The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tharnthip Wanthawee, 2020-02-18 02:29:22

เล่มที่ 1รวม

เล่มที่ 1รวม

คำนำ

บทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอื่ ง งำนเกษตรคบู่ ้ำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ กำรงำนอำชพี
และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 5 จัดทำขน้ึ เพอื่ ประกอบกำรเรียนรู้ของนักเรียนเกีย่ วกับ
เรอ่ื ง กำรทำเกษตรในครวั เรอื นแบบพอเพยี ง มีท้งั หมดจำนวน 7 ชุด ประกอบด้วย

บทเรยี นสำเรจ็ รูป ชุดที่ 1 เกษตรพอเพียง เล้ียงชวี ำ
บทเรียนสำเร็จรูป ชดุ ที่ 2 พชื ผักสวนครวั ร้ัวกนิ ได้
บทเรยี นสำเร็จรปู ชุดที่ 3 เปด็ น้อย กำ้ บ กำ้ บ
บทเรียนสำเรจ็ รปู ชุดท่ี 4 กบนอ้ ย อ๊บ อ๊บ
บทเรียนสำเรจ็ รูป ชดุ ท่ี 5 มัจฉำ พำเพลิน
บทเรียนสำเรจ็ รปู ชุดที่ 6 กุก๊ ไก่ ให้ประโยชน์
บทเรียนสำเร็จรูป ชุดท่ี 7 ประโยชนน์ ำนำ คุณค่ำเกษตรกรรม
เน้ือหำกำรเรียนรู้ สอดคล้องกบั กำรจดั กำรเรียนรู้ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำ
ขัน้ พืน้ ฐำน พ.ศ. 2551 ทีม่ งุ่ พฒั นำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนของนักเรียนใหไ้ ดร้ จู้ กั คำศัพท์
เกยี่ วกับกำรทำกำรเกษตรในครัวเรอื น ท้ังกำรปลกู ผกั กำรเลยี้ งสตั ว์ โดยสอดแทรกควำมรู้
เก่ียวกบั กำรทำกำรเกษตรแบบพอเพียง มุ่งเนน้ ใหน้ ักเรยี นได้ลงมือปฏบิ ัติด้วยตนเอง
จนสำมำรถนำควำมรู้ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันและอำจนำไปประกอบอำชีพ
ในอนำคต ผ้จู ดั ทำหวังเป็นอย่ำงยงิ่ วำ่ นักเรยี นจะได้รับควำมรู้ มีควำมเข้ำใจ หลักกำร
ควำมสำคัญ และประโยชน์ของงำนเกษตรได้มำกยิ่งขึน้ จำกกำรเรียนร้จู ำกบทเรียนสำเร็จรูปน้ี

ธารทพิ ย์ วรรณทวี

สำรบญั หน้ำ

เรอื่ ง ง
คำแนะนำสำหรบั ครผู สู้ อน จ
คำแนะนำสำหรบั นกั เรยี น 1
จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 4
กรอบที่ 1 5
กรอบท่ี 2 6
กรอบท่ี 3 7
กรอบที่ 4 8
กรอบที่ 5 9
กรอบที่ 6 10
กรอบท่ี 7 11
กรอบท่ี 8 12
กรอบที่ 9 13
กรอบท่ี 10 14
กรอบที่ 11 สรุปเนอื้ หำ 15
กรอบที่ 12 สรปุ เนือ้ หำ 16
กรอบที่ 13 สรุปเนือ้ หำ 18
แบบทดสอบหลงั เรยี น 20
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 22
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
บรรณำนกุ รม

คำแนะนำสำหรบั ครผู ู้สอน

กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนโดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รปู เปน็ กจิ กรรมที่นกั เรียนสำมำรถเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง โดยครูเปน็ ผู้คอยใหแ้ นะนำนักเรียน จัดกิจกรรมโดยไดก้ ำหนดขน้ั ตอนกำรปฏิบัติดังนี้

1. ครูแจกบทเรียนสำเร็จรูปและอธิบำยใหน้ กั เรยี นได้ปฏิบัติตำมคำชี้แจงสำหรับนักเรียน
แนะนำกำรใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู ด้วยควำมซื่อสัตย์

2. ศกึ ษำคู่มือกำรใช้บทเรยี นสำเร็จรูปโดยละเอียดกอ่ นนำบทเรียนสำเรจ็ รปู ไปใช้
3. ตรวจสอบส่วนประกอบของบทเรยี นสำเรจ็ รปู และแบบบนั ทึกประกอบบทเรยี นสำเรจ็ รูป

ใหค้ รบถว้ น
4. ตรวจสอบนกั เรียนในช้ันเรียน หำกนักเรยี นคนใดขำดเรียนให้นำบทเรียนสำเรจ็ รูปไปศึกษำ

และทำแบบทดสอบภำยหลงั
5. ดำเนนิ กำรเรยี นกำรสอนตำมลำดบั ข้นั ตอน
6. จดั เตรยี มสอ่ื อปุ กรณ์ต่ำง ๆ ที่ใช้ในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน เช่น บทเรียนสำเรจ็ รูป

แบบบนั ทึกคะแนนแบบทดสอบ และหนังสอื เรยี น เปน็ ต้น

คำแนะนำสำหรบั นักเรียน

1. นักเรยี นทดสอบควำมรคู้ วำมรพู้ ืน้ ฐำนเกย่ี วกับ เรือ่ ง งำนเกษตรคู่บำ้ น ในแตล่ ะชุด
โดยกำรทำแบบทดสอบก่อนเรียน และดูเฉลยทำ้ ยเลม่

2. อำ่ นเนอ้ื หำในบทเรยี นให้เข้ำใจ และตอบคำถำมในแต่ละกรอบเพอ่ื เป็นกำรทบทวน
ควำมรู้ในกรอบท่เี รยี นมำ และสำมำรถดูเฉลยจำกกรอบถัดไปได้ หำกตอบคำถำม
ไมถ่ กู ต้องใหก้ ลับไปอำ่ นทบทวนใหมอ่ ีกครั้ง แลว้ ตอบคำถำมใหม่ จนได้คำตอบ
ท่ถี กู ต้อง

3. นักเรียนตอบคำถำมและทำแบบทดสอบด้วยควำมซ่ือสัตย์
4. เรยี นจำกเนื้อหำตำมลำดับต่อเนื่องไปเรือ่ ย ๆ ไมค่ วรเรียนข้ำมเนอ้ื หำหรือข้ำมกรอบ

เพรำะจะทำให้ตอบคำถำมหรอื ทำแบบทดสอบผดิ พลำด
5. นกั เรยี นตอ้ งมคี วำมตัง้ ใจและมสี มำธิในกำรเรยี นรู้โดยให้เรียนรูต้ ำมควำมสำมำรถ

ของตนเอง ไม่ควรรีบร้อนในกำรอำ่ นหรือตอบคำถำม
6. เม่อื ทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนแล้วนำคะแนนทไ่ี ดม้ ำเปรียบเทยี บกนั ว่ำ

นักเรยี นมีพัฒนำควำมก้ำวหน้ำทำงกำรเรียนมำกน้อยเพยี งใด

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรเกษตรได้
2. บอกหลกั กำรของกำรทำเกษตรทฤษฎใี หมข่ ้ันต้นได้
3. อธบิ ำยหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
4. นำควำมรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวันได้
5. ตระหนกั เห็นควำมสำคญั และมที ศั นคติทีด่ ตี ่อกำรทำเกษตรกรรม

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เร่ือง เกษตรพอเพยี ง เลย้ี งชีวำ

คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนทำเครือ่ งหมำย หน้ำข้อควำมท่เี ปน็ ควำมจรงิ
และทำเครอ่ื งหมำย  หนำ้ ข้อควำมที่กลำ่ วผิด

................ กำรเกษตร หมำยถึง กำรเพำะปลกู พืชต่ำง ๆ กำรเล้ยี งสัตวแ์ ละกำรประมง

................ ชำวนำ ชำวสวน ชำวไร่ เป็นควำมหมำยของคำว่ำ กสิกร

................ กำรเกษตรมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชวี ิตของมนษุ ยใ์ นด้ำน
ใชเ้ พื่อเป็นอำหำร เท่ำน้ัน

................ “เกษตรทฤษฎีใหม่” เปน็ พระรำชดำริของพระบำทสมเด็จ
พระเจ้ำอยู่หวั ปรมินทรมหำภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกำลท่ี ๙

................ เกษตรทฤษฎีใหม่ มีท้งั หมด 4 ส่วน

เด็ก ๆ ทำแบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น ขอ้ ท่ี 6 – 10
กนั ตอ่ เลยค่ะ...สู้ ๆ นะคะ

................ เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรอื สหกรณ์ เปน็ เกษตรทฤษฎใี หม่
ในขน้ั ที่สำม

................ เกษตรทฤษฎีใหมข่ น้ั ที่ ๒ และ ๓ เรยี กว่ำเป็น เกษตรทฤษฎีใหม่
ขน้ั ก้ำวหนำ้

................ ทฤษฎใี หม่ขั้นตน้ จัดสรรพื้นที่ทำกนิ และทอี่ ย่อู ำศยั โดยแบง่ พนื้ ท่ี
ออกเป็น 4 สว่ น คือ 10 : 10 : 10 : 30

................ ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรัชญำที่ช้ีถงึ แนวกำรดำรงอยู่
และปฏิบัติตนสำหรบั คนทีม่ หี น้สี นิ เท่ำนั้น

................ ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ย 1. ควำมพอประมำณ
2. ควำมมเี หตุผล 3. มภี มู ิคุม้ กนั โดยควบคูก่ ับเงอ่ื นไข ควำมรู้ และคุณธรรม

กรอบท่ี 1 สวัสดคี ่ะ วันน้พี จี่ ะพำน้อง ๆ มำสนุกกับ
บทเรียนสำเร็จรปู ชุดที่ 1

เรอ่ื ง เกษตรพอเพยี ง เล้ียงชีวำ เนื้อหำจะ

เก่ียวกับเร่ืองอะไรบำ้ งนั้น ตำมพี่มำเลยค่ะ

ก่อนอื่นเรำมำรู้จักกับควำมหมำยของคำว่ำ “เกษตร” และคำอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกันก่อน
ดกี ว่ำครบั ...

กำรเกษตร หรือ กำรเกษตรกรรม (Agriculture) หมำยถึง กำรเพำะปลูกพืชต่ำง ๆ
รวมทั้งกำรเล้ียงสัตว์และกำรประมง โดยผู้ท่ีทำกำรเกษตรน้ัน เรียกว่ำ เกษตรกร ส่วนคำว่ำ
กสิกร นั้นหมำยถึง ผู้ที่ทำกำรกสิกรรม คือ ผู้ท่ีปลูกพืชเพียงอย่ำงเดียว เช่น ชำวไร่ ชำวนำ
ชำวสวน

กำรเกษตรจึงเป็นกำรจัดกำรกับทรัพยำกรธรรมชำติ แรงงำน และทุน โดยอำศัยควำมรู้
และประสบกำรณ์ เพอ่ื ให้ได้มำซ่งึ ผลผลิตจำกทั้งพืชและสัตว์ ซงึ่ เรำนิยมเรียกว่ำ
ผลผลติ ทำงกำรเกษตร

คำถำมกรอบท่ี 1
เกษตรกรรม มีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร

ไปตอ่ กนั
เลยค่ะ

กรอบที่ 2 เฉลยคำถำมกรอบท่ี 1
กำรเกษตรกรรม (Agriculture) หมำยถึง
รคู้ วำมหมำยของ กำรเพำะปลูกพชื ต่ำง ๆ รวมท้งั กำรเล้ยี งสตั ว์
เกษตรกรรม กันแล้ว...ต่อไป และกำรประมง
มำรู้จกั ควำมสำคัญของ
กำรเกษตรกนั บ้ำงครับ

กำรเกษตรมคี วำมสำคัญตอ่ กำรดำรงชีวติ ของมนษุ ยต์ งั้ แต่ดกึ ดำบรรพ์
โดยมนษุ ยร์ จู้ กั ใชป้ ระโยชน์อยำ่ งหลำกหลำยจำกพชื สัตว์ ในชวี ติ ประจำวนั โดยใชเ้ ป็น
วตั ถุดิบในกำรผลติ ปจั จัย 4 คือ อำหำร เคร่ืองนงุ่ หม่ ที่อยอู่ ำศัยและยำรกั ษำโรค

โดยมนษุ ย์รจู้ กั เกบ็ เกีย่ วผลผลิตทำงเกษตร นำไปประกอบอำหำรรบั ประทำน
สรำ้ งควำมเจริญเติบโตแกร่ ่ำงกำย นำส่วนต่ำง ๆ ของพชื เชน่ เสน้ ใย ไปผลิตสิ่งทอหรือใช้

หนังสตั ว์ทำเคร่ืองนุ่งห่ม ปลกู ปำ่ เพ่อื นำไม้ไปเป็นอปุ กรณก์ ำรกอ่ สรำ้ ง สร้ำงท่ีพกั อำศัย
อำคำรสถำนที่ ทำเฟอรน์ เิ จอร์ เครื่องใช้ ตำ่ ง ๆ และปลูกพืชสมนุ ไพร เพ่อื นำไปใช้
เปน็ ยำรกั ษำโรค ซง่ึ สงิ่ เหล่ำนี้ลว้ นมคี วำมจำเปน็ ตอ่ กำรดำรงชีวติ ของมนุษยท์ ั้งสิน้

คำถำมกรอบท่ี 2 ไปตอ่ กัน
เกษตรกรรม มีควำมสำคญั ต่อ เลยครับ

กำรดำรงชีวติ ของมนุษย์อย่ำงไร

กรอบท่ี 3

เฉลยคำถำมกรอบที่ 2
กำรเกษตรกรรมมีควำมสำคญั ต่อกำรดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ของ
มนษุ ย์ โดยมนุษย์ใช้เป็นวัตถุดิบในกำรผลิตปจั จัย 4 คือ อำหำร
เคร่ืองนุ่งหม่ ทอี่ ยู่อำศัยและยำรกั ษำโรค

เพอ่ื น ๆ มคี วำมรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกบั กำรเกษตร จำกกรอบที่ 1
และกรอบที่ 2 แล้ว ในกรอบท่ี 3 นี้ เรำมำรู้จักกบั “เกษตรทฤษฎใี หม่”
กันดีกวำ่ ค่ะ

“เกษตรทฤษฎีใหม่” เป็นพระรำชดำรขิ องพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอย่หู วั ปรมินทร
มหำภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกำลที่ ๙ พระรำชดำริน้ี ทรงเรยี กว่ำ “ทฤษฎีใหม่”
เพรำะเป็นแนวทำงหรอื หลักกำรในกำรบริหำรกำรจดั กำรที่ดนิ และนำ้ เพอ่ื กำรเกษตร
ในท่ดี ินขนำดเลก็ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ

คำถำมกรอบท่ี 3
เกษตรทฤษฎีใหม่ เปน็ พระรำชดำริ ของใคร

กรอบท่ี 4 ไปต่อกัน
เลยค่ะ
เฉลยคำถำมกรอบท่ี 3
“เกษตรทฤษฎีใหม่” เปน็ พระรำชดำรขิ องพระบำทสมเดจ็ เรำมำเรยี นรูเ้ รอ่ื ง
พระเจ้ำอยูห่ ัวปรมินทรมหำภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกำลท่ี ๙ เกษตรทฤษฎใี หม่

กนั ตอ่ เลยจำ้

เพ่ือน ๆ ทรำบไหมว่ำ ท่เี รยี กวำ่ ทฤษฎใี หม่ เนือ่ งดว้ ยเหตุผลทว่ี ่ำ...
1. มกี ำรบริหำรและจัดแบง่ ท่ีดนิ แปลงเล็ก ออกเปน็ สัดส่วนที่ชัดเจนเพือ่ ประโยชนส์ งู สดุ ของ

เกษตรกร ซงึ่ ไมเ่ คยมใี ครคดิ มำก่อน
2. มีกำรคำนวณโดยหลักวชิ ำกำร เกย่ี วกบั ปรมิ ำณน้ำทจ่ี ะกักเกบ็ ให้พอเพียงต่อกำรเพำะปลกู ได้

ตลอดปี
3. มีกำรวำงแผนที่สมบูรณแ์ บบ สำหรับเกษตรกรรำยย่อย โดยแบง่ เปน็ ๓ ขน้ั คือ
1. ทฤษฎีใหมข่ ้ันตน้ คือ กำรจัดสรรพ้ืนทอ่ี ยอู่ ำศยั และทที่ ำกนิ
2. ทฤษฎีใหมข่ น้ั ทส่ี อง คอื ให้เกษตรกรรวมพลงั กันในรปู กลุ่ม หรอื

สหกรณ์ รว่ มแรง ร่วมใจกนั ดำเนินกำรในดำ้ น กำรผลติ กำรตลำด ควำมเป็นอยู่
3. ทฤษฎีใหม่ข้ันทส่ี ำม เม่ือดำเนินกำรผ่ำนพน้ ข้ันท่สี องแลว้

เกษตรกรหรอื กลมุ่ เกษตรกรก็ควรพฒั นำก้ำวหน้ำไปสขู่ น้ั ท่สี ำมต่อไป คือ ติดต่อประสำนงำน เพ่ือจดั หำ
ทุน หรือแหลง่ เงิน เช่น ธนำคำร หรอื บรษิ ัท ห้ำงร้ำนเอกชน มำช่วยในกำรลงทุนและพัฒนำคณุ ภำพ
ชีวติ โดยทฤษฎีใหมข่ ้นั ท่ี ๒ และ ๓ นี้ เรยี กว่ำเปน็ เกษตรทฤษฎีใหม่ขนั้ ก้ำวหน้ำ

คำถำมกรอบท่ี 4 ไปตอ่ กนั เลย
เกษตรทฤษฎใี หม่ แบง่ ออกเป็นกข่ี ั้น อะไรบำ้ ง จา้

กรอบที่ 5 เฉลยคำถำมกรอบที่ 4
“เกษตรทฤษฎีใหม่” แบ่งออกเป็น 3 ข้ัน คือ

1. ทฤษฎีใหม่ขั้นตน้
2. ทฤษฎใี หม่ข้ันทีส่ อง
3. ทฤษฎีใหมข่ น้ั ที่สำม
ซงึ่ ข้นั ท่ี 2 และ 3 เรียกได้วำ่ ทฤษฎีใหม่ขน้ั ก้ำวหนำ้

ในบทเรยี นสำเร็จรูปน้เี รำจะกล่ำวถงึ รำยละเอียดเฉพำะเกษตร
ทฤษฎีใหม่ขัน้ ตน้ เท่ำน้ันนะคะเพ่ือน ๆ ไปดรู ำยละเอียดกันเลย

คำถำมกรอบท่ี 5
ทฤษฎใี หม่ข้นั ตน้ มกี ำรจดั สรร
พ้ืนทท่ี ำกินและทีอ่ ยอู่ ำศยั
อยำ่ งไร

ไปต่อกนั
เลยคะ่

กรอบที่ 6 เฉลยคำถำมกรอบท่ี 5
ทฤษฎีใหม่ขน้ั ตน้ จดั สรรพื้นทที่ ำกินและท่ีอยู่อำศยั
โดยแบง่ พ้นื ท่อี อกเป็น 4 สว่ น คอื 30 : 30 : 30 : 10

แต่เอ๊ะ ! ว่ำแต่ กำรจัดสรรพ้นื ที่เปน็ 4 สว่ น ท่ีวำ่ นี้
นำไปใชป้ ระโยชนย์ งั ไงกันนะ...เพ่ือน ๆ มำช่วยหำคำตอบ
กันดีกว่ำค่ะ

ไปตอ่
กันเลย

จา้

คำถำมกรอบท่ี 6 เมื่อจดั สรรพื้นทีเ่ ปน็ 30 : 30 : 30 : 10 แลว้
เกษตรกรนำแต่ละสว่ นไปใชป้ ระโยชน์อยำ่ งไร

กรอบที่ 7 เฉลยคำถำมกรอบท่ี 6
เกษตรกรใช้ประโยชนจ์ ำกพื้นท่ี 4 สว่ น ดังนี้
30 : ปลกู ข้ำวในฤดฝู น
30 : ปลกู ผลไม้ ไม้ยืนตน้ พืชผัก พืชไร่ พืชสมนุ ไพร ฯลฯ
30 : ขุดสระเก็บกักน้ำ
10 : ใช้เป็นทอ่ี ยอู่ ำศยั เลย้ี งสัตว์ และโรงเรือนอื่น ๆ

เพอ่ื น ๆ ทรำบไหมครบั วำ่ ทฤษฎใี หม่กม็ ี
หลักกำรและแนวทำงสำคญั ในกำรดำเนนิ กำรนะ...

ไปดกู ันครบั ว่ำมีอะไรบำ้ ง

หลกั กำรและแนวทำงสำคัญ
1. เป็นระบบกำรผลิตแบบพอเพียง ทีเ่ กษตรกรสำมำรถเล้ียงตวั เองไดใ้ นระดบั ทป่ี ระหยดั กอ่ น
ทงั้ นชี้ มุ ชนต้องมีควำมสำมัคคี ร่วมมอื ร่วมใจในกำรช่วยเหลือซ่งึ กันและกัน
2. เนอ่ื งจำกข้ำวเปน็ ปัจจยั หลักทที่ ุกครัวเรือนจะตอ้ งบรโิ ภค ดงั นัน้ จึงประมำณว่ำครอบครวั หนึ่ง
ทำนำ 5 ไร่ จะทำให้มีข้ำวพอกนิ ตลอดปี
3. ต้องมีน้ำเพื่อกำรเพำะปลูกสำรองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝนท้ิงช่วงได้อย่ำงพอเพียง ดังน้ัน
จึงจำเปน็ ต้องกันทีด่ ินสว่ นหน่งึ ไว้ขุดสระนำ้ โดยมหี ลักวำ่ ต้องมีน้ำเพยี งพอทจี่ ะทำกำรเพำะปลูกได้
ตลอดปี ทั้งน้ีได้พระรำชทำนพระรำชดำรเิ ป็นแนวทำงว่ำ ต้องมีน้ำ 1,000 ลูกบำศก์เมตร ต่อกำร
เพำะปลูก 1 ไร่
4. กำรจัดแบ่งแปลงท่ีดินเพื่อให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดน้ี พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงคำนวณ
และคำนึงจำกอัตรำถือครองทดี่ ินถัวเฉลี่ยครัวเรือนละ 15 ไร่ อย่ำงไรก็ตำม หำกเกษตรกรมพี ้ืนท่ี
ถือครองนอ้ ยกวำ่ หรือมำกกว่ำน้ี ก็สำมำรถใช้อตั รำสว่ น 30:30:30:10 ไปเปน็ เกณฑป์ รับใชไ้ ด้

คำถำมกรอบที่ 7 ไปต่อ
หำกมพี ้ืนท่ี 1 ไร่ จะต้องเก็บกักน้ำในสระไว้ปรมิ ำณเท่ำไร กันเลย
จงึ จะเพยี งพอต่อกำรเพำะปลูกตลอดปี
จา้

กรอบที่ 8 เฉลยคำถำมกรอบที่ 7
ต้องมนี ้ำ 1,000 ลกู บำศก์เมตร ตอ่ กำรเพำะปลูก 1 ไร่

เพื่อน ๆ รู้หรือไม่คะว่ำ...กำรทำเกษตรแบบพอเพียง จะต้อง
ยดึ หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งดว้ ยนะ...

อะ๊ ๆ อย่ำเพง่ิ งงคะ่ ไปอำ่ นข้อมลู กันเลย

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
เป็นปรัชญำที่ชี้ถึงแนวกำรดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชำชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในกำรพัฒนำและบริหำรประเทศให้ดำเนินไปในทำง
สำยกลำง โดยเฉพำะกำรพฒั นำเศรษฐกจิ เพื่อให้ก้ำวทันต่อโลกยุคโลกำภิวัตน์

ควำมพอเพียง หมำยถึง ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตผุ ล รวมถงึ ควำมจำเป็นที่จะต้องมี
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อกำรกระทบใด ๆ อันเกิดจำกกำรเปล่ียนแปลงทั้งภำยใน
ภำยนอก ทง้ั นี้ จะตอ้ งอำศยั ควำมรอบรู้ ควำมรอบคอบ และควำมระมัดระวงั อยำ่ งย่งิ ในกำร
นำวิชำกำรต่ำง ๆ มำใช้ในกำรวำงแผนและกำรดำเนินกำรทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะต้อง
เสริมสร้ำงพื้นฐำนจติ ใจของคนในชำติ โดยเฉพำะเจำ้ หนำ้ ท่ขี องรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ใน
ทกุ ระดับ ใหม้ สี ำนกึ ในคณุ ธรรม ควำมซ่อื สตั ย์สจุ ริต และให้มีควำมรอบร้ทู ่ีเหมำะสม ดำเนินชีวิต
ด้วยควำมอดทน ควำมเพียร มีสติ ปัญญำ และควำมรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อกำร
รองรบั กำรเปลย่ี นแปลงอย่ำงรวดเรว็ และกว้ำงขวำง ทั้งด้ำนวตั ถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม
และวฒั นธรรมจำกโลกภำยนอกไดเ้ ปน็ อย่ำงดี

คำถำมกรอบท่ี 8 ไปตอ่
ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กันเลย
เปน็ แนวทำงในกำรดำเนินชวี ิต
ของคนในระดบั ครอบครัวเท่ำนั้น ใชห่ รอื ไม่ จา้

กรอบที่ 9 เฉลยคำถำมกรอบที่ 8
ไมใ่ ช่ เพรำะ ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรชั ญำท่ีชถี้ ึงแนว
กำรดำรงอยู่และปฏิบตั ิตนของประชำชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครวั ระดบั ชุมชน จนถงึ ระดบั รฐั

เรำมำเรียนรู้คำท่ีเป็นสว่ นประกอบของ
ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี งกันกนั ตอ่ เลยครบั

ควำมหมำยของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบดว้ ยคุณสมบัติ ดงั นี้
1. ควำมพอประมำณ หมำยถงึ ควำมพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มำกเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี น
ตนเองและผู้อ่นื เช่น กำรผลิตและกำรบริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดบั พอประมำณ
2. ควำมมีเหตผุ ล หมำยถึง กำรตัดสินใจเกี่ยวกบั ระดับควำมพอเพียงนน้ั จะต้องเปน็ ไปอยำ่ งมี
เหตผุ ล โดยพจิ ำรณำจำกเหตปุ จั จัยทีเ่ ก่ยี วข้อง ตลอดจนคำนงึ ถึงผลทค่ี ำดว่ำจะเกดิ ข้นึ จำกกำร
กระทำน้ัน ๆ อย่ำงรอบคอบ
3. ภูมคิ ุ้มกัน หมำยถงึ กำรเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบและกำรเปลีย่ นแปลงด้ำนต่ำง ๆ
ทจี่ ะเกิดขึ้น โดยคำนึงถงึ ควำมเป็นไปไดข้ องสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ท่ีคำดว่ำจะเกิดข้นึ ในอนำคต

คำถำมกรอบท่ี 9 ไปต่อ
ควำมหมำยของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย กนั เลย
คุณสมบตั ิก่ขี อ้ อะไรบำ้ ง ครบั

กรอบท่ี 10 เฉลยคำถำมกรอบท่ี 9
3 ข้อ คือ
1. ควำมพอประมำณ 2. ควำมมีเหตผุ ล 3. ภมู คิ ุ้มกัน

เพื่อน ๆ รไู้ หมคะ ว่ำในกำรตัดสนิ ใจ
หรอื ดำเนินกจิ กรรมตำ่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในระดบั
พอเพยี งนัน้ ตอ้ งมีเงื่อนไขรึเปล่ำน้ำ...
ไปหำคำตอบกันเลยค่ะ

เง่ือนไขของกำรตดั สนิ ใจและดำเนนิ กจิ กรรมตำ่ ง ๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพียง
มี ๒ ประกำร ดังน้ี
1. เงือ่ นไขควำมรู้ ประกอบด้วย ควำมรอบรเู้ ก่ียวกับวชิ ำกำรตำ่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
รอบด้ำน ควำมรอบคอบทีจ่ ะนำควำมรู้เหล่ำน้นั มำพจิ ำรณำให้เช่ือมโยงกนั เพ่อื ประกอบกำร
วำงแผนและควำมระมัดระวังในกำรปฏิบัติ
2. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ท่จี ะต้องเสรมิ สร้ำง ประกอบดว้ ย มคี วำมตระหนักในคณุ ธรรม มีควำม
ซอื่ สัตยส์ จุ รติ มีควำมอดทน และมคี วำมเพียร ใชส้ ติปัญญำในกำรดำเนินชวี ิต

คำถำมกรอบท่ี 10 วำ้ ว!!!
ควำมรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวัง ได้เวลำสรปุ เนอื้ หำแล้ว
เป็นส่วนประกอบของเง่ือนไขใด ไปทบทวนเน้อื หำพรอ้ ม
กนั ในกรอบตอ่ ไปเลยจ้ำ

กรอบที่ 11 เฉลยคำถำมกรอบท่ี 10
เง่ือนไขควำมรู้

สรปุ เนื้อหำ

1. ควำมหมำยของคำว่ำกำรเกษตร
กำรเกษตร หรือ กำรเกษตรกรรม (Agriculture) หมำยถงึ กำรเพรำะปลกู พืชตำ่ ง ๆ

รวมทงั้ กำรเลย้ี งสัตวแ์ ละกำรประมง โดยผู้ที่ทำกำรเกษตรน้นั เรยี กว่ำ เกษตรกร สว่ นคำวำ่
กสิกร น้ันหมำยถึง ผทู้ ท่ี ำกำรกสิกรรม คอื ผูท้ ปี่ ลูกพชื เพยี งอยำ่ งเดียว เช่น ชำวไร่ ชำวนำ
ชำวสวน
2. ควำมสำคญั ของกำรเกษตร

กำรเกษตรมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ต้ังแต่ดึกดำบรรพ์ โดยมนุษย์
รู้จักใช้ประโยชน์อยำ่ งหลำกหลำยจำกพืช สัตว์ ในชีวิตประจำวัน โดยใช้เป็นวัตถุดิบในกำร
ผลติ ปัจจัย 4 คือ อำหำร เครื่องนงุ่ ห่ม ทอ่ี ยอู่ ำศัยและยำรักษำโรค
3. เกษตรทฤษฎใี หม่

เกษตรทฤษฎีใหม่เปน็ พระรำชดำริของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั
ปรมินทรมหำภูมิพลอดลุ ยเดช รชั กำลที่ ๙ พระรำชดำรนิ ี้ ทรงเรยี กวำ่ “ทฤษฎีใหม่” เพรำะ
เปน็ แนวทำงหรือหลกั กำรในกำรบรหิ ำรกำรจดั กำรทดี่ ินและนำ้ เพื่อกำรเกษตรในท่ีดนิ
ขนำดเล็กให้เกิดประโยชน์สงู สดุ มี 3 ขน้ั คอื ทฤษฎใี หมข่ ัน้ ตน้
ทฤษฎใี หม่ข้ันท่สี อง และทฤษฎใี หมข่ น้ั ทสี่ ำม

กรอบที่ 12 สรุปเนือ้ หำ

3.1 เกษตรทฤษฎีใหม่ข้ันต้น คอื กำรจัดสรรพน้ื ทอี่ ย่อู ำศยั และท่ีทำกนิ
ให้แบง่ พ้ืนท่ี ออกเปน็ 4 ส่วน ตำมอัตรำสว่ น 30 : 30 : 30 : 10 ซึ่งหมำยถึง
พน้ื ท่สี ่วนทห่ี น่งึ ประมำณ 30% ใหข้ ุดสระเก็บกกั น้ำ
พ้ืนทสี่ ว่ นที่สอง ประมำณ 30% ใหป้ ลูกข้ำวในฤดูฝน
พ้นื ท่ีส่วนท่สี ำม ประมำณ 30% ใหป้ ลกู ไม้ผล ไมย้ ืนตน้ พชื ผกั พชื ไร่ พืชสมนุ ไพร
พ้นื ทสี่ ว่ นทีส่ ่ี ประมำณ 10% เปน็ ทอ่ี ยอู่ ำศยั เลี้ยงสัตว์และโรงเรอื นอน่ื ๆ

3.2 หลกั กำรและแนวทำงสำคัญของกำรทำเกษตรทฤษฎีใหม่
1. เป็นระบบกำรผลิตแบบพอเพียงเลี้ยงตวั เองได้ ชมุ ชนตอ้ งมคี วำมสำมัคคี ร่วมมอื รว่ มใจใน

กำรชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั
2. ประมำณวำ่ ครอบครวั หนง่ึ ต้องทำนำ 5 ไร่ จะทำให้มีขำ้ วพอกนิ ตลอดปี
3. ต้องมีนำ้ 1,000 ลกู บำศก์เมตร ต่อกำรเพำะปลูก 1 ไร่
4. อตั รำสว่ นกำรจดั สรรที่ 30:30:30:10 สำมำรถปรับใชไ้ ด้ตำมพ้ืนท่ที ่เี กษตรกรมี

กรอบท่ี 13 สรุปเนอ้ื หำ

4. ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
เป็นปรัชญำท่ีชี้ถึงแนวกำรดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชำชนในทุกระดับ ต้ังแต่

ระดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดบั รฐั ท้ังในกำรพัฒนำและบรหิ ำรประเทศใหด้ ำเนิน
ไปในทำงสำยกลำง โดยเฉพำะกำรพฒั นำเศรษฐกิจ เพือ่ ให้กำ้ วทนั ตอ่ โลกยุคโลกำภิวตั น์

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง เกษตรพอเพียง เลย้ี งชวี ำ

คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนทำเครอื่ งหมำย หนำ้ ข้อควำมที่เป็นควำมจริง
และทำเคร่ืองหมำย  หนำ้ ข้อควำมทกี่ ล่ำวผดิ

................ กำรเกษตรมีควำมสำคัญตอ่ กำรดำรงชีวิตของมนษุ ย์
ในด้ำน ใชเ้ พอ่ื เป็นอำหำร เท่ำน้ัน

................ ชำวนำ ชำวสวน ชำวไร่ เป็นควำมหมำยของคำว่ำ กสิกร

................ กำรเกษตร หมำยถงึ กำรเพำะปลูกพชื ต่ำง ๆ กำรเลี้ยงสัตวแ์ ละกำรประมง

................ เกษตรทฤษฎีใหม่ มีทง้ั หมด 4 ส่วน

................ “เกษตรทฤษฎีใหม่” เป็นพระรำชดำรขิ องพระบำทสมเด็จ
พระเจำ้ อยหู่ ัวปรมินทรมหำภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกำลท่ี ๙

นักเรยี นทำแบบทดสอบ
หลงั เรียน ข้อท่ี 6 – 10
กันตอ่ เลยคะ่ ...สู้ ๆ นะคะ

................ ทฤษฎใี หมข่ ้นั ตน้ จัดสรรพน้ื ทีท่ ำกินและท่อี ยูอ่ ำศัย โดยแบง่ พื้นที่
ออกเป็น 4 สว่ น คอื 10 : 10 : 10 : 30

................ เกษตรกรรวมพลงั กันในรปู กลมุ่ หรอื สหกรณ์ เป็นเกษตรทฤษฎใี หม่
ในขน้ั ทสี่ ำม

................เกษตรทฤษฎใี หมข่ ้นั ที่ ๒ และ ๓ เรยี กว่ำเป็น เกษตรทฤษฎีใหม่
ขั้นก้ำวหน้ำ

................ ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ย 1. ควำมพอประมำณ
2. ควำมมเี หตผุ ล 3. มีภมู คิ มุ้ กัน โดยควบคู่กับเง่อื นไข ควำมรู้
และคณุ ธรรม

................ ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญำท่ีช้ีถงึ แนวกำรดำรงอยู่
และปฏิบัตติ นสำหรบั คนท่ีมีหนสี้ ินเท่ำนนั้

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
เร่ือง เกษตรพอเพียง เลย้ี งชีวำ

คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนทำเครื่องหมำย หน้ำข้อควำมที่เปน็ ควำมจริง
และทำเคร่อื งหมำย  หนำ้ ข้อควำมทีก่ ลำ่ วผิด

 กำรเกษตร หมำยถงึ กำรเพำะปลูกพืชต่ำง ๆ กำรเลยี้ งสัตวแ์ ละกำรประมง

 ชำวนำ ชำวสวน ชำวไร่ เปน็ ควำมหมำยของคำว่ำ กสกิ ร

 กำรเกษตรมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชวี ติ ของมนุษย์
ในด้ำน ใชเ้ พอ่ื เป็นอำหำร เท่ำน้นั

 “เกษตรทฤษฎใี หม่” เปน็ พระรำชดำรขิ องพระบำทสมเดจ็
พระเจ้ำอยหู่ วั ปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช รชั กำลท่ี ๙

 เกษตรทฤษฎีใหม่ มที งั้ หมด 4 สว่ น

เพ่ือน ๆ ถกู กี่ขอ้ ครบั
ไปดเู ฉลยขอ้ ทีเ่ หลอื กนั เลยครับ

 เกษตรกรรวมพลังกนั ในรูปกลมุ่ หรอื สหกรณ์ เป็นเกษตรทฤษฎใี หม่
ในขั้นทส่ี ำม

 เกษตรทฤษฎีใหมข่ ั้นที่ ๒ และ ๓ เรียกว่ำเปน็ เกษตรทฤษฎใี หม่
ข้ันกำ้ วหน้ำ

 ทฤษฎใี หมข่ น้ั ตน้ จัดสรรพน้ื ท่ที ำกนิ และท่ีอยอู่ ำศัย โดยแบ่งพืน้ ที่
ออกเป็น 4 ส่วน คอื 10 : 10 : 10 : 30

 ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรชั ญำท่ีชถ้ี งึ แนวกำรดำรงอยู่
และปฏบิ ัตติ นสำหรับคนท่ีมีหนี้สนิ เทำ่ นั้น

 ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบดว้ ย 1. ควำมพอประมำณ
2. ควำมมีเหตุผล 3. มภี มู คิ ้มุ กัน โดยควบคูก่ ับเง่อื นไข ควำมรู้ และคณุ ธรรม

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
เรื่อง เกษตรพอเพียง เลยี้ งชีวำ

คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นทำเครื่องหมำย หน้ำขอ้ ควำมทีเ่ ป็นควำมจริง
และทำเครอื่ งหมำย  หน้ำข้อควำมท่กี ลำ่ วผิด

 กำรเกษตรมีควำมสำคญั ตอ่ กำรดำรงชีวิตของมนุษย์
ในด้ำน ใช้เพื่อเป็นอำหำร เทำ่ นนั้

 ชำวนำ ชำวสวน ชำวไร่ เป็นควำมหมำยของคำวำ่ กสิกร

 กำรเกษตร หมำยถึง กำรเพำะปลกู พืชต่ำง ๆ กำรเลี้ยงสตั ว์และกำรประมง

 เกษตรทฤษฎีใหม่ มีทง้ั หมด 4 ส่วน

 “เกษตรทฤษฎใี หม่” เป็นพระรำชดำริของพระบำทสมเดจ็
พระเจำ้ อยหู่ ัวปรมนิ ทรมหำภมู พิ ลอดุลยเดช รชั กำลท่ี ๙

นกั เรยี นทำแบบทดสอบ
หลังเรยี น ถกู กขี่ อ้ คะไปตรวจคำตอบ
กันตอ่ เลยค่ะ...สู้ ๆ นะคะ

 ทฤษฎีใหมข่ ้ันตน้ จัดสรรพน้ื ที่ทำกินและท่อี ยอู่ ำศยั โดยแบง่ พืน้ ท่ี
ออกเปน็ 4 สว่ น คือ 10 : 10 : 10 : 30

 เกษตรกรรวมพลังกันในรปู กลมุ่ หรือสหกรณ์ เป็นเกษตรทฤษฎีใหม่
ในข้ันทสี่ ำม

 เกษตรทฤษฎใี หมข่ ้นั ที่ ๒ และ ๓ เรยี กว่ำเปน็ เกษตรทฤษฎใี หม่ขนั้ ก้ำวหนำ้

 ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดว้ ย 1. ควำมพอประมำณ
2. ควำมมเี หตุผล 3. มีภมู คิ มุ้ กัน โดยควบคู่กับเงอื่ นไข ควำมรู้ และคุณธรรม

 ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญำที่ชี้ถึงแนวกำรดำรงอยู่
และปฏบิ ตั ิตนสำหรับคนทมี่ ีหนสี้ ินเทำ่ น้ัน

บรรณำนุกรม

กระทรวงศกึ ษำธิกำร. หลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์กำรเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั . 2551.

__________. คมู่ ือครูกำรสอนคอมพวิ เตอร์กำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภำลำดพร้ำว, 2545.

__________. สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นร้กู ล่มุ สำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชพี
และเทคโนโลยี ในหลกั สตู รกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน พุทธศกั รำช 2544. กรุงเทพฯ :
องค์กำรค้ำรับสง่ สินค้ำและพัสดภุ ณั ฑ์, 2546.

__________. ค่มู อื กำรจดั กำรเรียนกำรสอน กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ กำรงำนอำชีพ
และเทคโนโลย.ี กรงุ เทพฯ : องค์กำรค้ำรบั สง่ สนิ ค้ำและพัสดภุ ณั ฑ์, 2551.

กศุ ยำ แสงเดช. บทเรยี นสำเร็จรูป. กรุงเทพฯ : ฟสิ กิ สเ์ ซนเตอร์, 2545.
ถวลั ย์ มำศจรสั และมณี เรืองขำ. แนวกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนโครงงำน.

กรุงเทพฯ : ธำรอกั ษร, 2549.
สังคม รงั ทอง. กำรพัฒนำแผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ฤษฎใี หมส่ ู่กำรเรยี นรมู้ ุง่ เศรษฐกจิ

พอเพยี ง กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี เรื่อง กำรเพำะ
เห็ดจำกวสั ดทุ อ้ งถ่นิ ชัน้ มัธยมศึกษำปที ่ี 3. กำรศึกษำคน้ คว้ำอิสระ กศ.ม.
มหำสำรคำม : มหำวทิ ยำลัยมหำสำรคำม, 2547.
http://www.slideshare.net/samileon90/animal-guessing
http://www.123rf.com/
https://sites.google.com/site/kruorclass/feeding-habits
http://www.kasetorganic.com
https://home.kapook.com/view132785.html

บรรณำนกุ รม (ต่อ)
Z9jv

www.animalsafari.com
www.verdantplanet.org/animalfiles
www.prc.ac.th/tree_an_teen/b_saurveli.htm
www.kasedtakon.com
www.lib.ru.ac.th/journal/dragonfly.html




Click to View FlipBook Version