ่ เย็น

N160 M05 - ปิดเพลาสปนิ เดิล

N170 M30 - จบโปรแกรมแล้วกลบั ไปจุดเริม่ ตน้ โปรแกรม

8.7 การเขียนโปรแกรมงานกลึงเรียว (Taper)
การเขยี นโปรแกรมงานกลึงที่มกี ารเคลอ่ื นท่ีในแนวแกนพรอ้ มกัน 2แนวแกน หรอื ในทางงานกลงึ

เรียกว่า "งานกลงึ เรียว (Taper)" มวี ธิ ีกาหนดเสน้ ทางเดนิ ของเครอ่ื งมอื ตดั เพื่อใหก้ ารเคลอ่ื นที่ในการกลงึ เรยี วได้
หลายวิธี เช่น การกาหนดองศาของเรยี ว การกาหนดอตั ราเรียวหรอื การกลงึ เรียวโดย ใช้จดุ 2 จดุ เปน็ ตวั กาหนด
ความเรยี วของชน้ิ งาน ซึ่งในการใชจ้ ดุ 2 จุดรว่ มกบั การ ใช้คาสงั่ ใหเ้ ครอ่ื งมือตัดเคลอื่ นที่ตดั เฉอื นชิน้ งาน ในแนว
เสน้ ตรงเพอ่ื กาหนดอตั ราเรยี วของชิน้ งาน โดยผู้ปฏบิ ตั ิงานตอ้ งกาหนดค่าโคออร์ดเิ นตX, Z ของทัง้ 2 จดุ ใหถ้ ูกตอ้ ง
และแม่นยา จงึ จะไม่เกิดความผิดพลาดของอัตราเรียว ดงั แสดงในรปู ที่ 8.19

P2
P1

รูปท่ี 8.19 แสดงลักษณะการกลึงเรยี วโดยใช้จดุ 2 จดุ เป็นตัวกาหนดความเรยี วของช้ินงาน
(ทมี่ า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

23

ในงานกลงึ เรยี วและงานกลงึ สว่ นโคง้ จาเปน็ ท่จี ะต้องมีการชดเชยรัศมี ปลายเครื่องมือตัด (Tools nose

Radius Compensation : TRC) โดยปลายเม็ดมีดอินเสริ ต์ จะโค้งมน เพอื่ ให้ผิวช้นิ งานออกมานัน้ มีคุณภาพดี ในงาน

กลึงปาดหนา้ และกลึงปอกผิวชิ้นงานขนาดของชนิ้ งานจรงิ ทไี่ ด้จะมคี า่ เท่ากนั กบั คา่ ทปี่ อ้ นในโปรแกรมเอ็นซี

แตใ่ นงานกลงึ โค้งหรอื กลงึ เรียว ขนาดของชิ้นงานจริงจะมีขนาดโตกวา่ คา่ ท่ีกาหนดในแบบงาน หรือในโปรแกรม

เอ็นซี ดังแสดงในรูปที่8.20 ดงั น้นั จึงต้องมีการชดเชย รัศมขี องเครอ่ื งมือตัดที่ปลายของเม็ดมีดอนิ เสริ ์ต ในการ

ทาโปรแกรมงานกลึงจะสมมุติวา่ จดุ ปลายมีดกลึงทส่ี ัมผสั กบั ชิ้นงานเป็นจุดปลายมดี คมแหลม ดังแสดง

ในรูปท่ี 8.21 อยา่ งไรกต็ ามจุดปลายเมด็ มีดที่เป็นจรงิ น้นั จะโคง้ มนเปน็ รศั มี และระบบควบคมุ จะทาการชดเชย

ชอ่ งว่างระหว่างจดุ ปลายมีดกลึงทางทฤษฎกี บั ขอบคมตัดของมดี กลึงโดยการคานวณหาเสน้ ทางเดนิ ขอบรปู ทเ่ี หมาะสม

จงึ จาเป็นตอ้ งป้อนข้อมูลตาแหน่งการทางานของปลายเมด็ มีดอนิ เสริ ต์ ท่ีถูกตอ้ งเขา้ ไปในระบบควบคมุ ดงั แสดงใน

รูปท่ี 8.22-8.23 สว่ นของวงกลมจะทาหนา้ กาหนดทศิ ทางการเคลอ่ื นทข่ี องจดุ ปลายมดี กลงึ เขา้ หาขอบงานโดย

อัตโนมัติ

ส่วนปลายเมด็ มดี อินเสิรต์

เสน้ ทางเดนิ ทูลตามโปรแกรม

เสน้ ทางเดินทลู จริงกรณีไม่มีการชดเชยรัศมีปลายเมด็ มดี
รปู ท่ี 8.20 แสดงเส้นทางเดินของทลู การชดเชยรัศมที ปี่ ลายเครอ่ื งมือตัดเมด็ มดี อนิ เสริ ์ต

(ทมี่ า : ชาลี ตระการกูล. 2540 : 133)

สว่ นปลายเม็ดมดี อินเสิร์ต

จุดสมมตุ ิปลายเม็ดมีดอินเสริ ต์

รปู ที่ 8.21 แสดงจุดสมมตุ ปิ ลายเมด็ มดี อินเสริ ต์ และรัศมีปลายเม็ดมีด
(ทีม่ า : ชาลี ตระการกลู . 2540 : 133)

24

รปู ที่ 8.22 แสดงตาแหนง่ ทใี่ ชใ้ นการทางานของปลายเมด็ มีดอนิ เสิรต์
(ท่มี า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

รปู ที่ 8.23 แสดงตวั อยา่ งการป้อนขอ้ มูลทูลและตาแหน่งการทางานของปลายเม็ดมดี ทช่ี ุดควบคุม

(ท่ีมา : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

หมายเหตุ

1. การใช้งานคาสั่ง G41 และ G42 ระยะที่ทาการชดเชย ระหวา่ งเครื่องมือตดั กับผวิ ชิน้ งานจะ

เท่ากับ 2 เท่าของรัศมขี องปลาย เมด็ มีดอนิ เสิร์ต โดยค่าต่างๆ ของ ทลู จะตอ้ งปอ้ นเก็บไว้ใน ระบบควบคุม ของ

เคร่ืองจักรกลซีเอ็นซกี อ่ นทผี่ ูป้ ฏบิ ัติงานจะทาการป้อนโปรแกรมเอน็ ซี

2. กอ่ นทาการเปล่ียนทลู ทกุ ครง้ั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งใชค้ าสงั่ G41 หรอื G42 ก่อนเสมอ

3. งานกลึงเรียว และงานกลงึ รศั มีจะตอ้ งทาการชดเชยรัศมีทปี่ ลายเคร่อื งมือตดั เสมอ

4. ก่อนการกลงึ เกลียวต้องยกเลิกคาสั่ง G41และ G42 ด้วยคาสัง่ G40 ก่อนเสมอ

5. การเขียนโปรแกรมคาสั่งชดเชย G41 และG42 จะตอ้ งสัง่ กอ่ นถงึ จดุ ตัดเฉอื นแรกของการกลึง

25

ตัวอยา่ งท่ี 8.3 จงเขียนโปรแกรมงานกลงึ ชิ้นงานให้ได้ขนาด ตามแบบงานท่กี าหนด ชิ้นงานดิบผา่ นการหลอ่
ขึ้นรูปมาแล้วโดยเผอ่ื ขนาดในการเก็บละเอียด 0.5 มลิ ลิเมตร โดยกาหนดใหก้ ลงึ ปอกชนิ้ งานตามเสน้
ขอบงาน, กาหนดใหใ้ ชค้ วามเรว็ รอบของเพลา สปินเดลิ 1 ,000 รอบตอ่ นาที , หมุนในทิศทาง ตามเข็มนาฬกิ า ,
อตั ราปอ้ น 0.12 มลิ ลเิ มตร/รอบ, และใช้มีดกลงึ ฟอรม์ ปอกขวาหมายเลข1, กาหนดจุดตาแหนง่ เข้าใกล้ชนิ้ งาน
ท่ีแกน X60, Z2 ,ป้อมมดี อยูด่ า้ นหน้าเคร่อื งจักร

(ทมี่ า : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

ตารางที่ 8.5 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ เรยี วช้นิ งาน

บรรทัด จโี คด้ โคออร์ดเิ นต/คาส่ังเสริม ความหมาย/การทางาน
หัวโปรแกรม
- -% เขยี นสัญลักษณข์ อง ISO Program (%)
กาหนดหมายเลขโปรแกรมที่ 124
0126(Taper) กาหนดชือ่ โปรแกรมTaper
กาหนดการเขียนโปรแกรมแบบสัมบูรณ์
N10 G90G21G54 - กาหนดหนว่ ยการเคลอื่ นทเ่ี ป็นมลิ ลเิ มตร
กาหนดจดุ ศนู ย์ชนิ้ งานลาดบั ท่ี1

N20 G95 - กาหนดอัตราป้อนเป็นมิลลเิ มตร/รอบ

N30 G28 U0 W0 เคลอ่ื นทีท่ ูลไปยังจดุ อา้ งอิง

26

ตารางที่ 8.5 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลึงเรียวชน้ิ งาน(ต่อ)

บรรทัด จีโคด้ โคออรด์ ิเนต/คาสั่งเสรมิ ความหมาย/การทางาน

N40 - T0404 กาหนดใช้ทลู หมายเลข 4 และใชค้ ่า Offset

ของทลู หมายเลข 4

N50 S1000 M03 M08 หมนุ สปินเดลิ 1,000 รอบต่อนาที

ทิศทางตามเข็มนาฬกิ า

เปดิ น้าหลอ่ เยน็

N60 G00 X60 Z2 เคลอ่ื นทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงด้วยความเร็วสูงไปที่

ตาแหนง่ แนวแกนX60 และในแกน Z2

N70 G42 - ชดเชยรศั มีปลายเม็ดมดี ทางด้านขวาของเสน้
N80 G00 X20 Z2 ตดั เฉอื น
N90 G01 X20 Z0 F0.12 เคลอ่ื นทที่ ูลแนวเสน้ ตรงดว้ ยความเร็วสงู ไปที่
ตาแหน่งแนวแกน X20 และในแกน Z2
N100 G01 X20 Z-10 เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงตดั เฉอื นชิ้นงาน ไปท่ี
N110 G02 X30 Z-15 R5 ตาแหนง่ ในแนวแกนX20 และในแนวแกนZ0
ดว้ ยอตั ราป้อน 0.12 มิลลเิ มตร/รอบ
N120 G01 X50 Z-65 เคลือ่ นทที่ ลู แนวเส้นตรงตดั เฉือนช้ินงาน ไปท่ี
N130 G01 X60 Z-65 ตาแหน่งในแนวแกน X20 และแกน Z-10
N140 G00 X60 Z2 เคลื่อนทที่ ูลตัดเฉอื นช้ินงานเปน็ เสน้ โค้ง
N150 G28 U0 W0 ทิศทางตามเข็มนาฬิกา ไปท่ตี าแหน่งใน
แนวแกน X30 และแกน Z-15
ดว้ ยรศั มสี ่วนโคง้ 5 มิลลิเมตร
เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงตัดเฉอื นชนิ้ งาน ไปท่ี
ตาแหน่งในแนวแกน X50 และแกน Z-65
เคลือ่ นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงตัดเฉือนชนิ้ งาน ไปที่
ตาแหนง่ ในแนวแกน X60 และแกน Z-65
เคลือ่ นทที่ ลู แนวเสน้ ตรงดว้ ยความเรว็ สูงไปท่ี
ตาแหนง่ แนวแกน X60 และในแกน Z2
เคลอื่ นที่ทูลไปยังจดุ อา้ งอิง

27

ตารางที่ 8.5 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ เรียวชน้ิ งาน(ต่อ)

บรรทดั จโี ค้ด โคออรด์ เิ นต/คาสั่งเสรมิ ความหมาย/การทางาน

N160 G40 - ยกเลิกการชดเชยรัศมปี ลายเมด็ มดี

N170 M09 - ปดิ นา้ หล่อเย็น

N180 M05 - ปดิ เพลาสปนิ เดลิ

N190 M30 - จบโปรแกรมแล้วกลับไปจุดเรม่ิ ตน้ โปรแกรม

8.8 การเขยี นโปรแกรมงานกลงึ โคง้ (Curved Cutting)
การเขียนโปรแกรมงานกลึงที่มีการเคลือ่ นที่ของ ทูลในแนวเส้นโค้ง ซงึ่ จะมลี ักษณะงานทกี่ ลึงออกมา

จะมี 2 ลักษณะคือ งานกลงึ ผวิ โคง้ เวา้ C( oncave) และงานกลงึ ผวิ โค้งนนู C(onvex) โดยในการกลึงโค้งน้ีจะใช้คาสง่ั
ในการกลงึ ชิ้นงานอยู่ 2 คาส่งั คอื

G02 คือ การเคล่ือนทที่ ูลตดั เฉอื นช้นิ งานเป็นเสน้ โคง้ หรอื วงกลมทิศทางตามเข็มนาฬกิ า(ปอ้ มมีดด้านใน)
G03 คอื การเคล่ือนทท่ี ูลตัดเฉือนชิน้ งานเปน็เสน้ โคง้ หรอื วงกลมทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ า(ปอ้ มมดี ดา้ นใน)
โดยในการเลือกใช้งานให้พจิ ารณาจากทิศทางการเดินของทลู โดยมองตามหลงั การเคล่ือนท่ตี ัดเฉอื น
ช้นิ งานของเครอ่ื งมอื ตดั หรอื ทูล และตาแหน่งของปอ้ มมีดกลึงวา่ อยู่ด้านหน้าหรอื ด้านในเครอ่ื งจกั ร โดยมี
ทิศทางการมองจากด้านบนของเครือ่ งจกั ร สาหรับเคร่อื งกลึงชนดิ ป้อมมีดด้านหน้าจะมีความหมายของโค๊ดสลับ
กบั เคร่อื งกลงึ ชนิดปอ้ มมีดดา้ นในซงึ่ ส่วนใหญแ่ ลว้ เครือ่ งกลึงซเี อน็ ซีจะมปี อ้ มมีดอยดู่ า้ นในเครอ่ื งจักรการเลอื ก
ใช้งานพจิ ารณาไดด้ งั แสดงในรปู ท่ี 82.4

G02 G03 ป้อมมดี ด้านในเครอื่ งจกั ร

G02 G03 ปอ้ มมดี า้ นหนา้ เครอ่ื งจกั ร

รูปที่ 8.24 แสดงการเลอื กใช้คาสัง่ G02และG03 จากทิศทางการเดนิ ของทลู โดยมองตามหลงั การเคล่ือนท่ี
ตัดเฉอื นชน้ิ งานของทูลและตาแหน่งของปอ้ มมีดกลึง

(ที่มา : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

28

8. 8.1 การเขยี นคาส่งั การตดั เฉือนชิ้นงานแบบเสน้ โคง้
ในการเขยี นคาสั่งตดั เฉอื นชิน้ งานแบบเส้นโคง้ สามารถเขียนโครงสรา้ งของบลอ็ กคาส่งั ไดด้ ังนี้
1. G02 คอื การเคลื่อนที่ทลู ตดั เฉือนชน้ิ งานเป็นเสน้ โคง้ หรอื วงกลมในทศิ ทาง ตามเขม็ นาฬิกา

บลอ็ กคาสงั่ ของ G02 มีโครงสรา้ งซ่ึงประกอบไปดว้ ยเวริ ์ดตา่ งๆ ของแตล่ ะโคด้ คือ

N… G02 X… Z… R… หรอื I… K…

เมือ่ X...Z...คอื ตาแหน่งโคออร์ดิเนตเป้าหมายในแนวแกนX และแกนZ
R...คอื รศั มขี องสว่ นโคง้
I... คอื ระยะทางวัดแนวแกน X จากจุดเร่มิ ต้นสว่ นโคง้ ไปหาจดุ ศูนย์กลางส่วนโค้ง
K...คือ ระยะทางวัดแนวแกน Z จากจุดเริม่ ต้นสว่ นโค้งไปหาจดุ ศนู ย์กลางส่วนโคง้

2. G03 คือ การเคลอื่ นท่ี ทลู ตัดเฉือนช้ินงานเป็น เส้นโคง้ หรือวงกลมในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
บลอ็ กคาสั่งของ G03 มโี ครงสร้างซึง่ ประกอบไปดว้ ย Word ต่าง ๆ ของแต่ละโคด้ คือ

N… G03 X… Z… R… หรอื I… K…

เม่อื X...Z...คอื ตาแหนง่ โคออร์ดิเนตเป้าหมายในแนวแกนX และแกนZ
R...คือ รศั มีของส่วนโค้ง
I... คอื ระยะทางวดั แนวแกน X จากจุดเริ่มต้นส่วนโคง้ ไปหาจดุ ศูนยก์ ลางสว่ นโค้ง
K...คือ ระยะทางวดั แนวแกน Z จากจดุ เรม่ิ ต้นสว่ นโค้งไปหาจดุ ศูนยก์ ลางสว่ นโคง้

จากโครงสร้างการเขียนคาสง่ั เพอ่ื สัง่ ให้ทลู กลึงงานเปน็ เส้นโคง้ จะมกี ารกาหนดส่วนโคง้2ไดรูป้ แบบ คือ
รปู แบบที่ 1 โดยการกาหนดค่ารัศมี (R) ของส่วนโค้งที่ต้องการ
รปู แบบท่ี 2 โดยการกาหนด ค่าระยะทางทว่ี ดั ในสว่ นโคง้ จากจุดเร่มิ ตน้ ส่วนโคง้ ไปหาจุด

ศูนย์กลางของสว่ นโค้งในแนวแกน X (I) และแนวแกน Z (K) โดยมวี ธิ กี ารวดั ระยะของ I และ K จะใช้วธิ ีการวดั
ตาแหนง่ แบบต่อเนอื่ ง (Incremental) จากจุดเรม่ิ ตน้ ส่วนโค้งไปหาจดุ ศูนยก์ ลางของสว่ นโคง้ มีเครอ่ื งหมายและ
ทิศทางเช่นเดยี วกับแนวแกนX และแนวแกนZ ดังแสดงในรปู ที่ 82. 5

I+

K- K+

I-

รูปที่ 8.25 แสดงทศิ ทางและเคร่อื งหมายของคา่ I และ K
(ท่ีมา : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

29
ในการเลอื กการใช้งานรูปแบบใดจะต้องศึกษาจากคมู่ ือเครื่องจักรว่ากาหนดให้ใช้วิธีการกาหนดส่วนโคง้
รูปแบบใด บางเครอ่ื งจกั รคอนโทรลเลอรส์ ามารถกาหนดได้ทง้ั 2 รูปแบบ ตัวอย่างการกาหนดสว่ นโคง้ แบบ
กาหนดคา่ รัศมี ( R) ของส่วนโคง้ ดงั แสดงในรปู ที่ 8. 26 และการกาหนด ค่าระยะทางที่วดั ในสว่ นโคง้ ดงั แสดง
ในรปู ที่ 8.27

BA
กลงึ โคง้ จากจุด A-B

G02 X50 Z -55 R25

รปู ท่ี 8.26 แสดงตวั อย่างการกาหนดค่าของสว่ นโคง้ โดยการกาหนดคา่ รศั มีของส่วนโค้ง (R)
(ที่มา : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

จุดศนู ยก์ ลางส่วนโคง้ I+ จุดเริ่มตน้ ส่วนโคง้
B
K- A K+
I- กลึงโคง้ จากจดุ A-B

G02 X50 Z-55 I12.76 K-21.48

รปู ท่ี 8.27 แสดงตัวอยา่ งการกาหนดคา่ ของสว่ นโคง้ โดยการกาหนดคา่ ระยะทางในสว่ นโคง้ (I และ K)
(ที่มา : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

30
เส้นทางเดินของ ทลู เพ่ือกลึงงานเปน็ เส้นโคง้ หากตอ้ งขน้ึ รปู ชิ้นงานทไี่ มผ่ ่านการขน้ึ รปู เบ้อื งตน้
มาก่อนจาเป็นต้องมีการกลงึ ลดขนาดของ ช้นิ งานแบบแบง่ เปน็ ชนั้ ๆ ซ่งึ อาจใชว้ ิธลี ดขนาดแบบขน้ั บนั ไดหรือกลึง
เปน็ เส้นโค้งดว้ ยการบวกลบรัศมีสว่ นโค้ง กอ่ นการเดินทลู ตัดเฉอื นงานเป็นขั้นตอนสุดทา้ ย ด้ังนัน้ ก่อนการ
เริม่ ตน้ การกลงึ โคง้ ควรคานวณหาค่าขนาดของรัศมขี องงานกลึงโค้งโตสุดเสยี ก่อนเพ่อื ไม่ใหช้ น้ิ งานโคง้ สรา้ งความ
เสียหายขึน้ กับเครื่องมือตดั หรือเกดิ ความเสยี หายขึน้ กับตวั ชิน้ งานเอง อนั เนือ่ งมาจากการป้อนตัดเฉือนชิน้ งานลึกเกินไป
วธิ ีหาคา่ ขนาดของรัศมี (R) โตสดุ ในการกลึงชิน้ งานทาได้โดยวิธีการดงั แสดงตวั อย่างในรูปที่8.28

R2 = √202 + 202
R2 = √400 + 400
R = √800
R = 28.28

รปู ท่ี 8.28 แสดงตัวอย่างการคานวณหาขนาดรัศมีของชน้ิ งานกลงึ โตสุด
(ทมี่ า : สมบตั ิ ชวิ หา. 2557: 217)

จากตัวอยา่ งการ คานวณหารัศมีของชน้ิ งานกลึงโตสุดจากรปู ท่ี8.28 เม่ือไดข้ นาดรัศมโี ตสุดของชนิ้ งาน
กอ่ นทาการกลงึ ชิน้ งานให้นาคา่ รศั มีโตสดุ ของชนิ้ งานลบ-)( ดว้ ยคา่ ระยะปอ้ นลึก (Depth of Cut) ของเคร่ืองมอื ตัด
ทีใ่ ชใ้ นการกลงึ ชิน้ งานกจ็ ะได้ขนาดของรศั มขี องวงกลม ทจ่ี ะทาการกลงึ ครง้ั แรก ในการกลงึ งาน ถา้ กาหนดให้
เครื่องมือตดั มีระยะป้อนลึก งานครัง้ ละ 2 มิลลเิ มตร จะไดร้ ศั มงี านกลึงโคง้ คร้งั แรกเทา่ กับ ( 28.28-2) เท่ากับ
26.28 มลิ ลิเมตร ดังแสดงในรปู ท่ี 8.29

รูปที่ 8.29 แสดงแนวการเดินของเคร่อื งมือตัดในการกลึงโค้งรศั มขี องชิ้นงานกลงึ โตสดุ
(ท่มี า : สมบัติ ชวิ หา. 2557: 218)

31

ตวั อยา่ งที่ 8.4 จงเขียนโปรแกรมงานกลึง ชิน้ งานใหไ้ ดข้ นาด ตามแบบงานทก่ี าหนด ชิ้นงานดบิ ผา่ นการหล่อ
ขึ้นรูปมาแลว้ โดยเผอ่ื ขนาดในการเกบ็ ละเอียด 0.5 มลิ ลเิ มตร , กาหนด ใหใ้ ชค้ วามเรว็ รอบของเพลา สปนิ เดลิ
1,000 รอบต่อนาที , หมุนในทศิ ทางตามเข็มนาฬกิ า, อตั ราปอ้ น 0.12 มิลลิเมตร/รอบ, ใช้มีดกลงึ ฟอรม์ ปอกขวา
หมายเลข 3, กาหนดจุดตาแหนง่ เขา้ ใกลช้ ้นิ งานทีแ่ กน X70, Z2, ปอ้ มมีดอยดู่ ้านหนา้ เครอ่ื งจักร

(ทมี่ า : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

ตารางท่ี 8.6 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ โคง้ ชิ้นงาน

บรรทัด จโี คด้ โคออร์ดิเนต/คาสั่งเสริม ความหมาย/การทางาน
หวั โปรแกรม
- -% เขยี นสญั ลักษณ์ของ ISO Program (%)
กาหนดหมายเลขโปรแกรมท่ี 125
0125(Curve) กาหนดชื่อโปรแกรมCurve
กาหนดการเขยี นโปรแกรมแบบสมั บรู ณ์
N10 G90G21G54 - กาหนดหน่วยการเคลือ่ นท่เี ปน็ มลิ ลิเมตร
กาหนดจุดศูนย์ช้ินงานลาดบั ที่1

N20 G95 - กาหนดอตั ราปอ้ นเปน็ มลิ ลเิ มตร/รอบ

N30 G28 U0 W0 เคลื่อนท่ีทลู ไปยงั จุดอ้างอิง

32

ตารางที่ 8.6 แสดงการเขยี นโปรแกรมงานกลงึ โคง้ ช้นิ งาน(ตอ่ )

บรรทดั จีโค้ด โคออร์ดิเนต/คาส่งั เสริม ความหมาย/การทางาน

N40 - T0303 กาหนดใชท้ ลู หมายเลข 3 และใช้คา่ Offset

ของทลู หมายเลข 3

N50 S1000 M03 M08 หมนุ สปนิ เดลิ 1,000 รอบตอ่ นาที

ทิศทางตามเข็มนาฬิกา

เปดิ นา้ หลอ่ เย็น

N60 G00 X70 Z2 เคลื่อนทที่ ูลแนวเส้นตรงด้วยความเรว็ สูงไปท่ี
N70 G42 - ตาแหนง่ แนวแกน X70 และในแกน Z2
N80 G00 X0 Z2 ชดเชยรศั มีปลายเมด็ มดี ทางด้านขวาของเส้น
N90 G01 X0 Z0 F0.12 ตดั เฉอื น
N100 G03 X50 Z-25 R25 เคลื่อนทที่ ูลแนวเส้นตรงดว้ ยความเรว็ สงู ไปที่
ตาแหน่งแนวแกน X0 และในแกน Z2
N110 G01 X50 Z-34 เคล่ือนทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงตัดเฉอื นชน้ิ งาน ไปท่ี
N120 G02 X50 Z-77 R25 ตาแหนง่ ในแนวแกน X0 และในแนวแกน Z0
ด้วยอัตราปอ้ น 0.12 มิลลเิ มตร/รอบ
N130 G01 X50 Z-82 เคลือ่ นทท่ี ลู ตัดเฉอื นช้นิ งานเป็นเส้นโค้ง
ทศิ ทางทวนเข็มนาฬกิ า ไปที่ตาแหนง่
ในแนวแกน X50 และในแนวแกน Z-24
ด้วยรศั มสี ่วนโคง้ 25 มลิ ลิเมตร
เคลอื่ นทที่ ลู แนวเสน้ ตรงตัดเฉือนชน้ิ งาน ไปที่
ตาแหนง่ ในแนวแกน X50 และในแนวแกน
Z-34
เคลือ่ นทที่ ลู ตดั เฉอื นชน้ิ งานเปน็ เส้นโค้ง
ทิศทางตามเขม็ นาฬิกา ไปที่ตาแหน่งใน
แนวแกน X50 และในแนวแกน Z-77
ด้วยรัศมีสว่ นโคง้ 25 มลิ ลิเมตร
เคล่อื นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงตัดเฉือนชนิ้ งาน ไปที่
ตาแหน่งในแนวแกนX50และแนวแกน Z-82

33

ตารางที่ 8.6 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ โค้งชิ้นงาน(ต่อ)

บรรทัด จีโคด้ โคออร์ดิเนต/คาสง่ั เสรมิ ความหมาย/การทางาน

N140 G01 X60 Z-82 เคลอ่ื นทที่ ูลแนวเสน้ ตรงตัดเฉอื นช้ินงาน ไปที่

ตาแหนง่ ในแนวแกนX60 และแนวแกน Z-82

N150 G01 X70 Z-82 เคล่ือนทที่ ลู แนวเส้นตรงตัดเฉอื นชิ้นงานไปที่

ตาแหนง่ แนวแกน X70 และในแกน Z-82

N160 G00 X70 Z2 เคล่อื นทที่ ลู แนวเสน้ ตรงดว้ ยความเร็วสงู ไปท่ี

ตาแหน่งแนวแกน X70 และในแกน Z2

N170 G28 U0 W0 เคลอ่ื นทท่ี ลู ไปยงั จดุ อ้างองิ

N180 G40 - ยกเลิกการชดเชยรศั มีปลายเม็ดมดี

N190 M09 - ปิดนา้ หล่อเย็น

N200 M05 - ปิดเพลาสปินเดิล

N210 M30 - จบโปรแกรมแล้วกลับไปจุดเรมิ่ ต้นโปรแกรม

8.9 คาสั่งวัฏจักร (Canned Cycle) และคาส่งั สาเร็จรปู สาหรับการเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอน็ ซี
ในการเขยี นโปรแกรมงานกลงึ ดว้ ยคาสง่ั วฏัจกั ร คอื การเขยี นโปรแกรมการทางานขนั้ ตอนเดิมๆซา้ ไปซา้ มา

จนไดข้ นาดตามแบบที่ต้องการโดยการรวมขั้นตอกนารทางานไว้ในคาสง่ั เพยี งบล็อกเดยี ว บรรทัดของโปรแกรมเอ็นซี
ก็จะสน้ั ลง ทาให้ไมเ่ สียเวลาในการเขียนโปรแกรมในการใช้คาสง่ั ผเู้ ขยี นโปรแกรมจะต้องศึกษาคาสง่ั ทีจ่ ะใชง้ านจาก
ชุดควบคุมของเครอ่ื งจักรกลก่อนการเขยี นโปรแกรมเนื่องจากมหี ลากหลายคาสัง่ ใหผ้ ้เู ขียนโปรแกรมเลอื กใช้งาน
ตามลักษณะของงาน ในทน่ี ีจ้ ะยกตวั อย่างการเขียนโปรแกรมงานกลงึ ทใ่ี ช้กนั บ่อยๆไดแ้ กว่ ัฏจกั รงานกลงึ ปาดหน้า
วฏั จกั รงานกลึงปอกหยาบ และวฏั จกั รการกลงึ ปอกละเอียด โดยยกตัวอย่างชดุ ควบคมุ ของ Fanuc

8.9.1 คาสงั่ วัฏจกั รสาหรับงานกลึงปาดหน้าหยาบ (G72)
เปน็ วฏั จักรการกลงึ ปาดหนา้ หยาบผวิ งานโดยมรี ปู แบบการเดินทูลดงั แสดงในรูปท่ี 8.30
บลอ็ กคาสง่ั วฏั จกั รสาหรับงานกลึงปาดหนา้ หยาบมีโครงสร้างซ่ึงประกอบไปดว้ ยเวิรด์ ตา่ งๆ ของแตล่ ะ

โคด้ คือ

N... G72 W1... R...;
N... G72 P... Q... U... W2...;

เม่อื
W1 = ระยะความลกึ ในการกลึงงานแตล่ ะรอบ
R = ระยะยกกลับของมดี กลึงในแต่ละรอบ
P = หมายเลขบรรทัดเรมิ่ ต้นท่ีจะใหก้ ารทางานเปน็ แบบวฏั จกั ร

34

Q = หมายเลขบรรทัดสุดท้ายทีจ่ ะให้ทางานเปน็ แบบวัฏจกั ร
U = ขนาดความเผ่อื สาหรบั กลงึ ละเอียดในแนวแกน X
W2 = ขนาดความเผ่ือสาหรบั กลงึ ละเอียดในแนวแกน Z

P Q

N...
N...

G00
G01

รูปท่ี 8.30 แสดงเสน้ ทางการเดินทลู เม่ือใช้คาสัง่ วฏั จักรการกลงึ ปาดหนา้ (G72)
(ทมี่ า : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

ตวั อย่างท่ี 8.5 จงเขียนโปรแกรมกลงึ ปาดหน้าชิน้ งาน โดยใชค้ าส่ังวฏั จกั รการกลึงปาดหนา้ หยาบ โดยกาหนดให้
กลึงปาดหนา้ ลึกครั้งละ 2 มลิ ลเิ มตร , เผอ่ื ขนาดในการเก็บละเอยี ดในแนวแกน X เท่ากบั 0.5 มลิ ลิเมตรและ
ในแนวแกน Z เทา่ กับ0.2 มิลลิเมตร , ระยะยกกลบั ของมดี เทา่ กับ 2 มลิ ลเิ มตร , กาหนดให้ ใช้ความเรว็ รอบ
ของเพลา สปนิ เดลิ 1 ,000 รอบตอ่ นาที หมนุ ในทศิ ทาง ตามเขม็ นาฬกิ า , อัตราป้อน 0.1 มลิ ลิเมตร ตอ่ รอบ,
ให้ใช้ทูลหมายเลข2, กาหนดจดุ ตาแหน่งเข้าใกลช้ ิ้นงานทีแ่ กนX70, Z2, ป้อมมดี อยู่ดา้ นหน้าเคร่อื งจักร

(ท่ีมา : ฉตั รชัย สมพงศ์. 2559)

35

ตารางท่ี 8.7 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลงึ ปาดหน้าหยาบชนิ้ งานด้วยคาสัง่ วฏั จักร (G72)

บรรทดั จีโค้ด โคออรด์ ิเนต/คาสงั่ เสรมิ ความหมาย/การทางาน
หัวโปรแกรม
- -% เขยี นสัญลักษณข์ อง ISO Program (%)
กาหนดหมายเลขโปรแกรมท่ี 126
0126(FACE PIN) กาหนดชื่อโปรแกรม FACE PIN
กาหนดการเขียนโปรแกรมแบบสัมบูรณ์
N10 G90G21G54 - กาหนดหน่วยการเคลอ่ื นทเี่ ป็นมลิ ลิเมตร
กาหนดจุดศูนย์ชน้ิ งานลาดบั ที่ 1
N20 G95 - กาหนดอัตราปอ้ นเป็นมลิ ลิเมตร/รอบ
N30 G28 U0 W0 เคลื่อนที่ทูลไปยังจุดอ้างอิง
N40 - T0202 M06 เปล่ียนใชท้ ลู หมายเลข 2 และใชค้ ่า Offset
ของทลู หมายเลข 2
N50 - S1000 M03 M08 กาหนดความเรว็ รอบของเพลาสปินเดลิ
เท่ากับ 1,000 รอบตอ่ นาที
หมุนสปนิ เดิลทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ า
เปิดน้าหลอ่ เย็น

N60 G00 X70 Z2 เคลอื่ นทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงด้วยความเร็วสงู ไปที่
N70 G42 - ตาแหนง่ แนวแกน X70 และในแกน Z2
N80 G72 W2 R2 ชดเชยรศั มปี ลายเม็ดมดี ทางดา้ นขวาของเสน้
ตัดเฉือน
ใช้คาสงั่ วฏั จกั รกลึงปาดหน้า กาหนด กลงึ ลึก
ครัง้ ละ 2 มิลลิเมตร ระยะยกมีดกลับเทา่ กบั
2 มิลลิเมตร

N90 G72 P100 Q130 U0.5 W0.2 ใช้คาสั่งวฏั จักรกลงึ ปาดหนา้ กาหนดบรรทัด
เริ่มวัฏจักรท่ี N100 สน้ิ สุดวฏั จกั รที่ N130
เผอ่ื เกบ็ ละเอียดในแนวแกนX เท่ากับ0.5 มม.
เผื่อเก็บละเอียดในแนวแกนZ เทา่ กบั 0.2 มม.

36

ตารางท่ี 8.7 แสดงการเขียนโปรแกรมงานกลึงปาดหนา้ หยาบชิ้นงานดว้ ยคาสั่งวัฏจกั ร (G72)

บรรทัด จีโคด้ โคออร์ดเิ นต/คาสง่ั เสริม ความหมาย/การทางาน

N100 G00 X70 Z-45 เคลือ่ นทท่ี ลู แนวเส้นตรงดว้ ยความเรว็ สงู ไปที่

ตาแหน่งแนวแกนX70 และในแกน Z-45

N110 G01 X40 Z-45 F0.2 เคลอ่ื นทท่ี ูลแนวเส้นตรงตัดเฉอื นชิ้นงาน ไปที่

ตาแหน่งในแนวแกนX40และแนวแกนZ-45

ด้วยอตั ราป้อน 0.2 มิลลิเมตร/รอบ

N120 G01 X20 Z-25 เคลอ่ื นทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงตดั เฉือนช้ินงาน ไปท่ี

ตาแหน่งในแนวแกนX20และแนวแกนZ-25

N130 G01 X20 Z2 เคลอ่ื นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงตัดเฉอื นชิ้นงาน ไปท่ี

ตาแหน่งในแนวแกนX20และในแนวแกน

Z2

N140 G28 U0 W0 เคลื่อนที่ทูลไปยงั จุดอ้างอิง

N150 G40 - ยกเลิกการชดเชยรัศมปี ลายเมด็ มีด

N160 M09 - ปดิ นา้ หลอ่ เยน็

N170 M05 - ปดิ เพลาสปนิ เดลิ

N180 M30 - จบโปรแกรมแลว้ กลบั ไปจดุ เรม่ิ ตน้ โปรแกรม

8.9.2 คาสัง่ วฏั จกั รสาหรบั งานกลงึ ปอกหยาบ (G71)
เป็นวฏั จักรการกลึงปอกผิวงานหยาบโดยมกี ารเผือ่ ขนาดไวส้ าหรับการกลงึ ละเอียดโดยมีรูปแบบ

การเดินทูลดังแสดงในรปู ที่ 8.31
บลอ็ กคาส่ังวฏั จกั รสาหรบั งานกลงึ ปอกหยาบ มโี ครงสรา้ งซง่ึ ประกอบไปดว้ ยเวิร์ด ตา่ งๆ ของแตล่ ะ

โค้ด คือ

N... G71 U1... R...;
N... G71 P... Q... U2... W...;

เม่ือ
U1 = ระยะความลึกในการกลงึ งานแตล่ ะรอบ
R = ระยะยกกลับของมีดกลงึ ในแต่ละรอบ

37

P = หมายเลขบรรทดั เรม่ิ ตน้ ทีจ่ ะใหก้ ารทางานเปน็ แบบวฏั จกั ร
Q = หมายเลขบรรทดั สุดทา้ ยทจี่ ะใหท้ างานเปน็ แบบวัฏจักร
U2 = ขนาดความเผ่อื สาหรับกลึงละเอยี ดในแนวแกน X
W = ขนาดความเผอ่ื สาหรบั กลงึ ละเอยี ดในแนวแกน Z

Q P
N...
N... G00
G01

รูปที่ 8.31 แสดงเสน้ ทางการเดินทลู เมือ่ ใช้คาสงั่ วฏั จักรการกลงึ ปอกหยาบ(G71)
(ท่มี า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

8.9.3 คาสงั่ วัฏจักรสาหรบั งานกลงึ ปอกละเอยี ด(G70)
คาส่ังวัฏจกั รสาหรบั งานกลึงปอกละเอียดเป็นคาส่ังทใี่ ช้หลงั จากการกลึงปอกหยาบมาแล้วโดยเป็น

การกลึงชิ้นงานให้ไดข้ นาดและผิวงานตามแบบทีก่ าหนดโดยมีรูปแบบการเดินทลู ดงั แสดงในรูปที่ 8.32
บล็อกคาสั่งวฏั จักรสาหรบั งานกลงึ ปอกละเอียด มีโครงสรา้ งซง่ึ ประกอบไปดว้ ยเวิร์ด ตา่ งๆ ของแต่

ละโคด้ คือ

N... G70 P... Q...;

เม่ือ
P = หมายเลขบรรทัดเร่ิมตน้ ทจ่ี ะใหก้ ารทางานเป็นแบบวฏั จักร
Q = หมายเลขบรรทดั สดุ ท้ายทีจ่ ะให้ทางานเปน็ แบบวฏั จักร

38

Q P

N... G00
N... G01

รปู ท่ี 8.32 แสดงเส้นทางการเดนิ ทลู เมอื่ ใชค้ าสงั่ วัฏจักรการกลึงปอกละเอียด(G70)
(ท่ีมา : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

ตวั อยา่ งที่ 8.6 จงเขียนโปรแกรมกลงึ งาน ให้ไดข้ นาด ตามแบบท่กี าหนดโดยใช้คาส่งั วฏั จักรการกลงึ ปอกหยาบ
และกลงึ ปอกละเอยี ด โดยใหก้ ลงึ ปอกหยาบลกึ ครงั้ ละ 2 มิลลเิ มตร,เผื่อขนาดสาหรับการเก็บละเอยี ดในแนวแกน
X เทา่ กับ 0.5 มิลลิเมตร และแนวแกนZ เท่ากับ 0.2 มิลลิเมตร,ระยะยกกลบั ของมดี เทา่ กับ 2 มิลลิเมตรกาหนใดหใ้ ช้
ความเรว็ รอบของเพลาสปนิ เดลิ 1,000 รอบตอ่ นาที สาหรบั กลงึ ปอกหยาบ และ 1,500 รอบต่อนาที สาหรับกลึง
ปอกละเอยี ด หมุนสปินเดลิ ในทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า, อตั ราปอ้ น 0.2 มลิ ลเิ มตรตอ่ รอบ สาหรับกลึงปอกหยาบ,
อัตราป้อน 0.12 มลิ ลิเมตร/รอบสาหรบั กลงึ ปอกละเอียด,ใชท้ ูลหมายเลข3 สาหรบั ปอกหยาบและทลู หมายเลข 4
สาหรบั กลึงปอกละเอยี ด, กาหนดจดุ ตาแหน่งเขา้ ใกลช้ ิ้นงานทีแ่ กน X70, Z2,ปอ้ มมดี อยู่ดา้ นหน้าเครอ่ื งจักร

(ท่มี า : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

39

ตารางท่ี 8.8 แสดงการเขยี นโปรแกรมคาสั่งวัฏจกั รกลึงปอกหยาบ (G71) และกลึงปอกละเอียด (G70)

บรรทัด จีโค้ด โคออร์ดิเนต/คาสั่งเสริม ความหมาย/การทางาน

- -% หวั โปรแกรม

0125(PIN60) เขียนสญั ลักษณข์ อง ISO Program (%)

กาหนดหมายเลขโปรแกรมที่ 125

กาหนดช่ือโปรแกรม PIN60

N10 G90G21G54 - กาหนดการเขยี นโปรแกรมแบบสมั บูรณ์
กาหนดหนว่ ยการเคลือ่ นท่ีเป็นมิลลิเมตร
กาหนดจุดศนู ย์ชน้ิ งานลาดบั ที่1

N20 G95 - กาหนดอตั ราปอ้ นเปน็ มิลลเิ มตร/รอบ

N30 G28 U0 W0 เคล่ือนทที่ ลู ไปยังจดุ อ้างอิง

N40 - T0303 M06 เปลี่ยนใช้ทูลหมายเลข 3 และใชค้ า่ Offset
ของทลู หมายเลข 3

N50 - S1000 M03 M08 หมุนสปินเดิล 1,000 รอบตอ่ นาที

ทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า

เปิดนา้ หลอ่ เย็น

N60 G00 X70 Z2 เคลื่อนทท่ี ูลแนวเสน้ ตรงด้วยความเรว็ สูงไปท่ี

ตาแหน่งแนวแกนX70 และในแกน Z2

N70 G42 - ชดเชยรศั มีปลายเมด็ มดี ทางดา้ นขวาของเส้น

ตดั เฉือน

N80 G71 U2 R2 ใชค้ าสง่ั วฏั จกั รกลึงปอกหยาบ กาหนดกลึง

ปอกลกึ ครง้ั ละ 2 มลิ ลิเมตร ระยะยกมดี กลบั

2 มิลลเิ มตร

N90 G71 P100 Q130 U0.5 W0.2 ใช้คาส่ังวฏั จักรกลงึ ปอกหยาบ กาหนดบรรทดั

เรม่ิ วัฏจกั รท่ี N100 สิ้นสุดวฏั จกั รท่ี N130

เผอื่ เกบ็ ละเอยี ดในแนวแกนX เทา่ กบั 0.5 มม.

เผื่อเก็บละเอียดในแนวแกนZ เทา่ กบั 0.2 มม.

40

ตารางที่ 8.8 แสดงการเขียนโปรแกรมคาส่งั วัฏจกั รกลงึ ปอกหยาบ (G71) และกลึงปอกละเอียด (G70)

บรรทดั จโี ค้ด โคออรด์ ิเนต/คาสง่ั เสรมิ ความหมาย/การทางาน

N100 G00 X20 Z2 เคลือ่ นทท่ี ลู แนวเสน้ ตรงดว้ ยความเรว็ สูงไปที่

ตาแหนง่ แนวแกนX20 และในแกน Z2

N110 G01 X20 Z-25 F0.2 เคลื่อนทท่ี ลู แนวเส้นตรงตัดเฉอื นช้ินงาน ไปท่ี
ตาแหน่งในแนวแกนX20และแนวแกนZ-25
ด้วยอัตราป้อน 0.2 มิลลิเมตร/รอบ

N120 G01 X40 Z-45 เคล่อื นทท่ี ูลแนวเส้นตรงตัดเฉือนชิ้นงานไปท่ี
ตาแหนง่ ในแนวแกน X40และแนวแกนZ-45

N130 G01 X70 Z-45 เคลอ่ื นทที่ ลู แนวเสน้ ตรงตดั เฉอื นช้นิ งานไปที่
ตาแหนง่ ในแนวแกน X70และแนวแกน Z-45
N140 G28 U0 W0 เคลอ่ื นที่ทลู ไปยังจุดอ้างองิ
N150 - M05 ปิดเพลาสปินเดลิ
N160 - T0404 M06 เปล่ยี นใช้ทลู หมายเลข 4 และใช้คา่ Offset
ของทูลหมายเลข 4
N170 - S1500 M03 M08 หมนุ สปินเดลิ 1,500 รอบต่อนาที
ทศิ ทางทวนเขม็ นาฬิกา
N180 G00 X70 Z2 เปิดน้าหล่อเย็น
เคลอ่ื นทที่ ลู แนวเส้นตรงดว้ ยความเร็วสูงไปที่
N190 G70 P100 Q130 ตาแหน่งแนวแกน X70 และในแกน Z2
ใชค้ าส่งั วฏั จักรกลึงปอกละเอียด
N200 G28 U0 W0 เรมิ่ วฏั จกั รที่ N100 ส้ินสดุ วัฏจักรที่ N130
N210 G40 - เคลอื่ นท่ีทลู ไปยังจุดอา้ งองิ
N220 M09 - ยกเลิกการชดเชยรัศมีปลายเม็ดมีด
N230 M05 - ปดิ นา้ หล่อเยน็
N240 M30 - ปดิ เพลาสปินเดลิ
จบโปรแกรมแลว้ กลับไปจุดเริ่มต้นโปรแกรม

41
สาหรับคอนโทรลเลอร์ Mach 3 ทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอนไม่รองรบั คาส่ังวฏั จักรการกลงึ ปอกแต่
สามารถใชค้ าสัง่ สาเรจ็ รูปในการกลึงงานได้หลายรปู แบบดงั แสดงในรูปที่ 8.33 ซงึ่ ผเู้ ขียนโปรแกรมสามารถ
เลือกใชง้ านตามลกั ษณะงานทีต่ ้องการ

รปู ท่ี 8.33 แสดงคาสัง่ สาเร็จรปู ในการกลึงแบบตา่ งๆของชุดควบคุม Mach3 Turn
(ที่มา : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

ตวั อย่างท่ี 8.9 จงเขยี นโปรแกรมกลึงปอกชิน้ งานด้วยคาสัง่ สาเรจ็ รปู ใหไ้ ด้ขนาดตามแบบทก่ี าหนด โดยกาหนดให้
กลงึ หยาบลึกครงั้ ละ 2 มิลลิเมตร เผ่ือขนาดเกบ็ ละเอยี ด 1 มิลลเิ มตร อตั ราปอ้ นกลงึ หยาบ 0.2 มลิ ลเิ มตรตอ่ รอบ
อตั ราป้อนกลงึ เกบ็ ละเอยี ด 0.1 มิลลิเมตรตอ่ รอบ

(ทม่ี า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

จากแบบงานตวั อย่างที่ 8.9 ในการทาโปรแกรมงานกลึงปอกในคอนโทรลเลอร์ 42
โปรแกรมจะต้องปอ้ นข้อมลู ท่จี าเปน็ ในการสรา้ งโปรแกรมมขี นั้ ตอนดังตอ่ ไปนี้ Mach3 Turn ผูท้ า

1. เลือกลักษณะงานกลึงปอก ดงั แสดงในรปู ท่ี 8.34

รปู ท่ี 8.34 แสดงคาส่ังสาเร็จรปู ในการกลงึ ปอกช้นิ งานของชดุ ควบคมุ Mach3 Turn
(ทมี่ า : ฉัตรชยั สมพงศ์. 2559)

2. กาหนดคา่ ตา่ งๆลงในตารางขอ้ มลู การสร้างโปรแกรม ดงั แสดงในรูปท่ี 8.35

รปู ท่ี 8.35 แสดงการกาหนดคา่ ต่างๆในการกลงึ ปอกลงในตารางข้อมลู การสรา้ งโปรแกรม

(ที่มา : ฉตั รชยั สมพงศ์. 2559)

2.1 กาหนดค่า Fill Radius (กรณีมีรศั ม)ี เนอื่ งจากงานเปน็ บา่ ฉากกาหนดคา่ เท่ากบั 0

2.2 กาหนดขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางเลก็ สดุ ของชน้ิ งาน ( X End) เท่ากบั 20 มิลลิเมตร

2.3 กาหนดขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางโตสุดของชนิ้ งาน (X Start) เทา่ กบั 40 มิลลเิ มตร

2.4 กาหนดระยะความยาวในการกลงึ ในแนวแกน Z (Z End) เทา่ กับ -45 มิลลเิ มตร

2.5 กาหนดระยะจดุ เรมิ่ ต้นการกลึงในแนวแกน Z (Z Start) เทา่ กับ 2 มิลลิเมตร

2.6 กาหนดเผ่อื หน้าผิวงาน (Clearance) ใหม้ ากกว่าค่าความลึกในการกลงึ หยาบ ในที่นี้กาหนดคา่

เท่ากบั 3 มลิ ลิเมตร

2.7 กาหนดคา่ อัตราปอ้ นหยาบ (Roughing Feed rate) เท่ากบั 0.2 มิลลเิ มตรต่อรอบ

43

2.8 กาหนดค่าความลึกในการกลงึ หยาบ (Roughing Cut Depth) เทา่ กับ 2 มิลลิเมตร

2.9 กาหนดค่าอัตราปอ้ นละเอียด (Finish Feed rate) เทา่ กบั 0.1 มิลลิเมตรตอ่ รอบ

2.10 เผอ่ื เกบ็ ละเอียด (Finish Pass Cut) เทา่ กบั 1 มลิ ลเิ มตร

3. กดปมุ่ Post Code ท่ีจอภาพจะแสดงภาพชนิ้ งานและเส้นทางการเดนิ ทลู และโปรแกรมเอน็ ซใี นสว่ น

แสดงภาพจาลอง

8.10 การตรวจสอบและแกไ้ ขโปรแกรมเอน็ ซีกบั เครื่องกลงึ ซีเอ็นซี
สาหรบั การตรวจสอบ และการแกไ้ ขความถกู ต้องของงานกลงึ ซีเอน็ ซนี ัน้ สามารถตรวจสอบได้ 2 ลักษณะ
เช่นเดยี วกบั งานกดั ซีเอน็ ซีคอื

8.10.1 การตรวจสอบและการแก้ไขความถกู ตอ้ ง ของโปรแกรม ด้วยโปรแกรมจาลองภาพการตัดเฉือน
(Simulation) ของคอนโทรลเลอรท์ เ่ีครือ่ งกลงึ ซีเอ็นซี

โดยทั่วไปผ้ปู ฏิบัติงานกบั เคร่อื งกลึงซเี อ็นซนี ้นั จะทาการเขยี นโปรแกรมเอน็ ซีกอ่ ดนังน้ันสามารถทจี่ ะ
ทาการแก้ไข และตรวจสอบความถกู ตอ้ งของโปรแกรมเอน็ ซี ท่หี นา้ จอภาพ (Monitor) ในสว่ นแสดงภาพจาลอง
การเคลอื่ นทีข่ อง เครอ่ื งมอื ตัด ตามแนวแกน X และแนวแกน Z ว่าเคลอื่ นที่ไปยงั ตาแหนง่ ทรี่ ะบุไว้ในแบบงาน
ถกู ต้องหรอื ไม่ ถ้ามีการเคลือ่ นท่ีของเคร่อื งมอื ตัดไม่ถูกต้อง ก็สามารถแก้ไข และตรวจสอบความถูกต้องของ
ตวั โปรแกรมเอ็นซกี บั ตัวโปรแกรมของเครอื่ งกลงึ ซีเอน็ ซีได้โดยตรง ดงั แสดงในรปู ท่ี 8.36

รปู ที่ 8.36 แสดงภาพจาลองเสน้ ทางการเดนิ ทูลของชุดควบคุม Mach3 Turn
(ท่ีมา : ฉัตรชัย สมพงศ์. 2559)

ใน การผลติ ช้ินสว่ นกบั เคร่ืองกลึงซเี อน็ ซจี ะยึด กบั ตัวโปรแกรม เอ็นซี เพียงอยา่ ง เดยี วไมไ่ ด้ ยังมี
องค์ประกอบอีกหลายอยา่ งที่ตอ้ งตรวจสอบเชน่ ความเที่ยงตรงในการเคล่ือนท่ีตามแนวแกน X และแนวแกน Z
ของเครอ่ื งกลึงซีเอน็ ซี ว่ามีค่าถกู ตอ้ งและแมน่ ยามากนอ้ ยเพยี งใด

8.10.2 การตรวจสอบความถกู ต้องของช้นิ งาดนว้ ยการทดลองกลึงช้ินงานจากเครื่องกลงึ ซเี อน็ ซี

44
หลงั จากทท่ี าการเขยี นโปรแกรมเอ็นซีของงานกลึงซเี อน็ ซี และทาการกลงึ ขึ้นรปู ช้ินงานแล้วนาช้นิ งาน
มาตรวจสอบความถกู ตอ้ งโดยมีแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านกบั เคร่ืองกลงึ ซีเอน็ ซดี งั น้ี

1. ทาการศกึ ษาแบบชิน้ งานทจ่ี ะทาการกลงึ กับเครื่องกลึงซีเอ็นซี เพราะผทู้ ีป่ ฏบิ ัติงกาับนเครอ่ื งกลึง
ซเี อน็ ซจี ะไดท้ าการวางแผนในการเลอื กเครอื่ งมอื ตดั และกาหนดคา่ ของเครอื่ งมอื ตดั ให้เหมาะสมกบั ชิ้นงานนน้ั ๆ
จะทาให้ชิ้นงานทผี่ ลติ ออกมามคี ณุ ภาพผวิ ทด่ี ี

2. ผู้ปฏบิ ตั งิ านกบั เครื่องกลงึ ซีเอ็นซี จะตอ้ งทาการปรับตงั้ คา่ (Set up) เครอื่ งมือตดั ทจี่ ะใช้งาน
ใหถ้ ูกตอ้ ง เพราะในข้ันตอนการปรบั ตงั้ คา่ เครื่องมอื ตดั นั้นถอื วา่ สาคญั มาก เนอื่ งจากเครื่องมอื ตัดท่ที าการตดิ ต้ังน้นั
จะตอ้ งสมั พันธก์ บั แบบชน้ิ งานท่ีไดก้ าหนดจุดศูนย์ของชิ้นงานW(ork Piece Zero Point) ไว้ โดยผู้ออกแบบโปรแกรม
เอ็นซี โดยทวั่ ไปเคร่อื งมอื ตดั ของเคร่ืองกลงึ ซเี อน็ ซีจะตดิ ตั้งอยกู่ บั ปอ้ มมดี(Tools Turret) ดงั แสดงในรูปที่ 8.37

รปู ท่ี 8.37 แสดงเครอ่ื งมอื ตดั ทถี่ กู ติดตัง้ ไว้กบั ชุดปอ้ มมีด (Tools Turret) ของเครือ่ งกลึงซีเอ็นซี
(ท่ีมา : http://www.goodwaycnc.com)

เมือ่ ติดตง้ั เครื่องมือตดั เรยี บร้อยแล้ว ในขน้ั ตอน ตอ่ ไปกท็ าการปรบั ต้งั คา่ เครอื่ งมอื ตดั ของแต่ละอัน
ซงึ่ ในการปรบั ตงั้ ค่าเครื่องมอื ตัดนน้ั มีหลากหลายวิธแี ลว้ แตค่ วามถนัดของผู้ปฏิบัติงานของแตล่ ะคน ซงึ่ ในขนั้ ตอนของ
การปรับต้งั คา่ เครอ่ื งมอื ตดั นน้ั เพือ่ นาค่าความยาวของเครอื่ งมือตัดแต่ละอันมาจดั เก็บไวใ้ ตนารางทูลของเครือ่ งกลึง
ซเี อน็ ซี และในการกลึงช้นิ งานออกมาจะได้ขนาหดรือไมน่ นั้ กจ็ ะเก่ยี วข้องกับขน้ั ตอนการปรบั ตงั้ ค่าเครอื่ งมอื ตดั นี้

3. ผู้ปฏิบตั ิงานทาการทดลองกลึงชนิ้ งานจรงิ กับเครื่องกลงึ ซีเอน็ ซีในขน้ั ตอนน้ี ผปู้ ฏบิ ัตงิ านตอ้ ง
ทาการทดลองกลึงช้ินงานจรงิ ออกมาเพอื่ ทาการตรวจสอบขนาดในส่วนต่าง ๆ ตามแบบงาน ว่ามขี นาดตรงตาม
แบบงานท่กี าหนดไว้หรอื ไม่ โดยวิธกี ารใช้ใชเ้ คร่อื งมอื วดั และตรวจสอบงานกลึงพน้ื ฐาน เช่น เวอร์เนยี ร์คาลเิ ปอร์
(Verniercaliper) และไมโครมิเตอร์ (Micrometer) เป็นต้น ดังแสดงในรปู ที่ 8.38

45

รูปที่ 8.38 แสดงการใชเ้ วอรเ์ นียร์คาลเิ ปอรเพ์ ่อื ตรวจสอบขนาดชน้ิ งานกลงึ
(ทมี่ า : http://qds-mfg.com)

4. เมอ่ื ผปู้ ฏิบตั ิงานวัดและตรวจสอบช้นิ งานทท่ี าการทดลองกลึงไว้แล้ว ถา้ หากช้นิ งานไดข้ นาด
และ ผวิ งานตรงตามแบบงานท่กี าหนดกจ็ ะสามารถทาการกลึงชิน้ งานตามกระบวนการผลิตไดแ้ ต่ถา้ หากวา่ ช้ินงาน
มีขนาดและผวิ งาน ไม่ถกู ตอ้ งตามแบบงานผู้ปฏบิ ตั งิ านสามารถแก้ไขขนาดสว่ นที่ ผิดพลาดได้ โดยการแกไ้ ขการ
ปรบั ต้ังคา่ เครอ่ื งมอื ตัดทีต่ ารางตง้ั คา่ เคร่ืองมอื ตดั (Tools Offset) ท่ชี ุดควบคุม หรือ แกไ้ ขลกั ษณะการเคลอ่ื นท่ี
ของเคร่ืองมอื ตดั ในแนวแกนX และแกน Z โดยสามารถแก้ไขจากโปรแกรมเอน็ ซี เป็นต้น


Click to View FlipBook Version