The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Final 2-64 รุ่น 18 นางสาวนิโลบล ชัยชนะ รหัส 649197206

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nilobol-26, 2022-04-09 08:37:31

Final 2-64 รุ่น 18 นางสาวนิโลบล ชัยชนะ รหัส 649197206

Final 2-64 รุ่น 18 นางสาวนิโลบล ชัยชนะ รหัส 649197206

Final : ศาสตร์การสอนฯ

นางสาวนิโลบล ชัยชนะ รหสั นักศึกษา 649197206
สาขาหลกั สูตรและการสอน รุ่นท่ี 18

1. จากแผนภูมดิ ้านการเรยี นการสอนจงทำดงั ตอ่ ไปน้ี

Theory/ Approach

Technique Teaching method

1.1 จงอธิบายหวั ข้อในแผนภูมิใหเ้ ขา้ ใจอย่างละเอยี ด ชดั เจน
1.2 จงอธิบายความสัมพนั ธ์เชอ่ื มโยงของหวั ข้อในแผนภมู ินี้ ให้เขา้ ใจอยา่ งละเอยี ด ชดั เจน

2. เกีย่ วกบั แผนการสอน จงทำดงั นี้
2.1 จงอธิบายเกี่ยวกับแผนการสอน ให้เข้าใจอย่างละเอียด ชัดเจน
2.2 จงเลือกวิธสี อนมา 1 วิธี แล้วอธิบายใหล้ ะเอยี ดชัดเจน รวมทง้ั ใหเ้ หตผุ ลเชิงวชิ าการท่ีเลอื กวธิ ี

สอนนี้ จากน้นั ใหเ้ ขยี นแผนการสอนในวิชาท่ีนักศึกษารับผดิ ชอบ ท่ีเปน็ ไปตามวิธีสอนทเ่ี ลือก

3. จงเขียนในเชิงวิชาการหัวข้อ “ครมู ีบทบาทสำคญั ท่สี ดุ ในการจดั การเรยี นการสอน”

1.1จงอธบิ ายหวั ข้อในแผนภมู ใิ หเ้ ข้าใจอย่างละเอยี ด ชดั เจน

จากแผนภมู ิจะเห็นได้ว่า เทคนิคการสอน (Technique) กับ วธิ ีการสอน(Teaching
method) จะอยู่ด้านลา่ งของสามเหลย่ี ม และมีทฤษฎ/ี แนวทาง (Theory/ Approach) อยู่บนสดุ ของ
ยอดสามเหลีย่ ม ดงั น้นั อธิบายไดว้ า่

เทคนคิ การสอน (Technique)
คือกลวิธีต่าง ๆ ทใ่ี ชเ้ สรมิ กระบวนการ ขนั้ ตอน วธิ ีการ หรือการกระทำใด ๆ เพอื่ ช่วยให้
กระบวนการ ขนั้ ตอน วธิ ีการหรือการกระทำนั้น ๆ มคี ณุ ภาพและประสิทธภิ าพมากขนึ้ ดังน้ัน เทคนิคการ
สอนจงึ หมายถึงกลวธิ ตี ่าง ๆ ที่ใชเ้ สรมิ กระบวนการสอน ข้ันตอนการสอน วิธีการสอน หรอื การดำเนนิ การ
ทางการสอนใด ๆ เพือ่ ชว่ ยให้การสอนมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจ
ใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ ทีส่ ามารถชว่ ยใหก้ ารบรรยายมีคุณภาพและประสิทธภิ าพมากขน้ึ เช่น การยกตวั อย่าง
การใช้สือ่ การใช้คำถาม เป็นต้น
วิธีการสอน(Teaching method)
คือ ความสามารถในการปฏิบตั กิ ารสอนดา้ นต่าง ๆ อยา่ งชำนาญซ่ึงครอบคลมุ การวางแผนการ
เรยี นการสอน การออกแบบการเรยี นการสอน การจัดการเรียนการสอน การใช้วธิ ีสอน เทคนิคการสอน
รปู แบบการเรียนการสอน ระบบการสอน สอ่ื การสอน การประเมนิ ผลการเรียนการสอน รวมทง้ั การใช้
ทฤษฎีและหลักการเรยี นรู้และการสอนต่าง ๆ

ทฤษฎ/ี แนวทาง (Theory/ Approach)

คือ ความรูท้ ่ีพรรณนา อธบิ าย ทำนาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางการสอนทีไ่ ด้รับการพสิ จู น์ การ
ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ซึ่งนกั จิตวิทยา หรือนักการศึกษาอาจพฒั นาหรือแปลงมาจากทฤษฎี
การเรยี นร้เู พื่อนำไปใช้เปน็ หลักในการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ ป็นไปตามจุดมงุ่ หมายท่ีกำหนดไว้ ทฤษฎี
การสอนหน่ึง ๆ มักประกอบด้วยหลักการสอนย่อย ๆ หลายหลกั การ

สรปุ ไดว้ า่

ทฤษฎี/แนวทาง (Theory/ Approach) เป็นท่ีมาของ เทคนคิ การสอน (Technique)
กบั วิธีการสอน(Teaching method) ท่ีหลากหลายวธิ ี และไดร้ ับการตรวจสอบและทดลองหลายคร้ัง
หลายหนจนสามารถอธิบายข้อเท็จจรงิ กลุ่มความสมั พันธข์ องแนวคดิ คำนิยาม และองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ี

ใช้อธบิ ายลักษณะของปรากฏการณ์หนึ่ง และช้ีใหเ้ ห็นถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั แปรตา่ ง ๆ โดยมี
จุดมงุ่ หมายทีจ่ ะอธบิ ายหรือคาดเดาปรากฏการณน์ ้นั

1.2 จงอธบิ ายความสมั พันธเ์ ชื่อมโยงของหวั ข้อในแผนภูมิน้ี ให้เข้าใจอย่างละเอียด
ชดั เจน

แนวคดิ ต่าง ๆ เก่ยี วกับการสอนต่าง ๆ นัน้ มีความสัมพันธ์กันอยา่ งใกลช้ ิด ปรัชญาการศึกษาช่วยช้ี
ทศิ ทางในการจัดการศึกษาและก่อใหเ้ กิดทฤษฎีการเรยี นรตู้ ่าง ๆ ท่ชี ่วยอธบิ ายธรรมชาติหรือลกั ษณะของ
การเรยี นรทู้ ่ีดี ความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการและเทคโนโลยที ่เี กิดข้นึ มาตามลำดบั จากอดีตจนถึงปจั จบุ ัน
ชว่ ยใหเ้ กิดทฤษฎี หลักการ และแนวคดิ เก่ยี วกับการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายซง่ึ สามารถอธบิ ายให้เข้าใจถึง
ธรรมชาติและลกั ษณะของกระบวนการเรยี นรทู้ ด่ี ีในแงม่ ุมต่าง ๆ กัน ทฤษฎี หลักการ และแนวคิดเกยี่ วกบั
การสอนทง้ั ของตา่ งประเทศและประเทศไทยทีส่ ่ังสมมาแต่อดตี จนถึงปัจจุบันได้ให้แนวทางที่หลากหลาย
ในการจดั การศกึ ษาและการเรียนการสอน ครูสามารถเลือกทฤษฎี หลักการและแนวคิดต่าง ๆ มาใชเ้ ปน็
แนวทางในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนตามท่ตี นเห็นวา่ เหมาะสมโดยคำนึงถงึ บรบิ ททางการ
สอนซ่งึ มีความสมั พันธ์โยงใยส่งผลตอ่ การเรยี นการสอน

ครอู าจใช้ระบบการสอน หรอื รูปแบบการเรียนการสอนที่มีผู้ไดพ้ ัฒนามาจากทฤษฎี หลักการ
หรอื แนวคิดเกีย่ วกับการเรยี นรู้และการสอนตา่ ง ๆ หรืออาจพฒั นาระบบและรปู แบบการเรียนการสอนขึ้น
ใช้ตามความเหมาะสมก็ได้ รปู แบบการเรียนการสอนโดยท่ัวไป ประกอบดว้ ยขัน้ ตอน หรือกระบวนการที่
จะนำไปสู่วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะของรูปแบบน้ัน ซง่ึ ในการดำเนนิ การตามขั้นตอนต่าง ๆ จำเปน็ ตอ้ งอาศัยวิธี
สอนและเทคนคิ การสอนต่าง ๆ เข้ามาชว่ ยให้การดำเนินการตามกระบวนการสอนเปน็ ไปอยา่ งมีคณุ ภาพ
และประสทิ ธิภาพสูงสุด นอกจากนน้ั ผสู้ อนยงั สามารถเลอื กนวัตกรรมทางการเรยี นการสอนต่าง ๆ รวมท้งั
นำผลงานวิจัยทางด้านการเรียนการสอนมาใชป้ ระโยชนใ์ นการจัดการเรียนการสอนได้

2. เก่ยี วกบั แผนการสอน จงทำดังนี้
2.1 จงอธบิ ายเก่ียวกบั แผนการสอน ให้เขา้ ใจอยา่ งละเอียด ชดั เจน

แผนการจัดการเรยี นรู้คอื การนำวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ท่จี ะต้องทำแผนการจัดการเรียนรู้
ตลอดภาคเรยี นมาสร้างเปน็ กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ การใชส้ ื่อ อปุ กรณ์การจดั การเรยี นรู้ และการวัดผล
ประเมนิ ผล โดยจัดเนื้อหาสาระและจดุ ประสงค์การเรียนย่อย ๆ ให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคห์ รอื จุดเน้น
ของหลกั สูตร สภาพของผู้เรียน ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุ อุปกรณ์ และตรงกับชีวติ จรงิ ใน
หอ้ งเรียน ซง่ึ การจัดการเรยี นการสอนของครู ตอ้ งอยู่ภายใต้กรอบ เนื้อหาสาระทตี่ อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นเกิด
การเรยี นรู้ โดยกำหนดจดุ ประสงค์ วิธกี ารดำเนนิ การหรอื กิจกรรม ใหผ้ เู้ รียนบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ สื่อการ
เรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย และวธิ วี ดั ผลประเมินผลท่สี อดคลอ้ งกับ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนร้ทู ่ดี ี แผนการจัดการเรียนรู้ถอื เป็นเคร่อื งมอื สำคญั ของผ้สู อนท่ี
จะชว่ ยส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดการ เรียนรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ซ่งึ สามารถสรุปลกั ษณะของแผนการ
จดั การเรียนรทู้ ดี่ ีได้ ต้องประกอบไปด้วย

1) เจตคตทิ ี่ดี ผู้สอนควรมคี วามรูส้ กึ ท่ีดีต่อการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ไม่ควรมองว่างาน
เขยี นแผนการจดั การเรียนรเู้ ป็นการสร้างภาระ ความยุ่งยาก เพราะแผนการจดั การเรียนรู้จะเป็น
ประโยชนต์ ่อทงั้ ผสู้ อน ผ้เู รยี น ผบู้ ริหาร สถานศึกษาและต่อสงั คม ที่จะจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพ หาก
ผสู้ อนมีความร้สู กึ มีเจตคติที่ดีต่อการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ กจ็ ะทำให้แผนการจัดการเรียนรมู้ ี
คุณภาพและนำไปใชไ้ ดจ้ ริง

2) นักวางแผน นักคดิ การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรกู้ ็เช่นเดียวกบั ประมวลการสอนหรอื แนว
การสอน หรือกำหนดการสอน คุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรู้สามารถสะท้อนความเป็นนักวางแผน
นักคิดสร้างสรรค์ของผสู้ อนได้

3) เคร่ืองมือสอ่ื สาร แผนการจัดการเรียนรูก้ ็เช่นเดียวกับประมวลการสอนทใ่ี ช้เป็นเคร่ืองมอื
ส่ือสารความเข้าใจสำหรับตัวผ้สู อน ผูบ้ รหิ าร พอ่ แม่ ผ้ปู กครองและชมุ ชน ได้รบั ทราบว่าโรงเรยี นจัด
การศึกษาอยา่ งไร ผู้เรียนได้รับการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพอยา่ งไร

4) เฉพาะเจาะจง ครอบคลุม พอเพียง การเขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ควรตอ้ งระบสุ ่ิงที่จะเรียน
จะสอนให้ชดั เจน ครอบคลมุ และพอเพยี งทจี่ ะทำใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ภาพ ความรู้ ความสามารถตาม มาตรฐาน
ท่ีกำหนดไว้ในหลักสตู ร ไม่ออกแบบแผนการจัดการเรียนรูด้ ้วยการกำหนดจดุ ประสงค์ที่กวา้ งมากเกนิ ไป
หรือนอ้ ยเกนิ ไปและต้องเปน็ ประโยชน์กบั ผู้เรียน

5) ยดื หยุ่นปรบั เปลย่ี นได้ แผนการจัดการเรยี นรูเ้ ปน็ ส่งิ ทีไ่ ด้เตรียมการล่วงหน้าก่อนจะมกี าร
เรียนการสอนจรงิ ๆ การกำหนดข้อมูลใด ๆ ไว้ในแผนการจัดการเรยี นรู้ ควรมคี วามยดื หย่นุ ทจ่ี ะสามารถ
ปรับเปลีย่ นแก้ปัญหาได้ ในกรณที ่ีมีปญั หาเมอ่ื มกี ารนำไปใช้ หรอื ไม่สามารถดำเนนิ การตามแผนการ
จัดการเรียนรูน้ ั้นสามารถปรับเปล่ียนเป็นอยา่ งอ่นื ได้ โดยไม่กระทบกระเทือนต่อการเรยี น การสอนและผล
การเรียนรู้

สรุปได้วา่
การวางแผนการจดั การเรยี นรู้มีความสำคัญต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เปน็ อยา่ งมาก

คือ ทำให้ผู้สอนสอนด้วยความมั่นใจ ทำให้เป็นการสอนทม่ี ีคุณคา่ คุ้มกบั เวลาที่ผา่ นไป ทำให้เปน็ การสอนที่
ตรงตามหลกั สตู ร ทำใหก้ ารสอนบรรลุผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ทำให้ผู้สอนมีเอกสารเตือนความจำและทำ
ใหผ้ เู้ รียนเกิดเจตคติทีด่ ตี ่อผสู้ อนและต่อวชิ าทีเ่ รยี น

2.2 จงเลอื กวิธสี อนมา 1 วธิ ี แลว้ อธิบายใหล้ ะเอียดชัดเจน รวมทง้ั ใหเ้ หตผุ ลเชิง
วชิ าการที่เลือกวธิ ีสอนนี้ จากนนั้ ใหเ้ ขียนแผนการสอนในวชิ าท่นี ักศกึ ษารับผิดชอบ ที่
เปน็ ไปตามวิธีสอนท่เี ลอื ก

เหตุผลเชิงวชิ าการที่เลือกวิธีสอนน้ี การเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขนั้ ตอน (The 5 E’s of

Inquiry-Based Learning) เปน็ รปู แบบของการเรียนรู้ ทีเ่ น้นใหน้ กั เรยี นมปี ระสบการณ์ตรงในการเรยี นรู้
โดยการแสวงหาและศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื สรา้ งองค์ความรขู้ องตนเอง โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ซง่ึ มคี รผู ูส้ อนคอยอำนวยการและสนับสนุน ทำใหผ้ ู้เรยี นสามารถค้นพบความรู้หรือแนวทางแกป้ ัญหาได้
ตัวเอง และสามารถนํามาใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ซง่ึ ถือวา่ เป็นกจิ กรรมทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดน้ าํ ความรู้
หลกั การ แนวคิดหรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตรไ์ ปเชือ่ มโยงกับประเดน็ ปัญหาท่ีผเู้ รยี นสนใจศึกษา คน้ ควา้
และลงมือปฏบิ ัติ ดว้ ยตนเอง ตามความสามารถและความถนดั ของตนเองอยา่ งเป็นอิสระทำให้การเรียน
แบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั ตอนนี้ นับไดว้ ่าเปน็ รปู แบบหน่ึงของการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั

การเรยี นแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน เปน็ รูปแบบการเรยี นรู้ทพ่ี ัฒนามาจากทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์ ทเ่ี ชือ่ วา่ การเรียนรู้นั้น เป็นกระบวนการท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในของผู้เรียน โดยที่ผ้เู รยี นเปน็ ผูส้ รา้ ง
ความรู้ดว้ ยตวั เอง โดยการนำเอาประสบการณห์ รือส่งิ ท่ีพบเหน็ มาเชื่อมโยงกบั ความรู้ความเขา้ ใจท่ีมอี ยู่

เดมิ เพื่อสรา้ งเปน็ ความเขา้ ใจของตนเอง และด้วยความเชือ่ นี้ทำใหท้ ฤษฎนี ้ถี ูกนำมาเป็นรากฐานสำคญั ใน
การสร้างความรู้ของผ้เู รยี น นับว่าเป็นรูปแบบการเรียนรทู้ ่ีดีทส่ี ดุ ในการจดั การเรียนการสอน STEM
เพราะจะนำพานกั เรยี นเขา้ ร่วมการสำรวจ อธิบายอย่างละเอยี ดและประเมินผล เพอื่ ให้สามารถเชือ่ มโยง
กับกลยทุ ธก์ ารสอนท่แี ตกต่างกันได้ ช่วยให้ครวู ทิ ยาศาสตร์สามารถอำนวยการสอนและสนบั สนนุ ผเู้ รยี นใน
การดำเนนิ กจิ กรรมได้หลากหลายมากขึ้น ซ่งึ เม่ือเทยี บกับรูปแบบการสอนแบบดัง้ เดิม การเรียนแบบสบื
เสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน จะใหป้ ระโยชน์มากกว่าเกยี่ วกับความสามารถของนกั เรยี นในการเรยี นรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์เปน็ รปู แบบการเรยี นท่ีพานกั เรียนไปสู่การพิจารณาขอ้ โต้แย้งและขอ้ สงสยั ตา่ งๆ ซ่ึงจะ
กอ่ ใหเ้ กดิ ประเดน็ คําถามท่ตี อ้ งการสํารวจตรวจสอบ และจะเปน็ กระบวนการเชน่ นี้ต่อเนื่องกนั ไปเรอื่ ย ๆ
จนเรียกไดว้ ่าเป็น วัฏจกั รการสบื เสาะ (Inquiry cycle) ซ่ึงจะชว่ ยใหน้ กั เรียนเกดิ การเรียนรู้และมที ักษะใน
การหาความรตู้ ามหลกั วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 9

วิชา วิทยาศาสตร์ (ว 16101) กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 เรือ่ ง ส่ิงมีชีวติ กับสิ่งแวดล้อม จำนวน 16 คาบ

เรื่อง ความสัมพันธข์ องสงิ่ มีชวี ติ กับสง่ิ แวดล้อม(ห่วงโซ่อาหาร) เวลา 60 นาที

ผู้สอน นางสาวนิโลบล ชยั ชนะ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

1. มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ว 2.1 และ มาตรฐาน ว 8.1

ตัวชีว้ ัด ว 2.1 ป.6/2, ว 8.1 ป.6/1, ว 8.1 ป.6/6

2. สาระสำคญั

กลมุ่ ส่งิ มชี ีวิตสมั พนั ธก์ ับสง่ิ มชี ีวิตในเรื่องของการกนิ ต่อกันเป็นทอด ๆ ในรปู ของห่วงโซ่อาหาร

และสายใยอาหาร

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

เมื่อเรยี นจบบทเรียนตามแผนการจัดการเรยี นรูน้ แี้ ลว้ นักเรยี นสามารถ
3.1 อธิบายและเขยี นแผนภาพแสดงความสัมพนั ธข์ องสิง่ มีชีวติ กับส่ิงมชี วี ติ ในรปู ของโซ่อาหารได้ (K,P)
3.2 แสดงความสนใจในบทเรยี น แสดงความคิดเหน็ ของตนและยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื ได้
และการทำงานกลุ่ม (A)
4. สาระการเรยี นรู้

สงิ่ มีชวี ติ จะสัมพนั ธก์ ับสิ่งมชี ีวติ ในเรอ่ื งของการกนิ กันเป็นทอดๆจากผู้ผลติ สูผ้ บู้ รโิ ภค เช่น
ไก่กินขา้ วเป็นอาหาร งูกินไกเ่ ป็นอาหาร และเหยยี่ วกนิ งูเป็นอาหาอีกทีหน่งึ การกนิ ต่อกันเปน็ ทอดๆ
เช่นนี้เรยี กวา่ โซ่อาหาร

โซอ่ าหารจะเร่มิ ตน้ ที่พืชสรา้ งอาหารด้วยกระบวนการสังเคราะหแ์ สง สะสมนำ้ ตาลและแป้ง
ไว้ส่วนต่างๆของพชื จากนน้ั บรรดาสตั วก์ ินพืช เรยี กว่า ผบู้ ริโภคพชื ไดแ้ ก่ กวาง กระต่าย วัว ควาย ฯลฯ
จะกินพืชเป็นอาหาร แต่ขณะเดียวกันสตั ว์กนิ พืชกจ็ ะถูก เสอื สงิ โต งู จระเข้ สนุ ุขจงิ้ จอก คอยตะคบุ กิน
เหยือ่ เปน็ อาหารอีกทอดหน่งึ เรยี กสัตวพ์ วกน้ีวา่ ผู้บริโภคสตั ว์ สตั วบ์ างชนิดกินและพืชและสตั ว์
เปน็ อาหารเรยี กวา่ ผู้บรโิ ภคพชื และสัตว์ เช่น มนษุ ย์ สนุ ขั ฯลฯ สัตว์ทีอ่ อกลา่ สัตว์อน่ื กิน เป็นอาหาร เปน็
ผลู้ า่ เช่น เสือ สิงโต สตั วท์ ตี่ กเปน็ อาหารของผู้ลา่ เรียกว่าเหย่ือ เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ของสัตว์

เหล่าน้ี โดยใช้แผนภาพโซ่อาหาร ตัวอยา่ งห่วงโซ่อาหาร

1. เรมิ่ ตน้ ทต่ี น้ ขา้ ว ตามด้วยตัก๊ แตนมากินใบของตน้ ขา้ ว กบมากินต๊ักแตน และ เหยี่ยวมากนิ กบ

แผนภาพหว่ งโซ่อาหาร ตกั๊ แตน กบ เหยย่ี ว
ตน้ ขา้ ว

2. เริ่มต้นทต่ี น้ ขา้ ว ไกก่ นิ ข้าวเป็นอาหาร งูกนิ ไก่เปน็ อาหาร และเหย่ียวกนิ งเู ปน็ อาหาร

แผนภาพห่วงโซอ่ าหาร ตน้ ขา้ ว ไก่ งู เหยย่ี ว

3. เร่มิ ต้นทต่ี ้นดอกไม้ หนอนผีเสอื้ กินตน้ ดอกไม้ กบกินหนอนผเี สื้อ งูกินกบ นกฮกู กินงู เป็นตน้

แผนภาพห่วงโซ่อาหาร ตน้ ดอกไม้ หนอนผเี สอ้ื กบ งู นกฮกู

พีรามิดพลงั งานและจำนวนสิง่ มีชวิ ิต

เปน็ ปริ ามิดแสดงปริมาณพลังงานและจำนวนของแตล่ ะลำดับชัน้ ของการกนิ ซ่งึ จะมีคา่ ลดลงตามลำดับขน้ั
ของการบริโภค

5. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es))
5.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)

5.1.1 ครดู งึ ดดู ความสนใจโดยใหน้ ักเรยี นดภู าพทุง่ นาและภเู ขา ดงั ภาพ แล้วถามนกั เรยี นว่า
“นกั เรยี นคิดวา่ ในภาพมสี ิง่ มชี ีวติ อะไรบ้าง” (แนวการตอบ ตามความคิดเหน็ ของนกั เรียน)

5.1.2 ครเู ขียนรายชอื่ ส่งิ มชี วี ิตตามทนี่ ักเรยี นเสนอมาไว้บนกระดานหน้าช้ันเรยี น
5.1.3 ครูชแี้ จงกบั นักเรียนวา่ วนั นเี้ ราจะมาเรยี นร้กู ันว่าสง่ิ มชี ีวติ เหล่านม้ี คี วามสัมพันธ์กัน
อย่างไรบ้าง โดยหลังจากเรยี นวนั นแี้ ล้ว นกั เรยี นจะต้องบรรลจุ ดุ ประสงค์ ดังน้ี
1. อธบิ ายและวาดแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชวี ิตกบั สิ่งมชี ีวติ ในรูปของโซอ่ าหารได้ (K,P)
2. แสดงความสนใจในบทเรียน แสดงความคดิ เหน็ ของตนและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อืน่ ได้
และการทำงานกล่มุ (A)
5.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Explore)

5.2.1. ครแู บง่ กลุ่มนักเรยี นออกเป็น 7 กลุ่ม โดยยดึ กลุ่มเดิมของนักเรยี นที่เคยจดั ไว้
5.2.2 ครใู หน้ ักเรียนดูวิดโี อและครบู รรยายประกอบวิดีโอด้วย เกี่ยวกับเรื่องหว่ งโซ่อาหาร
พรี ะมิดพลงั งานและจำนวนส่ิงมชี วี ติ (3 นาท)ี โดยใหน้ ักเรียนหาคำตอบจากวิดโี อดว้ ยว่า
“ส่ิงมีชีวติ มคี วามสมั พนั ธก์ ันอย่างไร และจำนวนสิง่ มชี วี ติ ในลำดับข้นั ตา่ งๆเป็นอยา่ งไร”
(แนวการตอบคำถาม สิง่ มชี ีวติ มคี วามสัมพันธก์ นั โดยมีการกินกนั เปน็ ทอดๆ
และจำนวนของสิง่ มีชีวิตแต่ละลำดับชนั้ ของการกินซ่ึงจะมีจำนวนลดลงตามลำดับขั้นของการบรโิ ภค)
5.2.3 หลงั จากดูวิดีโอและตอบคำถามจากการดูวิดโี อแลว้ ครแู จกใบความรูแ้ ละใบกิจกรรม เร่ือง
ห่วงโซ่อาหาร

5.2.4 ครูอธบิ ายความรจู้ ากใบความร้แู ละเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามก่อนทำใบกจิ กรรม
5.2.5 นักเรยี นทำใบกิจกรรม โดยใหน้ ักเรยี นได้ออกแบบหว่ งโซ่อาหาร จากสง่ิ มีชวี ิตทีอ่ ยู่บน
กระดาน และท่ีนักเรียนคิดเพิ่มเติม คนละ 3 หว่ งโซ่ พร้อมทง้ั ตอบคำถามในใบกจิ กรรมให้เรียบรอ้ ย
5.3 ข้ันอภปิ รายและลงขอ้ สรุป (Explain)

5.3.1 ครตู รวจความเรยี บรอ้ ยว่านกั เรียนทุกคนทำใบกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว จากนัน้
5.3.2 ครูสุม่ ถามในใบกิจกรรมและสมุ นักเรียนให้มานำเสนอห่วงโซ่อาหารของตนเองรายคน
บคุ คลละ 1 หว่ งโซ่ กลุม่ ใดทีต่ อบถูกจะไดค้ ะแนนเพมิ่ เติม
(ครูเพิ่มคะแนนโดยเขียนใหน้ ักเรียนเห็นบนกระดาน)
โดยครูถามตามแนวคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี(คำถามในใบกจิ กรรม)
1. ใหน้ กั เรยี นเขยี นโซอ่ าหารการกนิ กนั เปน็ ทอดๆมา 3 ตัวอย่าง
(แนวการตอบ ตามความคดิ เหน็ ของนักเรยี น)
2. พืชใหพ้ ลงั งานสะสมแก่คนและสัตวห์ รือไม่ อย่างไร
(แนวการตอบ พืชให้พลงั งานสะสมแก่คนและสตั ว์ เน่อื งจากคนและสตั ว์กินพืชเปน็ อาหาร
แล้วทำใหค้ นละสัตว์มีพลงั งานในการทำกิจกรรมต่างๆได้)
3. ในบริเวณทสี่ ิ่งมีชวี ิตอาศัยอยู่ในส่ิงแวดล้อมจะมกี ารถา่ ยทอดพลงั งานอย่างไร
( แนวการตอบ ถ่ายทอดผ่านการกนิ ต่อกนั เป็นทอดๆจากผู้ผลิต ผู้บรโิ ภคพชื ผ้บู ริโภคสัตว์)
4. ถ้าในบรเิ วณหน่ึงมหี ญ้า 4-5 ต้น มีวัว 3 ตวั มเี สือ 3 ตัว
นักเรยี นคิดว่าความสัมพนั ธข์ องสง่ิ มีชีวิตตา่ งๆดังกลา่ ว ระหว่างการเปน็ ผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภคพืชผบู้ รโิ ภคสตั ว์
จะเปน็ อย่างไร
( แนวการตอบ สิง่ มชี วี ิตท้งั สามชนิดจะเสียชวี ติ ลง เนอื่ งจากอาหารไมเ่ พยี งพอ)
5. ถ้าให้ส่งิ มชี ีวติ ทกุ ชนิดดังกลา่ ว ยังคงมีอยู่ในบริเวณนัน้
ปริมาณของส่ิงมีชวี ิตแต่ละชนดิ ควรเป็นอย่างไร
(แนวการตอบ ผผู้ ลติ ต้องมีจำนวนมากทสี่ ุด ผู้บิชริโภคพืชมากรองลงมา ผบู้ ริโภคสัตว์นอ้ ยท่ีสดุ )
5.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaborate)
ครเู ปดิ ภาพภูเขาทีถ่ ูกเผาเพอ่ื ทำไร่เล่ือนลอยให้นักเรียนดู แลว้ ครูถามนกั เรยี นว่า
จากภาพนักเรยี นคดิ ว่า “จากผลการกระทำของมนุษย์จะมีผลกระทบอยา่ งไรกับหว่ งโซอ่ าหาร”
(แนวการตอบ ตามความคิดเห็นของนักเรยี น)

5.5 ข้นั ประเมิน (Evaluation)
นักเรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาเรอื่ งท่เี รยี นในคาบวา่ มเี รอ่ื งใดทีย่ ังไมเ่ ข้าใจหรอื ยังมีข้อสงสยั
- ถ้านกั เรียนมีขอ้ สงสยั ครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้นกั เรียนเข้าใจ

6. สื่อ/วสั ดุ/อุปกรณ/์ แหล่งเรยี นรู้
6.1 วัสดุ /อปุ กรณ์
6.2 สื่อ /แหล่งการรู้
6.2.1 ใบกิจกรรม เร่ือง หว่ งโซ่อาหาร
6.2.1 ใบความรู้ เร่ือง หว่ งโซ่อาหาร

7. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวดั เคร่ืองมอื ทใี่ ช้วดั เกณฑก์ ารประเมิน

1. อธิบายและเขียนแผน การตรวจผลงานจากใบกจิ ใบกจิ กรรม เร่ือง นักเรียนสามารถตอบคำถามได้
หว่ งโซอ่ าหาร ถูกต้องผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 80
ภาพแสดงความสัมพันธ์ของ กรรม เร่อื ง หว่ งโซอ่ าหาร ข้ึนไป
แบบประเมนิ ดา้ นพฤติก
สิ่งมชี ีวติ กบั ส่งิ มีชวี ิตในรปู ข รรม นกั เรียนสามารถทำงานไดอ้ ยู่ใน
ชว่ งคะแนน 4-6 หรอื
องโซ่อาหารได(้ K,P) ระดับคุณภาพ ดี ข้นึ ไป

2. แสดงความสนใจ สังเกตพฤติกรรมในช้นั เรียน

ในบทเรียน แสดงความคดิ รายกล่มุ

เหน็ ของตนและยอมรบั ฟัง

ความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ ได้

และการทำงานกลมุ่ (A)

8. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ บ่ี รู ณาการ
8.1 ทกั ษะการสังเกต
8.2 ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมลู

แบบประเมินดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รวม ผา่ น/
ช่ือกิจกรรม แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
คำชี้แจง สงั เกตการทำงานรายกลุ่มของนักเรียน โดยทำเครื่องหมาย

✓ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับความเป็นจริง
เกณฑ์การให้คะแนน

รายการท่ีประเมิน/คะแนน

กลมุ่ ท่ี / สมาชกิ กลุ่ม ความสนใจ ยอมรบั ฟังความ ไม่ผา่ น
คดิ เห็นของผู้อ่ืน 6

32103210

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมิน
นักเรยี นทข่ี าดเรยี น/ นกั เรยี นทไ่ี ม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คุณลกั ษณะ
...................................................................................... ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
......................................................................................
5-6 ดมี าก

4 ดี

พฤตกิ รรมหรอื ผลงานชดั เจน ถอื วา่ ดมี าก ให้ 3 คะแนน 2-3 พอใช้

พฤตกิ รรมหรอื ผลงานทเ่ี ทยี บเทา่ ทวั่ ไป ถอื ว่า ดี ให้ 2 คะแนน ต่ากวา่ 2 ปรบั ปรงุ

พฤตกิ รรมหรอื ผลงานผา่ นเกณฑข์ นั้ ต่า ถอื ว่า พอใช้ ให้ 1 คะแนน

พฤตกิ รรมหรอื ผลงานไมผ่ า่ นเกณฑ์ ถอื ว่า ปรบั ปรุง ให้ 0 คะแนน ผปู้ ระเมิน........................................
(นางสาวนโิ ลบล ชยั ชนะ)

ผลการประเมนิ ............................................................................
....

9.1 ผลการเรยี นรู้
ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .........................................
.............................................................................................................................. ........................................
...................................................................................................................................................... ...............
.................................................................................................... ..................................................................
............................................................................................................................. .........................................

ผู้สอน
………………………………………

(นางสาวนิโลบล ชยั ชนะ)

ใบกิจกรรม ได.้ ............คะแนน
เรื่อง ห่วงโซ่อาหาร ผา่ น / ไมผ่ ่าน

1. ใหน้ กั เรียนเขียนแผนภาพโซ่อาหารการกนิ กันเปน็ ทอด ๆ มา 3 ตวั อยา่ ง (3 คะแนน)

1 .........…………………………………………………………………………………………………………………………………………

2 .........…………………………………………………………………………………………………………………………………………

3 .........…………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. พชื ให้พลังงานสะสมแก่คนและสัตว์หรอื ไม่ อยา่ งไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ในบริเวณท่สี ิ่งมชี วี ิตอาศัยอยู่ในส่ิงแวดลอ้ มจะมีการถ่ายทอดพลังงานอยา่ งไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ถ้าในบริเวณหน่งึ มีหญา้ 4-5 ต้น มวี ัว 3 ตวั มเี สอื 3 ตวั
นักเรยี นคิดว่าความสัมพันธ์ของส่งิ มชี วี ติ ต่างๆดังกวา่ ระหว่างการเปน็ ผผู้ ลิต ผู้บรโิ ภคพชื ผู้บรโิ ภคสตั ว์
จะเป็นอย่างไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ถ้าให้สิ่งมชี ีวิตทุกชนิดดงั กลา่ ว ยังคงมีอยใู่ นบรเิ วณนัน้ ปริมาณของสง่ิ มชี วี ิตแต่ละชนิดควรเปน็ อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จงเขียนในเชงิ วิชาการหัวข้อ “ครูมีบทบาทสำคญั ที่สดุ ในการจดั การเรยี นการสอน”

“ครูมบี ทบาทสำคัญทส่ี ดุ ในการจัดการเรยี นการสอน”

เมื่อสังคมเปลี่ยน ครตู ้องพัฒนาหาความรู้ใหมๆ่ อย่เู สมอ ไม่หยุดเรียนรู้ ตอ้ งกา้ วไปกบั ความ
เปลย่ี นแปลงในด้านต่างๆ ที่เข้ามาทา้ ทายครู ท้ังการปรบั หลกั สูตรเพ่ือสอนทักษะในศตวรรษที่ 21
ในการสอนตามทฤษฎีการสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ผูส้ อนมบี ทบาทสำคญั ในการทจี่ ะควบคุม
กระบวนการใหผ้ ู้เรยี นสามารถสรา้ งองค์ความรู้ได้ผสู้ อนจึงควรมคี วามรูใ้ นทฤษฎกี ารสร้างองค์ความรู้ และ
เขา้ ใจสาระสำคัญของบทเรียนอย่างดี ปรบั บทบาททัศนคติของตนเองและของผู้เรยี นให้สอดคล้องกบั
ทฤษฎกี ารสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง

บทบาทของผสู้ อน ในการจดั การเรยี นรู้ตามทฤษฎกี ารสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผู้สอนควรปรับ
บทบาทของตนเอง ดงั นี้

1. ผสู้ อนเป็นผูจ้ ดั ทำให้เกดิ การเรยี นรู้ กำหนดบรบิ ทของการเรียนรู้ให้ผู้เรียนใชค้ วามคดิ ใหซ้ ับซ้อน
ยิ่งข้ึนกำหนดให้ผ้เู รยี นเห็นปัญหาทมี่ ีขอบเขตกว้างขวาง กระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนเหน็ ว่าปญั หาน้ันเป็นปัญหาของ
เขา

2. จัดบรรยากาศการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมโดยควบคุมกระบวนการการเรียนร้ใู หบ้ รรลุเปา้ หมาย
ตามทีก่ ำหนดไว้

3. เปน็ ผชู้ แ้ี นะไม่ใช่ช้นี ำ แสดงความคิดเห็นและให้ข้อมลู ที่เป็นประโยชนแ์ กผ่ ูเ้ รยี นตามโอกาสที่
เหมาะสม(ตอ้ งคอยสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผ้เู รยี นและบรรยากาศการเรยี นทเี่ กดิ ขนึ้ อยู่ตลอดเวลา)

4. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนรูจ้ ักสงั เกต มสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนโดยท่ัวถึงกันตลอดจนรับฟังและ
สนบั สนนุ ส่งเสรมิ ใหก้ ำลังใจแกผ่ ู้เรียนยอมรับฟังความคดิ เห็นของผู้เรยี นยอมรบั ความแตกต่างระหวา่ ง
บุคคล

5. มีปฏสิ ัมพันธท์ ่ดี กี ับผูเ้ รยี นทำให้บรรยากาศในการเรยี นการสอนเกิดความเป็นกันเองและมคี วาม
เป็นมิตรทีด่ ีต่อกันคอยช่วยแก้ปญั หาใหผ้ เู้ รยี นครจู งึ ควรมีความเป็นมติ ร

6. ชว่ ยเชอ่ื มโยงความคดิ เหน็ ของผเู้ รียนและสรุปผลการเรียนรตู้ ลอดจนสง่ เสริมและนำทางให้
ผู้เรียนได้รู้วธิ ีวิเคราะหพ์ ฤติกรรมการเรยี นรเู้ พื่อผ้เู รียนจะได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชนไ์ ด้

7. การจดั เวลาสอนควรจัดให้ยดื หย่นุ เหมาะสมกบั เวลาทใี่ หผ้ ูเ้ รียนไดล้ งมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมผู้สอน
ตอ้ งพยายามเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนไดล้ งมือปฏิบัติกิจกรรมภายในเวลาท่เี หมาะสมไม่มากหรอื นอ้ ยไป

ครูผ้สู อนในฐานะผู้อำนวยความสะดวก บทบาทของครผู สู้ อนในฐานะผูอ้ ำนวยความสะดวก
จะทำหน้าท่ีอำนวยความสะดวกในการเรยี นการสอน และในขณะเดียวกันกด็ ำเนนิ การกระตุ้น
กระบวนการเรยี นรู้ โดยการสรา้ งสภาพแวดล้อมและสนบั สนนุ ทางจิตวทิ ยาใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรขู้ อง

นักเรียน ซง่ึ เปน็ รปู แบบทอ่ี ย่บู นพ้ืนฐานความเชอื่ ทว่ี า่ นักเรียนมคี วามสามารถในการในการคน้ หาคำตอบ
ผา่ นการสำรวจด้วยตวั เอง โดยครูผสู้ อนช่วยในการกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงคร์ วมไปถึงสรา้ ง
บรรยากาศที่ผ่อนคลายและเปน็ อสิ ระ เพื่อกระตุ้นให้นกั เรียนเรยี นรูแ้ ละรูจ้ กั แก้ปญั หาเป็นรูปแบบทก่ี ำลัง
ไดร้ ับความนิยม และถูกยกย่องวา่ เปน็ รูปแบบทเ่ี ปน็ ผลดีตอ่ การศึกษายคุ ใหม่ เพราะเปน็ บทบาทท่ี
กระตนุ้ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ องคค์ วามรู้ดว้ ยตวั เอง และเพ่ือให้การสอนมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด ควรใช้เทคนคิ นีใ้ น
กลุ่มยอ่ ย เพราะการที่ครูผู้สอนปฏิสัมพันธ์กบั นักเรยี นเปน็ รายบุคคลจะทำให้นักเรียนเรียนร้แู ละมคี วาม
ม่ันใจมากข้ึน


Click to View FlipBook Version