The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน เทคโนโลยีอวกาศ FULL

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poonyapatkitcat, 2021-10-22 02:43:26

รายงาน เทคโนโลยีอวกาศ FULL

รายงาน เทคโนโลยีอวกาศ FULL

เทคโนโลยีอวกาศ

มุนินทร์ สงวนบุญ กลุม่ 23 เลขท่ี 5
ปุญญพัฒน์ วิชญานนท์ กลุม่ 23 เลขที่ 31

รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาการคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ
ภาควิชาภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร คณะศลิ ปศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2564



คาํ นาํ

รายงานฉบบั น้ีเป็นเพ่ือให้เป็นสื่อความรูก้ บั ผทู้ ส่ี นใจอนั เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา
รายวชิ า 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชงิ วิชาการ ซ่ึงจะนาํ ไปใช้ในการทาํ รายงาน
คน้ ควา้ สําหรับรายวิชาอน่ื ไดอ้ กี ต่อไป การทผี่ ูจ้ ดั ทาํ เลอื กทาํ เรื่อง “เทคโนโลยอี วกาศ” เน่ืองดว้ ย
สภาพในปัจจบุ นั เทคโนโลยอี วกาศไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการดาํ เนินชีวิตมากข้ึน และพฒั นาไป
อย่างรวดเร็ว มีการนาํ ไปประยกุ ต์ใชง้ านในหลากหลายดา้ น ท่ีสรา้ งการอาํ นวยความสะดวก และ
ตอบสนองความตอ้ งการให้แกผ่ ใู้ ชง้ านมาเป็นอยา่ งดี

รายงานเลม่ น้ีเป็นการกล่าวอา้ งถงึ เน้ือหาระดบั พ้นื ฐานทวั่ ไป ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยี
อวกาศ เหมาะสาํ หรับผทู้ เ่ี ริ่มตน้ ศกึ ษาหรือผูท้ ส่ี นใจทวั่ ไป อาทเิ ช่น ความหมาย ความเป็นมา
ประเภทของเทคโนโลยอี วกาศ ตลอดจนผศู้ ึกษาสามารถนาํ ไปเป็นแนวทางในการตดั สินใจเพอ่ื
นาํ ไปประยุกต์ใช้กบั หน่วยงานของตนได้

ขอขอบคุณ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนิดา สมประจบ ที่กรุณาใหค้ วามรู้และใหข้ อ้ แนะนาํ
มาโดยตลอด และขอขอบคณุ บรรณารกั ษ์และเจา้ หน้าทขี่ องสาํ นกั งานวทิ ยบริการและเทคโนโลยี
สารสนเทศ ท่ีใหค้ วามสะดวกในการคน้ หาขอ้ มลู สุดทา้ ยน้ีหากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผเู้ ขยี นขอ้
น้อมรบั เพือ่ นาํ ไปปรบั ปรุงตอ่ ไป

คณะผูจ้ ดั ทาํ
20 ตุลาคม 2564



สารบัญ

หน้า

คาํ นาํ ก

สารบญั ภาพประกอบ จ

บทท่ี

1 บทนาํ 1

1.1 ความหมายของเทคโนโลยอี วกาศ 1

1.2 การกาํ เนิดจกั รวาล 1

1.3 สิ่งทอ่ี ยใู่ นอวกาศ 3

1.4 เทคโนโลยอี วกาศทเ่ี ป็นประวตั ศิ าสตร์ 8

1.5 พฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศ 11

1.6 ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ 14

2 เทคโนโลยีอวกาศทีส่ ําคญั 15

2.1 ดาวเทยี ม......................................................................................................................... 15

2.1.1 การทาํ งานของดาวเทยี ม 15

2.1.2 ประเภทของดาวเทยี ม 15
2.2 จรวด 16
17
2.2.1 การทาํ งานของจรวด

2.2.2 ประเภทของจรวด 17

2.3 กระสวยอวกาศ 18

2.3.1 การทาํ งานของกระสวยอวกาศ 18



สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หนา้

2.3.2 ประเภทของกระสวยอวกาศ 18

2.4 สถานีอวกาศ........................................................................................................ 19

2.4.1 การบริหารสถานีอวกาศ..................................................................................... 19

2.4.2 การทาํ งานของสถานีอวกาศ...............................................................................19

2.5 ยานอวกาศ................................................................................................................... 20

2.5.1 การทาํ งานของยานอวกาศ..................................................................................20

2.5.2 ประเภทของยานอวกาศ 20
21
3 สิ่งประดษิ ฐ์และนวตั กรรมที่ไดจ้ ากการทอ่ งอวกาศ 21
3.1 สงิ่ ประดษิ ฐท์ ่ีไดจ้ ากการท่องอวกาศ

3.1.1 กลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ 21

3.1.2 เลนสก์ นั รอยขดี ขว่ น 21

3.1.3 เครื่องซีทีสแกน 22

3.1.4 หลอดไฟแอลอดี ี 22

3.1.5 ผา้ ห่มฟอยล์ 22

3.1.6 เคร่ืองดูดฝ่นุ 22

3.1.7 เคร่ืองวดั อณุ หภูมอิ ินฟราเรด 23

3.1.8 หฟู ังแบบไรส้ าย 23

3.1.9 อาหารแชแ่ ข็งแหง้ 23

3.1.10 เมาส์ 24
3.2 นวตั กรรมทไ่ี ดจ้ ากการไปเหยยี บดวงจนั ทร์ 25



3.2.1 การทาํ ความสะอาดกลายเป็นเรื่องงา่ ยๆ ................................................................................. 25

3.2.2 นาฬิกาท่จี บั เวลาได้แมน่ ยาํ ข้ึน ............................................................................................... 25

3.2.3 น้ําสะอาดดว้ ยไอออนเงิน ...................................................................................................... 26

3.2.4 รองเทา้ กฬี าสุดแกร่งจากชดุ นักบินอวกาศ ............................................................................. 26

3.2.5 ผา้ ทนไฟและเสื้อคลายร้อน ................................................................................................... 27

3.2.6 เคร่ืองกระตนุ้ หวั ใจขนาดจว๋ิ แบบฝังตดิ ตวั ............................................................................. 27

4 หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยีอวกาศ 29

4.1 องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space

Administration) 29

4.2 สเปซเอก็ ซ์ (Space Exploration Technologies Corporation) 30

4.3 องค์การอวกาศโซเวยี ต (Soviet space program) 31

บรรณานุกรม 33

สารบญั ภาพประกอบ จ

ภาพที่ หน้า
2
1 หลงั จากการระเบดิ คร้งั ใหญ่ 3
2 กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศ 4
3 ยานสาํ รวจอวกาศ 4
4 กระสวยอวกาศ 4
5 สถานีอวกาศนานาชาติ 5
6 ดาวเทียมไทยคม7 5
7 ดาวฤกษ์ 6
8 ดาวเคราะห์ (Planets) 6
9 ยกั ษ์แดง 7
10 ดาวเคราะห์น้อย 7
11 ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) 8
12 ดาวหาง 9
13 ดาวเทยี มสปตุ นิก1 9
14 งานประตมิ ากรรมแกะสลกั ของโคโรเลฟ 10
15 เบ้ืองหลงั การออกเดนิ ทาง 11
16 แบบจาํ ลองของยาย 11
17 สภาพยานหลงั จากกลบั มา 14
18 ดาวเทียมสาํ รวจทรพั ยากร

สารบัญภาพประกอบ (ต่อ) ฉ

ภาพที่ หน้า
17
19 แรงขบั 21
20 โทรศพั ทม์ อื ถือในปี1990 22
21 เคร่ืองซีทีสแกน 23
22 หูฟงั ไร้สาย 24
23 อาหารแช่แข็งแหง้ 24
24 เมาส์ตวั แรกของโลก 25
25 เคร่ืองดูดฝุ่นไรส้ ายเครื่องแรกของโลก 25
26 นาฬิกาควอตซ์ 26
27 รองเทา้ วง่ิ ยหี อ้ Adidas 26
28 ชุดดบั เพลิงที่ทาํ มาจากผา้ ทนไฟ 27
29 เคร่ืองกระตุน้ หวั ใจขนาดจว๋ิ แบบฝงั ตดิ ตวั 29
30 นีล อาร์มสตรองเหยียบบนดวงจนั ทร์ 31
31 จรวดฟลั คอน9 กบั อลี อน มสั ก์ 32
32 ยรู ิ กาการิน

1

บทท่ี 1

บทนํา

“เทคโนโลยอี วกาศ” เป็นการนาํ เอาเทคโนโลยมี าใชป้ ระโยชน์ในเร่ืองของการสํารวจอวกาศ
รวมถึงการศกึ ษาเเร่ืองต่างๆ เก่ียวกบั โลกของเราผา่ นมุมมองบนอวกาศ ยิ่งเทคโนโลยดี า้ นน้ีมีการ
พฒั นาไปสูงมากเทา่ ไหร่ยิง่ บง่ บอกความสามารถของมนุษยไ์ ดม้ ากข้ึนเทา่ น้นั องค์ความรูท้ ่เี กย่ี วกบั
โลกและอวกาศ สามารถนาํ มาพฒั นาตอ่ จนเกิดเป็นความรู้ใหม่ได้ ฉะน้ัน การสํารวจอวกาศของคน
บางกลุ่มจงึ เป็นโจทยท์ ี่ทา้ ทายในการยกระดบั องคค์ วามรู้ของมนุษยชาติ เป็นจดุ เริ่มตน้ ของการ
พฒั นาความรูด้ า้ นต่าง ๆ ในเม่ือเอกภพกวา้ งใหญ่ไมม่ ที สี่ ้ินสุด ความรูก้ ไ็ ม่มที สี่ ิ้นสุดเช่นเดียวกนั
( คดั คณฐั ช่นื วงศอ์ รุณ, 2564: ออนไลน์ )

1.1 ความหมายของเทคโนโลยอี วกาศ

เทคโนโลยีอวกาศ คอื การสํารวจสิ่งตา่ งๆท่ีอยนู่ อกโลกของเราและสาํ รวจโลกของเรา
เองดว้ ย ปัจจบุ นั เทคโนโลยีอวกาศไดม้ ีการพฒั นาไปเป็นอยา่ งมากเมอื่ เทียบกบั สมยั กอ่ น ทาํ ให้
ไดค้ วามรู้ใหม่ๆมากข้ึน โดยองคก์ ารทีม่ สี ่วนมากในการพฒั นาทางดา้ นน้ีคือองค์การนาซ่าของ
สหรัฐอเมริกา ไดม้ ีการจดั ทาํ โครงการข้ึนมากมาย ทง้ั เพอ่ื การสาํ รวจดาวที่ตอ้ งการศกึ ษา
โดยเฉพาะและทท่ี าํ ข้นึ เพอ่ื ศึกษาส่งิ ต่างๆในจกั รวาล การใชป้ ระโยชน์ กาานาํ ระเบยี บ วิธีการ
ตา่ งๆทางวิทยาศาสตร์มาปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั การศึกษาทางดา้ นดาราศาสตร์ และอวกาศ
ตลอดจนสามารถนาํ มาประยุกต์ใช้ใหส้ อดคลอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และการดาํ รงชีวิตของ
มนษุ ยด์ ว้ ย เชน่ การนาํ เทคโนโลยอี วกาศมาใชส้ ํารวจและตรวจสอบสภาพอากาศของโลก
( เทคโนโลยอี วกาศ ความหมายของเทคโนโลยอี วกาศ, 2564: ออนไลน์ )

1.2 การกาํ เนิดจกั รวาล
ทฤษฎีบกิ๊ แบง (Big Bang Theory) คอื แบบจาํ ลองในจกั รวาลวิทยาที่ใช้อธิบายถึงการ

กาํ เนิดและววิ ฒั นาการของจกั รวาล (Universe) ซ่ึงเป็นทฤษฎีท่ีไดร้ ับการยอมรับและกล่าวถึง
มากท่สี ุด แนวคิดในทฤษฎบี ก๊ิ แบงถูกเสนอข้นึ คร้ังแรก ในปี 1927 โดย บาทหลวง ฌอร์ฌ เลอ
แม็ทร์ (Georges Lemaître) ซ่ึงเป็นท้งั นักดาราศาสตร์และศาสตราจารยช์ าวเบลเยยี ม ดว้ ยความ
เชอ่ื ท่วี ่า เอกภพมีจดุ เริ่มตน้ จากจุดเพียงจดุ เดยี ว จดุ เล็กๆ ทม่ี ีความหนาแน่นสูง หรือที่

2

เรียกวา่ “อะตอมดกึ ดําบรรพ์” (Primeval Atom) กอ่ นจะเกดิ การระเบดิ และขยายตวั จนมขี นาด
ใหญ่อยา่ งเช่นในปัจจบุ นั น้ี และจากความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทฤษฎีบิ๊
กแบงไดร้ บั การยอมรบั และการสนบั สนุนจากหลกั ฐานทางวิทยาศาสตร์มากมาย โดยเฉพาะการ
คน้ พบ การขยายตัวของเอกภพ ในปี 1929 ของ เอ็ดวนิ ฮบั เบิล (Edwin Hubble) นกั ดารา
ศาสตร์ชาวอเมริกนั ผูท้ าํ การสังเกตกาแล็กซี M33 ฮบั เบลิ พบว่าดาวฤกษ์ในกาแลก็ ซีขา้ งเคียง
กาํ ลงั เคล่ือนทอ่ี อกห่างจากเรา เชน่ เดยี วกบั กาแลก็ ซีอนื่ ๆ ฮบั เบิลใชป้ รากฏการณ์ดอปเปลอร์
(Doppler Effect) เพื่อตรวจวดั การเคลือ่ นท่ขี องวตั ถผุ ่านคล่นื ความถี่ และผลจากการสํารวจน้ี
ทาํ ให้ฮบั เบิลคน้ พบ ปรากฏการณ์การเล่ือนทางแดง หรือ เรดชิฟท์ (Red Shift) ซ่ึงจะเกดิ ข้นึ เมือ่
แหล่งกาํ เนิดแสงเคล่ือนท่อี อกห่างจากผสู้ งั เกตการณ์ ดงั น้นั หากกาแลก็ ซีเคล่ือนทหี่ ่างออกจาก
เราไปไกลเทา่ ไหร่ จะส่งผลใหค้ วามยาวคลื่นที่ชดั เจนของแสงเล่ือนไปยงั ส่วนสีแดงของ
สเปกตรมั มากยิง่ ข้นึ เทา่ น้ัน

ภาพท่ี 1 หลงั จากการระเบิดคร้งั ใหญ่ ( ทฤษฎบี ก๊ิ แบง (Big Bang Theory), 2563: ออนไลน)์
รวมถึงการคน้ พบ อุณหภมู พิ ้นื หลงั อวกาศ (Cosmic Microwave Background) โดย นกั วทิ ยาศาสตร์
ชาวอเมริกนั 2 คน คือ โรเบริ ์ต วลิ สนั (Robert Wilson) และ อาร์โน เพนเซยี ส (Arno Penzius) ในปี
1965 ซ่ึงพบว่าในจกั รวาลมีอุณหภมู ริ าวลบ 270 องศาเซลเซียส กระจายอยทู่ วั่ ไปอย่างสมา่ํ เสมอ
และรังสีความร้อนท่กี ระจายอยูท่ วั่ ไปน้ี สอดคลอ้ งกบั พลงั งานท่ีหลงเหลอื อยู่จากการระเบิดคร้งั
ใหญ่ในทฤษฎีบิ๊กแบง ส่งผลใหก้ ารคน้ พบคร้งั น้ี ถกู เรียกวา่ เสียงจากการระเบิด (Echoes of the Big
Bang)หลงั การระเบดิ และจกั รวาลในวนั น้ี หลงั การระเบดิ คร้ังใหญ่ (Big Bang) เมอ่ื 13.7 พนั ลา้ นปี
กอ่ น เพียงเส้ียววนิ าที ในสภาพที่อณุ หภูมิรอ้ นจดั น้ัน ก่อกาํ เนิดอนุภาคพื้นฐานคอื ควาร์ก (Quark)
อเิ ลก็ ตรอน (Electron) นิวทริโน (Neutrino) และโฟตอน (Photon) รวมถงึ พลงั งาน กระจายไปทว่ั
จกั รวาล พร้อมกบั การเกิดของ ปฏอิ นภุ าค (Anti-particle) ทีม่ ปี ระจไุ ฟฟ้าตรงกนั ขา้ ม เกิดการจบั คู่
กนั ของอนุภาคชนิดเดยี วกนั กอ่ นหลอมรวมกนั จนเน้ือสารถกู แปรเปลยี่ นไปเป็นพลงั งานจนหมด
ส้ิน ซ่ึงโชคยงั ดที ่ีในธรรมชาติ อนภุ าคมีจาํ นวนมากกวา่ ปฏอิ นุภาค การจบั คกู่ นั ท่ไี ม่ลงตวั ทาํ ให้เกดิ

3

ท้งั สสารและพลงั งานในเอกภพของเรา หลงั การระเบดิ ราว 3 แสนปี แรงจากการระเบิดส่งสสาร
และพลงั งานกระจายไปทวั่ ห้วงอวกาศ ทาํ ใหอ้ ุณหภมู ริ อ้ นจดั ลดลงเหลอื ราว 10,000 เควิน
กอ่ ใหเ้ กิดอะตอมไฮโดรเจนและฮีเลียม ซ่ึงเป็นธาตพุ น้ื ฐานในจกั รวาล ในขณะน้ัน ยงั ไมม่ ีดวงดาว
สักดวงปรากฏข้ึน จนเวลาผา่ นไปกว่าหน่ึงพนั ลา้ นปี ดวงดาวและกาแลก็ ซีจงึ ถอื กาํ เนิดจากกลมุ่ กา๊ ซ
และฝ่นุ ผง เกดิ ววิ ฒั นาการ รวมถงึ การคงอยแู่ ละดบั ไปของดวงดาวและกาแลก็ ซีมากมาย ซ่ึงสง่ ผล
ใหจ้ กั รวาลในวนั น้ี มที ้งั ดาวเคราะห์ ดาวเคราะหน์ ้อย ดาวหาง หรือ แมแ้ ตห่ ลมุ ดาํ ( ทฤษฎีบกิ๊ แบง
(Big Bang Theory), 2563: ออนไลน์)
1.3 สิ่งที่อยู่ในอวกาศ

อวกาศ เป็นพ้นื ทเี่ วิ้งวา้ งแตก่ ็ไมไ่ ดห้ มายความว่ามนั วา่ งเปลา่ เพราะในอวกาศมสี ิ่งต่าง ๆ
ลอยอยใู่ นพืน้ ที่ว่างมากมาย เชน่ เศษฝ่ ุนละออง กลุ่มกา๊ ซ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ และอวกาศท่ี
ประกอบไปดว้ ยเทหวตั ถเุ หล่าน้ีเองทเี่ ราเรียกมนั วา่ จกั รวาล (Universe) โดยส่ิงทลี่ ่องลอยอย่ภู ายใน
พน้ื ท่อี นั กวา้ งใหญข่ องอวกาศ มที ้งั สง่ิ ท่เี กิดข้นึ เองและสง่ิ ท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ และส่งออกไปเพื่อ
ประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่

ภาพท่ี 2 กลอ้ งโทรทรรศน์อวกาศ ( ประพนั ธ์ เตละกุล, 2542: ออนไลน์ )
มนุษยส์ ่งกลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศข้ึนไปยงั นอกช้ันบรรยากาศโลก เพอื่ ทาํ การศึกษาสิ่งท่อี ยู่
ในห้วงอวกาศ เป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่สาํ คญั อยา่ งหน่ึงตอ่ การศกึ ษาดาราศาสตร์ เน่ืองจาก
สามารถช่วยให้เหน็ สิ่งตา่ ง ๆ ในอวกาศในระยะไกลได้ โดยภาพไมถ่ ูกรบกวนจากช้ันบรรยากาศ ซ่ึง
ทาํ ให้นกั ดาราศาสตร์คน้ พบปรากฏการณ์สําคญั ๆ มากมาย

4

ภาพที่ 3 ยานสาํ รวจอวกาศ ( SPACETH , 2563: ออนไลน์ )
ยานสาํ รวจอวกาศ มีไวเ้ พอ่ื สาํ รวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอกการศกึ ษาอวกาศในทาง
กายภาพสามารถทาํ ไดท้ ้งั โดยยานอวกาศทค่ี วบคุมโดยมนษุ ยห์ รือโดยหุ่นยนต์

ภาพท่ี 4 กระสวยอวกาศ ( กระสวยอวกาศดิสคฟั เวอร์ร่ี, 2562: ออนไลน์ )
กระสวยอวกาศ เป็นอปุ กรณ์ท่ถี ูกพฒั นาข้ึนมาเพ่ือใหใ้ ชง้ านซ้ําไดห้ ลายคร้ัง ทดแทน
จรวดทไี่ มส่ ามารถนาํ มาใชใ้ หม่ได้ โดยกระสวยอวกาศโคลมั เบีย เป็นกระสวยอวกาศลาํ แรกที่
ไดบ้ นิ ข้นึ ไปสู่ห้วงอวกาศ เม่ือวนั ที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1981 กระสวยอวกาศเปรียบเสมือนรถ
เคลือ่ นยา้ ยสิ่งของ เชน่ การนาํ ดาวเทียมออกไปสู่วงโคจรนอกโลก

ภาพท่ี 5 สถานีอวกาศนานาชาติ ( International Space Station, 2560 :ออนไลน์ )

5

สถานีอวกาศนานาชาติ เป็นห้องทดลองอวกาศ ซ่ึงสร้างข้นึ เพอ่ื ใช้กบั งานทดลองและ
งานวจิ ยั ท่ีไมส่ ามารถทดลองบนโลกได้ เนื่องจากตอ้ งการสภาวะที่มแี รงโน้มถ่วงต่าํ ภายใน
สถานีอวกาศประกอบดว้ ยห้องนอน 5 ห้อง หอ้ งน้าํ 2 ห้อง หอ้ งออกกาํ ลงั กาย และหอ้ งทดลอง
อีกหลายหอ้ ง โดยเป็นความร่วมมอื กนั ระหวา่ งนาซา่ จากสหรฐั อเมริกา องคก์ ารอวกาศ
สหพนั ธรัฐรัสเซีย องคก์ ารอวกาศแคนาดา องค์การสาํ รวจอวกาศญี่ป่นุ และองคก์ ารอวกาศ
ยโุ รป

ภาพที่ 6 ดาวเทยี มไทยคม7 ( สยามรัฐออนไลน,์ 2564: ออนไลน์ )
ดาวเทยี ม เป็นอุปกรณ์ทถี่ ูกส่งออกไปจากโลกดว้ ยกระสวยอวกาศ มนั จะโคจรรอบ
โลกและถูกใชใ้ นการส่ือสาร ส่งสญั ญาณโทรศพั ท์ ตลอดจนสัญญาณโทรทศั น์ นอกจากน้ีเรายงั
ใช้ดาวเทียมในการชว่ ยสงั เกตสภาพอากาศ หรือสาํ รวจดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ อกี ดว้ ย ดาวเทยี มของ
ไทยที่ถกู สง่ ออกไปเป็นดวงแรก ไดร้ ับช่ือพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภมู พิ ลอดลุ ยเดชวา่ ดาวเทยี มไทยคม (THAICOM) ซ่งึ มาจาก Thai Communications โดยถกู ส่ง
ข้นึ สู่วงโคจรเมอ่ื วนั ท่ี 17 ธนั วาคม พ.ศ. 2536 เพอื่ ใช้สาํ หรับการสื่อสารท้งั สญั ญาณโทรทศั น์
วทิ ยุ และโทรศพั ท์

ภาพที่ 7 ดาวฤกษ์ ( ดาวฤกษ์ทาํ งานอย่างไร, 2564: ออนไลน์ )

6

ดาวฤกษ์ คอื ดวงดาวทสี่ ่องสว่างและสามารถเห็นไดช้ ัดในเวลากลางคนื ดวงดาวเหล่าน้ี
กค็ อื กลุ่มกอ้ นของก๊าซซ่งึ ส่วนใหญเ่ ป็นกา๊ ซไฮโดรเจนและฮเี ลียม ท่ีหดตวั และมกี ารสะสมของ
มวลมากพอ จึงเกดิ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิ วชัน สร้างโฟตอนและความร้อน และกลายเป็นดาวฤกษ์
ในท่สี ุด ดาวฤกษท์ ี่ใหญแ่ ละใกลโ้ ลกทส่ี ุดก็คอื ดวงอาทติ ย์

ภาพที่ 8 ดาวเคราะห์ (Planets) ( ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ, 2564: ออนไลน์ )
ดาวเคราะห์ เป็นเทหวตั ถบุ นฟา้ ทไ่ี ม่มีแสงสวา่ งในตวั เอง มวี งโคจรรอบดวงอาทิตย์

เป็นวตั ถทุ ม่ี รี ูปร่างใกลเ้ คยี งทรงกลม ไม่ใช่ดาวเทยี มหรือดวงจนั ทร์ และไมม่ เี ทหวตั ถุอน่ื ๆ
โคจรในบริเวณเดยี วกนั

ภาพท่ี 9 ยกั ษแ์ ดง ( โสภาพรรณ คาํ เชียง, 2556: ออนไลน์ )

7

ดาวยกั ษ์แดง เป็นดาวฤกษท์ ม่ี กี ารเผาไหมม้ านับพนั ลา้ นปี ทาํ ใหก้ า๊ ซของพวกมนั เริ่มหมด
ลง พวกมนั จงึ เปล่ียนสภาพจากสีขาวกลายเป็นสีแดง และมีขนาดใหญ่ข้ึนกวา่ เดมิ

ภาพท่ี 10 ดาวเคราะหน์ อ้ ย ( ดาวเคราะห์น้อย, 2560: ออนไลน์ )
ดาวเคราะหน์ อ้ ย เป็นดวงดาวขนาดเลก็ มากมายทีโ่ คจรอย่รู อบดวงอาทติ ย์ ส่วนใหญจ่ ะอยู่
ระหวา่ งดาวองั คารและดาวพฤหสั นกั วิทยาศาสตร์เรียกพวกมนั ว่า ดาวเคราะห์น้อย และเช่อื ว่า ดาว
เคราะห์นอ้ ยดวงใดดวงหน่ึงอาจเคยพุง่ เขา้ ชนโลกเมอ่ื 65 ลา้ นปี ทีแ่ ลว้ ซ่ึงเป็นสาเหตใุ หไ้ ดโนเสาร์
สูญพนั ธุ์

ภาพท่ี 11 ดาวเคราะหแ์ คระ (Dwarf Planets) ( ดาวเคราะหแ์ คระ, 2562: ออนไลน์ )

8

ดาวเคราะหแ์ คระมีลกั ษณะหลาย ๆ อย่างท่ีคลา้ ยกบั ดาวเคราะห์ ซ่ึงสหพนั ธ์ดาราศาสตร์
สากล (International Astronomical Union, IAU) ไดร้ ะบคุ ณุ ลกั ษณะของดาวเคราะห์แคระว่า ตอ้ ง
เป็นดาวทีโ่ คจรรอบดวงอาทิตย์ มมี วลเพยี งพอทีจ่ ะคงอยู่ในรูปทรงกลม ไมม่ เี พอ่ื นบา้ นอยใู่ กลก้ บั วง
โคจรของมนั และไม่มดี วงจนั ทร์บริวาร ตวั อย่างของดาวเคราะห์แคระ เชน่ เซเรส (Ceres) พลูโต
(Pluto) อรี ิส (Eris)

ภาพที่ 12 ดาวหาง ( วิมตุ ิ วสะหลาย, 2558: ออนไลน์ )
ดาวหางเป็นเทหวตั ถุอยา่ งหน่ึงในอวกาศ ใจกลางของมนั มีลกั ษณะเป็นกอ้ นหิมะสกปรก
ขนาดใหญ่ทเ่ี ต็มไปดว้ ยฝ่นุ และกา๊ ซ หากพวกมนั เขา้ ใกลด้ วงอาทติ ย์ น้าํ แข็งท่ีอยูใ่ จกลางก็จะค่อย ๆ
ละลาย และปลอ่ ยกา๊ ซหรือฝุ่นออกมากลายเป็นหางของมนั ซ่ึงดาวหางที่มีชือ่ เสียงมากทีส่ ุดกค็ อื ดาว
หางฮลั เลย์ (Halley's Comet) ท่ีมองเหน็ ไดจ้ ากโลกทกุ ๆ 75-76 ปี และคร้งั ต่อไปท่ีเราจะไดเ้ หน็ มนั ก็
คอื ปี ค.ศ. 2061ดาวเคราะหแ์ คระ ( มีอะไรอยู่ในอวกาศ, 2560: ออนไลน์ )
1.4 เทคโนโลยอี วกาศท่เี ป็นประวตั ศิ าสตร์
สปุตนิก 1
ดาวเทยี มดวงแรกถอื กาํ เนิดจากการแขง่ ขนั กนั ระหวา่ งชาตมิ หาอาํ นาจอยา่ งสหรฐั อเมริกา
กบั สหภาพโซเวียต จนกระทง่ั เซียร์เกย์ ปัฟโลวิช โคโรเลฟ (Sergei Pavlovich Korolev) วิศวกร
ผพู้ ฒั นาเทคโนโลยอี วกาศของสหภาพโซเวยี ต ไดส้ รา้ งดาวเทียมสปุตนิก 1(Sputnik 1) ข้นึ และถูก
ส่งข้นึ สู่วงโคจรโลกในรูปวงรี ในเดือนตุลาคมปี 1957 ดว้ ยจรวด อาร์-7 จากฐานยิงในทะเลทรายคี
ซิลคมุ ไบโคนูร์คอสโมโดรม ประเทศคาซคั สถาน

9

ภาพที่ 13 ดาวเทยี มสปตุ นิก1 ( Alex Lane, 2563: ออนไลน์ )
สปุตนิก 1 เป็นดาวเทยี มท่ีถกู ส่งข้ึนไปเพอ่ื สาธิตเทคโนโลยี มรี ูปร่างทรงกลมมเี ส้นผา่ น
ศูนยก์ ลาง 58 ซม. ทาํ ดว้ ยอะลูมเิ นียมหนัก 84 กโิ ลกรมั มเี สาอากาศวิทยุภายนอก 4 เสาเพื่อกระจาย
คล่ืนวิทยกุ ารตดิ ตามและการศึกษาดาวเทียมสปตุ นิก 1 จากโลก ทาํ ให้นักวทิ ยาศาสตร์สามารถนาํ
ขอ้ มูลมาศกึ ษาความหนาแนน่ ของบรรยากาศช้ันบน โดยอนมุ านไดจ้ ากวงโคจรและการ
แพร่กระจายของสญั ญาณวิทยุ ซ่ึงใหข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ช้นั บรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ ความสาํ เร็จของ
ดาวเทียมดวงน้ีถอื เป็นประวตั ศิ าสตร์คร้งั สาํ คญั ในการบกุ เบิกยุคอวกาศ เนื่องจากมนั ไดท้ าํ ใหเ้ กดิ
วิกฤตกิ ารณ์สปุตนิกในหม่ชู าวอเมริกนั และทาํ ให้การแขง่ ขนั ดา้ นอวกาศกลายเป็นส่วนหน่ึงของ
สงครามเยน็ การเปิดตวั น้ีนาํ มาซ่ึงการพฒั นาดา้ นการเมือง การทหาร เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์
ใหม่ ๆ ตามมาอกี มากมาย สัญญาณของสปกุ นิกยงั คงปรากฏเป็นเวลา 21 วนั จนแบตเตอรี่ของ
เครื่องส่งสญั ญาณจะหมดลงในวนั ที่ 26 ตลุ าคม 1957 มนั ถูกเผาไหมใ้ นช้ันบรรยากาศในวนั ท่ี 4
มกราคม 1958 หลงั จากโคจรรอบโลกเป็นเวลา 3 เดอื น โดยสามารถโคจรครบรอบวงโคจรได้
ท้งั หมดถงึ 1440 รอบ รวมระยะทางท้งั สิ้นประมาณ 70 ลา้ นกโิ ลเมตร

ภาพท่ี 14 งานประตมิ ากรรมแกะสลกั ของโคโรเลฟ (ดาวเทยี มสปุตนิก1, 2563: ออนไลน์ )
ปัจจุบนั โคโรเลฟ ผูอ้ อกแบบดาวเทียมดวงน้ีไดร้ ับการยกยอ่ งให้เป็น “บิดาแห่งโครงการอวกาศของ
รัสเซยี ” ( วศิ วกรผพู้ ฒั นาเทคโนโลยีอวกาศของสหภาพโซเวยี ต, 2563: ออนไลน์ )

10

ยานอะพอลโล 11
เป็นยานอวกาศลาํ แรกทล่ี งจอดบนผิวของดวงจนั ทร์สาํ เร็จขององคก์ ารนาซา อะพอลโล 11

ถกู ส่งข้นึ สู่ช้นั บรรยากาศโดยจรวด แซเทริ ์น 5 (Saturn V หรือ Saturn Five) ทฐี่ านยงิ จรวดทแี่ หลม
เคเนดี รัฐฟลอริดา เมือ่ วนั ท่ี 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 อกี 3 วนั ต่อมากส็ ามารถลงจอดบริเวณ “ทะเล
แห่งความเงียบสงบ” (Mare Tranquilitatis) ไดส้ าํ เร็จ ลกู เรือในยานอวกาศประกอบดว้ ยนีล อาร์มสต
รอง ผบู้ งั คบั การ, เอดวิน อลั ดริน (Adwin Aldrin) และไมเคิล คอลลนิ ส์ อาร์มสตรองเป็นมนษุ ยค์ น
แรกทลี่ งมาประทบั รอยเทา้ บนดวงจนั ทร์ ตามมาดว้ ยอลั ดริน ท้งั สองไดต้ ิดต้งั เครื่องวดั แผน่ ดนิ ไหว
กระจกเลเซอร์เคร่ืองวดั “ลมสรุ ิยะ” และเกบ็ ตวั อย่างหินและดนิ 20.8 กโิ ลกรัม รวมเวลาอยู่บนดวง
จนั ทร์ 21 ชว่ั โมง 36 นาที ใช้เวลานับต้งั แต่ออกเดินทางจนกลบั ถึงโลก 195 ชว่ั โมง 18 นาที 35
วนิ าที กลบั ถึงโลกในวนั ที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 ยานอวกาศอะพอลโล 11 เป็นส่วนหน่ึงของ
โครงการอะพอลโล ซ่งึ เกิดจากความปรารถนาของประธานาธิบดีจอหน์ เอฟ. เคนเนดี ทตี่ อ้ งการสง่
มนษุ ยไ์ ปยงั ดวงจนั ทร์ใหส้ ําเร็จ และกลบั มายงั โลกอย่างปลอดภยั ( อะพอลโล11, 2562: ออนไลน์ )

ภาพที่ 15 เบ้อื งหลงั การออกเดินทาง ( Apollo 11, 2563: ออนไลน์ )
ยานอวกาศวอสตอค 1

เป็นยานทสี่ ร้างข้ึนมาโดย สหภาพโซเวยี ต หลงั จากทไี่ ดท้ าํ การส่ง ดาวเทียมดวงแรกของ
โลก ข้ึนไปโคจรรอบโลกไดส้ าํ เร็จ ยานอวกาศลาํ น้ีไดถ้ อื เป็นยานอวกาศลาํ แรกของโลกทมี่ มี นุษย์
โดยสารข้นึ ไปดว้ ย เขาผูน้ ้ันมชี ือ่ วา่ ยรู ิ กาการิน (Yuri Gagarin) ทไ่ี ดร้ ับขนานนามวา่ เป็น “นกั บนิ
อวกาศคนแรกของโลก” และไดท้ าํ การโคจรรอบโลกไดส้ าํ เร็จ ดว้ ยเวลา 108 นาที

11

ยานอวกาศวอสตอค มนี ้าํ หนักวา่ 4 ตนั ถกู ส่งข้ึนสู่วงโคจรเมอ่ื วนั ท่ี 12 เมษายน ค.ศ. 1961 บนั ทึก
เวลาปลอ่ ยจากฐานยิงเวลา 9.07 น. ยานอวกาศลาํ น้ี สามารถโคจรรอบโลกไดเ้ ป็นเวลา 108 นาที

ภาพท่ี 16 แบบจาํ ลองขยาย ( ลองมาด,ู 2563: ออนไลน์ )
กอ่ นจะกลบั สู่ช้ันบรรยกาศของโลก ในคร้ังน้ันไดม้ ีนกั บินอวกาศ ยรู ิ กาการิน ข้ึนไปดว้ ย แตย่ านลาํ
น้ียงั ไมไ่ ดอ้ อกแบบระบบลงจอดไว้ กาการินจงึ ตอ้ งทาํ การดีดตวั ออก ทคี่ วามสูงกวา่ 7,000 เมตร
และลงสู่พนื้ โลกโดยรม่ ชูชพี แตถ่ อื ไดว้ า่ เหตุการณน์ ้ีประสบความสาํ เร็จอยา่ งมาก กบั การแขง่ ขนั ใน
ออกสํารวจอวกาศ ท่ีตอนน้ันมแี ขง่ ขนั กนั อยา่ งเขม้ ขน้ มากในยคุ ของสงครามเยน็ ( ยานอวกาศและ
นกั บนิ คนแรก, 2563: ออนไลน์ )

ภาพท่ี 17 สภาพยานหลงั จากกลบั มา ( ลองมาด,ู 2563: ออนไลน์ )

1.5 พฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ
เมื่อมนุษยส์ ามารถเดนิ ทางไปยงั อวกาศทอ่ี ยู่แสนไกลได้ ทาํ ใหเ้ กดิ การคน้ พบมากมายใน

อวกาศ มนษุ ยจ์ งึ นาํ ความรู้ท่ีไดค้ น้ พบมาพฒั นาเทคโนโลยีตา่ งๆ ทีเ่ กย่ี วกบั อวกาศ การพฒั นา
เทคโนโลยอี วกาศ ทาํ ให้เกิดการพฒั นาในดา้ นอน่ื ๆ อกี เชน่ การสํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ การ

12

ส่ือสาร การสํารวจสภาพอากาศ ดา้ นการแพทย์ และดา้ นอืน่ ๆ อีกมากมาย การศกึ ษาดา้ นอวกาศจงึ
เจริญรุดหน้าต่อไป เพือ่ ยงั ประโยชนแ์ กม่ นุษยชาตอิ ยา่ งไม่มที ส่ี ้ินสุด สามารถลาํ ดบั ความกา้ วหนา้
ในการสาํ รวจอวกาศไดต้ ้งั แตป่ ี 1961 เป็นตน้ มา สามารถแบง่ ได้ ดงั น้ี

1) 12 เมษายน 1961: ยูริ กาการิน นักบินอวกาศชาวโซเวียต ทีเ่ ป็น “คนแรก” ของโลก
ท่บี นิ ข้นึ ไปบนอวกาศและกลบั มายงั โลกอยา่ งปลอดภยั

2) 5 พฤษภาคม 1961: อลนั เชพเพริ ์ด นกั บินอวกาศชาวอเมริกนั ข้ึนบินดว้ ยยาน
Freedom 7 เขาเป็นนกั บนิ “คนแรก” ของสหรัฐอเมริกา และเป็นคนท่ีสองของโลก
ทขี่ ้นึ ไปบนอวกาศและกลบั ลงมาอยา่ งปลอดภยั

3) 16 มถิ นุ ายน 1963: วาเลนตินา เทเรชโควา ชาวโซเวยี ต ซ่งึ เป็นผหู้ ญงิ “คนแรก” ที่
ข้นึ ไปบนอวกาศ

4) 18 มีนาคม 1965: อะเลคเซย์ เลโอนอฟ นักบินอวกาศชาวโซเวียต ทเี่ ดินบนอวกาศ
เป็น “คนแรก”

5) ธันวาคม 1968: ยาน Apollo 8 ของ NASA สามารถเดนิ ทางพน้ จากวงโคจรตา่ํ ของ
โลกเป็น “คร้ังแรก” และเดินทางเขา้ วงโคจรของดวงจนั ทร์ไดเ้ ป็น “คร้งั แรก”

6) 20 มิถุนายน 1969: ยาน Apollo 8 ของ NASA ไดล้ งจอดบนดวงจนั ทร์ และ นีล
อาร์มสตรอง นักบนิ อวกาศชาวอเมริกนั กไ็ ดส้ รา้ งประวตั ิศาสตร์ เป็น “คนแรก” ท่ี
เหยยี บดวงจนั ทร์ ตามดว้ ยบซั อลั ดริน

7) 19 เมษายน 1971: สหภาพโซเวยี ต ไดป้ ล่อย Salyut 1 สถานิอวกาศ “แห่งแรก”
ไปสู่วงโคจรต่าํ ของโลก

8) มถิ นุ ายน 1975: NASA ปล่อยยานอวกาศ Apollo ข้ึนไปบนวงโคจรตา่ํ ของโลก
เพื่อไปทาํ งาน และทาํ การทดลองร่วมกบั ยานอวกาศ Soyuz ของสหภาพโซเวียต

9) 12 เมษายน 1981: NASA ปล่อยกระสวยอวกาศ “ลาํ แรก” ข้ึนบนอวกาศ
10) พฤศจกิ ายน 2000: นกั บนิ อวกาศของ NASA พรอ้ มกบั นกั บนิ อวกาศของสหภาพ

โซเวียตอกี 2 นาย เป็นผเู้ ขา้ เยีย่ มชม “กลมุ่ แรก” ของสถานีอวกาศนานาชาติ
(International Space Station หรือ ISS)
11) 2001: เดนนิส ติโต้ มหาเศรษฐีชาวอเมริกนั เป็นนกั ท่องเทย่ี ว “คนแรก” ทีข่ ้ึนไป
เยีย่ มชม ISS โดยเขาเดินทางไปกบั บริษทั Space Adventure
12) 2010: SpaceX บริษทั ผูผ้ ลิตยานและส่งมนษุ ยไ์ ปอวกาศ ท่ีเกิดมาจากความตอ้ งการ
ของ CEO อยา่ ง Elon Musk ท่อี ยากจะส่งคนข้ึนไปบนดาวองั คารเพ่ือสร้างโลก

13

ใหม่ ในปีน้ีทาง SpaceX เป็น “บริษทั เอกชนรายแรก” ทสี่ ามารถส่งยานอวกาศข้ึน
ไปบนวงโคจรตา่ํ ของโลกและกลบั ลงมาอยา่ งปลอดภยั
13) 2017: SpaceX เผยแผนการนาํ นกั ทอ่ งเท่ียวอวกาศทอ่ งเท่ยี วรอบวงโคจรของดวง
จนั ทร์
14) 2018: Virgin Galactic บริษทั ดา้ นอวกาศของ เซอร์ ริชาร์ด แบรนสนั นกั ธุรกจิ ชาว
องั กฤษ เป็น “บริษทั แรก” ทสี่ ามารถทาํ การทดสอบการบินโดยมนษุ ยข์ ้ึนไปเหนือ
ช้ันบรรยากาศไดส้ ําเร็จ
15) 2019: NASA เปิดให้มีนกั ทอ่ งเท่ยี วอวกาศไปเยี่ยมชม ISS ได้
16) 2021: Virgin Galactic และ Blue Origin ของมหาเศรษฐี Jeff Bezos ทาํ การ
ทดสอบการบินข้ึนไปเหนือช้ันบรรยากาศ พรอ้ มลอยตวั อยู่ในบรรยากาศแบบไร้
แรงโนม้ ถ่วงกวา่ 4 นาที กอ่ นหลบั มายงั พ้ืนโลกไดส้ ําเร็จ
17) 2021+: บริษทั ตา่ ง ๆ มแี ผนเปิ ดใหค้ นท่ีสนใจสามารถข้ึนบินไปเหนือช้นั
บรรยากาศ รวมท้งั เปิ ดให้บนิ ข้ึนไปเยยี่ มชม ISS อยา่ งทาง SpaceX มแี ผนจะ
ปฏิบตั ิภารกจิ Inspiration4 ทจี่ ะข้ึนไปบนวงโคจรของโลกในช่วงปลายปี 2021
และยงั ไดร้ ่วมมอื กบั ทาง NASA และ Axiom Space บริษทั Startup ที่จะมาร่วมกนั
ดาํ เนินภารกิจสรา้ งทพี่ กั และห้องทาํ งานบน ISS ในขณะเดียวกนั ทาง Axiom
Space กม็ ีแผนจะส่งผเู้ ดินทางข้นึ ไปบน ISS ดว้ ยยานของ SpaceX ในปี 2022 ดว้ ย
เช่นกนั ในฟากของ Space Adventures กไ็ ดม้ แี ผนร่วมกบั SpaceX ท่ีจะสง่ คนข้นึ
ไปบนวงโคจรของโลกดว้ ย ( Thanthida Thongphet, 2563: ออนไลน์ )

14

1.6 ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
ปัจจุบนั สิ่งประดษิ ฐ์ทอ่ี าศสยั ความรู้ทางดา้ นเทคโนโลยอี วกาศมีมากมาย หลายชิ้น

โดยเฉพาะการสรา้ งดาวเทียมประเภทตา่ ง ๆ ข้นึ มาชว่ ยอาํ นวยประโยชน์ต่อการดาํ รงชวี ิตของมนษุ ย์
ในหลาย ๆ ดา้ น ทีส่ าํ คญั ไดแ้ ก่

1) การส่ือสาร
ดาวเทียมส่ือสาร เป็นดาวเทยี มทีท่ าํ หน้าทเี่ ป็นสถานีรับส่งคล่ืน วทิ ยเุ พือ่ การส่ือสารและ

โทรคมนาคม ท้งั ท่ีเป็นการสื่อสารภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ ส่วนใหญ่ใชส้ ํารบั กิจการ
โทรศพั ท์ โทรเลข โทรสาร รวมท้งั การถา่ ยทอดสญั ญาณโทรทศั นแ์ ละสญั ญาณวิทยุ

2) การพยากรณอ์ ากาศ
ดาวเทียมอตุ นุ ิยมวิทยา ทาํ หน้าทสี่ ่งสญั ญาณภาพถ่ายทางอากาศที่ ประกอบดว้ ยขอ้ มูล

ทางอุตุนิยมวิทยา เช่น จาํ นวนและชนิดของเมฆ ความแปรปรวน ของอากาศ ความเร็วลม
ความช้ืน อุณหภูมิ ทาํ ใหส้ ามารถเตอื นภยั ทเ่ี กดิ จาก ธรรมชาตติ า่ ง ๆ ไดโ้ ดยเฉพาะการเกดิ ลาพายุ

3) การสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ
ดาวเทยี มสํารวจทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นดาวเท่ียมที่ถูกใช้เป็นสถานี เคล่ือนทีส่ าํ รวจ

ดูพื้นท่ีผวิ โลกและการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ ทาํ ให้ทราบขอ้ มูลท้งั ทางดา้ นธรณีวทิ ยา
นิเวศวทิ ยา เป็น ประโยชน์ดา้ นการเกษตรและการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ( ดรูวซิ กอแต,
2553: ออนไลน์ )

ภาพที่ 18 ดาวเทยี มสํารวจทรพั ยากร ( momay6m, 2554: ออนไลน์ )

15

บทที่ 2
เทคโนโลยีอวกาศทีส่ ําคัญ

2.1 ดาวเทยี ม
สิ่งประดษิ ฐท์ ่ีมนุษยค์ ิดคน้ ข้ึนเป็นส่ิง ทส่ี ามารถโคจรรอบโลก โดยอาศยั แรงดึงดดู ของ

โลก สง่ ผลใหส้ ามารถโคจรรอบโลกไดใ้ นลกั ษณะเดยี วกนั กบั ทดี่ วงจนั ทร์โคจรรอบโลก และโลก
โคจรรอบดวงอาทิตย์ วตั ถปุ ระสงค์ของสิ่งประดษิ ฐ์น้ีเพอื่ ใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงาน
สภาพอากาศ การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ เชน่ การสาํ รวจทางธรณีวิทยาสงั เกตการณ์สภาพของ
อวกาศ โลก ดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาวอ่ืน ๆ รวมถงึ การสงั เกตวตั ถแุ ละดวงดาว ดาราจกั ร
ตา่ งๆ

2.1.1 การทาํ งานของดาวเทยี ม
ดาวเทยี มจะถกู ส่งข้นึ ไปลอยอย่ใู นตาํ แหน่ง วงโคจรคา้ งฟา้ ซ่งึ มีระยะห่างจากพื้น

โลกประมาณ 36000 – 38000 กโิ ลเมตร และโคจรตามการหมนุ ของโลก เมอ่ื เมอ่ื
เปรียบเทยี บกบั พื้นโลกจะเสมือนวา่ ดาวเทียมลอยนิ่งอยบู่ นทอ้ งฟ้า และดาวเทียมจะมีระบบ
เช้อื เพลงิ เพอื่ ควบคุมตาํ แหน่งให้อยู่ในตาํ แหนง่ องศาที่ไดส้ ัปทานเอาไว้ กบั หนว่ ยงานที่
ดแู ลเรื่องตาํ แหน่งวงโคจรของดาวเทยี มคอื IFRB (International Frequency Registration
Board) ดาวเทียมทลี่ อยอยูบ่ นทอ้ งฟ้า จะทาํ หนา้ ที่เหมอื นสถานีทวนสญั ญาณ คือจะรับ
สัญญาณทย่ี ิงข้ึนมาจากสถานีภาคพน้ื ดนิ เรียกสญั ญาณน้ีว่าสัญญาณขาข้นึ หรือ (Uplink)
รับและขยายสญั ญาณพรอ้ มท้งั แปลงสญั ญาณให้มีความถตี่ ่าํ ลงเพอ่ื ป้องกนั การรบกวนกนั
ระหวา่ งสัญญาณขาข้ึนและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทาํ หน้าทีร่ ับและส่งสญั ญาณ ส่วน
สัญญาณในขาลงเรียกวา่ (Downlink)
2.1.2 ประเภทของดาวเทียม
1) ดาวเทยี มส่ือสาร เป็นดาวเทียมทม่ี จี ุดประสงค์เพอ่ื การศึกษาและทางการโทรนาคม

จะถกู ส่งไปในช่วงของอวกาศเขา้ สู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพน้ื โลกประมาณ
35.786. กิโลเมตร

16

2) ดาวเทียมสาํ รวจ เป็นการใชด้ าวเทยี มสาํ รวจทรพั ยากรและสภาพแวดลอ้ มของโลก
เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีการถา่ ยภาพ และโทรคมนาคม โดยการทาํ งาน
ของดาวเทยี มสาํ รวจทรพั ยากรจะใชห้ ลกั การ สํารวจขอ้ มูลจากระยะไกล

3) ดาวเทยี มพยากรอากาศ เป็นดาวเทียมวงโคจรต่าํ ทมี ีวงโคจรแบบใกลข้ ้วั โลก ทร่ี ะยะสงู
ประมาณ 800 กิโลเมตร จงึ ไม่มรี ายละเอียดสูงเทา่ ภาพถ่ายทไ่ี ดจ้ ากดาวเทียมทาํ แผนที่

4) ดาวเทียมทางการทหาร คือดาวเทียมทแ่ี ตล่ ะประเทศมีไวเ้ พอ่ื สอดแนมศตั รหู รือขา้ ศกึ
5) ดาวเทียมดา้ นวิทยาศาสตร์
6) ดาวเทยี มทาํ แผนที่ เป็นดาวเทียมทมี่ ีวงโคจรต่าํ (LEO) ทีร่ ะดบั ความสูงไมเ่ กนิ 800

กิโลเมตร เพื่อให้ไดภ้ าพที่มีรายละเอยี ดสูง
7) ดาวเทยี มเพือ่ การนาํ ร่อง เป็นระบบบอกตาํ แหนง่ พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์พนื้ โลก ซ่งึ

ประกอบดว้ ยเครือขา่ วดาวเทยี มจาํ นวน 32 ดวง
8) ดาวเทยี มโทรคมนาคม
9) ดาวเทยี มภารกจิ พเิ ศษ
( ดาวเทียม, 2561: ออนไลน์ )
2.2 จรวด
หมายถงึ ขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบนิ หรือพาหนะอนื่ ใดทอ่ี าศยั แรงผลกั ดนั ของไอเสีย
ท่มี ตี อ่ ตวั จรวดในการพุ่งไปขา้ งหน้า โดยใช้การเผาผลาญเช้อื เพลิงในเคร่ืองยนตจ์ รวด ในจรวดทกุ
ชนิดไอเสียจะเกดิ ข้ึนท้งั หมดจากเช้ือเพลงิ ขบั ดนั ท่บี รรทกุ ไปดว้ ยภายในจรวดกอ่ นทีจ่ ะถูกใช้
งาน จรวดเคมสี รา้ งพลงั งานจากการเผาผลาญเช้ือเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเช้อื เพลงิ และตวั อ๊
อกซิไดซภ์ ายในหอ้ งเผาไหมจ้ ะทาํ ใหเ้ กิดก๊าซรอ้ นทม่ี ีอณุ หภมู สิ ูงมากและขยายตวั ออกไปทางหวั ฉดี
ทาํ ให้ก๊าซเคล่อื นทด่ี ว้ ยความเร่งในระดบั ไฮเปอร์โซนิก ซ่ึงทาํ ใหเ้ กดิ แรงผลกั มหาศาลตอ่ ตวั จรวด
ตามกฎขอ้ ท่ีสามของนิวตนั (แรงกิริยาเท่ากบั แรงปฏกิ ิริยา)โดยในทางทหารและสนั ทนาการมี
ประวตั ิของการใช้จรวดเป็นอาวธุ และเครื่องมือในชว่ งเวลาน้ัน

17

2.2.1 การทาํ งานของจรวด
จรวดจะขบั เคลอื่ นไปโดยการพ่นแกส๊ ร้อนท่มี ีความเร็วสูงออกทางท่อทา้ ยของ

จรวด แก๊สรอ้ นดงั กลา่ วไดจ้ ากการเผาไหมข้ องเช้ือเพลิงจรวดหรือดินขบั จรวด ในที่น้ี กิริยา
คือ โมเมนตมั ของแก๊สรอ้ น (มวลของแกส๊ คณู กบั ความเร็วของแก๊ส) ทพี่ ุ่งออกไปทางทา้ ย
ทาํ ให้เกดิ ปฏิกริ ิยา คือ ตวั จรวดเกดิ โมเมนตมั เพมิ่ ข้นึ ในทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม คอื ไปขา้ งหนา้
อตั ราการเปล่ียนแปลงโมเมนตมั ของจรวดน้ีเรียกว่า “แรงขบั ” (Thrust) คาํ ศพั ทอ์ นื่ ๆ ท่ี
เกีย่ วขอ้ ง ซ่ึงจะพบเห็นไดเ้ สมอในวงการจรวด ไดแ้ ก่ “การดลรวม” (Total Impulse)
หมายถึงการดลหรือโมเมนตมั ท้งั หมดทไ่ี ดจ้ ากส่วนขบั เคล่ือนของจรวด เป็นผลคณู
ระหวา่ งแรงขบั กบั ระยะเวลาเผาไหมข้ องส่วนขบั เคลอื่ นของจรวดน้ัน เป็นค่าที่บ่งช้ถี ึง
สมรรถนะของส่วนขบั เคล่ือนของจรวดวา่ จะสามารถขบั ดนั ใหต้ วั จรวดน้ันเคลื่อนทไ่ี ปได้
เร็วและไกลเพียงใด “การดลจาํ เพาะ” (Specific Impulse) หมายถงึ การดลหรือโมเมนตมั ท่ี
ไดต้ ่อมวลของเช้ือเพลงิ หรือดินขบั จรวดหน่ึงหน่วย เป็นคา่ ทีไ่ ดจ้ ากการดลรวมหารดว้ ย
มวลของเช้ือเพลงิ หรือดินขบั จรวด เป็นค่าท่บี ง่ ช้ถี ึงสมรรถนะของเช้อื เพลิงหรือดนิ ขบั
จรวดว่าสูตรน้ี “แรง” เพยี งใด ซ่ึงในส่วนขบั เคลอ่ื นของจรวดน้ันจะบรรจทุ ้งั เช้ือเพลิงและ
ตวั ให้ออกซิเจนไวภ้ ายใน การเผาไหมเ้ พื่อสร้างแก๊สรอ้ นสําหรบั การขบั เคล่ือน จงึ ไมต่ อ้ ง
อาศยั ออกซิเจนจากภายนอก ( ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั จรวด, 2564: ออนไลน์ )

ภาพที่ 19 แรงขบั ( ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั จรวด, 2564: ออนไลน์ )
2.2.2 ประเภทของจรวด

จรวดอาจแบง่ ออกตามลกั ษณะของส่วนขบั เคลอื่ น ไดเ้ ป็น 3 ชนิด คือจรวดเชอ้ื เพลงิ
เหลว, จรวดเช้อื เพลงิ แข็ง และน้องใหม่ของวงการจรวด คอื จรวดลูกผสม (ไฮบริด)

18

2.3 กระสวยอวกาศ
คือเคร่ืองบนิ อวกาศ ทะยานข้ึนเหมอื นจรวดและไปโคจรรอบโลก มปี ี กและตอนกลบั สู่

โลกจะร่อนลงตามรันเวยเ์ หมือนเคร่ืองบนิ กระสวยอวกาศ สามารถนาํ มาใชไ้ ดห้ ลายๆคร้ัง ( .Adisak
Mahawan, 2560: ออนไลน์ )

2.3.1 การทาํ งานของกระสวยอวกาศ
ส่วนสาํ คญั ของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถงึ ยานโคจร) จะ

พาลกู เรือและสมั ภาระไปยงั อวกาศในขณะทจี่ ะส่งกระสวยอวกาศข้นึ ไป กระสวยจะอย่ทู ี่
ฐานส่งโดยจะต้งั ช้ีข้ึนไปคลา้ ยจรวด ขา้ ง ๆ ออร์บเิ ตอร์จะมีแทงคน์ ้าํ มนั ขนาดใหญ่ ซ่ึง
เรียกวา่ แทงค์ดา้ นนอก (External Tank) ซ่ึงมนั จะเกบ็ ออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะท่ี
มนั ข้ึนเช้ือเพลิงเหลา่ น้ีจะถูกสูบเขา้ ไปยงั เคร่ืองยนตห์ ลกั 3 เครื่อง ของออร์บเิ ตอร์
นอกจากน้ียงั มีแทงคข์ นาดเลก็ ท่อี ยขู่ า้ ง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพ่อื ใหแ้ รงผลกั ดนั พเิ ศษ
ในขณะส่งกระสวยข้นึ ซ่ึงเรียกวา่ Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทาํ งานคลา้ ยกบั
จรวดดอกไมไ้ ฟขนาดใหญ่ เมอื่ กระสวยอวกาศทะยานข้ึน หลงั จากน้ันประมาณ 2 นาที
เช้อื เพลงิ ในแทงค์เช้ือเพลงิ SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกบั ร่มชชู ีพ อตั ราความเร็ว
ของกระสวยคอ่ ย ๆ เพม่ิ ข้ึนจนถงึ ความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากน้นั เคร่ืองยนต์หลกั จึงหยดุ
ทาํ งาน และถงั เช้ือเพลงิ ภายนอกซ่ึงวา่ งเปลา่ จะถกู ปล่อยตกลงสู่ทะเล เคร่ืองยนต์ของจรวด
สองลาํ จะรบั ภาระตอ่ ไป ซ่ึงเรียกว่า ระบบการยกั ยา้ ยการโคจร ในระหวา่ งการโคจร

2.3.2 ประเภทของกระสวยอวกาศ
1. ยานเอน็ เตอร์ไพรส์ ถูกใช้ในการทดสอบระบบตน้ แบบเทา่ น้ัน ไมเ่ คยถกู ใช้งาน

ในอวกาศจริง
2. ยานโคลมั เบยี ค.ศ. 1981 นับเป็นกระสวยอวกาศลาํ แรกทีไ่ ดข้ ้ึนบนิ ในอวกาศ

ประสบอุบตั เิ หตรุ ะเบดิ ขณะจะลงสู่พื้นโลก
3. ยานชาเลนเจอร์ ค.ศ. 1983 ประสบอุบตั เิ หตุระเบิดกลางอากาศหลงั จากทะยาน

ข้ึนออกจากฐาน

19

4. ยานดสิ คฟั เวรี ค.ศ. 1984
5. ยานแอตแลนตสิ ค.ศ. 1985
6. ยานเอ็นดฟี เวอร์ ถกู สรา้ งข้นึ หลงั กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ประสบอบุ ตั เิ หตุ
ค.ศ. 1992 ( Adisak Mahawan, 2560: ออนไลน์ )
2.4 สถานีอวกาศ
เป็นสิง่ กอ่ สรา้ งทอ่ี อกแบบโดยมนุษย์ เพือ่ ใชเ้ ป็นทอ่ี ยู่การดาํ รงชพี ในอวกาศ โดยอยู่ในวงโคจร
ต่าํ (LEO)
2.4.1 การบริหารสถานีอวกาศ

ลูกเรือถาวรของสถานีอวกาศแตล่ ะรุ่นจะมีหมายเลขเอก็ ซ์เพดิชั่นเรียง
ตามลาํ ดบั เอก็ ซเ์ พดชิ ั่นแต่ละรุ่นใชเ้ วลาปฏิบตั ิภารกจิ ประมาณคร่ึงปี โดยมีการรบั
มอบและส่งมอบงานกนั อยา่ งเป็นทางการระหว่างผบู้ ญั ชาการเอก็ ซ์เพดิชั่นรุ่นหน่ึง
ไปยงั อกี รุ่นหน่ึง เอก็ ซเ์ พดชิ ่ัน 1 ถงึ 6 ประกอบดว้ ยลูกเรือรุ่นละ 3 คน แตห่ ลงั จาก
อบุ ตั เิ หตกุ บั กระสวยอวกาศโคลมั เบยี จงึ มีการลดจาํ นวนลูกเรือเหลอื เพียง 2 คนใน
เอ็กซเ์ พดิชัน่ 7 ถึง 12 เอ็กซเ์ พดชิ ัน่ 13 ไดป้ รบั จาํ นวนลูกเรือกลบั มาเป็น 3 คนอกี
คร้งั หน่ึง และคงจาํ นวนน้ันอยู่จนถงึ ปัจจุบนั ขณะท่มี ลี กู เรือถาวรประจาํ สถานี
อวกาศ ในบางรุ่นเช่นเอ็กซเ์ พดิช่นั 16 มลี ูกเรือรวมนักบนิ อวกาศหรือนักทอ่ ง
อวกาศถงึ 6 คนซ่ึงจะบินไปมาระหวา่ งสถานีกบั เที่ยวบนิ ต่างๆ กนั
2.4.2 การทาํ งานของสถานีอวกาศ

ทาํ หน้าท่ีเป็นหอ้ งทดลองวจิ ยั อยา่ งถาวรในอวกาศ ทาํ การทดลองดา้ นต่าง ๆ
ไดแ้ ก่ ชีววิทยา ชวี วิทยามนุษย์ ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ และ อุตุนิยมวทิ ยา ซ่งึ ตอ้ ง
อาศยั การทดลองในสภาวะที่มีแรงโนม้ ถว่ งนอ้ ยมากๆ สถานีอวกาศแห่งน้ียงั ทาํ
หน้าที่เป็นสถานท่ีทดสอบสําหรับระบบกระสวยอวกาศทม่ี ีประสิทธิภาพและ
เช่ือถือได้ ซ่ึงจาํ เป็นตอ้ งใชส้ าํ หรับปฏบิ ตั ิการระยะยาวเพ่อื การไปสู่ดวงจนั ทร์และ
ดาวองั คาร ( ยานสํารวจอวกาศและสถานีอวกาศนานาชาติ, 2557: ออนไลน์ )

20

2.5 ยานอวกาศ
คือยานพาหนะ ยานหรือเคร่ืองยนต์ที่ออกแบบมาเพอื่ บนิ ไปในอวกาศ ยานอวกาศถกู นาํ มาใช้

สําหรบั วตั ถุประสงคท์ ่หี ลากหลาย รวมถงึ การสื่อสารโทรคมนาคม การสังเกตโลก การ
อตุ นุ ิยมวิทยา การนาํ ทาง การสํารวจดาวเคราะหแ์ ละการขนส่งมนุษยแ์ ละสินคา้

2.5.1 การทาํ งานของยานอวกาศ
ควบคมุ การวางตวั ให้ถูกตอ้ งในอวกาศและตอบสนองกบั แรงบิดและแรงอน่ื ๆ

ภายนอกอยา่ งเหมาะสม ระบบน้ีประกอบดว้ ย เซ็นเซอร์และตวั บงั คบั (องั กฤษ: actuator)
ซ่ึงทาํ งานร่วมกบั ลาํ ดบั ข้นั ตอนทแี่ นน่ อนซ่ึงใชใ้ นการควบคมุ ระบบจะช่วยหนั ไปที่จุดที่
เหมาะสมสําหรบั วตั ถปุ ระสงคท์ างวิทยาศาสตร์, หันไปที่ดวงอาทิตยเ์ พอื่ ใหแ้ สงอาทติ ยต์ ก
กระทบกบั ชดุ ของเซลล์แสงอาทติ ยเ์ ตม็ ทห่ี รือหันไปทางโลกเพอื่ การส่ือสาร การคาํ นวณ
ของคาํ สัง่ (มกั จะทาํ โดยระบบยอ่ ย CDH) ท่จี าํ เป็นสาํ หรบั คดั ทา้ ยยานอวกาศไปในทิศทาง
ทีต่ อ้ งการ การนาํ ร่องหมายถงึ การกาํ หนดองคป์ ระกอบของวงโคจรหรือตาํ แหนง่ ของยาน
อวกาศ การควบคมุ หมายถึงการปรบั เปลีย่ นเสน้ ทางของยานอวกาศเพ่อื ทจี่ ะตอบสนอง
ความตอ้ งการของภารกจิ . ในภารกจิ บางอยา่ ง GNC และ ADC จะรวมกนั เป็นหน่ึงระบบ
ย่อยของยานอวกาศ

2.5.2 ประเภทของยานอวกาศ
1.ยานอวกาศท่มี ีมนุษยค์ วบคุม (Manned Spacecraft)
2.ยานอวกาศท่ีไมม่ มี นุษยค์ วบคุม (Unmanned Spacecraft)

21

บทท่ี3
สิ่งประดษิ ฐ์และนวัตกรรมท่ไี ด้จากการท่องอวกาศ

3.1ส่ิงประดษิ ฐ์ทไี่ ด้จากการท่องอวกาศ
จากสิ่งประดิษฐ์ทีใ่ ชส้ ําหรบั การปฏบิ ตั ิภารกจิ นอกโลก ยุคเทคโนโลยีทก่ี าํ ลงั เปล่ียนสมยั

จากยุคสมยั ใหมต่ อนปลายสยู่ คุ ยคุ ศตวรรษท่ี 20 และความคดิ ของมนษุ ยท์ ่ไี มม่ กี ารหยดุ พฒั นา ทาํ
ให้เกดิ สิ่งของเครื่องใช้ข้ึนมาใหไ้ ดใ้ ช้จนถึงทกุ วนั น้ี จากสิ่งของเหลา่ น้ีไดแ้ ก่

3.1.1 กลอ้ งโทรศพั ท์มอื ถอื เม่อื ราวปี ค.ศ.1990 ทีมนักวิทยาศาสตร์ของ Jet
Propulsion Laboratory (JPL) นาซ่า ไดค้ ดิ คน้ กลอ้ งขนาดเลก็ เพ่ือตดิ ต้งั บนยานอวกาศ
สาํ หรับงานสํารวจทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ โทรศพั ทถ์ อื ตอนน้ัน ยงั เป็นระบบโทรศพั ท์
คลน่ื วิทยุอยู่ มขี นาดใหญ่ ใช้ไดแ้ ค่โทรเขา้ และออกเทา่ น้ัน และมีราคาสูงถึง4,000เหรียญ
หรือประมาณ120,000บาทไทย และความคิดน้ันกไ็ ดร้ บั การตอ่ ยอดจนมาสู่กลอ้ งมือถอื ท่ใี ห้
ไดถ้ ่ายรูปผ่านโทรศพั ทม์ อื ถอื กนั

ภาพท่ี20 โทรศพั ทม์ อื ถือในปี 1990 (Michael Hartz, 2563: ออนไลน)์
3.1.2 เลนสก์ นั รอยขดี ข่วน เริ่มมาจากนกั วทิ ยาศาสตร์จากศนู ยว์ จิ ยั เลวสิ (Lewis)
ของนาซ่าในปี1989 ไดพ้ ฒั นาวิธีการเคลือบวสั ดุดว้ ยเพชรแข็งสําหรบั อากาศยาน กนั รอย
ขีดข่วนจากขยะอวกาศได้ ตอ่ มากระบวนการดงั กล่าวไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองและมี
การจดสิทธิบตั รเป็นทเี่ รียบรอ้ ย จนถงึ ตอนน้ีเลนสก์ นั รอยขดี ขว่ นหาพบไดท้ วั่ ไปเช่น แวน่
เลนส์กลอ้ งถา่ ยรูป และกลอ้ งโทรศพั ทม์ ือถือ เป็นตน้

22

3.1.3 เครื่องซีทสี แกน การเดนิ ทางในหว้ งอวกาศท่ีมดื สนิท จาํ เป็นตอ้ งมเี คร่ืองมือ
ช่วยเหลือการมองเห็นเพื่อชว่ ยในการนาํ ทาง นกั วทิ ยาศาสตร์จาก JPL นาซา่ จึงไดค้ ิดคน้
การถ่ายภาพอวกาศดว้ ยรงั สี เป็นเทคนิคการไดม้ าซ่ึงขอ้ มูลโดยไม่ตอ้ งอาศยั แสงอาทติ ย์
ตอ่ มาพฒั นากลายมาเป็นเครื่องซีทีแสกนและใช้กนั อย่างแพร่หลายในทางการแพทยใ์ น
ปัจจบุ นั

ภาพที่21 เครื่องซีทสี แกน (ประชาชืน่ MRI, :ออนไลน)์
3.1.4 หลอดไฟแอลอดี ี นาซ่าพฒั นาหลอด LED แสงสีแดงข้นึ เพ่อื ใช้ในการวจิ ยั
การปลกู พชื ในสถานีอวกาศและกระสวยอวกาศ ตอ่ มาทางบริษทั Quantum Devices ได้
นาํ มาเป็นต้นแบบพฒั นาอุปกรณ์ที่ชือ่ ว่า WARP-10 รกั ษาอาการบาดเจบ็ ของกลา้ มเน้ือ
และภายหลงั LED แสงสีต่างๆก็ไดถ้ กู พฒั นาข้ึน ขนาดเลก็ ลงและใชพ้ ลงั งานนอ้ ยลง จน
นาํ ไปสร้างหนา้ จอท่มี แี สงจากดา้ นหลงั ต่อมาเทคนิคดงั กล่าวไดใ้ ช้เพอ่ื พฒั นาเป็นหลอดไฟ
แอลอดี ี หน้าจอสมาร์ทโฟนและโทรทศั น์หลายรุ่นในปัจจบุ นั
3.1.5 ผา้ ห่มฟอยล์ พฒั นามาจากฉนวนกันความรอ้ นจากดวงอาทิตยใ์ ชก้ บั ดาวเทียม
หรือยานอวกาศทป่ี ฏิบตั ิภาระกจิ ในอวกาศ ตอ่ มาไดก้ ลายมาเป็นอุปกรณ์ช่วยชีวติ อย่างหน่ึง
ทจ่ี ะขาดเสียมไิ ดใ้ นงานกภู้ ยั และการให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือกกั เกบ็ ความรอ้ นภายในร่างกาย
คนเราไม่ให้ออกสูส่ ิ่งแวดลอ้ มมากเกนิ ไปและเฉียบพลนั จนทาํ ใหเ้ กดิ ภาวะตวั เยน็ หรือ
อณุ หภมู ิกายต่าํ ผิดปกติ ทอี่ าจเป็นอนั ตรายถึงชีวติ ได้
3.1.6 เครื่องดูดฝ่นุ ในช่วงยคุ แหง่ การสํารวจดวงจนั ทร์ นาซา่ ร่วมกบั บริษทั Black
& Decker ไดร้ ่วมกนั ออกแบบและพฒั นาอปุ กรณ์เก็บชิน้ ส่วนตวั อย่างหินจากดวงจนั ทร์
ภายใตโ้ ครงการ Apollo ต่อมาในปี ค.ศ. 1979 ไอเดยี ดงั กลา่ วไดถ้ กู พฒั นาต่อยอดจน
กลายเป็นเคร่ืองดดู ฝุ่นทีเ่ ราใชอ้ ยตู่ ามบา้ นในปัจจุบนั

23

3.1.7 เครื่องวดั อณุ หภมู ิอนิ ฟราเรด นาซา่ ร่วมกบั บริษทั Diatek พฒั นาเคร่ืองวดั
อุณหภมู ริ ่างกายผา่ นทางหู โดยอาศยั คลื่นอนิ ฟราเรดเพือ่ ตรวจวดั คา่ พลงั งานทไ่ี ดจ้ ากแกว้ หู
ของนักบินอวกาศ ตอ่ มาเคร่ืองดงั กล่าวกลายเป็นตน้ แบบการพฒั นาเคร่ืองวดั อณุ หภมู ิ
อินฟราเรดในปัจจบุ นั และถกู นาํ ไปใชง้ านหลากหลายยิง่ ข้นึ เช่น การตรวจสอบอุณหภมู ิ
ของอาหารจานรอ้ น อุณหภูมิของชิน้ ส่วนต่างๆของร่างกาย อุณหภูมิน้าํ หล่อเยน็ รวมถงึ ทาง
การแพทย์ เป็นตน้

3.1.8 หูฟงั แบบไรส้ าย เริ่มมาจากเพ่อื อาํ นวยความสะดวกนกั บนิ อวกาศในระหวา่ ง
ปฏิบตั ิภารกจิ และเพิ่มความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิภารกจิ จากสายต่างๆ ตอ่ มาเม่อื ปี ค.ศ.
1962 ก็ไดน้ าํ มาใชก้ บั นักบนิ สายการบิน United Airlines และพนักงานควบคุมการจราจร
ทางอากาศ และใชง้ านทว่ั ไปเชน่ ดูหนงั ฟังเพลง คุยโทรศพั ท์ ไดใ้ นเวลาต่อมา

ภาพที่22 หูฟงั ไรส้ าย (Space Explorer นกั สํารวจอวกาศ, 2563:ออนไลน)์
3.1.9 อาหารแชแ่ ข็งแห้ง เป็นหน่ึงในสิ่งท่ีนาซา่ ไดท้ มุ่ ทุนทาํ การวจิ ยั อยา่ งหนกั

หนว่ ง ก็คือเรื่องอาหารท่จี ะใหน้ กั บินอวกาศใช้ทานในอวกาศ มีหลากหลายเทคโนโลยีท่ี
ถกู นาํ มาใช้ ซ่ึงหน่ึงในน้ันคือ การแช่แขง็ แหง้ คือ การเอาความช้ืนออกจากวสั ดุท่ีแช่แขง็
แลว้ ในขณะที่มนั ยงั คงอยใู่ นสภาพเดิม รกั ษารูปร่างและโครงสร้างไวเ้ หมอื นเดมิ รวมถึง
รักษาคุณคา่ ทางอาหารให้คงเดมิ ไดถ้ งึ 98% ในขณะทีน่ ้าํ หนักของอาหารลดเหลอื เพยี ง

24

20% ปัจจบุ นั ไอเดียดงั กลา่ วมคี วามสําคญั มากในธรุ กิจส่งออกอาหาร และหาซื้อไดต้ ามรา้ น
สะดวกซ้ือทว่ั ๆไป

ภาพท่2ี 3 อาหารแช่แข็งแหง้ (เสน้ ทางเศรษฐีออนไลน,์ 2564: ออนไลน)์
3.1.10 เมาส์ ช่วงยุคตน้ คริสตท์ ศวรรษ 1960 นกั วิจยั นาซา่ ไดพ้ ยายามคิดคน้ วิธีทีจ่ ะ

ทาํ ให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองไดด้ ยี ิ่งข้นึ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมอื สาํ คญั สําหรบั การคาํ นวณใน
ภารกิจต่างๆของนาซ่าทีต่ อ้ งอาศยั การพมิ พป์ ้อนคาํ สั่งอย่างเดยี วในขณะน้ัน ตอ่ มาไดม้ กี าร
นาํ เสนอไอเดียการจดั การขอ้ มูลผ่านจอคอมพิวเตอร์ ซ่งึ กน็ าํ มาสู่การประดษิ ฐ์เมาสค์ วบคุม
การสง่ั การผา่ นหนา้ จอ เป็นตน้ แบบการพฒั นาจนเป็นเมาส์ไรส้ าย แป้นควบคมุ รวมถงึ
หน้าจอสมั ผสั ในปัจจุบนั แมว้ ่าเมาสจ์ ะไม่เป็นผลผลิตทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสํารวจอวกาศ
โดยตรงแตก่ ็นบั ว่าเป็นความกา้ วหน้าทีส่ ําคญั ที่ทาํ ใหภ้ ารกจิ ของนาซา่ ประสบความสําเร็จ
สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความพยายามในการแกป้ ัญหาของมนุษยเ์ รา

ภาพท่ี24 เมาสต์ วั แรกของโลก (NUTCHAPONG R., 2561:ออนไลน์)

25

3.2 นวตั กรรมที่ไดจ้ ากการไปเหยยี บดวงจนั ทร์
หลงั จากเหตุการณว์ นั ท่ี20 กรกฎาคม ค.ศ.1969 ที่นีล อาร์มสตรอง ไดเ้ หยียบพืน้ ผิวดวง

จนั ทร์ จากงบประมาณของโครงการอะพอลโลซ่งึ มมี ลู คา่ ประมาณ2 แสนลา้ นดอลลาร์สหรัฐ ไดท้ าํ
ให้เกิดนวตั กรรมและกา้ วหน้าทางเทคโนโลยใี นชวี ิตประจาํ วนั โดยท่เี ราไม่รู้ตวั ม6ี นวตั กรรมที่
เกดิ ข้ึนดงั น้ี

3.2.1การทาํ ความสะอาดกลายเป็นเรื่องง่ายๆ บริษทั แบลก็ แอนด์ เดกเคอร์ (B&D)
ผผู้ ลิตเคร่ืองมอื สญั ชาติอเมริกนั วางตลาดสินคา้ ใหม่เป็นเครื่องเจาะ ไรส้ ายตง้ั แตป่ ี 1961
แตบ่ ริษทั เดยี วกนั น้ีไดพ้ ฒั นาเคร่ืองเจาะชนิดพเิ ศษสาํ หรับเก็บตวั อยา่ งช้นั ดินหินใตพ้ ืน้ ผวิ
ของดวงจนั ทร์ให้กบั องคก์ ารนาซาดว้ ย ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการพฒั นาเคร่ืองยนต์และแบตเตอรี่
ของอปุ กรณต์ วั น้ี ทาํ ให้ B&D สามารถบุกเบิกตลาดสินคา้ อุปกรณไ์ ฟฟ้าชนิดใหม่ ๆ ไดอ้ ีก
หลายชิ้น รวมถงึ เคร่ืองดูดฝ่ ุนไร้สายรุ่นแรกของโลก "ดสั ต์บสั เตอร์" (Dustbuster) ซ่ึง
จาํ หน่ายไดถ้ ึง 150 ลา้ นเคร่ือง ภายในระยะเวลา 30 ปี หลงั ออกสู่ตลาดคร้ังแรกในปี 1979

ภาพที2่ 5 เคร่ืองดูดฝ่ ุนไรส้ ายเคร่ืองแรกของโลก (BBC NEWS ไทย, 2562:
ออนไลน์)

3.2.2 นาฬกิ าทีจ่ บั เวลาไดแ้ มน่ ยาํ ข้ึน นับวา่ สาํ คญั อยา่ งยิ่งต่อความสําเร็จของภารกิจ
เหยยี บดวงจนั ทร์ ความแตกตา่ งเพียงเส้ยี ววินาทกี ส็ ามารถส่งผลตอ่ ความเป็นความตายของ
นกั บนิ อวกาศได้ จงึ ไม่นา่ แปลกใจท่ีองคก์ ารนาซาตอ้ งการนาฬิกาทีเ่ ท่ียงตรงแมน่ ยาํ ทส่ี ุด
เพ่ือควบคมุ ภารกิจให้ลลุ ว่ งผลท่ีไดจ้ ากการแกป้ ัญหาเร่ือง จบั เวลาน้ีก็คือ นาฬกิ าควอตซ์
หรือนาฬิกาอเิ ล็กทรอนิกสร์ ุ่นใหม่ท่ีมคี วามแม่นยาํ สูง ซ่ึงถกู นาํ มาผลติ เป็นสินคา้ ทีใ่ ชก้ นั

26

แพร่หลายในเวลาต่อมา โดยเวลาท่ีนาฬิการุ่นน้ีบอกจะคลาดเคลือ่ นไปเพยี ง 1 นาทีต่อปี
เทา่ น้ัน

ภาพที่26 นาฬิกาควอตซ์ ( GQ Thailand, 2560:ออนไลน์)
3.2.3 น้าํ สะอาดดว้ ยไอออนเงนิ เป็นเทคโนโลยที ีท่ าํ ใหน้ ้าํ ดม่ื น้าํ ใช้บนยาน
อะพอลโลสะอาดบริสุทธ์ิน้นั ปัจจุบนั ถกู นาํ มาใช้ในอปุ กรณ์หลากหลายชนิด เพื่อฆ่าเช้ือ
แบคทีเรีย เช้อื ไวรัส และสาหร่ายท่ีปนเป้ื อนมากบั แหลง่ น้าํ โครงการอพอลโลเป็นผรู้ ิเริ่ม
คิดคน้ เทคโนโลยีดงั กล่าว ซ่ึงหลกี เลยี่ งไม่ใชค้ ลอรีนเป็นตวั ฆา่ เช้อื แตห่ ันไปใช้ไอออนเงิน
หรืออนุภาคมีประจุไฟฟา้ ของธาตเุ งินในการทาํ ใหน้ ้าํ สะอาดแทน ทุกวนั น้ีเราจะพบวา่
ระบบดงั กล่าวมใี ชก้ นั ทวั่ ไปตามสระว่ายน้าํ และน้าํ พสุ าํ หรบั ใชด้ มื่ ทกุ แห่งทวั่ โลก
3.2.4 รองเทา้ กฬี าสุดแกร่งจากชดุ นกั บนิ อวกาศ
นักบนิ อวกาศในทกุ วนั น้ียงั คงสวมชดุ ทไ่ี ดร้ บั การออกแบบมาเพอ่ื ภารกิจอพอลโลในปี
1965 ซ่ึงมงุ่ ออกแบบให้ปกป้องร่างกายของนกั บนิ อวกาศขณะปฏิบตั ิหน้าทบ่ี นดวงจนั ทร์
เป็นหลกั อยา่ งไรกต็ าม ส่วนหน่ึงของชุดนักบินอวกาศน้ีเป็นแรงบนั ดาลใจให้มกี ารผลิต
รองเทา้ กฬี าท่ียืดหยุ่นไดม้ ากข้ึน เกาะพน้ื ผวิ และดดู ซับแรงกระแทกไดด้ ขี ้ึน ออกมา
วางตลาดในชว่ งไมก่ ่ีสิบปีที่ผ่านมาดว้ ย

ภาพที2่ 7 รองเทา้ วิ่งยหี ้อAdidas (Praornpit Katchwattana, 2562:ออนไลน)์

27

3.2.5 ผา้ ทนไฟและเส้อื คลายรอ้ น จากเหตเุ กิดไฟไหมท้ ท่ี าํ ลายยานอะพอลโล 1 ใน
ระหว่างปฏบิ ตั ิการฝึกซอ้ มเมื่อปี 1967 ทาํ ใหน้ ักบนิ อวกาศที่อย่ใู นยานเสียชวี ติ ไปถึง 3 ราย
และทาํ ใหโ้ ครงการอวกาศของสหรฐั ฯตอ้ งพบกบั ความปั่นป่ วนไปพกั ใหญ่ อุบตั ิเหตุ
ดงั กลา่ วไดท้ าํ ใหน้ าซามีโอกาสพฒั นาผา้ ทนไฟรุ่นใหมข่ ้ึนมาใชง้ าน รวมท้งั มกี ารคดิ คน้
เส้ือทาํ ความเยน็ ข้ึนมาช่วยคลายความร้อนทส่ี ะสมในตวั นกั บนิ อวกาศขณะออกปฏบิ ตั ิงาน
นอกตวั ยานอกี ดว้ ย ในภายหลงั ส่งิ ประดษิ ฐ์ท้งั สองน้ีถกู นาํ มาใช้กบั งานทว่ั ไปบนโลก เช่น
เส้ือทาํ ความเยน็ สําหรบั คนไขโ้ รคปลอกประสาทอกั เสบในระบบประสาทส่วนกลาง
(Multiple Sclerosis) ทจี่ ะรู้สึกไวตอ่ ความรอ้ นเป็นพเิ ศษ หรือแมก้ ระทงั่ ประยกุ ตเ์ ป็นชุดทาํ
ความเยน็ สาํ หรบั สวมใหม้ า้ แข่ง

ภาพที2่ 8 ชดุ ดบั เพลงิ ที่ทาํ มาจากผา้ ทนไฟ (BBC NEWS ไทย, 2562:ออนไลน์)
3.2.6 เครื่องกระตุน้ หัวใจขนาดจิว๋ แบบฝงั ติดตวั อปุ กรณ์การแพทยข์ นาดเล็ก

สาํ หรับผูป้ ่วยซ่ึงมีการเตน้ ของหัวใจผดิ ปกตแิ บบเส่ียงอนั ตรายตลอดเวลาน้ัน มีผคู้ ดิ คน้ ข้นึ
เป็นคร้งั แรกและนาํ ออกใช้งานในชว่ งทศวรรษ 1980 หลงั จากนาซาสามารถพฒั นา
เทคโนโลยวี งจรไฟฟ้าขนาดจ๋วิ ให้กา้ วล้าํ ไปไดอ้ กี ข้นั เคร่ืองกระตุน้ หัวใจแบบน้ีตา่ งจาก
อปุ กรณท์ ี่หนว่ ยกภู้ ยั และหน่วยปฐมพยาบาลตา่ ง ๆ ใช้กนั อยมู่ าก เพราะมีขนาดเลก็ จน

28

สามารถผา่ ตดั ฝงั ไวใ้ ตผ้ ิวหนังของคนไข้ เพ่ือคอยเฝ้าระวงั จงั หวะการเตน้ ของหัวใจได้
ตลอดเวลา หากมีความผดิ ปกตเิ กดิ ข้นึ เคร่ืองกจ็ ะปลอ่ ยสัญญาณไฟฟา้ เพอื่ แกไ้ ขในทนั ที

ภาพท่ี29 เคร่ืองกระตนุ้ หัวใจขนาดจิว๋ แบบฝงั ติดตวั (BBC NEWS ไทย, 2562:ออนไลน์)

29

บทท่ี4
บทที่ 4 หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยอี วกาศ

นบั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบนั การสํารวจอวกาศเป็นสิ่งทปี่ ระเทศมหาอาํ นาจต่างไดว้ าง
ยทุ ธศาสตร์ในการขยายอาํ นาจสู่อวกาศกนั แลว้ โดยลา่ สุดประเทศมหาอาํ นาจอย่าง สหรฐั อเมริกา
ไดเ้ ร่ิมการจดั ต้งั กองทพั อวกาศข้ึน ซ่ึงนับเป็นหน้าประวตั ิศาสตร์ใหมข่ องมวลมนุษยชาติที่แสดงให้
เห็นอย่างชดั เจนวา่ ในอนาคตอนั ใกล้ ประเทศมหาอาํ นาจอยา่ ง สหรัฐฯ รสั เซีย ญ่ีป่นุ อนิ เดยี และจนี
มกี ารเตรียมทาํ พน้ื ท่อี วกาศเป็นอกี หน่ึงอาณานิคมของมนุษยเ์ พื่อรองรับการอพยพหากโลกไม่
สามารถดาํ รงชพี อยไู่ ด้ เพราะเหตผุ ลในเรื่องความแปรปรวนของดวงอาทิตย์ ส่งผลตอ่ การดาํ รงชพี
ของสิ่งมีชวี ิตในอนาคต ซ่ึงหากเราสังเกตจากประวตั ิศาสตร์จะสงั เกตไดว้ า่ องคก์ ารการบินอวกาศ
ของสหรฐั หรือ นาซ่า ไดส้ ่งยานไปยงั ดาวองั คาร และดวงจนั ทร์ คร้งั แลว้ คร้งั เล่า ส่ิงตา่ ง ๆเหล่าน้ี
ลว้ นใชเ้ งนิ งบประมาณมหาศาล ซ่ึงแนน่ อนว่ามนั ตอ้ งเก่ยี วพนั กบั ผลประโยชน์ของชาตใิ นพ้ืนที่
อวกาศอยา่ งแน่นอน
4.1 องคก์ ารบริหารการบนิ และอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration)

หรือองคก์ ารนาซา (NASA) เป็นหนว่ ยงานส่วนราชการ รบั ผดิ ชอบในโครงการอวกาศและ
งานวิจยั ห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐ กอ่ ต้งั เมอ่ื วนั ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501
ภารกิจหลกั คอื การบกุ เบกิ อนาคตแห่งการสาํ รวจอวกาศ การคน้ พบทางวทิ ยาศาสตร์ และงานวจิ ยั
ทางการบนิ และอวกาศ คาํ ขวญั ขององค์การนาซาคอื "เพอ่ื ประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit
of all)

ภาพที่30 นีล อาร์มสตรองเหยยี บบนดวงจนั ทร์(BBC NEWS ไทย, 2562:ออนไลน)์

30

สําหรบั ภารกิจหลกั ขององคก์ ารนาซาในปัจจุบนั คือ การบุกเบิกอนาคตแห่งการสาํ รวจ
อวกาศ เพอ่ื ประโยชน์ของมวลมนษุ ยชาติ โดยแบง่ การทาํ งานเป็นโครงการสาํ รวจอวกาศ และ
ศนู ยว์ ิจยั ซ่ึงโครงการสาํ รวจอวกาศออกเป็น 2 โครงการใหญ่ ๆ คอื

1. การบินอวกาศปราศจากมนุษยข์ บั คมุ (Unmanned Space Flight) เป็นโครงการสาํ รวจ
อวกาศดว้ ยยานอวกาศและดาวเทยี มชนิดต่าง ๆ ทไ่ี มม่ ีมนุษยข์ ้นึ ไปดว้ ย เชน่ ยานอวกาศสาํ รวจดวง
จนั ทร์และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ส่วนดาวเทยี มท่ีส่งข้นึ ไปโคจรรอบโลกมากมายหลายดวง
ลว้ นมจี ดุ ประสงค์ในการปฏิบตั หิ น้าทเ่ี พื่อประโยชนข์ องมวลมนษุ ย์

2. การบินอวกาศท่ีมมี นุษยข์ บั คมุ (Manned Space Flight) การบินอวกาศทีม่ ีมนุษยข์ บั คุม มี
การตระเตรียมสง่ มนุษยข์ ้นึ ไปในหว้ งอวกาศมาต้งั แต่ปี 2520 โดยประกาศรบั สมคั รบคุ คลที่จะเขา้
ฝึกเป็นมนษุ ยอ์ วกาศชดุ แรกในโครงการเมอควิ รี (Mercury) จนกระทง่ั วนั ท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504
ไดส้ ่งมนษุ ยอ์ วกาศคนแรกของสหรัฐอเมริกา ช่อื อลนั บ.ี เชพพาร์ด ข้ึนไปกบั ยานเมอคิวรี ทมี่ ีช่อื วา่
ฟรีดอม 7 (Freedom 7) ปฏบิ ตั ิการทดลองข้นึ สู่อวกาศในชว่ งเวลาเพยี ง 15 นาที กก็ ลบั ลงส่โู ลก
(มนษุ ยอ์ วกาศคนแรกของโลก ชาวรสั เซียช่ือ ยรู ิ กาการิน ข้ึนสู่อวกาศกบั ยานวอสตอก 1 วนั ท่ี 12
เมษายน พ.ศ. 2504)
4.2 สเปซเอ็กซ์ (Space Exploration Technologies Corporation)

หรือSpaceX เป็นบริษทั เอกชนทางดา้ นธรุ กจิ การขนส่งทางอวกาศนอ้ งใหม่ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา สํานักงานใหญ่อยู่ท่เี มอื งฮาวโทรน, รัฐแคลฟิ อรเ์ นีย สหรัฐอเมริกา กอ่ ตง้ั ข้ึนเม่อื ปี
พ.ศ. 2545 โดยมอี ีลอน มสั ก์ (Elon Musk) ผูร้ ่วมกอ่ ต้งั บริษทั ผลิตรถพลงั งานเทสลา(Tesla)เป็น
ผูบ้ ริหาร เป้าหมายเพอ่ื ลดค่าใชจ้ า่ ยในการส่งจรวดสําหรับการต้งั อาณานิคมท่ดี าวองั คารในอนาคต
บริษทั น้ีไดพ้ ฒั นาจรวดขนส่ง 2 แบบ คือ ฟัลคอน 1 (Falcon 1) และ ฟลั คอน 9 (Falcon 9) โดย
ออกแบบโครงสร้างใหส้ ามารถนาํ กลบั มาใช้ใหมไ่ ดอ้ กี และพฒั นายานอวกาศดรากอน สาํ หรับใช้
กบั จรวดแบบฟัลคอน 9 เพอื่ ส่งสินคา้ สนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกจิ บนสถานีอวกาศนานาชาติ ซ่ึงผล
การทดสอบจรวดแบบฟลั คอน 9 ซ่ึงประสบความสําเร็จในเที่ยวบินแรก เมื่อวนั ท่ี 4 มิถนุ ายน พ.ศ.
2553 และจรวดแบบฟลั คอนเฮฟวี ซ่ึงมีแผนจะทาํ การบนิ คร้งั แรกในปี พ.ศ. 2558 นอกจากน้ี สเปซ
เอ็กซย์ งั ผลติ ยานอวกาศแบบดรากอน ซ่ึงเป็นยานอวกาศแบบปรับความดนั เพอ่ื ใช้ส่งสินคา้ ไปยงั วง

31

โคจรตา่ํ ของโลก และยานอวกาศแบบ ดรากอนไรเดอร์ (Dragon V2) ซ่ึงอยู่ในระหว่างการปรับปรงุ
และทดสอบมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2557

ภาพท่ี31 จรวดฟลั คอน9 กบั อลี อน มสั ก์ (Kate Duffy, 2564:ออนไลน์)
เป้าหมายในอนาคตของสเปซเอก็ ซ์ คือการหาวิธีคาํ นวณคา่ ในการยน่ เวลาเดินทางโดย
ใชS้ pace Superhighwayตวั อยา่ งเช่น เดินทางขา้ มจกั รวาลจากกาแล็กซีทางช้างเผอื กไปยงั กาแลก็ ซี่
แอนดรอเมดา(Andromeda Galaxy) แทนที่จะใชเ้ วลาในการเดนิ ทางเป็นหม่ืนๆกวา่ ปี แต่เม่ืออ่านค่า
น้ีได้ กอ็ าจจะใชเ้ วลาเพียงแคพ่ นั ปี และก็จะอา่ นค่าไปเร่ือยๆ จนถึงข้นั ว่าสามารถเดินทางขา้ ม
จกั รวาลไดภ้ ายใน หลกั รอ้ ยปี หลกั สิบปี หน่ึงปี จนถึงเดอื น หรือวนั นั่นเอง
4.3องค์การอวกาศโซเวยี ต (Soviet space program)
เป็นองค์การที่จดั ทาํ โดยอดีตสหภาพโซเวียตจากชว่ งทศวรรษท่ี 1930 จนถงึ การลม่ สลาย
ของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 ในชว่ งเวลา60ปี ค.ศ.ของโครงการมีความสาํ เร็จใน
หลายอยา่ งอาทิ
- เป็นผบู้ กุ เบกิ ขปี นาวธุ ขา้ มทวีป อาร์-7
- ดาวเทียมดวงแรกของโลก ในสปุตนิก 1
- ไลกา้ ส่ิงมีชีวติ ตวั แรกทเี่ ดินทางไปอวกาศ ในสปตุ นิก 2
- มนษุ ยค์ นแรกในอวกาศ ยรู ิ กาการิน ในวอสตอค 1

32

- ผูห้ ญงิ คนแรกในอวกาศ วาเลนตนี า เตเรชโควา ในวอสตอค 6
- มนษุ ยค์ นแรกท่เี ดินในอวกาศ อเล็กซี ลโี อนอฟ ในวอสฮอด 2
-การลงจอดบนดวงจนั ทร์คร้ังแรก ในลนู า 2
-การถา่ ยภาพดา้ นมดื ของดวงจนั ทร์ ในลนู า 3

หลงั การล่มสลายของสหภาพโซเวียต รสั เซีย และยเู ครน ไดร้ ่วมกนั พฒั นา
โครงการอวกาศของโซเวียตต่อโดยต้งั เป็นองค์การทร่ี ูจ้ กั ในชือ่ รฐั วิสาหกิจรอสคอสมอส ในรสั เซยี
และ องคก์ ารอวกาศแหง่ ชาตขิ องประเทศยูเครน (NSAU) ในยูเครน

ภาพท่ี32 ยรู ิ กาการิน (THE STANDARD TEAM, 2564:ออนไลน)์

33

บรรณานกุ รม

“ชวนคนไทยใหร้ ู้จกั "วตั ถุอวกาศ" รูจ้ กั เขา้ ใจ เกิดภยั ไมต่ ระหนก,”[ออนไลน์].เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.gistda.or.th/main/th/node/2562 [สืบคน้ เม่ือ 16 สิงหาคม 2564]
เทคโนโลยอี วกาศ (Space Technology),”[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://ngthai.com/science/33270/space-technology/[สืบคน้ เม่ือ 16 สิงหาคม 2564]
เทคโนโลยอี วกาศ (Space Technology),”[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://www.nstda.or.th/jaxa-
thailand/space-technology/[สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 16 สิงหาคม 2554]
ดาวเทยี ม,”[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.gistda.or.th/main/th/node/90 [สืบคน้ เมอื่ 17
สิงหาคม 2564]
เทคโนโลยเี พ่ือชวี ิตทด่ี ขี ้ึน.”[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://gistda.or.th/main/th/node/4682
[สืบคน้ เม่ือ 17 สิงหาคม 2564]
ดาวเทยี มสาํ รวจ.”[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://mgronline.com/science/detail/9630000062768
[สือคน้ เมอื่ 17 สิงหาคม 2564]
“อวกาศคอื อะไร,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/dwngdawlaeaxwkas/xwkas-xari-1 [สืบคน้ เมอ่ื 18 สิงหาคม 2564]
“อวกาศ,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/อวกาศ [สืบคน้ เม่อื 18 สิงหาคม
2564]
“มอี ะไรอยู่ในอวกาศ,” [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/62999/-blo-sciear-sci- [สืบคน้ เม่อื 19
สิงหาคม 2564]
“10 ชือ่ ยานอวกาศ ท่ีประวตั ศิ าสตร์ตอ้ งจดจาํ ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/yanxwkas11633/10-chux-yan-xwkas-thi-prawatisastr-txng-cdca

34

“โครงการ Mercury,” [ออนไลน์]. เขา้ าถึงไดจ้ าก
https://www.thaitechnics.com/lunar/mercury_t.html [สืบคน้ เมื่อ 19 สิงหาคม 2564]

“อะพอลโล 11 : เร่ืองราวท่ีคุณอาจยงั ไมเ่ คยรู้มาก่อนของภารกจิ เหยยี บดวงจนั ทร์,” [ออนไลน]์
เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.bbc.com/thai/features-49001306 [สืบคน้ เมือ่ 19 สิงหาคม 2564]

“กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศฮบั เบิล (Hubble Space Telescope),” [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.ipst.ac.th/knowledge/5309/hubble-space-telescope.html [สืบคน้ เมือ่ 19 สิงหาคม
2564]
“นาซา,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B2
[สืบคน้ เมอ่ื 19 สิงหาคม 2564]
“องค์การบริหารการบนิ และอวกาศแห่งชาติ (NASA),”[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.nstda.or.th/jaxa-thailand/nasa-background/ [สืบคน้ เม่ือ 19 สงิ หาคม 2564]
“สเปซเอ็กซ,์ ” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%8B%E0%B
9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C [สืบคน้ เม่อื 20
สิงหาคม 2564]
“SpaceX คอื อะไร รู้จกั กบั บริษทั อวกาศทมี่ าแรงท่ีสุด ณ ตอนน้ี,”[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/spaceexbenz/spacex-khux [สืบคน้ เม่อื 20 สิงหาคม 2564]
“โครงการอวกาศโซเวียต”[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8
%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B2%E

35

0%B8%A8%E0%B9%82%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%
A2%E0%B8%95
[สืบคน้ เม่ือ 20 สิงหาคม 2564]
“เทคโนโลยอี วกาศกบั การประยกุ ต์ใช้” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://sites.google.com/site/lokdarasastrlaeaxwkas/h [สืบคน้ เม่ือ 21 สิงหาคม 2564]
“สรุปเทคโนโลยีอวกาศทส่ี าํ คญั ในปี 2019” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://news.thaipbs.or.th/content/287599 [สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 21 สิงหาคม 2564]

“คนไทยไดอ้ ะไร? จากการพฒั นา ‘เทคโนโลยอี วกาศ” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/918642 [สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 21 สิงหาคม 2564]
“ปะทสุ งครามเทคโนโลยอี วกาศ” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://www.prachachat.net/ict/news-715551 [สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 21 สิงหาคม 2564 ]
“Space Economy” [ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://nia.or.th/spaceeconomy/ [สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 22 สิงหาคม 2564 ]
“ส่ิงประดิษฐผ์ ลจากงานท่องอวกาศ”[ออนไลน]์ .เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://siamrath.co.th/n/117004 [สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 3 กนั ยายน 2564]
“10 สิ่งประดษิ ฐท์ เ่ี ราเกือบพลาด...หากปราศจากการท่องอวกาศ”
[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.gistda.or.th/main/th/node/3557 [สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 3กนั ยายน 2564]
“8 นวตั กรรมจากการไปเหยียบดวงจนั ทร์ เปลย่ี นแปลงชวี ติ ประจาํ วนั ของเราอย่างคาดไมถ่ งึ ”
[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.bbc.com/thai/features-48990579 [สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 4กนั ยายน
2564]


Click to View FlipBook Version