The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ด.ญ.ปัญญารัตน์ ดียิ่ง
ด.ญ.พรพิมล รื่นเจริญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watploykrachangsri, 2022-07-04 23:59:49

เบลล์

ด.ญ.ปัญญารัตน์ ดียิ่ง
ด.ญ.พรพิมล รื่นเจริญ

รายงาน
เรือ่ งกฬี าเทเบลิ เทนนิส

เสนอ
ครูพษิ ณุ ประกอบนา

โดย
ด.ญ.ปัญญารัตน์ ดียิง่
ด.ญ.พรพมิ ล ร่นื เจริญ
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ที่ 2
รายงานนีเ้ ป็ นสว่ นหน่ึงของรายวิชาพละศกึ ษา
ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2565
โรงเรยี นวัดพลอยกระจ่างศรี (บุญยังราษฏน์ าวอี ุปถมั ภ)์

คานา

รายงานเลม่ นีจ้ ดั ทาขนึ้ เพื่อเป็นสว่ นหนง่ึ ของวชิ าพละศกึ ษาชนั้
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เพ่อื ใหไ้ ดศ้ กึ ษาหาความรูใ้ นเรอื่ ง เทเบิลเทนิส และได้
ศกึ ษาอยา่ งเขา้ ใจเพื่อเป็นประโยชนก์ บั การเรียน
ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ กบั ผอู้ ่าน หรอื นกั เรียน
นกั ศกึ ษา ทก่ี าลงั หาขอ้ มลู เรอื่ งนอี้ ยู่ หากมขี อ้ แนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาด
ประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่นี ดี้ ว้ ย

ผจู้ ดั ทา
ด.ญ.ปัญญารตั น์ ดยี ง่ิ
ด.ญ.พรพมิ ล รน่ื เจริญ
วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2565

สารบัญ หน้า
4
ประวตั ิเทเบิลเทนนิส 8
กตกิ ารการเลน่ เทเบิลเทนนสิ 5
วธิ ีการจบั ไม้

ประวตั ิกฬี าเทเบลิ เทนนสิ

เท่าท่ีมีหลักฐานบันทึกพอใหค้ น้ ควา้ ทาใหเ้ ราไดท้ ราบว่ากีฬาเทเบิลเทนนิสไดเ้ ริ่มขึน้ ทปี่ ระเทศองั กฤษ
ในปี ค.ศ. 1890 ในครงั้ นนั้ อปุ กรณ์ท่ีใชเ้ ล่นประกอบดว้ ย ไม้ หนงั สตั ว์ ลักษณะคลา้ ยกับไมเ้ ทนนิสใน
ปัจจุบนั นี้ หากแตว่ ่าแทนทจ่ี ะขึงดว้ ยเสน้ เอน็ ก็ใชแ้ ผน่ หนังสตั วห์ มุ้ ไวแ้ ทน ลกู ท่ใี ชต้ เี ป็นลกู เซลลลู อยด์ เวลาตี
กระทบถูกพืน้ โต๊ะและไม้ก็เกิดเสียง “ปิก-ป๊ อก” ดังน้ัน กีฬานีจ้ ึงถูกเรียกอีกช่ือหนึ่งตามเสียงทีได้ยินว่า
“ปิงปอง” (PINGPONG) ต่อมากไ็ ดม้ กี ารววิ ฒั นาการขนึ้ โดยไมห้ นงั สตั วไ์ ดถ้ กู เปลยี่ นเป็นแผน่ ไมแ้ ทน ซ่ึง
ไดเ้ ลน่ แพรห่ ลายในกลมุ่ ประเทศยุโรปก่อน

วิธีการเล่นในสมยั ยโุ รปตอนตน้ นเี้ ป็นการเล่นแบบยนั (BLOCKING) และแบบดนั กด (PUSHING)
ซ่ึงต่อมาไดพ้ ฒั นามาเป็นการเล่นแบบ BLOCKING และ CROP การเล่นถูกตดั ซ่ึงวิธีนีเ้ องเป็นวิธีการ
เล่นที่ส่วนใหญ่นิยมกนั มากในยโุ รป และแพรห่ ลายมากในประเทศตา่ ง ๆ ท่วั ยุโรป การจบั ไมก้ ม็ ีการจบั ไมอ้ ยู่
2 ลกั ษณะ คอื จบั ไมแ้ บบจบั มือ (SHAKEHAND)ซึง่ เราเรียกกนั วา่ “จบั แบบยโุ รป” และการจบั ไมแ้ บบ
จบั ปากกา (PEN-HOLDER) ซ่ึงเราเรียกกนั วา่ “จบั ไมแ้ บบจนี ” น่นั เอง

ในปี ค.ศ. 1900 เริ่มปรากฏว่า มีไมป้ ิงปองท่ีติดยางเม็ดเขา้ มาใชเ้ ล่นกัน ดงั น้ันวิธีการเล่นแบบรุกหรือ
แบบบุกโจมตี (ATTRACK หรอื OFFENSIVE) เร่ิมมบี ทบาทมากยิง่ ขนึ้

และยคุ นจี้ งึ เป็นยุคของนายวติ เตอร์ บารน์ า่ (VICTOR BARNA) อยา่ งแทจ้ รงิ เป็นชาวฮงั การไี ดต้ าแหนง่
แชมเปีย้ นโลกประเภททมี รวม 7 ครง้ั และประเภทชายเดี่ยว 5 ครง้ั

ในปี ค.ศ. 1929-1935 ยกเวน้ ปี 1931 ที่ไดต้ าแหน่งรองเท่าน้นั ในยุคนีอ้ ปุ กรณ์การเล่น โดยเฉพาะไมม้ ี
ลกั ษณะคลา้ ย ๆ กบั ไมใ้ นปัจจบุ นั นี้ วิธีการเล่นก็เช่นเดียวกนั คือมีทงั้ การรุก (ATTRACK)

และการรบั (DEFENDIVE) ทง้ั ดา้ น FOREHAND และ BACKHAND การ จบั ไมก้ ็คงการจบั
แบบ SHAKEHAND เป็นหลกั ดงั นน้ั เมอื่ ส่วนใหญ่จบั ไมแ้ บบยโุ รป

แนวโนม้ การจับไมแ้ บบ PENHOLDER ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปมีนอ้ ยมากในยุโป ในระยะนนั้ ถือว่ายุโรปเป็น
ศนู ยร์ วมของกฬี าปิงปองอย่างแทจ้ ริง

ในปี ค.ศ. 1922 ไดม้ บี รษิ ัทคา้ เครือ่ งกีฬา ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการคา้ ว่า “PINGPONG” ดว้ ย
เหตนุ กี้ ฬี านีจ้ ึงเป็นช่อื มาเป็น “TABLE TENNIS” ไมส่ ามารถใชช้ ่อื
ท่เี ขาจดทะเบียนไดป้ ระการหนึง่ และเพ่ือไมใ่ ช่เป็นการโฆษณาสนิ คา้ อีกประการหน่ึง และแลว้ ในปี ค.ศ. 1926
จงึ ไดม้ ีการประชุมก่อตง้ั สหพนั ธเ์ ทเบลิ เทนนิสนานาชาติ
(INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ขึ้นท่ีกรุงลอนดอนในเดือน
ธนั วาคม ค.ศ. 1926 ภายหลงั จากการไดม้ กี ารปรกึ ษาหารือในขน้ั ตน้ โดย
DR. GEORG LEHMANN แห่งประเทศเยอรมนั กรุงเบอรล์ นิ เดือนมกราคม ค.ศ. 1926 ในปีนเี้ อง
การแข่งขนั เทเบลิ เทนนสิ แหง่ โลกครงั้ ที่ 1 ก็ไดเ้ ริ่มขนึ้ พรอ้ มกบั การกอ่ ตง้ั สหพนั ธฯ์
โดยมีนายอีวอร์ มองตากู เป็นประธานคนแรก ในช่วงปี ค.ศ. 1940 นี้ ยังมีการเล่นและจับไมพ้ อจาแนก
ออกเป็น 3 ลกั ษณะดงั นี้

1. การจบั ไม้ เป็นการจบั แบบจบั มอื
2. ไมต้ อ้ งติดยางเมด็
3. วิธีการเล่นเป็นวิธีพนื้ ฐาน คอื การรบั เป็นสว่ นใหญ่ ยุคนยี้ งั จดั ไดว้ า่ เป็น “ยุคของยโุ รป” อีกเช่นเคย
ในปี ค.ศ. 1950 จงึ เรม่ิ เป็นยคุ ของญ่ีป่นุ ซงึ่ แทจ้ รงิ มลี กั ษณะพิเศษประจาดงั นคี้ ือ

1. การตบลกู แมน่ ยาและหนกั หน่วง

2. การใชจ้ งั หวะเตน้ ของปลายเทา้

ในปี ค.ศ. 1952 ญ่ีป่ นุ ไดเ้ ขา้ ร่วมการแข่งขันเทเบลิ เทนนิสโลกเป็นครงั้ แรก ท่ีกรุงบอมเบย์ ประเทศอนิ เดีย
และตอ่ มาปี ค.ศ. 1953 สาธารณรฐั ประชาชนจนี

จึงไดเ้ ขา้ ร่วมการแข่งขนั เป็นครง้ั แรกที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศรูมาเนยี จึงนับไดว้ ่ากีฬาปิงปองเป็ นกีฬาระดบั
โลกทแ่ี ทจ้ ริงปีนนี้ ่นั เอง

ในยคุ นญี้ ่ีป่นุ ใชก้ ารจบั ไมแ้ บบจบั ปากกา ใชว้ ธิ ีการเล่นแบบรุกโจมตีอย่างหนกั หน่วงและรุนแรง โดยอาศยั
อปุ กรณเ์ ขา้ ช่วย เป็นยางเมด็ สอดไสด้ ว้ ยฟองนา้ เพ่มิ เติม

จากยางชนิดเมด็ เดิมทใี่ ชก้ นั ท่วั โลก

การเล่นรุกของยุโรปใช้ความแม่นยาและช่วงตีวงสวิงสั้น ๆ เท่าน้นั ซึ่งส่วนใหญ่จะใชบ้ ่า ขอ้ ศอก และ
ขอ้ มือเทา่ นน้ั ซงึ่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ญ่ีป่นุ ซง่ึ ใชป้ ลายเทา้ เป็น

ศนู ยก์ ลางของการตีลกู แบบรุกเป็นการเลน่ แบบ “รุกอยา่ งต่อเน่อื ง” ซึ่งวิธีนสี้ ามารถเอาชนะวิธีการเล่นของยโุ รป
ได้ การเล่นโจมตแี บบนเี้ ป็นทีเ่ กรงกลวั ของชาวยุโรปมาก

เปรียบเสมือนการโจมตีแบบ “KAMIKAZE” (การบินโจมตีของฝูงบินหนว่ ยกลา้ ตายของญ่ีป่ นุ ) ซึ่งเป็นท่ี
กล่าวขวญั ในญ่ีป่นุ กนั วา่ การเล่นแบบนเี้ ป็นการเลน่ ที่เสี่ยงและ

กลา้ เกินไปจนดูแลว้ รูส้ ึกว่าขาดความรอบคอบอยู่มาก แต่ญ่ีป่ ุนก็เล่นวิธีนีไ้ ด้ดี โดยอาศัยความสุขุมและ
Foot work ทค่ี ลอ่ งแคลว่ จนสามารถครองตาแหนง่ ชนะเลศิ ถึง

7 ครงั้ โดยมี 5 ครง้ั ตดิ ต่อกนั ตง้ั แต่ปี ค.ศ. 1953-1959

สาหรับในยุโรปนั้นยังจับไมแ้ บบ SHAKEHAND และรบั อยู่ จึงกล่าวไดว้ ่าในช่วงแรก ๆ ของปี ค.ศ.
1960 ยงั คงเป็นจดุ มืดของนกั กีฬายโุ รปอยนู่ ่นั เอง

ในปี ค.ศ. 1960 เริ่มเป็นยุคของจีน ซึ่งสามารถเอาชนะญ่ีป่ ุนไดโ้ ดยวิธีการเล่นท่ีโจมตีแบบรวดเร็ว
ผสมผสานกบั การปอ้ งกนั ในปี 1961

ไดจ้ ดั การแข่งขนั เทเบลิ เทนนิสชิงชนะเลิศ

ครงั้ ที่ 26 ที่กรุงปักกิง่ ประเทศจีน จีนเอาชนะญี่ป่นุ ทง้ั นีเ้ พราะญ่ีป่ นุ ยงั ใชน้ ักกฬี าที่อายุมาก ส่วนจีนไดใ้ ช้
นกั กีฬาทีห่ น่มุ สามารถเลน่ ไดอ้ ย่าง

รวดเร็วปานสายฟ้าท้ังรุกและรบั การจบั ไมก้ ็เป็นการจบั แบบปากกา โดยจีนชนะท้งั ประเภทเด่ียวและทีม 3
ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ทง้ั นเี้ พราะจนี ไดท้ ุ่มเทกบั

การศกึ ษาการเล่นของญี่ป่นุ ทง้ั ภาพยนตรท์ ี่ไดบ้ นั ทึกไวแ้ ละเอกสารต่าง ๆ โดยประยุกตก์ ารเล่นของญ่ีป่นุ เขา้
กบั การเล่นแบบสน้ั ๆ แบบทจี่ นี ถนดั กลายเป็นวธิ ีการเลน่ ทก่ี ลมกลืนของจีนดงั ท่ีเราเหน็ ในปัจจุบนั

ยุโรปเร่ิมฟื้นคืนชีพขึน้ มาอีกคร้ังหน่ึง โดยนาวิธีการเล่นของชาวอินเดียมาปรบั ปรุง นาโดยนกั กีฬาชาว
สวีเดนและประเทศอนื่ ๆ

ซ่ึงมหี วั กา้ วหนา้ ไมม่ วั แตแ่ ตค่ ดิ จะรกั ษาหนา้ ของตวั เองว่าไมเ่ รียนแบบของชาติอ่ืนๆ ดงั นน้ั ชายยุโรปจึงเริ่มชนะ
ชายคู่ ในปี 1967 และ 1969 ซึง่ เป็นนกั กฬี าจากสวเี ดน ในช่วงนนั้ การเลน่ แบบรุกยงั ไม่เป็นทแ่ี พร่หลายทงั้ นี้
เพราะวิธีการเล่นแบบรบั ไดฝ้ ังรากในยุโรป จนมีการพดู กันว่านักกีฬายุโรปจะเรียนแบบการเล่นลูกยาวแบบ
ญ่ีป่นุ นน้ั คงจะไมม่ ที างสาเร็จแตก่ ารท่นี กั กฬี าของสวเี ดนไดเ้ ปลย่ี นวธิ ีการเลน่ แบบญี่ป่นุ ไดม้ ผี ลสะทอ้ น

ต่อการเปลี่ยนแปลงของเยาวชนรุ่นหลังของยุโรปเป็นอย่างมาก และแล้วในปี 1970 จึงเป็นปีของการ
ประจนั หนา้ ระหว่างผเู้ ลน่ ชาวยโุ รปและผเู้ ลน่ ชาวเอเชีย

ช่วงระยะเวลาไดผ้ ่านไปประมาณ 10 ปี ตงั้ แต่ 1960-1970 นักกีฬาของญ่ีป่ นุ ไดแ้ ก่ตวั ลงในขณะที่
นกั กฬี ารุ่นใหมข่ องยุโรปไดเ้ ร่มิ ฉายแสงเกง่ ขนึ้ และสามารถควา้ ตาแหน่ง ชนะเลิศชายเด่ยี วของโลกไปครองได้
สาเรจ็ ในการแขง่ ขนั เทเบิลเทนนสิ เพ่อื ความชนะเลิศแหง่ โลก ครงั้ ที่ 31 ณ กรุงนาโกน่า

ในปี 1971 โดยนกั เทเบิลเทนนสิ ชาวสวีเดน ชื่อ สเตลงั เบนคส์ นั เป็นผเู้ ปิดศกั ราชใหก้ บั ชาวยุโรป ภายหลงั
จากท่ีนกั กีฬาชาวยโุ รปไดต้ กอบั ไปถึง 18 ปี ในปี 1973 ทีมสวีเดนกไ็ ดค้ วา้ แชมป์ โลกไดจ้ งึ ทาใหช้ าวยโุ รปมี

ความม่นั ใจในวิธีการเลน่ ท่ตี นไดล้ อกเลียนแบบและปรงั ปรุงมา ดงั นนั้ นกั กฬี าของยุโรปและนกั กฬี าของเอเชีย
จึงเป็นค่แู ขง่ ทส่ี าคญั ในขณะทน่ี กั กฬี าในกล่มุ ชาติอาหรบั และลาตินอเมรกิ า ก็เริ่มแรงขึน้ กา้ วหนา้ รวดเร็วขนึ้
เริ่มมีการใหค้ วามร่วมมอื ชว่ ยเหลือทางดา้ นเทคนิคซง่ึ กันและกนั การเล่นแบบตง้ั รบั ซ่ึงหมดยคุ ไปแลว้ ตง้ั แตป่ ี
1960 เร่ิมจะมีบทบาทมากยิง่ ขนึ้ มาอีก โดยการใชค้ วามชานาญในการเปลี่ยนหนา้ ไมใ้ นขณะเล่นลกู หนา้ ไม้
ซ่ึงติดด้วยยางปิงปอง ซ่ึงมีความยาวของเม็ดยางยาวกว่าปกติ การใช้ยาง ANTI – SPIเพ่ือพยายาม
เปล่ียนวิถีการหมุนและทิศทางของลูกเขา้ ช่วย ซึ่งอุปกรณท์ ่ีใช้นีม้ ีส่วนช่วยอย่างมาก ในขณะนีก้ ีฬาเทเบิล
เทนนิสนับว่าเป็นกีฬาท่ีแพร่หลายไปท่ัวโลกมีวิธีการเล่นใหม่ ๆ เกิดขึน้ ตลอดเวลา ซ่ึงผูเ้ ล่นเยาวชนต่าง ๆ
เหลา่ นจี้ ะเป็นกาลงั สาคญั ในการพฒั นากฬี าเทเบลิ เทนนสิ ต่อไป ในอนาคตไดอ้ ย่างไม่มที ่ีวนั สนิ้ สดุ และขณะนี้
กีฬานีก้ ็ไดเ้ ป็นกีฬาประเภทหนึ่งในกีฬาโอลิมปิก โดยเร่ิมมีการแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกในปี 1988 ท่ีกรุงโซล
ประเทศสาธารณรฐั เกาหลเี ป็นครงั้ แรก
กติการการเล่น เทเบิลเทนนสิ
โต๊ะเทเบิลเทนนสิ

1.1 พืน้ หนา้ ดา้ นบนของโต๊ะเรียกว่า “พืน้ ผิวโต๊ะ” (PLAYING SURFACE) จะเป็นรูปส่ีเหลี่ยมผืนผา้ มี
ความยาว 2.74 เมตร (9 ฟุต) ความกวา้ ง 1.525 เมตร (5 ฟุต) และจะตอ้ งสงู ไดร้ ะดับ โดยวดั จากพืน้ ท่ีตง้ั ขนึ้
มาถึงพนื้ ท่ีผวิ โตะ๊ สงู 76 เซนติเมตร (2 ฟตุ 6 นวิ้ )
1.2 พนื้ ผวิ โตะ๊ ไมร่ วมถงึ ดา้ นขา้ งตามแนวตงั้ ท่ีอยูต่ ่ากว่าขอบบนสดุ ของโต๊ะลงมา

1.3 พืน้ ผิวโต๊ะอาจทาด้วยวัสดุใด ๆ ก็ได้ แต่จะตอ้ งมีความกระดอนสม่าเสมอเมื่อเอาลูกเทเบิลเทนนิส
มาตรฐานปล่อยลงในระยะสงู 30 เซนติเมตร โดยวดั จากพืน้ ผิวโตะ๊ ลกู จะกระดอนขนึ้ มาประมาณ 23 เซนติเมตร

1.4 พืน้ ผิวโต๊ะจะตอ้ งเป็นสีเขม้ สม่าเสมอและเป็นสีดา้ น ไม่สะทอ้ นแสง ขอบดา้ นบนของพนื้ ผิวโตะ๊ ทงั้ 4 ดา้ น
จะทาดว้ ยสีขาว มีขนาดกวา้ ง 2 เซนติเมตร เสน้ ของพืน้ ผิวโต๊ะดา้ นยาว 2.74 เมตร ท้ังสองดา้ นเรียกว่า “เสน้
ข้าง” (SIDE LINE) เส้นของพืน้ ผิวโต๊ะดา้ นกวา้ ง 1.525 เมตร ท้ังสองด้านเรียกว่า “เส้นสกัด” (END
LINE)

1.5 พนื้ ผวิ โตะ๊ จะถกู แบ่งออกเป็นสองแดน (COURTS) เทา่ ๆ กนั กนั้ ดว้ ยตาข่ายซึ่งขึงตงั้ ฉากกบั พนื้ ผิวโต๊ะ
และขนานกบั เสน้ สกดั โดยตลอด

1.6 สาหรับประเภทคู่ ในแต่ละแดนจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน ดว้ ยเส้นสีขาว มีขนาดกว้าง 3
มลิ ลเิ มตร โดยขดี ขนานกบั เสน้ ขา้ ง เรยี กวา่ “เสน้ กลาง” (CENTER LINE) และใหถ้ อื วา่ เสน้ กลางนเี้ ป็นส่วน
หน่ึงของคอรด์ ดา้ นขวาของโต๊ะดว้ ย

1.7 ในการแข่งขันระดับมาตรฐานสากล โต๊ะเทเบิลเทนนิสที่ใชส้ าหรบั การแข่งขนั จะตอ้ งเป็นย่ีหอ้ และชนิดที่
ไดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธเ์ ทเบลิ เทนนสิ นานาชาติ (ITTF) เท่านนั้ โดยโต๊ะเทเบิลเทนนิสจะมีสเี ขยี วหรือนา้
เงิน และในการแขง่ ขนั จะตอ้ งระบุสขี องโตะ๊ ท่จี ะใชแ้ ข่งขนั ลงในระเบยี บการแข่งขนั ดว้ ยทุกครง้ั

ส่วนประกอบของตาข่าย

2.1 ส่วนประกอบของตาขา่ ยจะประกอบดว้ ย ตาข่าย ที่แขวนและเสาตงั้ รวมไปถึงท่ีจบั ยึดกบั โตะ๊ เทเบิล
เทนนสิ

2.2 ตาข่ายจะต้องขึงตึงและยึดดว้ ยเชือกซึ่งผูกติดปลายยอดเสาซึ่งตั้งตรงสูงจากพืน้ ผิวโต๊ะ 15.25
เซนติเมตร (6 นวิ้ )

2.3 สว่ นบนสดุ ของตาขา่ ย ตลอดแนวยาวจะตอ้ งสงู จากพืน้ ผิวโต๊ะ 15.25 เซนตเิ มตร

2.4 ส่วนล่างสุดของตาข่ายตลอดแนวยาวจะตอ้ งอยู่ชิดกับพนื้ ผิวโตะ๊ ใหม้ ากทีส่ ุดเท่าทเ่ี ป็นไปได้ และส่วน
ปลายสดุ ของตาขา่ ยทง้ั สองดา้ นจะตอ้ งอยชู่ ิดกบั เสาใหม้ ากท่สี ดุ เทา่ ทเ่ี ป็นไปได้

2.5 ในการแข่งขนั ระดับมาตรฐานสากล ตาข่ายที่ใชส้ าหรบั แข่งขนั จะตอ้ งเป็นย่ีหอ้ และชนิดที่ไดร้ บั การ
รบั รองจากสหพนั ธเ์ ทเบลิ เทนนิสนานาชาติ (ITTF) เทา่ นนั้

ลูกเทเบิลเทนนิส

3.1 ลกู เทเบิลเทนนิส จะตอ้ งกลมและมเี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 40 มลิ ลเิ มตร

3.2 ลกู เทเบิลเทนนิส จะตอ้ งมีนา้ หนกั 2.7 กรมั

3.3 ลกู เทเบิลเทนนสิ จะตอ้ งทาดว้ ยเซลลลู อยดห์ รือวสั ดพุ ลาสตกิ อื่นใดที่คลา้ ยคลงึ กนั มีสีขาว หรอื สีสม้ และ
เป็นสีดา้ น

3.4 ลูกเทเบลิ เทนนิสจะตอ้ งเป็นย่หี อ้ และชนดิ ท่ไี ดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธ์เบิลเทนนิสนานาชาติ (ITTF)
เทา่ นนั้ และจะตอ้ งระบสุ ีของลกู ทีใ่ ชแ้ ขง่ ขนั ลงในระเบยี บการแข่งขนั ทุกครง้ั

ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ

4.1 ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ จะมีรูปรา่ ง ขนาด หรือนา้ หนกั อยา่ งไรกไ็ ด้ แตห่ นา้ ไมจ้ ะตอ้ งแบนเรียบและแข็ง

4.2 อย่างนอ้ ยทีส่ ดุ 85 % ของความหนาของไม้ จะตอ้ งทาดว้ ยไมธ้ รรมชาติ ชน้ั ทีอ่ ดั อยตู่ ิดภายในหนา้ ไม้ ซึ่งทา
ดว้ ยวสั ดอุ ื่นใด เชน่ คารบ์ อนไฟเบอร์ กลาสไฟเบอร์ หรือกระดาษอดั จะตอ้ งมีความหนาไมเ่ กิน 7.5 % ของความ
หนาทง้ั หมดของไม้ หรือไม่เกิน 0.35 มลิ ลเิ มตร สดุ แทแ้ ต่กรณใี ดจะมคี ่านอ้ ยกวา่

4.3 หนา้ ไมเ้ ทเบลิ เทนนิสดา้ นท่ใี ชต้ ีลกู จะตอ้ งมวี สั ดปุ ิดทบั วสั ดนุ น้ั จะเป็นแผน่ ยางเม็ดธรรมดา แผ่นยางชนิดนี้
เม่ือปิดทับหนา้ ไมแ้ ละรวมกบั กาวแลว้ จะตอ้ งมีความหนาท้ังสิน้ ไม่เกิน 2 มิลลิเมตร หรือแผ่นยางชนิดสอดไส้
แผ่นยางชนิดนเี้ มอื่ ปิดทบั หนา้ ไมแ้ ละรวมกบั กาวแลว้ จะตอ้ งมคี วามหนาทงั้ สนิ้ ไม่เกนิ 4 มลิ ลิเมตร ทง้ั นคี้ วามสงู
ของเม็ดยางจะเทา่ กบั ความกวา้ งของเม็ดยางในอตั ราสว่ น 1: 1

4.3.1 แผน่ ยางเมด็ ธรรมดา (ORDINARY PIMPLED RUBBER) จะตอ้ งเป็นแผ่นยางชนิ้ เดียวและไม่
มีฟองนีร้ องรบั โดยหนั เอาเม็ดยางออกมาด้านนอก จะทาด้วยยางธรรมชาติหรือยางสังเคราะห์ มีเม็ดยาง

กระจายอยู่อย่างสม่าเสมอไม่นอ้ ยกว่า 10 เม็ดต่อ 1 ตารางเซนติเมตร และไม่มากกว่า 30 เม็ดต่อ 1 ตาราง
เซนติเมตร

4.3.2 แผ่นยางชนิดสอดไส้ (SANDWICH RUBBER) ประกอบดว้ ยฟองนา้ ชนิดเดยี วปิดคลมุ ดว้ ยแผน่
ยางธรรมดาชนิ้ เดียว โดยจะหนั เอาเม็ดยางอยู่ดา้ นในหรอื อยดู่ า้ นนอกกไ็ ด้ ซึง่ ความหนาของแผน่ ยางธรรมดานี้
จะตอ้ งมคี วามหนาไม่เกิน 2 มลิ ลิเมตร

4.4 วสั ดุปิดทบั หนา้ ไมจ้ ะตอ้ งปิดทบั คลมุ หนา้ ไมด้ า้ นน้นั ๆ และจะตอ้ งไมเ่ กินขอบนา้ ไมอ้ อกไป ยกเวน้ ส่วนที่
ใกลก้ บั ดา้ มจบั ท่ีสดุ และท่ีวางนวิ้ อาจจะหมุ้ หรอื ไม่หุม้ ดว้ ยวสั ดใุ ด ๆ ก็ได้

4.5 หนา้ ไมเ้ ทเบิลเทนนิส ชน้ั ภายในหนา้ ไม้ และชน้ั ของวัสดปุ ิดทบั ต่าง ๆ หรือกาว จะตอ้ งสม่าเสมอและมี
ความหนาเท่ากนั ตลอด

4.6 หนา้ ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส ดา้ นหนึ่งจะตอ้ งเป็นสีแดงสว่าง (BRIGHT RED) และอีกดา้ นหนึ่งจะตอ้ งเป็นสี
ดา (BLACK) และจะตอ้ งมสี กี ลมกลนื อยา่ งสม่าเสมอไม่สะทอ้ นแสง

4.7 วสั ดทุ ่ีปิดทบั หนา้ ไมส้ าหรบั ตลี กู เทเบิลเทนนสิ จะตอ้ งมเี ครอื่ งหมายการคา้ ของ บริษทั ผผู้ ลติ ยี่หอ้ รุน่ และ
เครอ่ื งหมาย ITTF แสดงไวอ้ ยา่ งชดั เจนใกลก้ บั ขอบของหนา้ ไม้ โดยจะตอ้ งเป็นชอื่ ยห่ี อ้ และชนิด (BRAND
AND TYPE) ทไี่ ดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธเ์ ทเบิลเทนนิสนานาชาติ (ITTF) ครงั้ หลงั สดุ เท่านนั้

4.8 สาหรบั กาวท่ีมีส่วนประกอบของสารที่เป็นพิษ จะไม่อนุญาตใหใ้ ชท้ าลงบนหนา้ ไมเ้ ทเบิลเทนนิส ผูเ้ ล่น
จะตอ้ งใชก้ าวแผ่นสาเร็จรูปหรือกาวท่ีไดร้ บั การรบั รองจากสหพนั ธเ์ ทเบิลเทนนิสนานาชาติ (ITTF) เท่านน้ั
และหา้ มใชก้ าวในการตดิ ยางกบั ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ ในบริเวณสนามแข่งขนั

4.9 การเปล่ียนแปลงเลก็ นอ้ ยของความสมา่ เสมอของผวิ หนา้ ไมห้ รือวสั ดปุ ิดทบั หรือความไม่สม่าเสมอของสี
หรือขนาดเนือ่ งจากการเสียหายจากอบุ ตั ิเหตุ การใชง้ านหรอื สีจางอาจจะอนุญาตใหใ้ ชไ้ ด้ โดยเง่ือนไขวา่ เหตุ
เหล่านนั้ ไม่ไดเ้ ปลี่ยนแปลงอย่างสาคญั ตอ่ คณุ ลกั ษณะของผวิ หนา้ ไม้ หรอื วสั ดปุ ิดทบั

4.10 เมอ่ื เร่ิมการแขง่ ขนั และเม่ือใดก็ตามที่ผเู้ ล่นเปล่ียนไมเ้ ทเบิลเทนนสิ ระหวา่ งการแขง่ ขนั ผเู้ ล่นจะตอ้ งแสดง
ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ ท่ีเขาเปลย่ี นใหก้ บั ค่แู ข่งขนั และกรรมการผตู้ ดั สนิ ตรวจสอบก่อนทุกครงั้

4.11 เป็นความรบั ผดิ ชอบของผเู้ ล่นท่จี ะตอ้ งม่นั ใจวา่ ไมเ้ ทเบลิ เทนนิสนนั้ ถูกตอ้ งตามกติกา
4.12 ในกรณที ีม่ ีปัญหาเก่ยี วกบั อปุ กรณก์ ารเลน่ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของผชู้ ขี้ าด
คาจากดั ความ (DEFINITIONS)

5.1 การตีโต้ (RALLY) หมายถึงระยะเวลาที่ลกู อยูใ่ นการเลน่
5.2 ลูกอยู่ในการเลน่ (INPLAY) หมายถึง เมื่อลูกเทเบลิ เทนนิสไดห้ ยุดน่ิงบนฝ่ ามืออสิ ระก่อนการสง่ ลกู
ในจงั หวะสดุ ทา้ ยจนกระท่งั ลกู นนั้ ถูกส่งั ใหเ้ ป็นเลท หรือไดค้ ะแนน
5.3 การส่งใหม่ (LET) หมายถงึ การตีโตท้ ีไ่ มม่ ผี ลไดค้ ะแนน
5.4 การไดค้ ะแนน (POINT) หมายถงึ การตีโตท้ ีม่ ผี ลไดค้ ะแนน
5.5 มือทถี่ ือไม้ (RACKET HAND) หมายถงึ มือในขณะทีถ่ ือไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ
5.6 มอื อิสระ (FREE HAND) หมายถงึ มือในขณะท่ไี มไ่ ดถ้ อื ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส
5.7 การตลี กู (STRIKES) หมายถึง การทผี่ เู้ ลน่ สมั ผสั ลกู ดว้ ยไมเ้ ทเบลิ เทนนิสขณะท่ีถืออยู่ หรือสมั ผสั ลกู
ดว้ ยมอื ทีถ่ ือไมเ้ ทเบลิ เทนนิสตง้ั แต่ขอ้ มือลงไป
5.8 การขวางลกู (OBSTRUCTS) หมายถึง ขณะที่ลกู อยู่อยใู่ นการเล่น หลงั จากท่ีฝ่ายตรงขา้ มตีลูกมา
โดยลกู นนั้ ยงั ไม่ไดก้ ระทบแดนของอีกฝ่ ายหนึ่ง หละยงั ไม่พน้ เสน้ สกดั ปรากฏวา่ ผเู้ ลน่ หรอื ส่ิงใด ๆ ท่เี ขาสวมใส่
หรอื ถอื อยสู่ มั ผสั ถูกลกู ขณะลกู นน้ั อย่เู หนอื ระดบั พนื้ ผวิ โตะ๊ หรอื ลกู นน้ั มีทิศทางวิ่งเหขา้ หาพนื้ ผวิ โตะ๊
5.9 ผสู้ ่ง (SERVER) หมายถึง ผทู้ ่ตี ลี กู เทเบิลเทนนิสเป็นครงั้ แรกในการตีโต้
5.10 ผรู้ บั (RECEIV) หมายถงึ ผทู้ ต่ี ลี กู เทเบิลเทนนิสเป็นครงั้ ท่ีสองในการตโี ต้
5.11 ผตู้ ดั สิน (UMPIRE) หมายถงึ ผทู้ ถี่ ูกแต่งตงั้ ขนึ้ เพื่อควบคมุ การแขง่ ขนั

5.12 ผู้ช่วยตัดสิน (ASSISTANT UMPIRE) หมายถึง ผูท้ ่ีถูกแต่งต้ังขึน้ เพื่อช่วยผู้ตัดสินในการ
แขง่ ขนั

5.13 สง่ิ ใด ๆ ทผี่ เู้ ล่นสวมใสห่ รือถืออยู่ หมายรวมถึง สง่ิ ใด ๆ ก็ตามท่ีผเู้ ลน่ สวมใสห่ รอื ถอื อยู่ตงั้ แต่เรมิ่ การตี
โต้

5.14 ลกู เทเบิลเทนนิสจะถกู พจิ ารณาว่าผ่านตาข่าย ถา้ ขา้ มผ่านหรือออ้ ม หรือลอดส่วนประกอบของตา
ขา่ ย ยกเวน้ ลกู ทล่ี อดระหวา่ งตาข่ายกบั พืน้ ผิวโตะ๊ หรอื ลกู ท่ลี อดระหว่างตาขา่ ยกบั อปุ กรณท์ ี่ยดึ ตาขา่ ย

5.15 เสน้ สกดั (END LINE) หมายรวมถึง เสน้ สมมติที่ลากต่อออกไปจากเสน้ สกดั ทงั้ สองดา้ นดว้ ย

การสง่ ลกู ท่ีถกู ตอ้ ง (A GOOD SERVICE)

6.1 เมื่อเรม่ิ ส่ง ลกู เทเบิลเทนนิสตอ้ งวางเป็นอสิ ระอยบู่ นฝ่ามอื อสิ ระ โดยแบฝ่ามือออกและลกู จะตอ้ งอยนู่ ่งิ

6.2 ในการส่ง ผสู้ ่งจะตอ้ งโยนลกู ขนึ้ ขา้ งบนดว้ ยมือใหล้ กู ลอยขนึ้ ขา้ งบนใกลเ้ คยี งกบั เสน้ ตงั้ ฉาก และใหส้ งู จาก
จุดที่ลูกออกจากฝ่ ามือไม่นอ้ ยกว่า 16 เซนติเมตร โดยลูกท่ีโยนขึน้ ไปน้นั จะตอ้ งไม่เป็นลกู ที่ถูกทาใหห้ มนุ ดว้ ย
ความตง้ั ใจ

6.3 ผูส้ ่ง จะตีลกู ไดใ้ นขณะทล่ี กู เทเบลิ เทนนิสไดล้ ดระดับจากจดุ สงู สดุ แลว้ เพ่ือใหล้ กู กระทบแดนของผสู้ ง่
กอ่ น แลว้ ขา้ มหรือออ้ มตาข่ายไปกระทบแดนของฝ่ ายรบั สาหรบั ประเภทคู่ ลกู เทเบิลเทนนิสจะตอ้ งกระทบคร่งึ
แดนขวาของผสู้ ง่ กอ่ น แลว้ ขา้ มหรอื ออ้ มตาขา่ ยไปกระทบคร่งึ แดนขวาของฝ่ายรบั

6.4 ตงั้ แตเ่ ริ่มสง่ ลกู จนหระท่งั ลกู ถกู ตี ลกู เทบิลเทนนสิ จะตอ้ งอย่เู หนือระดบั พนื้ ผิวโต๊ะ และอย่หู ลงั เสน้ สกดั
และจะตอ้ งไม่ใหถ้ กู ส่วนใดส่วนหนึง่ ของรา่ งกาย หรอื เสอื้ ผา้ ของผสู้ ่ง หรอื คเู่ ล่นในประเภทคู่ บงั การมองเหน็ ของ
ผรู้ บั ขณะทล่ี กู เทเบิลเทนนิสถูกโยนขนึ้ มอื อสิ ระของผสู้ ่งจะตอ้ งเคล่ือนออกจากบรเิ วณพนื้ ทีร่ ะหว่างลาตวั ผู้ส่ง
และตาข่าย (NET) (วัตถุประสงคข์ องกติกาขอ้ นี้ ตอ้ งการใหผ้ ูร้ บั เห็นลูกเทเบิลเทนนสิ ตลอดเวลา ทงั้ นีผ้ ูส้ ่ง
หรอื คขู่ องผสู้ ่งจะตอ้ งไม่แสดงท่าทางท่ีจะตอ้ งการบงั การมองเห็นของผรู้ บั ตลอดเวลาตง้ั แต่ลกู ออกจากมอื ของผู้
สง่ และเห็นถึงหนา้ ไมด้ า้ นทใ่ี ชต้ ลี กู )

6.5 เป็นความรบั ผดิ ชอบของผเู้ ล่นท่จี ะตอ้ งสง่ ใหผ้ ตู้ ดั สินหรือผชู้ ว่ ยผตู้ ดั สินเหน็ และตรวจสอบถงึ การสง่ นน้ั
ว่าถกู ตอ้ งตามกตกิ าหรือไม่

6.5.1 ถา้ ผตู้ ดั สนิ สงสยั ในลกั ษณะการส่ง วา่ ผสู้ ง่ ไดส้ ่งลกู ถกู ตามกติกาในโอกาสแตกของแมทชเ์ ดียวกนั
นนั้ จะแจง้ ใหส้ ่งลกู ใหม่ และเตือนผสู้ ่งโดยยงั ไมต่ ดั คะแนน

6.5.2 สาหรบั ในครง้ั ต่อไปในแมทชเ์ ดียวกนั นน้ั หากผูเ้ ล่นหรอื ค่เู ล่นยงั คงส่งใหเ้ ป็นขอ้ สงสยั ในทานอง
เดยี วกนั หรือในลกั ษณะน่าสงสยั อนื่ ๆ ผรู้ บั จะไดค้ ะแนนทนั ที

6.5.3 หากผูส้ ่งไดส้ ่งลกู ผิดกติกาอยา่ งชดั เจน ผสู้ ง่ จะเสยี คะแนนทนั ที
6.6 ผูส้ ่งอาจไดร้ บั การอนุโลมไดบ้ ้าง หากผูส้ ่งคนน้นั แจง้ ใหผ้ ูต้ ดั สินทราบถึงการหย่อนสมรรถภาพทาง
ร่างกาย จนเป็นเหตใุ หไ้ มส่ ามารถสง่ ไดถ้ กู ตอ้ งตามกตกิ า ทง้ั นตี้ อ้ งแจง้ ใหผ้ ตู้ ดั สนิ ทราบก่อนการแขง่ ขนั ทกุ ครงั้

การรบั ลกู ท่ีถกู ต้อง (A GOOD RETURN)
7.1 เมอื่ ลกู เทเบิลเทนนสิ ไดถ้ กู ส่งหรือตโี ตไ้ ปตกลงในแดนตรงขา้ มอยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ ฝ่ายรบั ตีลกู ขา้ มหรือ

ออ้ มตาข่ายกลบั ไป เพื่อใหล้ ูกกระทบแดนของอีกฝ่ ายหนึ่งโดยตรง หรือสมั ผสั สว่ นใดส่วนหน่ึงของตาข่ายแลว้
ตกลงในแดนของฝ่ายตรงขา้ ม

ลาดบั การเล่น (THE ORDER OF PLAY)
8.1 ประเภทเดี่ยว ฝ่ายส่งไดส้ ง่ อย่างถกู ตอ้ ง ฝ่ายรบั จะตโี ตก้ ลบั ไปอย่างถูกตอ้ งหลงั จากนนั้ ฝ่ายส่งและฝ่ ายรบั
จะผลดั กนั ตีโต้

8.2 ประเภทคู่ ผูส้ ่งลูกของฝ่ายส่งจะส่งลกู ไปยงั ฝ่ ายรบั ผูร้ บั ของฝ่ ายรบั จะตอ้ ตีลูกกลับ แลว้ ค่ขู องฝ่ายส่ง
จะตลี กู กลบั ไป จากนนั้ คขู่ องฝ่ายรบั กจ็ ะตีลกู กลบั ไปเช่นนสี้ ลบั กนั ไปในการตีโต้

สนามเทเบลิ เทนนสิ

บรรณานุกรรม

http://www.ipelp.ac.th/Center%20Sport/sara/sara%204/sara4.html?clic
ktype=1&senttext=15


Click to View FlipBook Version