The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Teal and White Illustration World Heart Day Poster (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanyanat Intayod, 2023-02-25 12:58:43

Teal and White Illustration World Heart Day Poster (1)

Teal and White Illustration World Heart Day Poster (1)

ปฐมพยาบาล เบื้อ บื้ งต้น FIRST AID *ควรติดต่อรถพยาบาลทันที 1669*


คำ นำ หนังสือคู่มือ มื การปฐมพยาบาลเบื้อ บื้ งต้นเล่มนี้จัด จั ทำ ขึ้น ขึ้ เพื่อ พื่ ให้ ความรู้แก่นั ก่ นั กเรียนห้อ ห้ งเตรียมแพทย์-ย์ พยาบาล โรงเรียจอมทอง และประชาชนที่สนใจ มุ่งมุ่ หวัง วัให้นั ห้ นั กเรียน และประชาชนมีค มี วามรู้ เกี่ย กี่ วกับ กั การปฐมพยาบาลเบื้อ บื้ งต้น สามารถนำ ไปใช้ปช้ ระโยชน์ใน ชีวิ ชี ตวิ ประจำ วัน วั ได้อี ด้ ก อี ด้ว ด้ ย คณะผู้จัผู้ ด จั ทำ หวัง วั เป็น ป็ อย่า ย่ งยิ่งยิ่ว่า ว่ คู่มือ มื เล่มนี้จะเป็น ป็ ประโยชน์ ในการปฏิบัฏิติ บั ติงานด้า ด้ นการช่ว ช่ ยเหลือผู้อื่ผู้ น อื่ คณะผู้จัผู้ ด จั ทำ


กกาารรปปฐฐมมพพยยาาบบาาลล การปฐมพยาบาลเป็น ป็ การช่ว ช่ ยเหลือหรือการรักษา เริ่มแรกสำ หรับผู้ที่ผู้ ที่ได้รั ด้รั บบาดเจ็บ จ็ หรือเจ็บ จ็ ป่ว ป่ ยกระทัน หัน หั ให้พ้ ห้ น พ้ จากอัน อั ตรายหรือลดอัน อั ตรายลง ก่อ ก่ นที่รถ พยาบาล แพทย์ หรือเจ้า จ้ หน้าที่จะมาถึง ถึ 1. เพื่อ พื่ ช่ว ช่ ยชีวิ ชี ต วิ - คำ นึงถึง ถึ ความปลอดภัยอย่า ย่ งจริง - ปฏิบั ฏิ ติ บั ติ ตามหลักปฏิบั ฏิ ติ บั ติ การช่ว ช่ ยชีวิ ชี ต วิ ขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน - ดูแ ดู ลและห้า ห้ มเลือดในรายที่มีแ มี ผลใหญ่ ๆ 2. เพื่อ พื่ ลดอาการที่เกิด กิ ขึ้น ขึ้ ให้น้ ห้ น้ อยลง - ตรวจอย่า ย่ งละเอีย อี ดเพื่อ พื่ วินิ วิ นิ จฉัย ฉั อย่า ย่ งทั่วถึง ถึ -รักษาผู้บผู้ าดเจ็บ จ็ ตามลำ ดับ ดั ความสำ คัญโดยคำ นึง ถึง ถึ ว่า ว่ อาจจะมีก มี ารบาดเจ็บ จ็ หรืออาการอื่น อื่ ๆ ซ่อ ซ่ นเร้น อยู่ 3. เพื่อ พื่ ช่ว ช่ ยให้ห ห้ ายเร็วขึ้น ขึ้ - คลายความกัง กั วล อาการปวด และความรู้สึกไม่สุ ม่ สุ ข สบาย - ช่ว ช่ ยเหลือด้า ด้ นการแพทย์อื่ ย์ น อื่ ๆ ตามความเหมาะสม ความหมายของการปฐมพยาบาล เป้า ป้ หมายของการปฐมพยาบาล


หลักทั่ว ทั่ ไปในการปฐมพยาบาล 1. เมื่อ มื่ พบผู้บผู้ าดเจ็บต้องรีบช่ว ช่ ยเหลือทันที ควรดูใ ดู ห้ แน่นอนว่า ว่ มีเ มี ลือดออกหรือไม่ ออกจากที่ใด บาดแผล รุนแรงแค่ไหน ถ้า ถ้ มีเ มี ลือดออกควรรีบห้า ห้ มเลือด 2. ถ้า ถ้ ผู้บผู้ าดเจ็บไม่มี ม่ เ มี ลือดออก ควรตรวจว่า ว่ ร่างกาย อบอุ่นอุ่ หรือไม่ ถ้า ถ้ เย็น ย็ ชื้น ชื้ แสดงว่า ว่ มีอ มี าการช็อ ช็ ก ควรห่ม ห่ ผ้า ผ้ให้อบอุ่นอุ่ หนุนลำ ตัวให้สู ห้ สู งกว่า ว่ ศีรษะเล็กน้อย 3. ควรตรวจว่า ว่ ปากของผู้บผู้ าดเจ็บ จ็ มีสิ่ มี สิ่ งอาเจีย จี นออก มาหรือไม่ หรือมีสิ่ มี สิ่ งอุด อุ ตัน เช่น ช่ เศษอาหาร ฟัน ฟั ปลอม ดินโคลน ถ้า ถ้ มี ควรรีบล้วงให้อ ห้ อกเพื่อ พื่ มิใมิ ห้ท ห้ างเดิน ดิ หายใจอุด อุ ตัน หรือไม่ใม่ ห้สำ ห้ สำ ลักเข้า ข้ปอด 4. ควรตรวจดูว่ ดู า ว่ ผู้บผู้ าดเจ็บ จ็ หายใจขัด ขั หรือหยุด ยุ หายใจ หรือไม่ ถ้า ถ้ มีอ มี าการดัง ดั กล่าวควรรีบผายปอด และควร ตรวจคลำ ชีพ ชี จรของเส้นเลือดใหญ่บ ญ่ ริเวณข้า ข้ งลำ คอ ว่า ว่ ยังเต้นเป็น ป็ จังหวะหรือไม่ ถ้า ถ้ คลำ ไม่พ ม่ บหรือเบามาก ให้รีบนวดหัวใจด้ว ด้ ยวิธี วิ ก ธี ารกดหน้าอก 5. ควรตรวจดูส่ ดู ส่ วนต่าง ๆ ของร่างกายว่า ว่ มีบ มี าดแผล หรือไม่ มีรอยฟกช้ำ กระดูก ดู หัก หั หรือข้อ ข้ เคลื่อนหรือไม่ หากพบสิ่งผิด ผิ ปกติ ให้ปห้ ฏิบัติ บั ติ การปฐมพยาบาลตามแต่ กรณี เช่น ช่ ปิด ปิ บาดแผลห้า ห้ มเลือด เข้า ข้ เฝือ ฝื


9 วิธี วิ ก ธี ารปฐมพยาบาลที่ค ที่ นมักเข้า ข้ใจผิด ผิ แถมอัน อั ตรายซะด้วยสิ! ช่ว ช่ ยให้ร่ ห้ร่ างกายลดอุณ อุ หภูมิ เช็ด ช็ ตัวก็ช่ ก็ ว ช่ ย เมื่อ มื่ คุณมีไมี ข้แ ข้ปลว่า ว่ ร่างกายของคุณกำ ลังมีอุ มี ณ อุ หภูมิที่มิ ที่ สูงขึ้น ขึ้ เมื่อ มื่ ยิ่งยิ่ห่ม ห่ ผ้า ผ้ ร่างกายก็ จะเพิ่มพิ่อุณ อุ หภูมิอมิย่า ย่ งรวดเร็วทางที่ถูก ถู ต้องคือคุณต้องได้รั ด้รั บ อากาศที่ถ่า ถ่ ยเทและอุณ อุ หภูมิที่มิ ที่ พอเหมาะ การทำ ให้ร่ ห้ร่ างกายมี อุณ อุ หภูมิสูมิสู งกว่า ว่ 38 องศา ยิ่งยิ่ทำ ให้แ ห้ ย่ม ย่ ากกว่า ว่ ดี และไม่ค ม่ วรใช้น้ำ ช้ น้ำ เย็น ย็ จัด จั เช็ด ช็ ตัวเพราะจะทำ ให้ก ห้ ล้ามเนื้อสั่นเกร็งและอาจเพิ่มพิ่ อุณ อุ หภูมิมมิากขึ้น ขึ้ ไปอีก อี ทางที่ดีคื ดี คื อ เช็ด ช็ ตัวด้ว ด้ ยน้ำ ปกติ ไม่ร้ ม่ ร้ อนไม่ เย็น ย็ และปล่อยให้ร่ ห้ร่ างกายได้ถ่ ด้ า ถ่ ยเทความร้อนออกได้เ ด้ รื่อยๆ 1. พยายามทำ ตัวให้ร้ ห้ร้ อนเมื่อ มื่ เป็น ป็ ไข้ เป็น ป็ ความคิดที่ผิดผิ


2. ไม่ค ม่ วรเอาอะไรใส่ปากขณะมีอ มี าการลมชัก ชั สิ่งที่ต้องกัง กั วลมากกว่า ว่ คือการกระแทกของศรีษะ การใส่ช้อ ช้ น หรือสิ่งของใดๆ ไปในขณะที่เป็นลมชัก ชั อาจเป็นการทำ ลายฟัน ฟั ของผู้ป่ ผู้ วยได้เ ด้ นื่องด้ว ด้ ยสาเหตุจากความเครียดอาการลมชัก ชั จึง จึ กำ เริบผู้ป่ ผู้ วยจะกัด กั ลิ้นตัวเองเพีย พี งเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่ง ซึ่ไม่ก่ ม่ อ ก่ ให้เ ห้ กิดกิ อัน อั ตรายใดๆ วิธีวิก ธี ารปฐมพยาบาลเพีย พี งแค่หาหมอนหรือเสื้อมา หนุนหัว หั เพื่อ พื่ ลดการสั่นสะเทือนและป้องกัน กั การกระแทกของศรีษะ แล้วอาการของเขาเหล่านั้นจะดีขึ้ ดี น ขึ้ ตามลำ ดับ ดั


3. ไม่ค ม่ วรใช้ย ช้ าสีฟัน ฟั ทาขณะที่เกิดกิแผลไฟใหม้น้ำ ม้ น้ำ ร้อนลวก อย่า ย่ ถู อย่า ย่ ทา ให้แ ห้ ช่น้ำ ช่ น้ำ เย็น ย็ เมื่อ มื่ ไหร่ที่ผิวผิหนังของคุณถูก ถู ความ ร้อน ความร้อนจะเข้า ข้ไปลึกถึง ถึ ชั้น ชั้ เนื้อเยื่อ ยื่ สิ่งที่ดีที่ ดี ที่ สุดคือน้ำ เย็น ย็ ให้ แช่ไช่ ว้ปว้ ระมาณ 15 นาที เพื่อ พื่ ขจัด จั ความร้อนส่วนเกินกิต้องระวัง วั อย่า ย่ ถูอ ถู ะไรลงไปทันทีบนผิวผิหนัง เพราะมัน มั จะยิ่งยิ่เพิ่มพิ่อาการแสบร้อน ขึ้น ขึ้ ได้ หากจะทายาให้ท ห้ ายาหลังจากนั้น 20 นาที


4. อย่า ย่ เคลื่อนย้า ย้ ยผู้บผู้ าดเจ็บ จ็ โดยไม่มี ม่ ผู้ มี เผู้ชี่ย ชี่ วชาญ เดี๋ย ดี๋ วเจ็บ จ็ หนัก อย่า ย่ ถู อย่า ย่ ทา ให้แ ห้ ช่น้ำ ช่ น้ำ เย็น ย็ เมื่อ มื่ ไหร่ที่ผิวผิหนังของคุณถูก ถู ความ ร้อน ความร้อนจะเข้า ข้ไปลึกถึง ถึ ชั้น ชั้ เนื้อเยื่อ ยื่ สิ่งที่ดีที่ ดี ที่ สุดคือน้ำ เย็น ย็ ให้ แช่ไช่ ว้ปว้ ระมาณ 15 นาที เพื่อ พื่ ขจัด จั ความร้อนส่วนเกินกิต้องระวัง วั อย่า ย่ ถูอ ถู ะไรลงไปทันทีบนผิวผิหนัง เพราะมัน มั จะยิ่งยิ่เพิ่มพิ่อาการแสบร้อน ขึ้น ขึ้ ได้ หากจะทายาให้ท ห้ ายาหลังจากนั้น 20 นาที


5. หากกำ ลังสำ ลัก ไม่ค ม่ วรตบที่หลัง ตบไปเดี๋ย ดี๋ วลงหลอดลม การตบที่หลังเบาๆ ในขณะที่กำ ลังสำ ลัก อาจจะทำ ให้อ ห้ าหารหลุดเข้า ข้ไปในหลอดลมเพิ่มพิ่สิ่งที่ควรทำ คือเช็ค ช็ ให้ชั ห้ ว ชั ร์ว่า ว่ เขากำ ลังอยู่ใยู่ นอาการที่สงบ และบอกให้ห ห้ ายใจช้า ช้ มากๆ เพื่อ พื่ นลดอาการสำ ลักและปิดปิกั้น กั้ เศษอาหารที่จะไปปิดกั้น กั้ ทางเดินดิ หายใจของเขา สิ่งที่จะช่ว ช่ ยได้ คือ ช่ว ช่ ยประคองเพื่อ พื่ นให้โห้ ค้งและ ระวัง วั อาหารลงหลอดลม


6. เมื่อ มื่ มีค มี นหมดสติอย่า ย่ พยายามดึง ดึ ลิ้นของเขา ให้นอนตะแคงเมื่อ มื่ หมดสติ การดึง ดึ ลิ้นของผู้ป่ ผู้ วยหมดสติเป็น เรื่องที่อัน อั ตรายมากเนื่องจากลิ้นของเขาสามารถร่นกลับไปปิด ทางเดินดิหายใจได้ห ด้ ากต้องการให้แ ห้ น่ใจว่า ว่ เขาหมดสติ สิ่งที่คุณ ต้องทำ มีเ มี พีย พี งแค่ย้า ย้ ยศรีษะของเขาและให้เ ห้ ขานอนตะแคง แต่ไม่ ควรดึง ดึ ลิ้นของเขาโดยเด็ด ด็ ขาด


7. อย่า ย่ ใช้ส ช้ ายรัดแผลเพื่อ พื่ ห้า ห้ มเลือด รัดแน่น น่ ไป อาจเสียอวัย วั วะไปตลอดกาล การมีเ มี ลือดออกเป็น เรื่องที่สามารถเกิดกิขึ้น ขึ้ ได้ง่ ด้ า ง่ ย ในกรณีที่ ณี ที่ มีเ มี ลือดออกมากจนเป็น หยดคล้ายกับ กั น้ำ พุ่งพุ่ ในกรณีนี้ ณี นี้ คุณต้องกดหลอดเลือดแดงใต้ขา หนีบหรือรักแร้และวางแขนชิดชิลำ ตัว ถ้า ถ้ หากจำ เป็นต้องรัดให้รั ห้รั ด ทับเสื้อผ้า ผ้ เพราะการใช้ส ช้ ายรัดนั้นจะทำ ให้อ ห้ วัย วั วะปลายทางขาด เลือดซึ่ง ซึ่ อัน อั ตรายถึง ถึ ขั้น ขั้ สูญเสียอวัย วั วะนั้นได้


8. ถ้า ถ้โดนน้ำ แข็ง ข็ กัด กั อย่า ย่ ขัด ขั ผิวผิ ใช้น้ำ ช้ น้ำ อุ่นอุ่ ๆก็พ ก็ อ เมื่อ มื่ คุณโดนน้ำ แข็ง ข็ กัด กั อย่า ย่ เอามือ มื ไปแช่ใช่ นน้ำ ร้อน เพราะเส้นเลือดฝอยของคุณจะถูก ถู ทำ ลายหากใช้น้ำ ช้ น้ำ ที่มีอุ มี ณ อุ หภูมิ สูงจนเกินกิ ไป การลดผลกระทบอย่า ย่ งช้า ช้ ๆ เป็นวิธีวิที่ ธี ที่ ดีที่ ดี ที่ สุด เพีย พี งแค่ คุณวางมือ มื ของคุณในน้ำ เย็น ย็ และค่อยๆ เพิ่มพิ่อุณ อุ หภูมิอมิย่า ย่ งช้า ช้ ๆ


9. ประเมินมิสถานะการ ก่อ ก่ นลงมือ มื เข้า ข้ ช่ว ช่ ยเหลือ มีสติ ประเมินสถานการณ์ ในกรณีฉุ ณี ก ฉุ เฉินฉิคุณควรพิจพิารณา ความเป็นไปได้ก่ ด้ อ ก่ นช่ว ช่ ยเหลือว่า ว่ คุณหรือคนที่เข้า ข้ ช่ว ช่ ยเหลือจะได้ รับอัน อั ตรายหรือไม่ ยกตัวอย่า ย่ งเช่น ช่ ถ้า ถ้ เพื่อ พื่ นถูก ถู ไฟดูด ดู แล้วคุณไป ช่ว ช่ ยดึง ดึ เมื่อ มื่ คุณสัมผัส ผั คนที่กำ ลังโดนไฟฟ้า ฟ้ ดูด ดู ก็มี ก็ โมี อกาสเป็นไป ได้ที่ ด้ ที่ คุณจะถูก ถู ไฟดูด ดู ไปด้ว ด้ ย วิธีวิก ธี ารที่ปลอดภัยที่สุดคือคุณต้อง ปิดแหล่งจ่า จ่ ยไฟทันที และแยกตัวผู้ไผู้ด้รั ด้รั บบาดเจ็บ จ็ ออกจากจุด จุ อัน อั ตราย


การปฐมพยาบาลบาดแผล การห้า ห้ มเลือ ลื ด การบาดเจ็บใดๆก็ต ก็ าม แม้จ ม้ ะเห็น ห็ เป็น ป็ บาดแผล ภายนอก เล็กๆ แต่อาจเป็น ป็ สาเหตุให้อ ห้ วัย วั วะภายในบาดเจ็บ จ็ รุนแรงได้ ตลอดจนเป็น ป็ สาเหตุ ให้เ ห้ ลือดออกมาก ช็อ ช็ ก หัว หัใจหยุด ยุ เต้น สมองบาดเจ็บ รวมทั้งเส้นประสาทถูก ถู ทําลายได้ แผลของมีคม แผลถลอก แผลช้ำ แผลฉีก


หลักการห้ามเลือด 1. ต้องคํานึงถึงความ ปลอดภัยของ ตนเอง การป้องกัน การติดเชื้อ ชื้ หาก ต้องไปสัมผัสบาดแผล และเลือดขอ ผู้ป่วยโดยตรง ควร สวมถุงมือยาง หรือหาวัสดุใกล้ตัว เช่น ถุง พลาสติก 5. ถ้าเลือดยังไม่หยุด ให้ใช้นิ้ว นิ้ มือ กดตรง จุดเส้นเลือดแดงที่มาเลี้ย ลี้ ง บริเวณบาดแผลที่ มีเลือดออก โดย การกดติดกับกระดูก ซึ่งจะ ช่วย ทำ ให้การไหลของเลือดช้าลง ชั่วคราว การใช้นิ้ว นิ้ กดเส้นเลือดนี้จ นี้ ะ ต้องทำ ควบคู่กับ การกดลงบนบาด แผลโดยตรง ไม่ควรใช้วิธีนี้วิ นี้ วิ ธีเดียว 2. แผลเล็กกดโดยตรงลงบนบาดแผล แผลใหญ่ขึ้น ขึ้ ใช้ฝ่ามือกดปลายแผลไว้วิธีที่ดี ที่สุด คือใช้ผ้าสะอาดพับหนาๆ กดลงบน บาดแผลในกรณีฉุกเฉิน ใช้เสื้อ สื้ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าพันคอแต่ถ้าไม่มีจริงๆ ใช้ฝ่ามือกดลง ไปตรงๆ ได้เลยนานประมาณ 10 นาที ถ้าเลือดยังไม่หยุดให้ เติมผ้าชิ้น ชิ้ ใหม่ลงบนชิ้น ชิ้ เดิมที่ปิด อยู่บนบาดแผล 3. ใช้ผ้ายืดพันทับบนผ้าที่ปิดกด บาดแผลไว้ 4. ถ้าเลือดออกมาก อย่าเสียเวลา ทำ แผลให้ใช้มือกดบนบาดแผล พร้อม ทั้ง ทั้ ยกส่วนนั้น นั้ ให้สูงขึ้น ขึ้ เหนือ ระดับ หัวใจ ในกรณีที่ไม่มีกระดูก บริเวณนั้น นั้ หักร่วมด้วย 6. เฝ้าระวังอาการช็อกเนื่องจากการ เสียเลือด จะมีอาการดังนี้ หน้ามืด เวียนศีรษะ หน้าซีด ตัวเย็น เหงื่อ ออก ชีพจรเบา เร็ว หรือคลำ ไม่ได้ ตำ แหน่งกดเส้นเลือดแดง


ช็อก (SHOCK) ภาวะช็อก หมายถึง สภาวะที่โลหิตไปเลี้ย ลี้ เซลล์ต่างๆ ของร่างกาย ไม่เพียงพอ มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น ซีด กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจหอบลึก หรือหายใจเร็วดิ้น ดิ้ ชีพจรเบาเร็ว กระหายน้ำ ต่อมา ไม่รู้สึกตัว และเสียชีวิตได้ถ้าช่วยเหลือไม่ทัน การปฐมพยาบาล 1. ถ้ามีบาดแผลเลือดออก ให้รีบทำ การห้ามเลือด 2. จัดท่าให้นอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้าง หนึ่ง 3. ยกปลายเท้าสูง 4. คลายเสื้อ สื้ ผ้าให้หลวม 5. ให้ความอบอุ่น ห่มผ้าให้ 6. รีบนำ ผู้ป่วยส่งโรง พยาบาล


การปฐมพยาบาลเมื่อ มื่ ถูก ถู แมลงกัด กั ต่อ ต่ ย การปฐมพยาบาล 1. ใช้ลูกกุญแจที่มีรูกดตรงจุดที่ถูกต่อย แล้วใช้ที่หนีบ คีบเอาเหล็กในออก 2. กดหรือบีบบาดแผลไล่น้ำ พิษออก 3. ใช้สำ ลีชุมแอมโมเนียทาบริเวณแผล 4. ใช้น้ำ แข็งประคบบริเวณแผล เพื่อระงับอาการปวด และช่วยลดการซึมซาบของพิษ 5. สังเกตดูอาการ ถ้าไม่ดีขึ้น ขึ้ รีบพาไปพบแพทย์


การปฐมพยาบาล เมื่อ มื่ เลือ ลื ดกำ เดาไหล การปฐมพยาบาล 1. นั่งนิ่งๆ ก้มหน้าลงเล็กน้อย บีบจมูกนาน 10 นาที 2. ใช้ผ้าชุบน้ำ เย็น หรือน้ำ แข็งวางบนหน้าผาก สันจมูก หรือใต้ขากรรไกร 3. ถ้าเลือดกำ เดายังไม่หยุดไหลให้รีบไปพบแพทย์


ข้อ ข้ ควรระวัง วั คือ อย่า ย่ ปิดปิแผลด้ว ด้ ยพลาสเตอร์ยาใด ๆ พร้อมทั้งรับประทานยาที่ช่ว ช่ ยลด อาการติดเชื้อ ชื้ ปวดบวมอัก อั เสบร่วมด้ว ด้ ย ซึ่ง ซึ่ หาซื้อ ซื้ ได้จ ด้ ากร้านขายยาที่มีใมี บรับรองทั่วไป หรือขอเข้า ข้ รับยาจากแพทย์ผู้ ย์ เผู้ชี่ย ชี่ วชาญโดยตรง และควรแจ้ง จ้ รายละเอีย อี ดของอาการ คุณให้แ ห้ พทย์ท ย์ ราบก่อ ก่ นเสมอ เพื่อ พื่ ได้รั ด้รั บคำ แนะนำ เพิ่มพิ่เติม หรือการจัด จั ยารับประทานให้ คุณได้อ ด้ ย่า ย่ งถูก ถู ต้องเหมาะสม วิธี วิปธี ฐมพยาบาลเมื่อ มื่ ถูก ถู หอยเม่น ม่ ตำ ที่เท้า เช็ก ช็ เข็ม ข็ ของเม่น ม่ ทะเล ว่า ว่ ตำ ผิวผิหนังคุณลึกหรือไม่ หากมีต มี อโผล่ขึ้น ขึ้ และไม่ลึ ม่ ลึ กจน เกินไป คุณสามารถนำ แหนบ หรืออุป อุ กรณ์ใณ์ ด ๆ เพื่อ พื่ คีบหนามออกได้ทั ด้ ทั นที พร้อม กับทำ ความสะอาดรอบแผลด้ว ด้ ยน้ำ อุ่นอุ่ หรือน้ำ มะนาวเพื่อ พื่ ให้เ ห้ ข้า ข้ไปทำ การสลาย พิษพิ ในกรณีที่ ณี ที่ ถูก ถู เม่น ม่ ทะลตำ จนไม่ส ม่ ามารถนำ หนามของพวกมัน มั ออกมาได้ ให้รี ห้ รี บแช่น้ำ ช่ น้ำ ร้อนหรือน้ำ อุ่นอุ่ ประมาณ 30-90 นาที เพื่อ พื่ ลดอาการเจ็บ จ็ ปวดบวมอัก อั เสบ จากนั้น นำ น้ำ ส้มสายชูม ชู าล้าง หรือแช่น้ำ ช่ น้ำ ส้มสายชูอี ชู ก อี รอบเพื่อ พื่ สลายหนาม และพิษพิของมัน มั ทำ ซ้ำ กันเช่น ช่ นี้เป็น ป็ เวลาหลายวัน วั จนกว่า ว่ รอยจุด จุ ดำ ๆ ของหนามมัน มั นั้นจะสลายไป เอง เพราะในน้ำ ส้มสายชูค่ ชู ค่ อนข้า ข้ งมีฤ มี ทธิ์เธิ์ป็น ป็ กรดในการกำ จัด จั พิษพิและหนาม แหลมให้เ ห้ ลือนหายไปจากผิวผิหนังของคุณได้


พาผู้ป่ผู้ ว ป่ ยไปพบแพทย์ใย์ ห้เ ห้ ร็วที่สุด และพยายามจำ ลักษณะหรือสายพัน พั ธุ์ ของงูใ งู ห้ได้ ล้างแผลด้ว ด้ ยน้ำ สะอาด หรือน้ำ ยาฆ่า ฆ่ เชื้อ ชื้ พยายามเคลื่อนไหวตัวผู้ป่ผู้ ว ป่ ยให้น้ ห้ น้ อยที่สุด โดยเฉพาะบริเวณที่ถูก ถู กัด กั ดามบริเวณที่ถูก ถู งูกั งู ด กั และปิดปิแผลด้ว ด้ ยผ้า ผ้ สะอาด หรือผ้า ผ้ ก๊อ ก๊ ซ ห้ามใช้ส ช้ มุนไพร ห้า ห้ มดูด ดู หรือกรีดแผลเด็ด ด็ ขาด เพราะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ชื้ ห้ามขัน ขั ชะเนาะ เพราะกล้ามเนื้ออาจตาย และห้า ห้ มประคบเย็น ย็ ถูก ถู งูกั งู ด กั ห้ามดูด ดู ห้า ห้ มกรีดแผล เป็น ป็ สัตว์ที่ ว์ ที่ เราสามารถพบได้เ ด้ป็น ป็ ปกติอยู่แยู่ ล้วทั้งในข่า ข่ ว หรือในชีวิ ชี ตวิจริง โดย ส่วนมากพิษของงูใ งู นไทยมัก มั จะส่งผลต่อระบบประสาท เช่น ช่ งูเ งู ห่า ห่ หรืองูจ งู งอาง เป็น ป็ ต้น ผู้ที่ผู้ ที่ ถูก ถู กัด กั จะมีอ มี าการ ดัง ดั นี้ กล้ามเนื้อเริ่มอ่อ อ่ นแรง ตาไม่มี ม่ แ มี รง พูด พู ไม่ ออก กลืนน้ำ ลายลำ บาก หยุด ยุ หายใจ และเสี่ยงเสียชีวิ ชี ตวิดัง ดั นั้นหากถูก ถู งูกั งู ด กั ควร ปฏิบั ฏิติ ดัง ดั นี้ วิธี วิปธี ฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อถูกงูกัด


คณะผู้จัด จั ทำ นายณัฐ ณั พล ตากลม เลขที่2 นายธีร ธี ดนย์ บุญบุ มั่น มั่ คง เลขที่ 6 นางสาวกัญ กั ญาณัฐ ณั อิน อิ ต๊ะยศ เลขที่ 8 นางสาวชัญ ชั ญานุช คลี่บาน เลขที่ 9 นางสาวธัญ ธั ลักษณ์ มูล มู ปัญ ปั ญา เลขที่ 10 นางสาวอัม อั มราพร อุต อุ สม เลขที่22


Click to View FlipBook Version