ปฏทิ ินปฏบิ ตั ิงานครู
ประจาปกี ารศกึ ษา 2560
ข้อมูลประจาตวั ครู
ชือ่ -สกลุ :
วัน เดอื น ปีเกดิ : อายุ ปี
เลขทีใ่ บอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู :
วันออกบตั ร วนั หมดอายุ
ฝา่ ย : กลุม่ สาระการเรยี นรู้ :
ตาแหนง่ :
สอนวิชา : ระดับช้ัน :
ทอี่ ยู่ปัจจุบนั เลขที่ หมู่ที่ ตาบล/เขต
อาเภอ/แขวง จงั หวดั
รหสั ไปรษณยี ์ มอื ถอื
E-mail :
คตปิ ระจาใจ
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 1 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
พระผ้ทู รงเป็นครู...
แห่งแผ่นดนิ ...
ตลอดระยะเวลาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทร รู้ในการวางตัว ประพฤติและคิด วิธีคิด วิธีท่ีจะใช้สมองมา
มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหติ ลาธิเบศรรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ทร ทาเป็นประโยชน์แก่ตัว ส่ิงที่เป็นธรรมหมายถึงวิธีประพฤติ
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงครองราชสมบัติ ปฏิบัติ คนที่ศึกษาในทางวิชาการ และศึกษาในทางธรรมก็
ยาวนาน 70 ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มี ต้องมีปัญญา แต่ผู้ใช้ความรู้ในทางวิชาการทางเดียวและ
พระอัจฉรยิ ภาพในด้านตา่ งๆ ทรงเช่ียวชาญศิลปะหลายแขนง ไม่ใช้ความรู้ในทางธรรม จะนับว่าเป็นปัญญาชนมไิ ด้” (18
ทรงเชย่ี วชาญภาษาตา่ งประเทศหลายภาษา ทรงเคร่อื งดนตรี ธันวาคม 2513)
ได้หลายชนิด ทรงพระราชนิพนธ์บทเพลงท่ีมีคุณค่ามากมาย
ท้ังยงั ทรงพระปรชี าด้านกีฬาและอนื่ ๆ อีกมากมาย “การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสาคัญในการพัฒนา
ความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยม และ
ด้าน “การศึกษา” พระองค์ทรงประกอบพระราช คุณธรรมของบุคคล เพื่อให้เป็นพลเมืองดีมีคุณภาพ และ
กรณียกิจด้านการศึกษาจนเป็นท่ีประจักษ์ในพระปรีชา ประสิทธิภาพ การพฒั นาประเทศก็ยอ่ มทาได้สะดวกราบร่ืน
สามารถ พระบรมราโชบายอันล้าลึก และสายพระเนตร ได้ผลทแ่ี น่นอนและรวดเรว็ ” (22 กรกฎาคม 2520)
อันกว้างไกลในการพัฒนาคนนานัปการ เป็นคุณประโยชน์
อย่างใหญ่หลวงแก่การพัฒนาการศึกษาของไทย ทรงมี “การศึกษานั้นเป็นเรื่องของทุกคน และไม่ใช่ว่า
พระบรมราโชบายส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาทุกระดับ เฉพาะในระยะหน่ึง เป็นหน้าที่โดยตรงในระยะเดียวไม่ใช่
ทุกประเภท ได้แก่ การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน อยา่ งนั้น ตงั้ แต่เกิดมากต็ อ้ งศึกษา เตบิ โตข้ึนมากต็ ้องศึกษา
นอกระบบโรงเรียน การศึกษาพิเศษ การศึกษาสงเคราะห์ จนกระท่ังถึงข้ันที่เรียกว่าอุดมศึกษา อย่างที่ท่านท้ังหลาย
การพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล การพัฒนาวิชาการและวิจยั และ กาลังศึกษาอยู่ หมายความว่าการศึกษาที่ครบถ้วน ที่อุดม
การพระราชทานทนุ การศึกษา เป็นตน้ ทบ่ี รบิ รู ณ์ แตต่ อ่ ไปเม่อื ออกไปทาหนา้ ทก่ี ารงานก็ต้องศึกษา
ต่อไปเหมือนกัน มิฉะนั้นคนเราก็อยู่ไม่ได้ แม้จบปริญญา
กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) จึงถวายพระราช เอกแล้วก็ต้องศึกษาต่อไปตลอด หมายความว่า การศึกษา
สมัญญานามแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ไม่มีส้นิ สุด” (20 เมษายน 2521)
ดุลยเดช ว่า “พระผู้ทรงเป็นครูของแผ่นดิน” เพ่ือเฉลิมพระ
เกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 “การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้าง และ
พรรษา เมื่อ พ.ศ. 2554 พัฒนาความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของ
บุคคล หากสังคม และบ้านเมืองใดให้การศึกษาท่ีดีแก่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เยาวชนได้อย่างครบถ้วนในทุกๆ ด้านแล้ว สังคม และ
ยังทรงตระหนักดีว่าการศึกษาของเยาวชน เป็นพื้นฐานอัน บา้ นเมอื งนนั้ กจ็ ะมพี ลเมอื งท่มี ีคณุ ภาพ สามารถดารงรกั ษา
สาคัญของประเทศชาติ ดังที่พระราชทานพระราโชวาท ความเจริญมั่นคงของประเทศชาติไว้ และพัฒนาก้าวหน้า
เกย่ี วกบั การศึกษาในวโรกาสตา่ งๆ อาทิ… ตอ่ ไปโดยตลอด” (27 กรกฎาคม 2524)
“การแบ่งการศึกษาเป็นสองอย่าง คือการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
วิชาการอย่างหนึ่ง วิชาการนั้นจะเป็นประโยชน์แก่ตัวเอง ยงั ทรงรเิ ร่มิ โครงการต่างๆ มากมายทเ่ี ก่ยี วกบั การศึกษา อาทิ
และแก่บ้านเมือง ถ้ามาใช้ต่อไปเม่ือสาเร็จการศึกษาแล้ว
อีกอย่างหนึง่ ขัน้ ทสี่ องกค็ อื ความร้ทู ีจ่ ะเรียกได้ว่าธรรม คือ “โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์” ทรงให้การ
อุปถัมภ์ในด้านต่างๆ เช่น พระราชทานพระราชทรัพย์
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 2 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา รวมท้ังเสด็จฯ ไปเยี่ยมเยือน และ เหลอ่ื มลา้ เนอ่ื งจากขาดแคลนครู จะเปน็ เคร่ืองบนั่ ทอนความ
พระราชทานพระบรมราโชวาท เพื่อสนับสนุน และเป็น เจริญทางจิตใจ และการพัฒนาการของทรัพยากรมนุษย์ใน
กาลังใจแก่ครูและนักเรียนของโรงเรียน มีทั้งโรงเรียนรัฐบาล อนาคต ซ่งึ เป็นความม่นั คงของชาติ
และโรงเรียนเอกชน ได้แก่ โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนราช
วินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชาสมาสัย เพ่ือแก้ปัญหา และยกระดับคุณภาพการจัด
โรงเรียน ภ.ป.ร.ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียน การศึกษาของโรงเรยี นท้ังในเมือง หรือชนบท ในปี 2538 ศธ.
เพ่อื ลูกหลานชนบท โรงเรียนร่มเกล้า ฯลฯ จึงจัด “โครงการการศึกษาสายสามัญด้วยระบบทางไกล
ผ่านดาวเทียม” เฉลิมพระเกียรติปีกาญจนาภิเษกของ
พระองค์ยังพระราชทาน “ทุนการศึกษา” พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และถวาย
เ นื่ อ ง จ า ก ท ร ง ท ร า บ ดี ว่ า เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ไ ท ย มิ ไ ด้ ข า ด เป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สติปัญญา หากแต่ด้อยโอกาส และขาดทุนทรัพย์สาหรับ โดยใช้ “โรงเรียนวังไกลกังวล” อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
การศึกษา จึงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพ่ือ เป็นแม่ข่ายถ่ายทอดการศึกษาสายสามัญด้วยระบบทางไกล
กอ่ ตง้ั กองทนุ การศกึ ษาหลายข้นั หลายทนุ ตงั้ แต่ระดับประถม ผ่านดาวเทียม ทเ่ี รยี กกันวา่ “ครูตู้” สอนต้งั แต่ชน้ั ม.1-ม.6
ถึงอุดมศึกษา ได้แก่ ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ทุนเล่าเรียน
หลวง ทุนมูลนิธิภูมิพล ทุนการศึกษาสงเคราะห์ในมูลนิธิราช ในช่วงแรกกาหนดโรงเรียนเครือข่ายทั่วประเทศไว้
ประชานเุ คราะห์ ฯลฯ 99 โรง และปีเดียวกันน้ี นายขวัญแก้ว วัชโรทัย ประธาน
กรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ได้
ทรงมีพระราชดาริก่อตั้ง “มูลนิธิพระดาบส” กราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตจัดตั้งมูลนิธิการศึกษา
ใน พ.ศ.2519 เพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม เพ่ือร่วมเฉลิมฉลองในมหามงคล
ขาดแคลนทุนทรัพย์ ไม่มีอาชีพ และไม่มีความรู้พื้นฐานเพียง วโรกาสท่ีทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (กาญจนาภเิ ษก)
พอที่จะศึกษาต่อในสถาบันวิชาชีพ หากสนใจใฝ่ศึกษา และ
มีความเพียรอย่างจริงจัง ให้ได้รับโอกาสฝึกวิชาชีพ และ โดยพระองค์พระราชทานพระราชทรัพย์ 50 ล้าน
ฝึกอบรมคุณธรรมศีลธรรม เพื่อให้ประกอบสัมมาอาชีวะ บาท ที่องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยทูลเกล้าฯ ถวาย
สร้างตนเอง ช่วยเหลือครอบครัว สังคม และประเทศชาติ เป็นทุนประเดิม
พระองค์พระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิม 5
ล้านบาท ทรงดารงตาแหน่งประธานกิตติมศักด์ิ ปัจจุบันเปิด นอกจากน้ี พระองค์ได้เสด็จฯ พระราชทานความรู้
สอน 8 สาขาอาชพี แก่นักเรียนผ่านรายการ “ศึกษาทัศน์” ของมูลนิธิการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม โดยพระองค์เสด็จฯ ครั้งแรกในวันที่
“มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรม 6 ตุลาคม 2544 ท่ีโรงเรียนเทศบาลบ้านเขาเต่า ต.หนองแก
ราชูปถัมภ์” กับ “ทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์” อ.หัวหนิ จ.ประจวบครี ขี ันธ์
โดยมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ เป็นองค์กรการกุศลท่ี
พระราชทานกาเนิดเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2506 คาว่า “ครู” มาจากภาษาบาลีสันสกฤตว่า ครุ
ภายหลังเกิดมหาวาตภัยภาคใต้แหลมตะลุมพุก อ.ปากพนัง หรือ คุรุ แปลว่า หนัก กล่าวคือ หนักด้วยภาระหน้าท่ีในการ
จ.นครศรีธรรมราช เพ่ือช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบความ กล่อมเกลาศิษย์ให้มีความรู้คู่คุณธรรม การเป็นครูเป็นได้ 2
เดือดร้อนจากสาธารณภัย และมีบทบาทอันสาคญั อยา่ งย่ิงต่อ ลักษณะ คือ โดยการบอกกล่าวช้ีแนะอบรมสั่งสอน และโดย
การศึกษา โดยให้ความช่วยเหลือจัดตั้งโรงเรียนราชประชา การประพฤติปฏิบัติสิ่งที่ถูกต้องดีงาม เป็นต้นแบบให้ผู้อื่นได้
นุเคราะห์ มาต้ังแต่ปี 2506 ถึงปัจจุบัน มีโรงเรียนราชประชา เรียนรู้แล้วนาไปประพฤติปฏิบัติตาม พระบาทสมเด็จพระ
นุเคราะห์ 58 โรงเรียน และยังให้ความช่วยเหลือระยะยาว เจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูทั้ง 2 ลักษณะ กล่าวคือ ทรงมีพื้นฐาน
ด้านการศึกษาสงเคราะห์ มอบทุนพระราชทานการศึกษา แห่งความเป็นครู เห็นได้จากสมเด็จพระบุรพการีหลาย
สงเคราะห์ให้แก่นักเรียนกาพร้าที่ครอบครัวประสบสาธารณ พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างและทรงมีพระวิญญาณครู เช่น
ภัย และนักเรียนท่ีดีเย่ียมจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกา
ให้ได้ศึกษาเล่าเรยี นตามความถนัดของแต่ละบุคคลจนกว่าจะ เจ้า สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวง
สาเรจ็ การศกึ ษาขน้ั สงู สุดเท่าที่จะเรียนได้ 1,895 ทนุ เพชรบุรรี าชสริ ินธรสมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม
พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
“การศึกษาพระราชทานผ่าน ดาวเ ทียม ” ทุกพระองค์ทรงสนับสนุนการศึกษา ทรงสร้างโรงเรียน ทรง
เนื่องจากปัญหาขาดแคลนครูในท้องท่ีชนบทห่างไกล เป็น อบรมสั่งสอน ทรงมีวิธีการสอนอย่างแยบยล ทรงสอนให้เป็น
ปัญหาของการศึกษาไทย ขาดแคลนท้ังอัตรากาลงั ครู ขาดครู คนดี ดงั พระดารัสสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ว่า...
ท่ีสอนประจาวิชาเฉพาะ มาตรฐานคุณภาพของแต่ละ
โรงเรยี นกแ็ ตกต่างกนั ระหว่างโรงเรยี นในชนบท และโรงเรียน “คนดีของฉันรึ จะต้องไม่พูดปด ไม่สอพลอ ไม่
ประจาจังหวัด หรือโรงเรียนในเขตกรุงเทพฯ การศึกษาไทย อิจฉาริษยา ไม่คดโกงและไม่มีความทะเยอทะยานอย่าง
บ้าๆ แต่ต้องพยายามทาหน้าที่ของตนให้ดีในขอบเขตของ
ศลี ธรรม”
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 3 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ความเป็นครูจงึ อยู่ในสายพระโลหิต พระราชกรณยี พระราชทานแก่ครูอาวุโสในโอกาสท่ีเข้ารับพระราชทาน
กิจนานาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงเก่ียวข้องกับ เครือ่ งหมายเชิดชเู กียรติ เมือ่ พทุ ธศักราช 2516 ดังน…้ี
การศึกษาและสนับสนุนงานอาชีพหลายประการ เช่น
พระราชทานกาเนิดโรงเรียนและมูลนิธิท่ีสนับสนุนการศึกษา “งานของครูเป็นงานพิเศษผิดแปลกกว่างานอ่นื ๆ
โรงเรียนสาหรับพระราชโอรส พระราชธิดา พระบรมวงศา- กล่าวในแง่หน่ึง ท่ีสาคัญก็คือว่า...ครูจะหวังผลตอบแทน
นุวงศ์ บุตรหลานข้าราชบริพาร โรงเรียนสาหรับเด็กกาพร้า เป็นยศศักดิ์ ความร่ารวยหรือประโยชน์ทางวัตถุเป็นที่ต้ัง
ยากจน เด็กในพ้ืนท่ีห่างไกลคมนาคม พระราชทานการศึกษา ไม่ได้ผลได้ส่วนสาคัญจะเป็นผลทางใจ ซ่ึงผู้เป็นครูแท้ก็พึง
สงเคราะห์สาหรับเด็กยากจน ทุนการศึกษา รางวัลและ ใจและภูมใิ จอยูแ่ ล้ว...”
กาลังใจในรูปแบบต่างๆ แก่ครู นักเรียนผู้บริหารสถานศึกษา
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รับนักเรียนไว้ในพระบรมรา จะเห็นได้ว่าพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานใน
ชานุเคราะห์และพระบรมราชูปถัมภ์ พระราชทานแนว โอกาสต่างๆ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันข้ึน ปีใหม่ วัน
พระราชดาริก่อต้ังสถานศึกษาเพื่องานวิจัยข้ันสูง ทรงรับ พระราชทานปริญญาบัตร หรือโอกาสใดๆ ก็ตาม ล้วนเป็นคา
อุปถัมภ์โรงเรียนวังไกลกังวล ทรงเป็นครูในรายการ “ศึกษา สอนที่มีค่า เหมาะสมแก่กาลสมยั และยังประโยชน์โดยตรงแก่
ทัศน์” ของมูลนิธิทางไกลผ่านดาวเทียม ทรงสอนด้วย ผู้น้อมนาไปปฏิบัติ ท้ังยังทรงปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่าง
พระองค์เอง ทรงพานักเรียนไปศึกษาในสถานที่จริง เป็นต้น ของผทู้ ม่ี ุง่ มน่ั ทางานเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวมตลอดมา และดว้ ย
ทั้ ง ยั ง ท ร ง ไ ด้ รั บ ก า ร ย ก ย่ อ ง ว่ า ท ร ง เ ป็ น ค รู ภ า ษ า ไ ท ย ข อง เหตทุ ีท่ รงพระเมตตาตอ่ พสกนิกรจงึ พระราชทานความรู้ทกุ สง่ิ
แผ่นดิน ด้วยมีพระอัจฉริยภาพทางภาษาไทย และทรงเห็น ทุกอย่างโดยไม่ปิดบัง ความรู้นั้นเป็นความรู้ท่ีทรงคิด ทรง
ความสาคัญของภาษาไทยว่าเป็นเอกลักษณ์ของความเป็น ค้นคว้า ทรงทดลองด้วยพระองค์เอง การที่ประชาชนปฏิบัติ
ชาติ เป็นเคร่ืองมือส่ือสารให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน เป็น ตามวิธีการต่างๆที่ทรงสอน ทรงสาธิตทาให้ราษฎรอยู่ดีกินดี
รากฐานทางวัฒนธรรม ดังจะเห็นได้จากงานพระราชนิพนธ์ มีสุข โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริต่างๆ โครงการ
กระแสพระราชดารัสต่างๆ ทรงอุปถัมภ์หน่วยงาน องค์กรท่ี หลวง โครงการส่วนพระองค์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาต่างๆ
ปฏิบัติงานด้านส่งเสริมภาษาไทยอยู่เสมอพระราชทานแนว เหล่านี้เป็นบทเรียนที่มีค่ามหาศาล ประชาชนได้เรียนรู้และ
พระราชดาริใหจ้ ัดทาโครงการสารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน พัฒนาคุณภาพชีวิต การท้ังปวงเป็นท่ีประจักษ์ชัด ตั้งแต่แรก
นอกจากนี้ยังทรงมีพระวิริยะอุตสาหะในการศึกษาวิจัยใฝ่รู้ เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงประกาศพระปฐมบรมราชโองการ
ตลอดเวลา จนเกดิ ความเช่ยี วชาญในสาขาวิชาการตา่ งๆ แลว้ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุขแห่ง
ทรงนาความรู้และแนวทางที่เป็นคุณประโยชน์มาปฏิบัติให้ มหาชนชาวสยาม” การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระ
เป็นแบบอย่าง ประจักษ์แก่สาธารณชนอยู่เป็นนิจ ประชาชน เจ้าอยู่หัวจึงเป็นไปเพื่ออาณาประชาราษฎร์อยา่ งแท้จรงิ ทรง
ท้งั หลายจึงไดเ้ รยี นรแู้ ละปฏิบัตติ นตามพระราชกรณียกิจน้อย แก้ไขปัญหา ทรงคิดหาแนวทางแก้ไขสิ่งที่สาคัญคือ ทรง
ใหญ่ยังความเจริญก้าวหน้าในทุกวิชาการเสมอมา พระราช ปฏิบัติพระองค์เป็นแบบอย่าง ทรงช้ีแนะให้มองประโยชน์
ดารัส พระบรมราโชวาท พระราชนิพนธ์ พระราชกรณียกิจ ส่วนรวม มคี วามร้รู กั สามคั คี มีความซอ่ื สตั ย์สจุ ริตจริงใจ และ
พระราชจริยวัตร และพระราชดาริหลากหลายประการ ล้วน มคี วามเพียร มงุ่ มนั่ พฒั นาประเทศชาติ จากพระราชกรณียกจิ
ทรงส่งั สอนและทรงเปน็ แบบอยา่ งแกพ่ สกนิกรท้ังสนิ้ กล่าวได้ นานา พสกนิกรต่างสานึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้น
ว่าทรงเป็นนักคิด นักประดิษฐ์ นักวิจัย ที่สามารถนาผลมา กระหม่อมอย่างหาท่ีสุดมิได้และพร้อมที่จะสนองพระมหา
เป็นแบบของงานที่อานวยประโยชน์สุขแก่ประชาชน ทรงถือ กรุณาธิคุณในทกุ โอกาสและในกาลทุกเม่ือ
เป็นพระราชภาระที่จะทรงส่ังสอน ช้ีนา แสดงตัวอย่างและ
ติดตามผลโครงงานต่างๆ เพื่อความสาเร็จและประโยชน์ของ ด้วยพระอัจฉริยภาพดังกล่าวมา จึงทรงเปรียบ
ราษฎร อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงให้ ประดุจครูของประชาชนท้ังประเทศดังทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการ
ความสาคัญแกค่ รูและวิชาชีพครูทรงส่งั สอนให้ครูตระหนกั ใน อันประกอบด้วย ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชน
หน้าที่ความรับผิดชอบ ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งที่ ร่วมกันถวายพระราชสมัญญา “พระผู้ทรงเป็นครูแห่ง
แผ่นดิน” นับเป็นบุญของพสกนิกรชาวไทย…อย่างหาท่ีสุด
มไิ ด้….
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 4 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
พระราชดารสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 5. “…ผู้ท่ีเป็น ครู จะต้องนึกถงึ ความรับผิดชอบ เพราะวา่ ถ้า
พระราชทานแกค่ ณะครู เป็นครูแล้ว ลูกศิษย์จะต้องนับถือได้ ต้องวางตัวให้
เหมาะสมกบั ทเี่ ป็นครู ไม่ใช่วางตวั อย่างหนึ่งแลว้ มาสอน
1. “…ถ้าครูไม่ห่วงประโยชน์ท่ีควรจะห่วง หันไปห่วง อีกอย่างหน่ึง…” พระราชดารัส พระราชทานเนื่องในวัน
อานาจ ห่วงตาแหน่ง ห่วงสิทธิ์ และห่วงรายได้กันมาก การศกึ ษาสัมพันธ์ ณ วิทยาลัยวชิ าการศกึ ษาประสานมติ ร
เข้าๆ แล้ว จะเอาจิตเอาใจท่ีไหนมาห่วงความรู้ ความดี 15 มนี าคม 2512
ความเจริญของเด็ก ความห่วงในสิ่งเหล่าน้ัน ก็จะค่อยๆ
บั่นทอนทาลายความเป็นครูไปจนหมดส้ิน จะไม่มีอะไร 6. “...ผู้ท่ีเป็นครูอาจารย์นั้น ใช่ว่าจะมีแต่ความรู้ในทาง
เหลือไว้ พอท่ีตัวเองจะภาคภูมิใจ หรือผูกใจใครไว้ได้ วิชาการและในทางการสอนเท่านั้นก็หาไม่ จะต้องรู้จัก
ความเป็นครูก็จะไม่มีค่าเหลืออยู่ให้เป็นท่ีเคารพบูชาอีก อบรมเด็กท้ังในด้านศีลธรรม จรรยาและวัฒนธรรม
ต่อไป…” พระราชดารัสแก่ครูอาวุโส ในโอกาสเข้าเฝ้าฯ รวมทั้งให้มีความสานึกรับผิดชอบในหน้าที่ด้วย….” พระ
วันเสาร์ ท่ี 21 ตุลาคม 2521 บรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร วิทยาลัย
วิชาการศึกษา 15 ธันวาคม 2503
2. “...ครูท่ีแท้จริงนั้นต้องเป็นผู้ทาแต่ความดี คือ ต้องหมนั่
ขยันและอุตสาหะพากเพียร ต้องเอ้ือเฟื้อ เผื่อแผ่และ 7. “...มหาวิทยาลัย มุ่งสั่งสอนนักศึกษาให้เป็นคนเก่ง ซึ่ง
เสียสละ ต้องหนักแน่นอดทน และอดกลั้น สารวม ระวัง เปน็ การดี แตน่ อกจากจะสอนใหเ้ กง่ แลว้ จาเปน็ อย่างย่ิง
ความประพฤติปฏิบัติของตน ให้อยู่ในระเบียบ แบบแผน ท่จี ะอบรมใหด้ พี ร้อมกันไปด้วย ประเทศเราจึงจะได้คนท่ี
ที่ดีงาม รวมทั้งต้องซ่ือสัตย์ รักษาความจริงใจ วางใจเป็น มีคุณภาพพร้อมคือ ท้ังเก่งและท้ังดีมาเป็นกาลังของ
กลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ…” พระราชดารัส บ้านเมือง...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะ
พระราชทานแกค่ รอู าวุโส 28 ตลุ าคม 2523 ผู้บริหารและสภาคณาจารยม์ หาวทิ ยาลัยต่างๆ ณ ศาลาดุ
สดิ าลัย 3 ตลุ าคม 2533
3. “...ครูจะต้องตั้งใจในความดีอยู่ตลอดเวลา แม้จะเหน็ด
เหน่ือย เท่าไรก็จะต้องอดทน เพ่ือพิสูจน์ว่าครูน้ีเป็นที่ 8. “…การศึกษาเป็นเคร่ืองอันสาคัญในการพัฒนา ความรู้
เคารพสักการะได้ แต่ถ้าครูไม่ตั้งตัวในศีลธรรม ถ้าครูไม่ ความคดิ ความประพฤติ ทศั นคติ คา่ นิยมและคุณธรรม
ทาตัวเป็นผู้ใหญ่ เด็กจะเคารพได้อย่างไร…” พระบรม ของบุคคล เพ่ือให้เป็นพลเมืองดีมีคุณภาพและ
ราโชวาท พระราชทานแก่คณะครู โรงเรียนราษฎร์ทั่ว ประสิทธิภาพ เม่ือบ้านเมืองประกอบไปด้วยพลเมืองท่ีมี
ราชอาณาจักร ณ ศาลาผกาภริ มย์ 8 พฤษภาคม 2513 คุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาตกิ ็ยอ่ ม
ทาให้ได้โดยสะดวกราบรื่น ได้ผลที่แน่นอนและรวดเร็ว
4. “...ครูนั้นจะต้องให้ความรู้แก่เด็กๆ ด้วยความเมตตา …” พระราชดารัส พระราชทานแก่ครูใหญ่ และนักเรียน
ด้วยความหวังดี คือ ด้วยความเมตตาต่อผู้ท่ีเป็นลูกศษิ ย์ ณ ศาลาดุสดิ าลยั พระราชวังดุสติ 22 กรกฎาคม 2520
และด้วยความหวังดีต่อส่วนรวม เพราะถ้าส่วนรวม
ประกอบด้วยบุคคล ท่ีมีความรู้ดี ส่วนรวมก็ไปรอด...” 9. “...งานด้านการศึกษาเป็นงานสาคัญที่สุดอย่างหนึ่งของ
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะอาจารย์และ ชาติ เพราะความเจริญและความเส่ือมของชาตินั้นข้ึน
นักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล ณ พระราชวงั ไกลกังวล หัว อยู่กับการศึกษาของพลเมืองเป็นข้อใหญ่ จึงต้องจัด
หนิ 27 พฤษภาคม 2513 การศึกษาให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น...” พระบรมราโชวาท ในพิธี
พระราชทานปริญญาบัตร ณ วิทยาลัยวิชาการศึกษา
ประสานมติ ร 12 ธนั วาคม 2512
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 5 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาตามขอ้ บังคบั คุรสุ ภา
วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ.2556
********************************************
“วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพทางการศึกษาท่ีทาหน้าท่ีหลักทางด้านการเรียนการสอนและการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา
ปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาท่ีต่ากว่าปริญญาท้ังของรัฐและเอกชน และการบริหารการศึกษานอก
สถานศกึ ษาในระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา ตลอดจนการสนบั สนุนการศกึ ษาใหบ้ ริการหรือปฏบิ ตั ิงานเกยี่ วเน่ืองกับ
การจดั กระบวนการเรียนการสอน การนเิ ทศ และการบรหิ ารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาตา่ งๆ
“ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความว่า ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา พ.ศ.2546
“ครู” หมายความว่า บุคคลซ่ึงประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการ
เรียนรขู้ องผูเ้ รยี นด้วยวิธกี ารตา่ งๆ ในสถานศกึ ษาปฐมวัย ขน้ั พน้ื ฐาน และอุดมศึกษาทต่ี า่ กว่าปริญญา ท้งั ของรัฐ
และเอกชน
“ผ้บู ริหารสถานศึกษา” หมายความวา่ บุคคลซึ่งปฏบิ ัตงิ านในตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาภายในเขต
พื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาอ่ืนที่จัดการศึกษาปฐมวัย ข้ันพ้ืนฐานและอุดมศึกษาต่ากว่าปริญญา ท้ังของรัฐ
และเอกชน
“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษา ใน
ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
“บุคลากรทางการศึกษาอื่น” หมายความว่า บุคคลซ่ึงทาหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ให้บริการหรือ
ปฏิบัติงานเกี่ยวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงาน
การศึกษาตา่ งๆ ซ่งึ หนว่ ยงานการศกึ ษากาหนดตาแหน่งให้ต้องมีคณุ วฒุ ิทางการศึกษา
“จรรยาบรรณของวิชาชีพ” หมายความว่า มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ีกาหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการ
ประพฤติตน ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณช่ือเสียง และ
ฐานะของผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาแกผ่ ้รู ับบริการและสังคม อันจะนามาซึ่งเกียรติ
และศักดศ์ิ รีแห่งวชิ าชพี
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 6 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชพี
และแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ดงั น…ี้
จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง....
1. ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมวี นิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวชิ าชพี บคุ ลิกภาพ และ
วิสยั ทัศน์ ให้ทนั ตอ่ การพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งอย่เู สมอ โดยตอ้ งประพฤติ
ตามแบบแผนพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ดงั นี้
ประพฤตติ นเหมาะสมกับสถานภาพและเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างท่ดี ีในการดาเนินชวี ิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ปฏบิ ัตงิ านตามหนา้ ที่ที่ได้รบั มอบหมายให้สาเร็จอยา่ งมีคณุ ภาพตามเป้าหมายที่กาหนด
ศกึ ษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอย่างสมา่ เสมอ
คน้ คว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้านวชิ าชีพท่พี ัฒนาและก้าวหน้าเปน็ ท่ียอมรับมาใช้แก่ศิษย์และ
ผู้รบั บรกิ ารให้เกิดผลสมั ฤทธิ์ท่ีพึงประสงค์
จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี ...
2. ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสตั ยส์ ุจริต รับผดิ ชอบต่อวชิ าชพี และเป็นสมาชกิ ที่
ดขี ององค์กรวชิ าชพี โดยตอ้ งประพฤตติ ามแบบแผนพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค์ ดังนี้
แสดงความชืน่ ชมและศรทั ธาในคุณค่าของวชิ าชีพ
รักษาช่ือเสียงและปกป้องศกั ดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
ยกยอ่ งและเชดิ ชูเกยี รติผูม้ ีผลงานในวชิ าชีพให้สาธารณชนรับรู้
อุทิศตนเพื่อความก้าวหนา้ ของวชิ าชีพ
ปฏิบตั ิหน้าทด่ี ้วยความรับผดิ ชอบ ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ ตามกฎระเบยี บและแบบแผนของทางราชการ
เลือกใชห้ ลักวชิ าชพี ท่ีถูกต้อง สรา้ งสรรค์เทคนคิ วิธีการใหม่ๆ เพอ่ื พฒั นาวิชาชพี
ใชอ้ งค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบตั ิหนา้ ท่แี ละแลกเปล่ียนเรยี นรู้กับสมาชกิ ในองค์กร
เขา้ รว่ มกจิ กรรมของวิชาชีพหรอื องค์กรวิชาชีพอยา่ งสร้างสรรค์
จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู บั บริการ...
3. ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ และ
ผู้รบั บรกิ าร ตามบทบาทหนา้ ทโ่ี ดยเสมอหนา้
4. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ทักษะ และนิสยั ท่ีถูกต้องดงี ามแก่ศษิ ย์
และผู้รับบรกิ าร ตามบทบาทหนา้ ทีอ่ ยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ุทธ์ใิ จ
5. ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ
6. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จติ ใจ
อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผ้รู ับบริการ
7. ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งใหบ้ รกิ ารดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาคโดยไมเ่ รียกรบั หรอื
ยอมรบั ผลประโยชน์จากการใชต้ าแหน่งหน้าท่ีโดยมิชอบ โดยต้องประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรมที่
พึงประสงค์ ดังน้ี
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 7 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ให้คาปรึกษาหรือชว่ ยเหลอื ศิษย์และผรู้ ับบริการด้วยความเมตตากรุณาอยา่ งเต็มกาลัง
ความสามารถและเสมอภาค
สนับสนนุ การดาเนนิ งานเพ่อื ปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชนและผดู้ ้อยโอกาส
ตังใจ เสยี สลา และอทุ ิศตนในการปฏบิ ัติหน้าที่ เพ่ือให้ศษิ ย์และผรู้ ับบริการได้รบั การพัฒนาตาม
ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของแตล่ ะบคุ คล
สง่ เสรมิ ให้ศษิ ย์และผรู้ ับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากส่ืออปุ กรณ์ และแหลง่
เรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย
ให้ศิษยแ์ ละผรู้ บั บริการ มีส่วนร่วมวางแผนการเรยี นรู้และเลือกวิธกี ารปฏบิ ตั ทิ ีเ่ หมาะสมกับตนเอง
เสรมิ สร้างความภาคภูมใิ จให้แก่ศิษยแ์ ละผูร้ บั บริการด้วยการรับฟังความคิดเหน็ ยกย่อง ชมเชย
และให้กาลงั ใจอย่างกัลยาณมิตร
จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวชิ าชพี ...
8. ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา พึงชว่ ยเหลอื เก้ือกลู ซงึ่ กันและกนั อย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึดมนั่ ในระบบ
คุณธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมคู่ ณะ โดยตอ้ งประพฤตติ ามแบบแผนพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ดงั น้ี
เสียสละ เออ้ื อาทร และให้ความช่วยเหลือผ้รู ว่ มประกอบวิชาชีพ
มคี วามรกั ความสามัคคี และรว่ มใจกนั ผนกึ กาลงั ในการพัฒนาการศกึ ษา
จรรยาบรรณตอ่ สงั คม...
9. ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พงึ ประพฤติปฏิบัตติ นเป็นผนู้ าในการอนรุ ักษ์และพฒั นาเศรษฐกจิ
สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา สิ่งแวดลอ้ ม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม และยึดม่นั ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข โดยต้องประพฤติตามแบบ
แผนพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ ดงั น้ี
ยดึ มน่ั สนับสนนุ และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็น
ประมุข
นาภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ และศลิ ปวัฒนธรรมมาเป็นปัจจยั ในการจัดการศึกษาให้เปน็ ประโยชน์ต่อ
สว่ นรวม
จดั กิจกรรมส่งเสริมให้ศษิ ยเ์ กิดการเรยี นรแู้ ละสามารถดาเนินชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
เป็นผูน้ าในการวางแผนและดาเนนิ การเพื่ออนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อมพฒั นาเศรษฐกิจ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน
และศลิ ปวัฒนธรรม
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 8 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
นักบญุ ฟรงั ซสี เซเวยี ร์
องคอ์ ปุ ถมั ภข์ องโรงเรยี น
นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ เป็นชาวสเปน และเป็นเพ่ือนร่วมช้นั
เรียนกับ นักบุญอิกญาซีโอ แห่งโยลา ท่ีกรุงปารีส พร้อมกับนักบุญ
อิกมาซีโอท่านได้เป็น ผู้ร่วมก่อต้ังคณะนักบุญเยซูอิต ในปี 1541
ท่านได้ออกเดินทางมุ่งสู่ประเทศอินเดียและได้เป็นพระสงฆ์ชาว
สเปนองค์แรกท่ีได้ไปถึงประเทศที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ทั้งสองน้ี โดย
อาศัยการสนับสนุนจากการภาวนา และจิตตารมณ์ที่ร่าเริงยินดีอยู่
เสมอ นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ท่านเทศน์สอนโดยไม่รู้จักเหน็ดเหน่ือย
ในประเทศอนิ เดยี เกาะมะละกา หมู่เกาะเครอื่ งเทศโมลกุ กะ หมู่เกาะอนื่ ๆ ในมหาสมุทรและประเทศญีป่ ุ่น ท่าน
รู้จักดัดแปลง พระวาจาของพระเจ้าให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น และท่านได้โปรดศีลล้างบาปให้กับ
ประชาชนเป็นจานวนมากกว่าสามหมื่นคน นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ท่านได้สิ้นใจขณะท่ีมีอายุเพียง 46 ปี เท่าน้ัน
ที่เกาะแห่งหนึ่งในทะเลจีนใต้ เพราะหมดกาลังลงขณะท่ีกาลังเตรียมตัวมุ่งสู่แผ่นดินใหญ่ คือ ประเทศจีน ศพ
ของท่านได้รับการเก็บรักษาไว้ทเ่ี มืองกัวประเทศอินเดีย ทา่ นเป็นองค์อุปถัมภข์ องมสิ ซงั สากล
วัตถปุ ระสงค.์ ..ของโรงเรียน
1. จัดการศึกษาให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและหลักการการก่อต้ังโรงเรียนของมูลนิธิส่งเสริมการศึกษา
คณะภคินีเซนตป์ อล เดอ ชารต์ แหง่ ประเทศไทย
2. จัดการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรูปแบบการศึกษาในระบบ
ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงการจัดการศึกษาในรูปแบบอื่นๆ ท่ีโรงเรียนได้รับอนุญาต
ตามท่ีกฎหมายกาหนด
3. ให้บริการส่ิงที่เก่ียวเนื่องกับการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์เก่ียวกับการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน ครู
ผู้ปกครอง บคุ ลากรของโรงเรียน ชุมชน และองคก์ รอน่ื ๆ
4. ให้บริการด้านวิชาการ และบริการอ่ืนแก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน บุคคลที่เก่ียวข้องกับโรงเรียน
เช่น สถานท่ี อาหาร รถรับ-สง่ นักเรียน สขุ ภาพอนามยั ทีพ่ กั อาศยั ศาสนสถาน และ การกฬี า เปน็ ตน้
5. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้ได้รับการอภิบาลด้านจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรมของ ทุก
ศาสนา และวัฒนธรรมประเพณีทด่ี ีงาม
6. ช่วยเหลือสังคม โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน และบคุ คลทต่ี ้องการความช่วยเหลือหรือผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับ
การศกึ ษาอบรมที่ดี ไดร้ ับการฝึกฝนทกั ษะชีวิตอยา่ งเหมาะสม และเป็นการร่วมรบั ภาระดา้ นสังคมและ
การจัดการศึกษาของรฐั
7. ระดมทรัพยากรให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามความเหมาะสมและ ความจาเป็นตาม
กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 9 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
St.Francis Xavier School
ช่ือโรงเรยี น โรงเรยี นเซนต์ฟรงั ซสี เซเวยี ร์ อักษรย่อ ซฟซ
ช่อื โรงเรยี นภาษาองั กฤษ ST.FRANCIS XAVIER SCHOOL อักษรย่อ STFX
เปิดสอนประเภท สามญั ศกึ ษา และโครงการจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นภาษาองั กฤษ (ENGLISH PROGRAM)
ระดบั การศกึ ษา ระดบั ก่อนประถมศึกษา-ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ผู้รบั ใบอนญุ าต มลู นิธสิ ่งเสริมการศกึ ษาคณะภคนิ เี ซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร แห่งประเทศไทย
ผู้ลงนามแทนผู้รับใบอนญุ าต/ผูอ้ านวยการ นางสาวบังอร กิจเจรญิ
ดารงตาแหน่งเม่ือ วันท่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ถงึ ปัจจบุ นั
สถานทตี่ ้งั เลขที่ 39/4 หมู่ 6 ถนน แจง้ วฒั นะ ตาบล บ้านใหม่ อาเภอ ปากเกร็ด
จงั หวัด นนทบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 11120 โทรศัพท์ 0-2980-8528-34
โทรสาร 0-2980-8535 URL : www.stfx.ac.th
E-mail : [email protected]
สีประจาโรงเรยี น สแี ดง หมายถงึ ความรัก ความกล้าหาญ และความเสียสละ
สนี า้ เงิน หมายถึง ความมเี กียรติ มีศักดิ์ศรี มวี ินยั และมีคุณธรรม
เนอ้ื ท่ี 28 ไร่ 1 งาน 51.90 ตารางวา แบ่งเป็น 2 ส่วน คอื สว่ นท่ี 1 จานวน 10 ไร่
ส่วนท่ี 2 จานวน 18 ไร่ 1 งาน 51.90 ตารางวา
ตน้ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
เขตพนื้ ที่ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 10 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
อธกิ าริณีเจา้ คณะแขวงคณะภคนิ เี ซนตป์ อล เดอ ชาร์ตร แหง่ ประเทศไทย
1. แมร์ แซงต์ ซาเวยี ร์ ค.ศ. 1904 - 1923 (พ.ศ. 2447 - 2466)
2. แมร์ ฟรังซัวส์ เดอ แซงต์ มิเชล ค.ศ. 1923 - 1929 (พ.ศ. 2466 - 2472)
3. แมร์ มารี หลยุ ส์ นีวู ค.ศ. 1929 - 1947 (พ.ศ. 2472 - 2490)
4. แมร์ อานน์ แชรแ์ มน ค.ศ. 1947 - 1960 (พ.ศ. 2490 - 2503)
5. แมร์ อนั นา เดอ เยซู ค.ศ. 1960 - 1969 (พ.ศ. 2503 - 2512)
6. แมร์ หลยุ ส์ เดอ ลา ตรนี เิ ต กิจเจริญ ค.ศ. 1969 - 1977 (พ.ศ. 2512 - 2520)
7. แมร์ มเี รียม เดอ เซนตอ์ านน์ กจิ เจรญิ ค.ศ. 1977 - 1997 (พ.ศ. 2520 - 2540)
8. เซอร์ ฟรงั ซัวส์ ชีรานนท์ ค.ศ. 1997 - 2007 (พ.ศ. 2540 - 2550)
9. เซอร์ ไอรีน ชานาญธรรม ค.ศ. 2007 - 2017 (พ.ศ. 2550 - 2560)
10. เซอร์ อักแนส บญุ รักษา ศรตี ระกูล ค.ศ. 2017 - ปจั จุบัน (พ.ศ. 2560 - ปัจจุบนั )
ผู้ลงนามแทนผรู้ บั ใบอนญุ าตโรงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์
1. นางสาวรจติ กจิ เจริญ พ.ศ. 2540 - 2542
2. นางสาวจันทรเ์ พ็ญ ชีรานนท์ พ.ศ. 2542 - 2552
3. นางสาวบษุ บา ชวู ิรชั พ.ศ. 2552 - 4 มถิ นุ ายน 2558
4. นางสาวบังอร กิจเจริญ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 - ปัจจบุ ัน
ผู้อานวยการ/ผจู้ ดั การ/ครใู หญโ่ รงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์
1. นางสาวสว่างจิตต์ ชมไพศาล 2 มิ.ย. 2540 - 23 พ.ค. 2546
2. นางสาวบษุ บา ชูวริ ชั 23 พ.ค. 2546 - 14 พ.ค. 2558
3. นางสาวบงั อร กิจเจรญิ 14 พ.ค. 2558 - ปัจจุบนั
ปรัชญาการศกึ ษา
“มนษุ ยท์ ม่ี คี ุณภาพ คือมนษุ ยท์ ่มี ีคุณธรรมและความรู้”
การศึกษาของโรงเรียนในเครือคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร คือ การให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าถึงสัจธรรม อันสูงส่ง
แห่งความเป็นมนุษย์ ด้วยการดาเนินชวี ติ อยา่ งมรี ะเบยี บวนิ ัย สภุ าพเรียบง่าย และเปยี่ มดว้ ยเมตตาธรรม มเี จตนารมณแ์ นว่ แนท่ ี่
จะศึกษาศาสตร์และศิลป์แขนงต่างๆ ประกอบหน้าท่ีการงานซ่ึงตนเองรับผิดชอบอย่างเต็มความสามารถ รวมทั้งเรียนรู้ที่จะ
รักษาสุขภาพพลานามัยของตน เพื่อให้ร่างกายและจิตใจอยู่ในสภาวะที่จะประพฤติ และปฏิบัติภารกิจให้ลุล่วงไปด้วยดี
โรงเรียนจึงนานโยบายดังกล่าวเป็นพ้ืนฐานของการกาหนดปรัชญาของโรงเรียนเพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินกิจการของ
โรงเรียนใหม้ คี ณุ ภาพว่า...“มนษุ ยท์ ม่ี คี ุณภาพ คือมนษุ ย์ที่มคี ุณธรรมและความรู้”
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 11 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
คติพจน.์ ..ของโรงเรียน
“ศกึ ษาดี มวี นิ ยั ใจเมตตา ใฝห่ าคุณธรรม เลศิ ลา้ การงาน”
ศึกษาดี หมายถึง เป็นการศึกษาท่ีให้ความรู้และทักษะพ้ืนฐานท่ีจาเป็นอย่างเพียงพอ เช่น ความรู้ด้าน
ภาษา ด้านคานวณ ความเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมทั้งคิดเป็นแก้ปัญหาเป็น วิเคราะห์
ริเรม่ิ สร้างสรรค์ และใฝร่ ู้ตลอดเวลา รู้จักแสวงหาความรู้เพ่ือพฒั นาตนเอง และเพอ่ื การงานอาชีพ มีความเจริญ
ท่สี มดุลระหว่างวัตถุและจิตใจ
มีวินัย หมายถึง การมีนิสัยที่ดีงาม การดารงชีวิตอย่างเรียบง่าย มีวินัยในตนเอง รู้จักรับผิดชอบต่อ
ตนเอง และสังคม เคารพสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติตามกติกาและกฎเกณฑ์ของสังคม เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์ และระบอบประชาธปิ ไตย
ใจเมตตา หมายถึง การไม่เป็นคนเห็นแก่ตัว เห็นความสาคัญของประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าของตน
รว่ มมือกบั ผู้อน่ื ในสงั คม มนี ้าใจดี เอ้ือเฟอื้ เผอื่ แผ่ รจู้ ักแบง่ ปนั ด้วยความรัก และความเสยี สละ
ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง เป็นคนศรัทธาในศาสนา ยึดมั่นในหลักธรรม มีค่านิยมที่ถูกต้อง มีความรัก
และให้อภัย มีสามัคคีธรรม กตัญญูต่อสถาบันและผู้มีพระคุณ มีความเข้าใจและซาบซ้ึงในคุณค่าของวัฒนธรรม
มีความซ่ือสัตย์ อดทน สามารถบูรณาการวิทยาการและเทคโนโลยีเข้ากับสจั ธรรมอันสูงส่ง เพ่ือการดารงชีวิตที่
มีคุณค่าตอ่ ตนเองและผู้อน่ื
เลิศล้าการงาน หมายถึง มีวิสัยทัศน์ในการทางาน รักการงานที่ทา มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต ขยัน
รูจ้ ักพัฒนาการงานอาชพี ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
วสิ ัยทัศน.์ ..ของโรงเรียน
“บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ เชดิ ชูคณุ ธรรม กา้ วลา้ เทคโนโลยี มีความเออ้ื อาทรตอ่ ผู้อ่นื
ยงั่ ยืนวฒั นธรรมไทย รกั ษ์หว่ งใยส่ิงแวดล้อม พรอ้ มสู่อนาคต”
บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ หมายถงึ เปน็ บุคคลทมี่ คี วามคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ รักการอ่าน การเขียน
รู้จกั แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง พรอ้ มท่จี ะพัฒนาตนเป็นมนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์
เชิดชูคุณธรรม หมายถึง เป็นคนดี มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ มี
คณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มอันพึงประสงค์
กา้ วลา้ เทคโนโลยี หมายถึง เป็นผมู้ ีความรู้ความเขา้ ใจ สามารถนาเทคโนโลยีและวทิ ยาการสมยั ใหม่มา
ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง พร้อมทง้ั ปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกับวถิ ีชวี ติ
มีความเอ้ืออาทรต่อผู้อ่ืน หมายถึง ความประพฤติด้วยความเอ้ือเฟ้ือ เอาใจใส่ มีน้าใจ และไม่ละเมิด
ผู้อื่น ตระหนกั ถึงหนา้ ท่ีทพ่ี งึ มีตอ่ สงั คม และกระทาโดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวม
ย่ังยืนวัฒนธรรมไทย หมายถึง เป็นบุคคลที่มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญาไทย เข้าใจในประวัติศาสตร์ชาติไทย เป็นพลเมืองดีภายใต้การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข
รักษ์ห่วงใยสิ่งแวดล้อม หมายถึง เป็นบุคคลที่ตระหนักและรู้จักท่ีจะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม
พร้อมสู่อนาคต หมายถึง เป็นผู้ท่ีมีความรู้ท้ังศาสตร์และศิลป์อันเป็นสากล มีทักษะกระบวนการใน
ศาสตร์ต่างๆ และศักยภาพในการจัดการ การส่ือสารด้วยภาษาสากล ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ปรับวิธีการ
คิด วิธีการทางาน เหมาะสมและเท่าทนั ทกุ สถานการณ์
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 12 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
นโยบายโรงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวียร์
มติ ิที่ 1 ดา้ นคุณภาพผู้เรยี น อานาจและการมีส่วนร่วมในการบริหาร ส่งเสริมให้
มีการจดั หลักสูตรสถานศึกษาท่เี หมาะสมกับผู้เรียน
มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความสอดรับ และท้องถ่ิน ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม การ
กับจุดมุ่งหมายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พัฒนาบุคลากร การพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นผู้มีความ
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ท่ีได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน สมบูรณ์รอบด้านท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน และสตปิ ัญญา
การศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ ดังนนั้ ในการ
กาหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน จึงยึดการพัฒนา มุ่งสนับสนุนกลุ่มบุคคลที่มีส่วนผลักดันให้
คุณภาพผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ตามทร่ี ะบุไว้ เกดิ การขบั เคลื่อนการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
ในหลักสูตรเป็นหลัก โดยกาหนดคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา จะทา
ดังน้ี ผู้เรียนมีสุขภาวะท่ีดีและมีสุนทรียภาพ มี หน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินกิจการด้าน
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มี ต่างๆ ของสถานศึกษาอันหมายรวมท้ังการบริหาร
ทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ วิชาการ การบรหิ ารงานบุคคล และหนา้ ทอ่ี ื่นตามที่
และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีความสามารถใน ระเบียบกาหนด
การคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุสมผล มีความรู้และ มิติท่ี 3 ด้านการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
ทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร มีทักษะในการทางาน
รกั การทางาน สามารถทางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ และมี มุ่งสนับสนุนสถานศึกษามีส่วนในการ
เจตคตทิ ดี่ ีต่ออาชีพสุจรติ ส่งเสริม สนับสนุนและผลักดันให้เกิดการพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานได้ โดย
มติ ิท่ี 2 ดา้ นการจดั การศกึ ษา ประสานงานองค์กรท้องถ่ิน และผู้นาด้านต่างๆ ได้
เข้ามาร่วมกันเรียนรู้และมีส่วนรว่ มจัดการเรียนรใู้ น
มุ่งส่งเสริมพัฒนาบุคลากรครูให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มากท่ีสุด มีการกาหนดวิธีการหรือ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถทาง ขั้นตอนการดาเนินงานสร้าง ส่งเสริม ช่วยเหลือ มี
เทคโนโลยี มีสมรรถนะตามสาขาวิชาชีพท่ี ส่วนร่วม สนับสนุนให้มีกระบวนการที่เกื้อหนุนให้
รับผิดชอบ และสามารถนามาใช้ได้อย่างเต็ม บคุ ลากรในสถานศึกษา ชมุ ชน ผู้ปกครอง และผทู้ ่ีมี
ศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม พร้อมท้ังมีจิต ส่วนเก่ียวข้องเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อเทคโนโลยี
วิญญาณของความเป็นครูท่ีจะสนับสนุนส่งเสริมให้ สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ องค์ความรู้ต่างๆ จน
ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม มุ่ ง มั่ น ท่ี จ ะ พั ฒ น า ต น เ อ ง อ ย่ า ง สามารถสร้างความรู้ ทักษะ มีระบบการจัดการ
สมา่ เสมอเพ่อื ให้เป็นท่ียอมรบั ของสงั คม ความรู้ มีการถ่ายทอดความรู้ แลกเปล่ียนเรียนรู้
ร่วมกับบุคลากรในสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง
มุ่งการบริหารการจัดการ โดยผู้บริหาร และผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้องทาให้เกดิ สงั คมแห่งการเรียนรู้
ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น ผู้ ก า ห น ด ทิ ศ ท า ง ก า ร ท า ง า น
ผู้บริหารสถานศึกษาทุ่มเทพลังกาย และความคิด
อย่างเต็มกาลัง มีความเป็นผู้นาทางวิชาการสูง มี
ความคิดริเร่ิม มีวิสัยทัศน์ รอบรู้ทางวิชาการ มี
ความสามารถในการจัดการองค์กร บริหารจัดการ
ให้มีครูสอนอย่างพอเพียง ใช้หลักการกระจาย
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 13 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
มติ ิที่ 4 ดา้ นอตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
มุ่งพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนเป็นการ
เฉพาะของตนเอง อัตลักษณ์โดดเด่นของผู้เรียนที่
สถานศกึ ษาต้องการใหเ้ กิด สถานศกึ ษาจดั กิจกรรม
หรือโครงการที่ส่งเสริมพัฒนา คุณลักษณะของ
ผู้เรียนเป็นการเฉพาะของตนเอง ซ่ึงเกิดจากการมี
ส่วนร่วมของผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร
โรงเรียน ครู บุคลากร ชุมชน และองค์กรภายนอก
และมีผลการดาเนินงานสะท้อนความเป็นอัต
ลักษณ์ และกลายเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
มติ ิท่ี 5 ด้านมาตรการส่งเสริม
มุ่งเน้นและสนับสนุนให้สถานศึกษาจัด
กิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป
การศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษามีการ
ดาเนินงานเพ่ือยกระดับมาตรฐาน และพัฒนา
สถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศโดยสถานศึกษาจะเป็น
ผู้กาหนดมาตรการสง่ เสริมของสถานศึกษาเอง โดย
มีการกาหนดแนวทางพัฒนาร่วมกันชี้แนะป้องกัน
และแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบาย จุดเน้น และ
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง ทั้งที่สถานศึกษาได้รับมอบหมายหรือ
กาหนดเอง เพอ่ื พัฒนาและสง่ เสริมสถานศึกษาให้มี
คุณภาพสูงข้ึน แนวทางพัฒนาดังกล่าว สามารถ
ปรับเปล่ียนได้ตามกาลเวลาและปัญหาสังคมที่
เปลี่ยนไป เช่น การปฏิรูปการศึกษา การส่งเสริม
สืบสานโครงการพระราชดาริ และหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง การป้องกันส่ิงเสพติด การ
ป้องกันอุบัติภัย การอนุรักษ์พลังงา น แ ล ะ
สงิ่ แวดลอ้ ม การพรอ้ มรับการเปน็ สมาชิกประชาคม
อาเซยี น เปน็ ตน้ โดยสถานศึกษา ผปู้ กครอง ชุมชน
และสังคมมีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรการ
ส่งเสริมและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาให้การ
รบั รอง
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 14 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
แนวคดิ หลักการพฒั นาโรงเรยี น
แนวคิดหลักท่ีโรงเรียนใช้ในการบริหาร รายงานผลการปฏิบัติงานของทุกงาน/โครงการ
จดั การ โดยใช้ โรงเรียนเปน็ ฐาน (School-Based เมื่อสนิ้ สดุ การดาเนินงาน/โครงการทกุ ครัง้
Management) มุ่งพัฒนาและสนับสนุนบุคลากร
ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ใ น ก า ร ส อ น 3. การตรวจสอบติดตาม โรงเรียนมีการ
สนับสนุนศักยภาพในการเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี วางระบบประเมินตนเองแบบเป็นทางการ และไม่
คือการมีส่วนร่วม “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วม เป็นทางการ โรงเรียนมีคณะกรรมการที่ต้ังข้ึนเพื่อ
ปฏิบัติ” บริหารงานตามวงจรการทางานแบบ ควบคุม กากับ นิเทศ และประเมินผลดาเนินงาน
PDCA (Plan,Do,Check,Act) ทุกกิจกรรมที่มี รายงานผลตอ่ ท่ปี ระชมุ
การดาเนินงาน จะมีการกากับติดตามประเมินการ
ทางานเป็นระยะ โดยผู้ท่ีได้รับมอบหมายจะเป็น 4. การพัฒนาปรบั ปรงุ ปฏบิ ัติงาน มกี ารนา
ผู้รับผิดชอบ รายงานผลการติดตามให้ผู้บริหาร ผลการประเมินมาจัดทาเป็นรายงานประเมินผล
และผู้เกี่ยวข้องทราบ มีการจัดทารายงานสรุปผล ต น เ อ ง (Self-Study Report) เ ผ ย แ พ ร่ ใ ห้
การดาเนินงาน ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการ ผู้เกี่ยวข้องทราบเป็นลายลักษณ์อักษร และจัด
แก้ไข เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานอย่าง ประชุมเพ่ือระดมความคิดเก่ียวกับการวางแผน
ต่อเนื่อง การบริหารงานของโรงเรียนท่ีเน้นให้ พัฒนาโรงเรียนต่อไป มกี ารดาเนินงานภาคเรียนละ
บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการทางาน ส่งผลให้ คร้ัง หรือปีละ 2 ครั้ง หากผลการประเมินปรากฏ
บุคลากรมีความตระหนักและมีจิตสานึกที่ดีต่อการ ว่ามาตรฐานการศึกษาด้านใดหรือข้อใดมีแผนการ
พัฒนาโรงเรียนให้มีความเจริญก้าวหน้าย่ิงขึ้น มี ดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด
วิธกี ารดาเนนิ งานดังน้ี โรงเรียนจะให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง จัดทาแผนพัฒนา
ปรับปรุง โดยให้กาหนดวิธีปฏิบัติการ ระยะเวลา
1. วางแผนงานของสถานศึกษา ใช้การ ดาเนินงาน ทรัพยากร ท่ีใช้ในการดาเนินงาน และ
บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยผู้บริหาร ครู วิธีการติดตามประเมินผล แผนพัฒนาปรับปรุงจะ
เจ้าหน้าที่นักเรียน และ ชุมชน มีการกาหนด นาเสนอ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
เป้าหมายการดาเนินงานภายใต้แต่ละมาตรฐานว่า พิจารณา และขอรับการสนับสนุนโดยเฉพาะอย่าง
ต้องการให้เกิดสัมฤทธิ์ผลในด้านใด ระดับใด โดย ยิ่งหากจาเป็นต้องใช้ทรัพยากรในการดาเนินงาน
คณะกรรมการที่รับผิดชอบ การประเมิน กาหนด และต้องการให้ชุมชนช่วยเหลือในแต่ละเดือน
เกณฑ์มาตรฐานสาหรับตัดสินระดับความสาเร็จมี โรงเรียนจัดให้มีการประชุมครูเดือนละ 1 คร้ัง เพ่ือ
การวางแผนออกแบบกิจกรรม แผนงาน/โครงการ ตรวจสอบการดาเนนิ งานและประชุมหารือประเด็น
เพื่อนาสู่การปฏิบัติโดยผู้เกี่ยวข้อง เป็นผู้เสนอ ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เพ่ือหาทางแก้ไข และป้องกัน
แผนปฏิบัติการตลอดจนระบบการกากับติดตาม ปัญหาตา่ งๆ และนามาปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
และประเมนิ ผล
2. การนาแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ กาหนดข้ันตอน
และวธิ ีดาเนินงาน โดยมปี ฏทิ นิ ปฏิบัติงาน คมู่ อื ครู
กาหนด ตารางการประชุม บันทึกการประชุมของ
ทุกหน่วยงาน เพ่ือบุคลากรทุกคน สามารถ
ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีของตนได้อย่างถูกต้อง และมี
การติดตามตรวจสอบตามตารางท่ีกาหนด และ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 15 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตราของคณะภคนิ เี ซนตป์ อล เดอ ชารต์ ร
สญั ลกั ษณข์ องคณะเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เปน็ รปู ส่เี หล่ียม มีโลอ่ ยตู่ รงกลาง
ความหมายของโล่ เป็นดังน้ี
รวงขา้ วต้งั ตรง สงู เทา่ กัน 4 รวง บง่ บอกถงึ ความซื่อสัตย์ ความราบเรยี บ
และความเท่าเทยี มกันในหมู่ภคินี 4 คนแรก
รวงข้าวเขยี วสด คอื การเริ่มต้นของภคนิ ี ทแ่ี มจ้ ะเยาวว์ ยั แตท่ างานหนกั เกิน
กาลงั เพ่ือเป็นการพลชี ีพ ประดจุ เมล็ดพชื เลก็ ๆ ทีต่ กสูด่ นิ
พ้นื สีทอง หมายถงึ ความสวา่ งที่เจดิ จ้า หลังวันแห่งความมดื มน ที่ทอ้ งทงุ่ ที่
ราบโบสถ์
สฟี า้ เป็นสีของพระมารดาท่ีภคินรี กั เธอพสิ ูจนค์ วามรักน้ี ด้วยการสวดสายประคา และเลยี นแบบ พระมารดา
เดอ ชารต์ ร เปน็ ชอื่ ที่สอง บอกถึงบา้ นแม่ ซ่งึ เป็นหวั ใจและศูนย์รวมเอกภาพของภคินี ตง้ั อยูใ่ กล้ อาสนวิหารพระ
มารดาแห่งชาร์ตร
สแี ดง สีแห่งความรกั สีเลือด สีแหง่ ความตายและความกลา้ หาญของนกั บญุ เปาโล มรณสกั ขี องคอ์ ปุ ถัมภ์ของภคนิ ี ผู้
ถือดาบแหง่ พระวาจา ชรู บั ความมชี ัย
บทจดหมาย ท่เี ปิดอยู่ มคี าจารึกวา่ จงเปน็ ทุกอย่างสาหรับทกุ คน บง่ บอกถึงฐานะผ้รู บั ใชข้ องภคนิ ี ในการนามนษุ ย์
ให้รอดเพือ่ เทดิ พระเกยี รตพิ ระเจ้า
ภาษาฝรง่ั เศส 3 คา คอื REGULARITE (ซอื่ ตรง) SIMPLICITE (เรียบง่าย) TRAVAIL (การงาน) เป็นการเตอื นใจ
ใหย้ ดึ ถือปฏบิ ัตใิ นคณุ ธรรมของความซื่อตรง สภุ าพราบเรียบ และรกั การทางาน
ตราของโรงเรยี น
ตราของโรงเรียน คือ ชื่อโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์และสถานที่ตั้งของโรงเรียน
ปรากฏอยู่ระหว่างวงกลมสองวงซ้อนกัน ภายในวงกลมเป็นลายโปร่งมีสัญลักษณ์ของโรงเรียน
เป็นรูปวงกลมมีเส้นขอบและเส้นโค้งข้ึนโค้งลง ประดับรอบนอกบังเกิดเป็นกลีบเจ็ดกลีบ ตรง
กลางมีเคร่ืองหมายโล่ป้องกันศัสตราวุธ ภายในโล่แบ่งออกเป็นสามส่วน คือส่วนบนของโล่มี
อักษร ซฟซ อยู่หน้าเส้นตรงตั้ง ส่วนล่างมีตะเกียงเปลง่ ประทีปอยู่บนหนังสือพระคัมภรี ส์ องเลม่
ซ้อนกันมีเสน้ แนวนอนเป็นฐาน ด้านหลังโลม่ ีดาบขัดอยู่ปลายดาบปรากฏท่ดี ้านบนซ้ายและด้าม
ปรากฏทีด่ ้านล่างขวา มองเห็นใบไม้ทอดปลายดา้ นบนขวาและดา้ นลา่ งซ้าย
ความหมายของตราโรงเรยี น
วงกลม หมายถึง ความมุ่งหมายร่วมกันในการพัฒนาเยาวชนให้เป็นบุคคลผู้มีคุณสมบัติ
ครบถว้ น ตามคณุ ค่าแหง่ ศาสนธรรม วัฒนธรรม และวชิ าความรู้ ขณะเดยี วกันหมายถึง การ
รวมศรัทธาธรรมของนักบวช เข้ากับความรักของผู้ปกครอง เมตตาธรรมของครู และการ
แสวงหาความรู้ความเจริญของนักเรียน
เส้นประดับเจ็ดกลีบ แทนพระคุณเจด็ ประการของพระจิตเจ้า คือ พระดาริ สติปัญญา ความคิด อ่าน กาลัง ความรู้ ความ
ศรทั ธา ความยาเกรง
โล่ แสดงนยั ของคณุ ธรรมวา่ ความรเู้ ปน็ เครื่องปกปอ้ งภยั
ตะเกียง เปรียบประดจุ แสงสวา่ งส่องทางชวี ิต เทียบเท่าแสงแหง่ ปัญญา
หนังสือสองเล่ม แทนคู่มือปลูกฝังคุณค่าทางจิตใจ และคุณค่าทางวิชาชีพ ความสมดุลของ คุณค่าทั้งสอง เปรียบประดุจ
ตะเกยี งเปลง่ แสงสว่างนาชีวติ ไปถกู ทาง
ดาบคม คือ ปัญญา ด้าม คือ สติ ดาบนี้เป็นเครื่องประหารความเขลา และความไม่ชอบธรรม ท้ังหลาย และป้องกันตนเอง
ด้วยดาบทีอ่ ยูท่ างซ้าย จงึ ต้องใช้ความสุขุมภมั ภรี ์ภาพ และอย่างองอาจกล้าหาญ
ใบไม้ แทนใบมะกอก ใบของพชื คอื ส่วนทท่ี าหนา้ ทห่ี ายใจใบมะกอกจงึ แทน การดารงชีวติ ในสนั ตสิ ุขและเพ่ือสนั ติสขุ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 16 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
เพลงมารช์ เซนตฟ์ รังซีสฯ
เซนตฟ์ รงั ซีสเซเวยี ร์ นามเด่น เนือ้ ร้องโดย เซอร์มารีอา โปลนี ชวู ริ ัช
สถานศกึ ษา แหล่งประสิทธ์ิ เป็นสงา่
ที่สรรค์สร้าง ภมู ิปัญญา วทิ ยาศรม
ให้งามสม เจดิ จรสั ค่านยิ ม
มวี นิ ัย พิพัฒนช์ ัย
ศึกษาดี คณุ ธรรม ใจเมตตา
พร้อมใฝ่หา กิจกรรม นาสมัย
ใหเ้ ลิศล้า คอื ปรัชญา การงานไป
น่ีแหละไซร้ ดนตรี ค่าบวร
ดาวจารัส กฬี าเด่น
วิชาการ ทอ้ งนภา ประภสั สร
หวังใหเ้ ป็น ดาวดวงเด่น สถาพร
ประดบั ทว่ั คือเซนต์ฟรังฯ
นริ ันดร
อัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ เป็นโรงเรียนหนึ่งในมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร
โรงเรยี นไดท้ าการวิเคราะห์ เจตนารมณแ์ ละความเป็นมาของโรงเรยี นก่อนแลว้ จึงกาหนดเป็นอตั ลักษณ์ หรือคณุ สมบตั เิ ฉพาะท่ี
นักเรียนเซนต์ฟรังซีสฯจะต้องมีก่อนสาเร็จการศึกษา ดังน้ันโรงเรียนจึงได้กาหนด “ภาพแห่งความสาเร็จ” (Image of
Success) ท่ีโรงเรยี นต้องการใหเ้ กิดขึ้นกบั นกั เรียนเซนต์ฟรงั ซีสฯ ทุกคน โดยโรงเรยี นเซนตฟ์ รังซีสเซเวียร์ ได้กาหนดภาพของ
ความสาเรจ็ (Image of Success) ทีต่ ้องการให้เกดิ ข้ึนกบั นกั เรยี นเซนต์ฟรงั ซีสฯ ทุกคนไว้ว่า…
เอกลกั ษณ์โรงเรยี น : “ชมุ ชนแหง่ รักและเมตตา”
(Community of charity)
อัตลกั ษณโ์ รงเรยี น : “จติ แหง่ รกั และเมตตา สามัคคเี ปน็ หน่งึ เดียว”
“Spirit of love and Compassion Power of Solidarity”
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 17 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
กระบวนการสร้างความสาเร็จ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง “ความเคารพ/ศักดิศ์ รี” รจู้ ัก
เคารพสทิ ธขิ องตนเองและผูอ้ นื่ เขา้ ใจและยอมรบั ความ
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ได้จัดกระบวนการ แตกต่างระหว่างบคุ คล ไม่รังแกผทู้ ่อี ่อนแอกว่า มีศักด์ิศรี
ปฏิบัติการสร้าง “จิตแห่งรักและเมตตา สามัคคีเป็นหน่ึง ในตนเองโดยไม่เอาเปรยี บผอู้ นื่
เดียว” ให้เกิดขึ้นในตัวเด็กนักเรียนเซนต์ฟรั งซีสฯ
ประกอบด้วย การจัดโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ อย่าง มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เรอ่ื ง “อภัยด้วยใจทเ่ี ปน็ มติ ร” รจู้ ัก
หลากหลายทสี่ ่งเสรมิ เพ่ือการพัฒนาอยา่ งเป็นรูปธรรม พร้อม ให้อภัยแทนการตาหนิ อภยั ในความผดิ พลาดของผู้ที่
ท้ังมีการประเมินหรือตรวจสอบอย่างมีระบบและเหมาะสม สานึกผดิ มคี วามปรารถนาดีตอ่ ผอู้ ืน่ และใหโ้ อกาสผู้อืน่
โดยมีโครงการ/กจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ อตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น ดังนี้ กลับตวั ใหม่
กจิ กรรมสอนลกู ให้แบ่งปัน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เรื่อง “รักสันติ” มคี วามสุขในจติ ใจ
ควบคมุ อารมณไ์ ด้ และสามารถขจดั ความขัดแยง้ โดยสนั ติ
กจิ กรรมบ้านนมี้ ีรกั และเมตตา วิธี เป็นผู้สรา้ งบรรยากาศแห่งความสมานฉันท์ เอาความ
ดีชนะความไมด่ ี และมหี ัวใจท่เี ปดิ กว้างในการต้อนรบั
กิจกรรมกลอ่ มเกลาจติ ใจด้วยสายใยแห่งธรรม ผู้อนื่
กิจกรรมห้องเรียนจริยธรรมชุมชน มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรอ่ื ง “ความยุติธรรม” มีความ
เทีย่ งตรง ไมม่ ีอคติ ไมล่ าเอียง มีความถกู ต้อง มีเหตผุ ล
กิจกรรมปันรักปนั ร.ู้ ..สู่นอ้ งผดู้ อ้ ยโอกาส สามารถแยกแยะได้วา่ อะไรถูกอะไรผดิ รู้ผดิ ชอบชว่ั ดี มี
ความเสมอภาคไมแ่ บง่ แยก มคี วามตรงไปตรงมา
กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ /ปลกู ฝงั นกั เรยี น… ตดั สินใจดว้ ยเหตผุ ลท่ีถูกทีค่ วร และมีใจเปน็ ธรรมในการ
ตดั สินปญั หา
ปฐมวัยปีที่ 1 เรอ่ื ง “ส่ิงรอบตัวฉัน” ดแู ลเอาใจใสต่ ัวเอง
และชว่ ยเหลอื ตนเองได้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เรอื่ ง “เป็นนา้ หนึง่ ใจเดยี วกัน” มี
ความรว่ มมอื สมัครสมานสามัคคี และเอาใจเขามาใส่ใจ
ปฐมวยั ปีที่ 2 เรอ่ื ง “ทกุ คนคอื พนี่ อ้ งกัน” รกั ครอบครัว เรา เหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนรวมมากกว่าสว่ นตน มสี ่วนรว่ ม
รักเพ่อื น เอาใจใสท่ ุกคนทีอ่ ยรู่ อบขา้ ง เคารพและเชอ่ื ฟัง อยา่ งแข็งขนั ในการจัดกิจกรรมสว่ นรวม และเป็นผู้
ผูป้ กครอง คุณครู และผทู้ อี่ าวุโสกว่า ประสานความสามคั คใี นหมู่คณะ
ปฐมวยั ปีท่ี 3 เรื่อง “ชวี ิตท่งี ดงาม” ทางานร่วมกับผอู้ ่ืน มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เรื่อง “การรับใช้” ช่วยเหลอื งาน
ได้ มคี วามสภุ าพ เรยี บรอ้ ย ใจกว้างและรักชาติ มชี ีวิตที่ ส่วนรวมดว้ ยความเตม็ ใจ มองเหน็ ความตอ้ งการของผูอ้ ืน่
เรียบง่าย และตอบสนอง ร้จู กั อาสาท่ีจะทาหนา้ ทใ่ี นการรับผดิ ชอบ
กจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เรือ่ ง “ความรัก” รู้จักรักตนเอง รกั
ครอบครัว รักเพ่ือน รักโรงเรียน รกั ชาติ และรกั ธรรมชาติ กจิ กรรมสาหรบั ผปู้ กครอง…
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เร่อื ง “ความกตัญญูรูค้ ุณ” ร้บู ุญคณุ กิจกรรมสอนลกู ใหแ้ บ่งปนั : สอนลกู ให้รู้จักแบ่งสิง่ ท่ี
รู้ตอบแทนผมู้ พี ระคณุ แสดงกตเวทีตอ่ บุพการี โรงเรยี น ตวั เองมมี ากกวา่ สาหรับผ้ทู มี่ ีนอ้ ยกว่า เชน่ การบริจาค
สงิ่ ของ ปัจจยั ต่างๆ ฯลฯ ในโอกาสเทศกาลครสิ ต์มาส
ประถมศึกษาปที ่ี 3 เรอ่ื ง “รักการทางาน” มคี วามมุง่ ม่นั และภยั พบิ ัติต่าง ๆ
กระตอื รอื ร้นในการทางาน ขยัน อดทน มีสมาธิในการ
ทางาน ไมย่ ่อท้อต่อปัญหา รับผดิ ชอบต่อหน้าทท่ี ไ่ี ด้รบั กิจกรรมโลกใบเลก็ ...ของเดก็ เซนตฟ์ รงั ซสี ฯ : ผปู้ กครอง
มอบหมายเป็นอยา่ งดีตอ่ ตนเองผอู้ นื่ และสามารถทางาน รว่ มจัดงานวันเด็ก เพือ่ ใหส้ รา้ งความเปน็ นา้ หนึง่ ใจ
รว่ มกับผอู้ ื่นได้ เดยี วกนั โดยจัดเคร่อื งเลน่ เกมตา่ ง ๆ วาดภาพระบายสี
ฯลฯ พร้อมกบั เลยี้ งอาหารแกล่ กู ๆ
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เรือ่ ง “ความเมตตา” ร้จู กั แบง่ ปนั ส่ิง
ทตี่ นเองมีแก่ผู้อ่นื อดออมบางส่งิ เพือ่ ช่วยผู้อน่ื และให้ กิจกรรมพอ่ -แม่ เป็นครู : คุณพอ่ คณุ แม่ อาสาเป็น
ความช่วยเหลอื จนสุดความสามารถ คณุ ครูในการใหค้ วามรู้ และหลกั การดาเนนิ ชวี ิต แกล่ กู ๆ
ในชว่ งเดอื น สิงหาคม และ ธนั วาคม
ประถมศึกษาปที ี่ 5 เรอ่ื ง “ความซอ่ื ตรง” มคี วามซอ่ื ตรง
ต่อตนเอง และผอู้ ื่น ตลอดจนหนา้ ที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
ปฏบิ ตั ิทกุ อย่างดว้ ยความซ่อื ตรงทงั้ ตอ่ หน้าและลับหลัง
ปฏบิ ัตใิ นสิง่ ที่ถกู ตอ้ ง และเป็นแบบอย่างที่ดดี ้านความ
ซ่อื ตรง
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เรื่อง “ความเรียบงา่ ย/พอเพยี ง”
รู้จกั พอใจในสงิ่ ที่ตนเองมี ใชท้ รพั ยส์ ินของตนเองอยา่ ง
ประหยดั คมุ้ คา่ เก็บรักษาดแู ลเปน็ อย่างดี รกั ษาสมบตั ิ
สว่ นรวม ไม่ใชจ้ า่ ยเงินเกินตวั ไมฟ่ งุ้ เฟ้อ ตดั สินใจอยา่ ง
รอบคอบ มีเหตผุ ล
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 18 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
คณุ ค่าพระวรสาร (Gospel Values)
คุณค่าพระวรสาร หมายถึง คุณค่าท่ีพระเยซูส่ังสอนและ
เจริญชีวิตเป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน ดังที่มี
บันทึกในพระคัมภีร์ตอนท่ีมีชื่อเรียกว่า “พระวรสาร” ซ่ึงแปลว่า
“ข่าวดี” คาว่า “ข่าวดี” หมายถึง ข่าวดีแห่งความรอดพ้นของมนษุ ย์
จากบาปหมายถึง สารความจริงอันประเสริฐท่ีว่า พระเจ้ารักมนุษย์
จนกระทั่งประทานพระบตุ รมาบงั เกิดเปน็ มนุษย์ เพอื่ ไขแสดงพระองค์
และสอนพระธรรมแก่มนุษย์ พระเยซูทรงส้ินพระชนม์บนไม้กางเขน
เพื่อไถ่มนุษย์ให้รอดพ้นจากบาป และทรงกลับคืนพระชนมชีพเพ่ือ
บนั ดาลให้มนษุ ยไ์ ดร้ ับชีวติ นริ ันดร
1.ความศรัทธา (Faith) ความศรัทธา หมายถึง 6.ความยินดี ( Joy) ความยินดีเป็นผลของ
ความเชื่อศรัทธาในพระเจ้า ความเชื่อในความเป็นจริงท่ีอยู่ ประสบการณ์การสัมผัสความรักของพระเจ้าพระเยซูสอนให้
เหนือส่ิงท่ีเราจับต้องมองเห็น ความเช่ือในความเป็นจริงของ เรามใี จเบิกบานอย่เู สมอ ไม่มีสง่ิ ใดทาให้เราหว่นั ไหว หรอื หว่นั
จิตวิญญาณและในมิติทางศาสนาของชีวิต พระเยซูสอนว่า กลวั เพราะพระเจ้ารกั เรา
หากเรามีความเช่ือศรัทธาอัศจรรย์จะเกิดข้ึนในชีวิตของเรา
เราต้องมีความเช่ือศรัทธาเม่ือเราภาวนาและเม่ือเราอยู่ใน 7.ความเคารพ/ศักดิ์ศรี (Respect/Dignity)
วิกฤต ความเช่อื ศรัทธาเปน็ พืน้ ฐานของคณุ คา่ พระวรสารอนื่ ๆ มนุษย์ถูกสร้างตามพระฉายาลักษณ์ของพระเจ้า ดังน้ัน ชีวิต
ท้ังหมด มนุษย์จึงมีความศักด์ิสิทธิ์ พระเยซูสอนให้เราเคารพศักด์ิศรี
ของตนเอง และของกนั และกนั
2.ความจริง (Truth) พระเยซูตรัสว่าพระองค์คือ
“หนทาง ความจรงิ และชีวติ ” ชีวติ ของเราเป็นการแสวงหา 8.ความซื่อตรง (Honest) พระเยซูคาดหวังให้เรา
ความจริง ความจริงของธรรมชาติ ความจริงของโลกและ เป็น “มนุษย์ใหม่” มนุษย์ท่ีซ่ือตรง ชอบธรรม ประพฤติชอบ
ความจริงของมนุษย์ พระองค์สอนเราว่า ความจริงทาให้เรา ในสาย พระเนตรของพระเจ้า ดารงตนอยู่ในศีลธรรม ไม่น่า
เปน็ ไท ซอื่ ใจคด ไม่คดโกงหรอื เบยี ดเบยี นผู้อนื่
3.การไตร่ตรอง/ภาวนา (Reflection/Prayer) 9.ความเรยี บงา่ ย (Simplicity) พระเยซูเจริญชวี ติ
พระเยซูภาวนาอยู่เสมอ พระองค์ภาวนาเป็นพิเศษเมื่อ ที่เรียบง่าย คลุกคลีกับประชาชนคนสามัญ ทุกคนเข้าหา
ประกอบภารกิจสาคญั เม่ือมีการประจญและเม่ือมีวิกฤตของ พระองค์ได้แม้แต่เด็กๆพระองค์สอนเรามิให้กังวลใจในเคร่อื ง
ชีวิต พระองค์ยังสอนให้เรารู้คุณค่าของความสงบการ แต่งกาย ในอาหารการกิน เพราะพระเจ้าดูแลชีวิตของเราทุก
ไตร่ตรองเพอ่ื หาความหมายที่ลกึ ซ้ึงของปรากฏการณต์ ่างๆ ท่ี คน
เกดิ ขึ้นในชีวติ
10.ความรัก (Love) พระเยซสู อนให้เรามีความรกั
4 . ม โ น ธ ร ร ม / วิ จ า ร ณ ญ า ณ / ค ว า ม ก ล้ า ห า ญ แท้ ความรักท่ีสูงส่งกว่าความรักใคร่ เป็นความรักท่ีไม่เหน็ แก่
(Conscience/Discernment/Courage) พระเยซูสอนให้ ตัว ไม่หวังส่ิงตอบแทน ความรักท่ีมอบแก่ทุกคน ความรักท่ี
เรามีความกลา้ หาญเด็ดเด่ยี วในการรกั ษาศลี ธรรม มีมโนธรรม เอาชนะอารมณค์ วามรู้สึกของตน จนกระทั่งสามารถรกั แม้แต่
เท่ียงตรง วิจารณญาณแยกแยะชั่วดี รู้จักตัดสินใจเลือกทาง คนท่ีเป็นอริกับเรา หลักปฏิบัติพ้ืนฐานของการแสดงความรกั
แห่งความดีงามและยึดม่ันในทางแห่งความดี แม้ใน คือ “ปฏิบัติต่อผู้อ่ืนดังท่ีเราอยากให้ผู้อ่ืนปฏิบัติต่อเรา”
สถานการณท์ ี่เราถกู คุกคาม หลักปฏิบัติขั้นสูงของการแสดงความรักคือ “รักกันและกัน
เหมือนที่พระเจ้าทรงรักเรา” ความรักเป็นคุณค่าที่สาคัญ
5.อิสรภาพ (Freedom) พระเยซูสอนว่า “ความ ที่สุดเป็นจุดมุง่ หมายทีค่ ุณคา่ อื่นๆ ทกุ คณุ ค่านาไปสู่
จริงทาให้เราเป็นอิสระ” ซึ่งหมายถึงความเป็นอิสระจากการ
เป็นทาสของบาป เราปฏิบัติหน้าท่ีของเราด้วยความเชื่อมั่น 11.ความเมตตา (Compassion,Charity) พระ
ด้วยความรัก มิใช่ดว้ ยความกลวั เยซูเจริญชีวิตท่ีเป็นแบบอย่างของความเมตตา พระองค์
เมตตาต่อทุกคน คนเจ็บป่วย คนตกทุกข์ได้ยาก และคนด้อย
โอกาส พระองค์ร่วมทุกข์กับคนที่มีความทุกข์ เข้าถึง
ความรูส้ กึ และความต้องการของผอู้ นื่
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 19 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
12.ความกตัญญูรู้คุณ (Gratitude) พระเยซูตรัส 19.การพิศเพ่งธรรมชาตสิ ิ่งสรา้ ง (Wonder) พระ
ชมเชยผู้ท่ีได้รับการรักษาจากโรคภัย ที่กลับมาขอบคุณ เยซูสอนให้เรามองดูความสวยงามของธรรมชาติ ดวงดาวบน
พระองค์ พระเยซูขอบคุณพระเจ้าในทกุ ขณะ และสอนให้เรา ท้องฟ้า นกท่ีบินในอากาศ ดอกไม้ในทุ่งหญ้า แล้วมองเห็น
รจู้ กั กตัญญรู ูค้ ณุ ต่อพระเจา้ และต่อทุกคนทีม่ ีบญุ คุณตอ่ เรา ความยง่ิ ใหญ่ของพระผูส้ ร้างธรรมชาติ มองเหน็ ความนา่ พศิ วง
ของธรรมชาติ ท่ีถูกสร้างมาเพ่ือให้มนุษย์เอาใจใส่ดูแล เราจึง
13.การงาน (Work) พระเยซสู อนเราใหเ้ ห็นคุณคา่ ต้องหวงแหนธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พิทักษ์โลกของ
ของการทางาน ผู้ท่ีทางานก็สมควรได้รับค่าตอบแทน (ลก เราให้อนชุ นรุ่นหลงั
10:7) พระองค์จะประทานรางวัลแก่ทุกคนตามการทางาน
ของแต่ละคน (มท 16:27) พระองค์ทางานอยู่เสมอเหมือน 20.ความหวัง (Hope) ความหวังมีพ้ืนฐานอยู่บน
พระบิดาทางานอยู่เสมอ (ยน 5:17) พระองค์ยังสอนว่าการ คาสัญญาของพระเยซูว่า พระองค์มาเพ่ือกอบกู้มนุษย์ทุกคน
ทางานเป็นการถวายเกียรติแด่พระเจ้า (ยน 17:4) เราพึง ให้ได้ความรอดพ้นจากบาป และมีชีวิตนิรันดร์ ความหวังทา
ระลึกอยู่เสมอว่าเราต้องทางานเพื่ออาหารท่ีคงอยู่เป็นชีวิตนิ ให้เรามีความอดทน พากเพียร และมั่นคงในความดี ความหวงั
รันดร์ “จงทางานหนักเพื่อเข้าประตูแคบสู่พระราชัย ยังทาให้เราคิดบวก มองโลกในแง่ดี เราหวังในพระเจ้ามิใช่ใน
สวรรค”์ (ลก 13:24) วัตถุ ความหวังจึงเป็นแรงบันดาลใจให้เรายึดม่ันในความดี
“จงให้ แล้วพระเจ้าจะประทานแก่ท่าน ท่านจะได้รับเต็ม
14.การรับใช้ (Service) พระเยซูเสด็จมาในโลก สัดเต็มทะนานอัดแน่นจนล้น เพราะว่าท่านใช้ทะนานใด
เพอื่ มารบั ใช้มิใชม่ าเพอ่ื ไดร้ ับการรับใช้ พระองค์สอนสานุศษิ ย์ ตวงให้เรา พระเจ้าก็จะใช้ทะนานนั้นตวงตอบแทนให้ท่าน
ว่าพระองค์ ผู้เป็นพระเจา้ ยังรับใช้พวกเขา ดังนั้นพวกเขาต้อง ดว้ ย”(ลูกา 6: 38)
รบั ใชผ้ ูอ้ ื่นเช่นเดียวกัน ผใู้ หญ่กว่าจะต้องรับใช้ผู้น้อยกวา่
คุณค่าพระวรสาร (Gospel Values)
15.ความยุติธรรม (Justice) พระเยซูสอนให้เรา
แสวงหาความยุติธรรมให้กับผู้อื่นก่อนให้กับตัวเอง ความ “พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมาก จึง
ยุติธรรมเรียกรอ้ งใหเ้ ราเปิดใจกว้างต่อความต้องการของผอู้ ่นื ป ร ะ ท า น พ ร ะ บุ ต ร เ พี ย ง พ ร ะ อ ง ค์ เ ดี ย ว ข อ ง
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผู้ทด่ี ้อยกว่าเรา พระองค์ เพ่ือทุกคนที่มคี วามเช่ือในพระบตุ รจะ
ไมพ่ นิ าศ แต่จะมชี วี ติ นริ นั ดร” (ยอหน์ 3:16)
16.สันติ/การคืนดี (Peace/Reconciliation)
พระเยซูตรัสว่า พระองค์นาสันติมาสู่โลก สันติเป็นผลมาจาก
ความยุติธรรม เราสามารถนาสันติสู่สังคมท่ีเราอยู่โดยมี
ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันและกัน มีใจที่ปล่อยวาง หลุดพ้นจาก
ความว้าวุ่นใจ หลีกเลี่ยงความรุนแรงทุกชนิด และเมอื่ มคี วาม
ขดั แย้ง เราต้องพร้อมท่ีจะคืนดีเสมอ การคนื ดเี ปน็ ผลจากการ
เคารพซ่งึ กันและกนั และใจเปดิ ตอ่ การเสวนา
17.การอภัย (Forgiveness) พระเยซูสอนศิษย์ให้
ภาวนาต่อพระบิดาเสมอๆ ว่า “โปรดอภัยแก่ข้าพเจ้า
เหมือนท่ีข้าพเจ้าอภัยให้ผู้อ่ืนท่ีทาผิดต่อข้าพเจ้า” พระเยซู
เล่านิทานของบิดาผู้ใจดีที่ให้อภัยแก่ลูกที่ล้างผลาญทรัพย์
สมบตั ขิ องบดิ า พระเยซใู หอ้ ภยั แก่ผทู้ ่ตี รงึ พระองค์บนกางเขน
การรู้จักให้อภัยผู้อ่ืนเกิดข้ึนได้เม่ือเรารู้จักเอาชนะความโกรธ
เคือง ความอาฆาตมาตรร้ายทุกชนิด การให้อภัยของเราต้อง
ไมม่ ขี อบเขตเหมือนทพี่ ระเจ้าใหอ้ ภยั แกเ่ ราอย่างไมม่ ีขอบเขต
พระเยซูสอนเราว่า “อย่าปล่อยให้ตะวันตกดินโดยท่ีใจยัง
โกรธเคอื งผอู้ ื่นอย”ู่
18.ความเป็นหน่ึง/ความเป็นชุมชน (Unity/
Community) พระเยซูสอนว่า มนุษย์ทุกคนเป็นพ่ีน้องกัน
ทกุ คนมีพระเจา้ เป็นพระบิดาองค์เดียวกัน ดงั นัน้ มนษุ ย์จึงต้อง
สร้างสังคมมนุษย์ใหน้ ่าอยู่ มีความเป็นพ่ีเปน็ น้องกัน มีสายใย
ยึดเหนี่ยวกันอยา่ งม่นั คง ไม่ว่าเราจะอยู่ในหน่วยใดของสงั คม
ท้งั บา้ น โรงเรียน และทอ้ งถนิ่ เราต้องแสดงความเป็นเจ้าของ
การมีสว่ นรว่ ม ในชวี ิตของชมุ ชนน้นั ๆ
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 20 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
พนั ธกจิ ...ยทุ ธศาสตร.์ ..ระดับปฐมวยั
พนั ธกิจ...ระดับปฐมวยั
1. พฒั นาเด็กให้มพี ัฒนาการทเ่ี หมาะสมกับวัยตามหลักสูตรและมาตรฐานชาติ
2. พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานวิชาชพี
3. พัฒนาการบรหิ ารจดั การและระบบประกันคณุ ภาพภายใน
4. สถานศึกษาส่งเสริมและสนบั สนุนใหม้ ีการประสานความร่วมมือกับชมุ ชนใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้
5. พัฒนาสถานศกึ ษาให้บรรลตุ ามเป้าหมายตามวิสยั ทัศน์ ปรชั ญาและจดุ เน้นท่กี าหนดข้นึ เพอ่ื พฒั นาเด็ก
ให้เป็นบุคคลเพ่ือผู้อื่นตามจิตตารมณ์ของนักบุญเปาโลและเป็นผู้มีจิตแห่งรักและเมตตาสามัคคีเป็น
หนง่ึ เดยี ว
6. พฒั นาสถานศกึ ษาตามนโยบาย จุดเนน้ แนวทางการปฏิรปู การศกึ ษา เพื่อยกระดบั คณุ ภาพ
ยุทธศาสตร์...ระดับปฐมวัย
1. ส่งเสริมเด็กใหม้ พี ัฒนาการทสี่ มบรู ณเ์ หมาะสมกับวัยตรงตามหลกั สูตรและ มาตรฐานชาติ
2. ส่งเสริมบคุ ลากรสคู่ วามเปน็ เลิศตามมาตรฐานวชิ าชีพ
3. ส่งเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการการบริหารจัดการ และระบบประกันคุณภาพ
ภายใน
4. สง่ เสริมความรว่ มมอื ระหว่างสถานศึกษากับชุมชนหนว่ ยงานภายใน และภายนอกใหเ้ ป็นสังคมแห่งการ
เรยี นรู้
5. ส่งเสริมสถานศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย ตามวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นที่กาหนดขึ้นเพื่อพัฒนา
เด็กใหเ้ ป็นบุคคลเพ่ือผู้อน่ื ตามจติ ตารมณ์ของนักบญุ เปาโลและเป็นผู้มีจิตแหง่ รักและเมตตาสามัคคีเป็น
หน่งึ เดยี ว
6. ส่งเสริมโครงการ กิจกรรมพิเศษของสถานศึกษาเพ่ือตอบสนองนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป
การศึกษาเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 21 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดบั ปฐมวัย
1.ด้านรา่ งกาย
มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวยั และมสี ุขนิสยั ทด่ี ี
มาตรฐานท่ี 2 กล้ามเนอื้ ใหญแ่ ละกล้ามเน้ือเล็กแขง็ แรง ใชไ้ ดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วและประสานสมั พนั ธก์ นั
2.ดา้ นอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานท่ี 3 มีสขุ ภาพจิตที่ดี และมีความสขุ
มาตรฐานท่ี 4 มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจทดี่ ีงาม
มาตรฐานท่ี 5 ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี การเคลอื่ นไหว และการออกกาลังกาย
3.ด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 ชว่ ยเหลือตนเองได้เหมาะสมกบั วัย
มาตรฐานท่ี 7 รักธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยรู่ ่วมกับผ้อู ่นื ได้อยา่ งมีความสุข และปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสังคมใน ระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
4.ดา้ นสตปิ ัญญา
มาตรฐานท่ี 9 ใช้ภาษาสื่อสารไดเ้ หมาะสมกับวัย
มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถในการคิด และแก้ปญั หาได้เหมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ 11 มีจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ 12 มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรียนรู้ และมที กั ษะในการแสวงหาความรู้
กิจกรรมการเรยี นรรู้ ะดับปฐมวยั ...
1.กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ใน 3.กิจกรรมเสรี เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้
กจิ กรรมน้ี เดก็ ๆ ได้ร้อง เลน่ เต้นระบาไปกบั เสยี งเพลง เด็กๆ จะได้เลน่ สงิ่ ของตา่ งๆ ท่ีคุณครูได้จัดเตรียมไวใ้ น
ห้องเรียนตามท่ีเด็กสนใจอย่างอิสระ ภายใต้ข้อตกลง
ตามจินตนาการ เด็กจะเคล่ือนไหวร่างกายอย่าง ในห้องเรียน อาทิ การเล่นตัวต่อไม้บล็อก มุม
สร้างสรรค์ เกิดการเรียนรู้จังหวะดนตรีอย่างง่าย อีก วิทยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติ เป็นต้น ซ่ึงนอกจาก
ทั้งยังรูจ้ กั การปฏบิ ตั ิตนตามคาสั่งและขอ้ ตกลง มีความ เด็กจะได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ผ่านการเล่นแล้ว เด็กๆ ยังได้
สนุกสนานร่าเริง เรียนรู้การเล่นร่วมกันกับผู้อื่น ซึ่งจะเป็นพ้ืนฐาน
ทางดา้ นการดารงชวี ติ ประจาวนั ในสงั คมตอ่ ไป
2.กิจกรรมสร้างสรรค์ เด็กๆ จะได้สร้างสรรค์
ผลงานทางศิลปะ โดยผ่านกระบวนการเล่นกับสีและ 4.กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กจะได้เคลื่อนไหว
กระดาษ โดยการวาด พบั ตัด ฉกี ปะ เป็นต้น กิจกรรม ส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยผ่านกิจกรรมวิชาพลศึกษา
เหล่าน้ีจะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง อันจะ อีกท้ังยังมีการเล่นเคร่ืองเล่นที่สนามเด็กเล่น การเล่น
บ่อน้า การเล่นบ่อทราย นอกจากจะส่งเสริมให้เด็กมี
เ ป็ น พื้ น ฐ า น ใ น ก า ร ห ยิ บ จั บ สิ่ ง ข อ ง ต่ า ง ๆ ใ น สุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้
ชีวิตประจาวนั สง่ ผลใหท้ ักษะดา้ นการเขียนของเด็กได้ เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกห้องเรียน
มีการพัฒนาที่ดีขึ้น และส่ิงสาคัญที่สุดคือเป็นการ รู้จักการแก้ปัญหาและพัฒนาทักษะทางสังคมในการ
พัฒนาสมองโดยการผ่านเส้นประสาทจากปลายนิ้ว เลน่ ร่วมกบั ผู้อน่ื
น้อยๆ ของเด็กๆ นอกจากน้ีจะทาให้เด็กเกิดสมาธิใน
การเรียนรู้ท่ีดี และถ่ายทอดจินตนาการผ่านผลงาน
รู้จักช่ืนชมผู้อื่น และภูมิใจในช้ินงานของตนเอง ซ่ึง
ส่งผลให้เดก็ เกิดความมน่ั ใจในตนเองตามมา
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 22 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
5.กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กจะได้ แสดงบทบาทสมมตผิ า่ นเนอื้ เร่ืองในนทิ าน ภายใต้
เรียนรู้สิงใหม่ๆ ต่างๆ รอบตัวท่ีเป็นการเพ่ิมพูน บรรยากาศท่สี ง่ เสรมิ จนิ ตนาการ
ประสบการณ์ด้านต่างๆ ซ่ึงจะเป็นก้าวแรกในโลกใบ
ใหม่ของเด็กๆ ซึ่งทางโรงเรียนที่จัดระบบเร่ืองนี้เป็น 8.กิจกรรมโลกศูนย์อัจฉริยะ โลกศูนย์
หน่วยการเรียนท่ีจะให้ความรู้แก่เด็กในสาระท่ีเด็กควร อัจฉริยะเกดิ ขนึ้ ภายใต้ความเชอ่ื ท่ีว่าเดก็ ทกุ คนมี
จะได้รับ โดยมีเนื้อหาความยากง่ายที่เหมาะสมกับวัย สามารถในการเรียนรูท้ ่แี ตกตา่ งกัน ตามหลักทฤษฎี
และระดับช้ันที่แตกตา่ งกันไป อาทิ หน่วยร่างกายของ ของโอเวริ ์ด การด์ เนอร์ และนกั การศึกษาอกี หลาย
ฉัน หน่วยอาเซียน หน่วยครอบครัวแสนสุข เป็นต้น ท่านจงึ ทาใหศ้ ูนยโ์ ลกอจั ฉริยะ ได้จดั รปู แบบการเรยี นรู้
โดยคุณครูจะมีการสอนทห่ี ลากหลาย มีการบูรณาการ ที่ตอบสนองตามพฒั นาการการเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวยั
สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก มีเทคนคิ การสอนท่ีหลากหลาย ที่ โดยแบ่งออกเปน็ 6 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่
เปิดกว้างในเด็กเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะการคิด กล้า
แสดงออกและสามารถรู้จักนาความรู้ที่ได้รับไป คุณลงุ ต้นไม้ ให้เดก็ ๆ ได้เหน็ คณุ คา่ และ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ เช่น การสนทนา ความสาคญั ของธรรมชาติ ว่าทกุ สิง่ ในโลกลว้ นมี
ซักถาม หรือ การอภิปราย การสาธิต การทดลอง การ ความสมั พนั ธ์กัน เมอ่ื เราทาลายสง่ิ ใดสิ่งหนงึ่ สง่ิ ก็
ปฏิบัติ การประกอบอาหาร นิทาน ทัศนศึกษา การ จะส่งผลไปยงั อกี ส่งิ หนง่ึ ทฤษฎีเดด็ ดอกไมส้ ะเทือน
เลน่ เกม เป็นต้น ถงึ ดวงดาว
6.กิจกรรมเกมการศึกษา เด็กจะได้ทบทวน พีก่ บเสียงใส เรยี นรเู้ ก่ียวกับดนตรีเสยี งเพลง และ
เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนจากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การเคล่ือนไหวพร้อมทัง้ ทักษะพนื้ ฐานของการเล่น
หรือกิจกรรมอ่ืนๆ ที่เด็กได้ปฏิบัติ หรือ พัฒนาทักษะ เปยี โน
การสังเกตด้านสติปัญญา โดยผ่านการเล่นเกมชุดการ
สอนที่ครูจัดเตรียมไว้ให้ อาทิ การเรียงลาดับภาพการ เจา้ เสือนกั คิด เด็กจะเรียนรเู้ กี่ยวกบั คณิตศาสตร์
เจริญเติบโตของตน้ ไม้ เป็นตน้ ในการทากจิ กรรมน้โี ดย จานวน และ Concept พนื้ ฐานคณติ สาหรบั เดก็
ส่วนใหญ่มักจัดในรูปแบบกิจกรรมกลุ่ม เด็กจะเรียนรู้ ปฐมวยั
ในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ทักษะการ
แก้ปัญหาและกระบวนการทางานกลุ่มอย่างง่ายและ คณุ โจ๊กช่างเจรจา นอกเหนือจากการเรยี นใน
เหมาะสมกับวัย ห้องเรียนแล้วการเรียนภาษาองั กฤษผา่ น Theme
ในศูนย์โลกอจั ฉรยิ ะ
7.กจิ กรรมพเิ ศษ ได้แก่...
มา้ ลายชา่ งศิลป์ กิจกรรมศลิ ปะ ผา่ นการป้ัน วาด
คอมพิวเตอร์ นักเรียนทุกคนจะไดเ้ รียนรู้ ระบาย รวมทงั้ ศลิ ปะประดษิ ฐต์ า่ งๆ เพื่อฝึก
คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เปน็ การปูพนื้ ฐาน ความคดิ สร้างสรรค์ จนิ ตนาการ การทางาน
ทางดา้ นเทคโนโลยี ผ่านโปรแกรมสาเรจ็ รูป ร่วมกับผูอ้ ่ืน
หน้าจอTouch screen
ดร.สิงห์ นกั ทดลอง เรียนรแู้ ละทาการทดลองทาง
ภาษาอังกฤษ นกั เรยี นทกุ คนจะได้เรียน วทิ ยาศาสตร์ โดยเนน้ ทักษะกระบวนการทาง
ภาษาองั กฤษสปั ดาห์ละ 2 คร้งั เปน็ การเรยี นการ วิทยาศาสตร์ให้เกิดข้ึนกับเดก็ ๆ ฝึกให้เด็กไดร้ ้จู ัก
สอนที่มงุ่ เนน้ ให้เด็กได้มคี วามคุ้นเคยกบั การออก สกั เกต ตั้งคาถาม และหาขอสรปุ ในสิ่งทีส่ งสัยและ
เสียง ตามหลกั Phonice และ การสนทนาผา่ น เปน็ ปญั หา
กจิ กรรมร้อง เล่น เต้น เปน็ การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ 9.ทักษะพน้ื ฐานในชวี ิตประจาวัน ทักษะ
ที่เหมาะสมกบั วัยอนบุ าล
พืน้ ฐานในชวี ิตประจาวนั ทีโ่ รงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์
Creative Reading เปน็ หอ้ งทีส่ ง่ เสริมและปลกู แผนกปฐมวยั ไดเ้ หน็ ถงึ ความสาคญั ในการเรียนรู้
นสิ ยั รกั การอ่านโดยผา่ นนทิ าน และ กจิ กรรมต่างๆ พน้ื ฐาน เริ่มจากการดแู ลสุขภาพของตนเอง การ
ให้เดก็ ได้มโี อกาสได้แสดงศกั ยภาพในด้านการ ชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจาวนั งา่ ยๆ อาทิเช่น
การเขา้ หอ้ งน้า การลา้ งมอื การลา้ งหนา้ แปรงฟนั
การรับประทานอาหาร และการพักผอ่ น ร่วมทั้งมี
ทกั ษะพืน้ ฐานในการดแู ลตนเองได้
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 23 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตารางกจิ กรรมประจาวนั ระดบั ชน้ั ปฐมวัยปีท่ี 1 -3
เวลา กจิ กรรม
07.00-08.20 น. รับเด็ก
08.30-09.00 น กิจกรรมหนา้ เสาธง
09.00-09.15 น. ตรวจสขุ ภาพ ไปห้องนา้
09.15-09.35 น. กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ
09.35-10.00 น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
10.00-10.20 น. พกั ทานของว่างเช้า/ดื่มนม
10.20-11.00 น. กิจกรรมเสร/ี เล่นตามมมุ
11.00-11.30 น. กจิ กรรมกลางแจง้
11.30-12.15 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั /แปรงฟัน
12.15-14.00 น. นอนพกั ผ่อน
14.00-14.15 น. เปลีย่ นชดุ /เก็บที่นอน/ลา้ งหน้า
14.15-14.35 น. อาหารวา่ งบา่ ย
14.35-15.05 น. เกมการศกึ ษา
15.05-15.45 น. กจิ กรรมพเิ ศษ/เตรยี มตวั กลับบา้ น
15.45-16.00 น. กลับบ้าน
ข้อแนะนาสาหรบั ผู้ปกครองนกั เรยี นระดบั ช้นั ปฐมวยั
1. การตดิ ตอ่ ครปู ระจาชนั้ 3. การลาโรงเรยี น
ทางโทรศัพท์ 02-980-8522 สามารถติดตอ่ ใน ลากิจ โทรศพั ท์แจ้งครูประจาช้ัน หรอื ตดิ ต่อ
ช่วงเวลา 12.00-13.20 น.และ เวลา 16.00- ประชาสมั พนั ธ์
17.00 น.
ลาปว่ ย โทรศัพท์แจ้งครูประจาชั้น หรือตดิ ต่อ
การขอพบคณุ ครูประจาชนั้ กรณุ าติดต่อห้อง ประชาสมั พนั ธ์ พร้อมใบรบั รองแพทย์
ประชาสมั พนั ธ์ช่วงเวลา 12.00-13.20 น.และ (กรณีมยี าประจาตวั ขอใหผ้ ู้ปกครองแจ้งครูประจา
เวลา 16.00-17.00 น. ชั้นโดยตรง หรอื แจ้งในสมดุ สอ่ื สาร)
ติดตอ่ ผา่ นไดอาร่ีของโรงเรยี น 4. กรณุ าเตรยี มชุดสารองวันละ 1 ชดุ พรอ้ มเขียนชื่อ-
2. การรบั -ส่งนกั เรียน สกุล ชอ่ื เล่น ตดิ ของใช้ และอปุ กรณ์ของนกั เรียนทกุ ชนิ้
เพอ่ื สะดวกในการจดั เกบ็ และป้องกนั การสูญหาย
การสง่ นกั เรียน (เชา้ ) โรงเรียนเข้าเวลา 08.15 น.
- ผู้ปกครองวนรถสง่ นักเรียนกบั คณุ ครทู มี่ หี นา้ ที่ 5. ห้ามนกั เรยี นนาสิ่งของมคี ่ามาโรงเรียน อาทิ
โทรศัพท์ ของเล่น เกมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ หากเกิด
ดแู ล และกรณุ าเตรยี มกระเปา๋ กระติกน้า พรอ้ ม การสญู หายทางโรงเรยี นจะไมร่ ับผดิ ชอบใดๆ ท้ังส้นิ
สง่ นกั เรยี น
การรบั นักเรียน (เยน็ ) 6. เพอื่ ความปลอดภัยของนกั เรยี น ทางโรงเรยี นไม่
- จนั ทร์-พฤหสั บดี เลิกเรยี นเวลา 16.00 น. อนุญาตให้ผู้ปกครองเขา้ ภายในอาคารเรยี น
(ประตูเปดิ 16.00 น.)
- วนั ศกุ ร์ เลิกเรยี นเวลา 15.00 น. 7. มาตรการรกั ษาความสะอาด โรงเรยี นจดั ของใช้สว่ นตัว
(ประตเู ปดิ 15.15 น.) ใหก้ ับนักเรียนทุกคน เชน่ แกว้ น้า ผ้าเชด็ มือ แปรสฟี ัน
- ผูป้ กครองกรณุ าลดกระจก และชบู ตั รรบั ฯลฯ ร่วมทง้ั ทาความสะอาดหอ้ งเรียน ของเลน่ และของ
นกั เรียน ตามจดุ ทก่ี าหนด ใชด้ ้วยนา้ ยาฆา่ เชือ้ โรคทกุ วัน
กรณผี ปู้ กครองรับนักเรียนกอ่ นเวลา กรณุ าตดิ ต่อ 8. เพอื่ เปน็ แบบอยา่ งที่ดี และให้เกียรตสิ ถานที่ ขอ
หอ้ งประชาสัมพนั ธ์พรอ้ มแสดงบตั รรบั นักเรยี นทุก ความร่วมมือกับผปู้ กครองทุกท่าน แต่งกายสุภาพ
ครง้ั ทมี่ ารบั นกั เรยี นกลับบ้าน เมือ่ มาตดิ ต่อ หรือ รบั -ส่ง นกั เรียน (งดเสอ้ื สายเดี่ยว
เสอื้ กล้าม กางเกงขาสน้ั กระโปรงสน้ั ฯลฯ)
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 24 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
พันธกิจ...ยทุ ธศาสตร.์ ..ระดบั ประถม– มธั ยม
พันธกจิ ...ระดบั ประถมศกึ ษา-มธั ยมศกึ ษา
1. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามหลักสูตร และมาตรฐานชาติ
2. พฒั นาบคุ ลากรให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานในวชิ าชพี
3. พฒั นาการบริหารจัดการด้วยระบบประกันคุณภาพภายใน
4. สถานศึกษาสง่ เสริม และสนบั สนนุ ให้มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั ชุมชนให้เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้
5. พัฒนาสถานศึกษาใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย ตามวสิ ัยทัศน์ ปรัชญาและจดุ เน้นท่ีกาหนดข้ึน เพ่ือพัฒนา
ผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ บุคคลเพ่ือผู้อนื่ ตามจติ ตารมณ์ของนกั บญุ เปาโลและเปน็ ผู้มีจิตแห่งรักและเมตตา สามัคคี
เปน็ หนึง่ เดยี ว
6. พฒั นาสถานศึกษาตามนโยบาย จดุ เน้น แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา เพ่ือยกระดับคณุ ภาพ
ยทุ ธศาสตร.์ ..ระดบั ประถมศกึ ษา-มธั ยมศกึ ษา
1. สง่ เสรมิ ผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามหลกั สูตรและมาตรฐานชาติ
2. ส่งเสรมิ บุคลากรสูค่ วามเปน็ เลิศตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. ส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของกระบวนการบริหารจัดการ และระบบประกันคุณภาพ
ภายใน
4. ส่งเสรมิ ความรว่ มมือระหวา่ งสถานศกึ ษากับชมุ ชน หน่วยงานภายในและภายนอก ใหเ้ ป็นสงั คมแห่ง
การเรียนรู้
5. ส่งเสรมิ สถานศึกษาใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย ตามวสิ ัยทศั น์ ปรชั ญา และจดุ เน้นท่กี าหนดขึ้น เพอ่ื พัฒนา
ผเู้ รียนให้เป็นบุคคลเพอ่ื ผู้อื่นตามจติ ตารมณ์ของนักบญุ เปาโล และเปน็ ผ้มู จี ติ แห่งรกั และเมตตา
สามัคคีเป็นหนง่ึ เดยี ว
6. ส่งเสรมิ โครงการ กจิ กรรมพิเศษของสถานศึกษา เพ่ือตอบสนองนโยบาย จดุ เนน้ แนวทางการปฏริ ูป
การศกึ ษา เพื่อยกระดบั คุณภาพ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 25 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซง่ึ การ
พิจารณาผเู้ รียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่กี าหนดใหน้ น้ั จะชว่ ยให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ
ดังน้ี
1. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับขา่ วสาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอด
ความคิด ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสาร และ
ประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจัดและ
ลดปัญหาความขดั แยง้ ต่างๆ การเลือกรบั หรือไมร่ บั ข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ล และความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่อสารที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพือ่ นาไปสูก่ ารสร้างองคค์ วามรู้หรอื
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่างๆ ทีเ่ ผชิญได้อยา่ ง
ถกู ต้องและเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมูลสารสนเทศเขา้ ใจความสมั พนั ธ์
และการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ ่างๆ ในสงั คมแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใชใ้ นการปอ้ งกัน
และแก้ไขปัญหาและมีการตัดสนิ ใจทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึนต่อตนเอง สงั คม
และสงิ่ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดาเนนิ
ชวี ิตประจาวัน การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้ต่อเน่ือง การทางาน และการอยรู่ ่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสรมิ ความสมั พันธอ์ ันดรี ะหว่างบคุ คล
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นต่างๆ และมี
ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแก้ปัญหาตนเองอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาสมและมีคณุ ธรรม
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 26 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ระเบียบโรงเรียนเซนตฟ์ รังซสี เซเวยี ร์
ว่าดว้ ยความประพฤตขิ องนักเรยี น พ.ศ.2560
************************************************
ด้วยโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ พิจารณาเห็นว่านักเรียนเป็นเยาวชนที่อยู่ในวัยท่ีควรเสริมสรา้ ง
คุณลักษณะนิสัยท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ ความคิด และ
สุขภาพอนามัยที่แข็งแรง ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนเกิดประโยชน์สูงสุด โรงเรียนจึงได้ออก
ระเบียบว่าดว้ ยความประพฤติของนกั เรียนเพ่ือเปน็ แนวทางให้นักเรยี นยดึ ถือและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
อาศัยอานาจตามความในข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดความประพฤติ
ของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548 โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ จึงวางระเบียบว่าด้วยความประพฤติของ
นักเรยี นไวด้ ังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ ว่าด้วยความประพฤติของ
นกั เรยี น พ.ศ.2560”
ขอ้ 2 ระเบียบนใ้ี หใ้ ช้บังคบั ตั้งแต่ปีการศึกษา 2560 เป็นต้นไป
ขอ้ 3 ให้ยกเลกิ ระเบยี บโรงเรียนเซนตฟ์ รังซีสเซเวยี ร์ วา่ ด้วยคะแนนความประพฤติ พ.ศ.2556
ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้
“ผู้บริหารโรงเรียน” หมายความว่า ผู้รับใบอนุญาต หรือ อธิการิณี ผู้อานวยการโรงเรยี น
หรือ ผ้จู ัดการ หรือ ตาแหน่งทเ่ี รยี กชื่ออยา่ งอน่ื ของโรงเรียน
“ความประพฤติไม่เรียบร้อย” หมายความว่า การกระทาท่ีนักเรียนมีพฤติกรรมประพฤติ
ตนฝา่ ฝืนระเบียบ ขอ้ บังคบั ของโรงเรียน
“การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม” หมายความว่า การใหน้ กั เรียน ท่ีมคี วามประพฤติไมเ่ รยี บร้อย
ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมใหเ้ ป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยมคี วามมุ่งหมายเพอ่ื การอบรมสัง่ สอน
ขอ้ 5 การดาเนินการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เรียบร้อยให้มี
4 สถาน ดงั นี้
5.1 วา่ กล่าวตกั เตอื น
5.2 ทาทัณฑบ์ น
5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ
5.4 ทากิจกรรมเพ่ือใหป้ รับเปล่ยี นพฤตกิ รรม
ข้อ 6 การปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมของนักเรยี น โรงเรียนและครูจะไมก่ ระทาด้วยวิธีการอนั รุนแรง
หรือกล่ันแกล้งหรือกระทาด้วยความโกรธ หรือ ด้วยความพยาบาท แต่จะกระทาเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและ
ความประพฤติที่ไม่ดีของนักเรียน ใหร้ ู้สานึกในการกระทาพฤติกรรมท่ไี ม่ดี กลับมาประพฤติตนในพฤติกรรมที่ดี
และเพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมในดา้ นคุณธรรม จริยธรรมใหต้ ั้งอย่บู นพนื้ ฐานของวฒั นธรรมประเพณี อันดงี าม
และอยใู่ นกฎระเบยี บของสังคม ตอ่ ไป
ข้อ 7 ให้ผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนมอบหมายเป็นผู้มีอานาจในการ
ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมความประพฤติของนักเรียน
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 27 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ขอ้ 8 ให้มีคณะกรรมการรักษาระเบียบวินัยของโรงเรียน ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายกิจการ
นักเรียน ครูที่ทาหน้าที่งานรักษาระเบียบวินัย ครูหัวหน้าระดับและ/หรือครูประจาชั้นของนักเรียนที่มี
พฤติกรรมไม่เรียบร้อย โดยให้มีหนา้ ที่ ดงั ต่อไปนี้
8.1 ปฐมนิเทศนกั เรยี นเพอื่ สร้างความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับการรักษาระเบียบวินัย เมอื่ เริ่ม
เปดิ ปีการศกึ ษาใหม่
8.2 ควบคุม กากับ ติดตาม การรักษาความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัยท่ี
โรงเรียนกาหนด เช่น การมาเรียน กริ ยิ ามารยาท และการแต่งกายของนักเรยี น เปน็ ตน้
8.3 ชี้แนะ ว่ากล่าวตักเตือน ตัดคะแนนความประพฤติ ทาทัณฑ์บน และกาหนดการทา
กจิ กรรมของนักเรยี น ตามระเบยี บที่โรงเรียนกาหนดไว้
8.4 ส่งเสริม สนับสนุน ประกาศยกย่องชมเชยนักเรียนท่ีประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบ
ของโรงเรียน หรอื สรา้ งคณุ งามความดจี นเปน็ ประโยชน์ต่อตนเอง โรงเรยี น และสังคม
8.5 รายงานความประพฤติของนักเรียนทั้งในเชิงบวกหรือในเชิงลบให้ผู้บริหารโรงเรียน
เพือ่ รบั ทราบ
ขอ้ 9 การว่ากลา่ วตกั เตอื น ใชก้ รณนี กั เรียนทีม่ ีความประพฤตไิ มเ่ รยี บร้อย ไม่รา้ ยแรง
ข้อ 10 การทาทัณฑ์บน ใช้กรณีนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน หรือ
ได้รับการว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การทาทัณฑ์บนจะทาเป็นหนังสือ และอาจแจ้ง
หรอื เชญิ ผ้ปู กครองมาบนั ทึกรับทราบและรับรองการทาทัณฑ์บนไวด้ ้วย
ข้อ 11 การตัดคะแนนความประพฤติ ใช้กรณีนักเรียนท่ีมีความประพฤติไม่เรียบร้อย ไม่
เหมาะสมกับสภาพนักเรียน หรือได้รับการว่ากล่าวตักเตือน หรือทาทัณฑ์บนแล้ว แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรม โดย การตดั คะแนนความประพฤติ ใหเ้ ป็นไปตามรายละเอียดแนบทา้ ยระเบยี บน้ี โดยให้จัดทา
บนั ทกึ ข้อมลู ไว้เปน็ หลกั ฐาน
ข้อ 12 การทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใช้กรณีท่ีนักเรียนมีความประพฤติไม่
เรียบร้อย สมควรต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรม โดยการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธิการ
และโรงเรียนกาหนด
ข้อ 13 โรงเรียนหรือผู้ที่โรงเรียนมอบหมายอาจเชิญผู้ปกครองมาพบในกรณีที่นักเรียนมีความ
ประพฤตไิ ม่เรียบรอ้ ยและสมควรตอ้ งไดร้ ับการแก้ไขอยา่ งเรง่ ด่วน
ข้อ 14 ทุกปีการศึกษาโรงเรียนจะกาหนดให้นักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติ 100
คะแนน และเม่ือสิ้นสุดปีการศึกษาการสะสมคะแนนต่างๆ เป็นอันส้ินสุด ท้ังน้ี เม่ือนักเรียนมีพฤติกรรมแสดง
ความประพฤติไม่เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสมตามที่โรงเรียนกาหนด นกั เรียนจะถูกตัดคะแนนความประพฤติและ
ตอ้ งไดร้ บั การแก้ไขเพือ่ ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ดงั น้ี
14.1 เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 20 คะแนน นักเรียนจะได้รับการว่า
กล่าวตักเตือนจากครูประจาช้ัน บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน โดยโรงเรียนจะมีหนังสือแจ้งผู้ปกครอง
เพ่ือรายงานพฤติกรรมของนักเรียนท่ีประพฤติตนไม่เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสมเพ่ือขอให้ผู้ปกครองช่วยกาชับ
ควบคุม ดูแล วา่ กล่าวตกั เตือนเพอื่ ใหป้ รับเปลีย่ นพฤติกรรม
14.2 เมอ่ื นกั เรยี นถูกตัดคะแนนความประพฤติ ตง้ั แต่ 21-35 คะแนน นักเรียนจะไดร้ บั การ
ว่ากล่าวตักเตือนจากครูประจาชน้ั ครูหัวหน้าระดับ บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน ทาทัณฑ์บน โรงเรียน
จะเชิญผู้ปกครองมาพบเพื่อรับทราบและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของนักเรียน โดย
นกั เรยี นตอ้ งทากจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชนภ์ ายในโรงเรยี น 20 ช่ัวโมง
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 28 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
14.3 เมอ่ื นกั เรยี นถูกตดั คะแนนความประพฤติ ต้ังแต่ 36-50 คะแนน นกั เรยี นจะไดร้ ับการ
ว่ากล่าวตกั เตอื นจากครูประจาชั้น ครหู วั หนา้ ระดับ ครูหวั หนา้ ฝ่ายกจิ การนกั เรยี น บนั ทึกพฤติกรรมและการตัด
คะแนน ทาทัณฑ์บน โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมาพบเพื่อรับทราบและร่วมปรับเปล่ียนพฤติกรรมของนักเรยี น
โดยนกั เรียนต้องทากจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ภายในโรงเรยี น 30 ชว่ั โมง
14.4 เม่ือนกั เรียนถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ต้ังแต่ 50 คะแนน ข้ึนไป นักเรยี นจะได้รับ
การว่ากลา่ วตักเตือนจากครปู ระจาช้นั ครหู ัวหน้าระดับ ครูหวั หน้าฝ่ายกิจการนกั เรียน ผู้บรหิ ารโรงเรยี น หรอื ผู้
ท่ีผู้บริหารโรงเรียนมอบหมาย บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน ทาทัณฑ์บน โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมา
พบเพ่อื รบั ทราบและร่วมแก้ไขปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมของนักเรยี น โดยนักเรียนต้องทากจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์
ภายในหรือภายนอกโรงเรยี น ตามดุลยพินิจที่โรงเรียนจะพิจารณาตามความเหมาะสม
ข้อ 15 นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) รายใดที่มีคะแนนความประพฤติใน
ปกี ารศกึ ษาใดปีการศึกษาหนึง่ นอ้ ยกวา่ 60 คะแนน โรงเรยี นโดยฝ่ายวิชาการและฝ่ายกจิ การนักเรยี นสามารถ
ที่จะนามาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการศึกษาต่อในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ของ
นักเรยี นรายนัน้ ได้
ข้อ 16 เม่ือนักเรียนมีพฤติกรรมปฏิบัติตนมีความประพฤติไม่เรียบร้อย ให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาของโรงเรียนที่พบเห็นแจ้งให้ครูประจาช้ันของนักเรียนผู้น้ันเพ่ือทราบ และดาเนินการให้เป็นไป
ตามระเบยี บนี้
ขอ้ 17 โรงเรยี นสามารถมอบหมายใหค้ รูของโรงเรียน ตรวจกระเปา๋ หนงั สอื ของนกั เรียนได้ โดย
ให้กระทาอย่างเปิดเผยต่อหน้านักเรียน เพื่อนนักเรียน เม่ือมีเหตุต้องสงสัยในการนาส่ิงของท่ีไม่ถูกต้องตาม
ระเบยี บเข้ามาในโรงเรยี น
ข้อ 18 ให้ผู้บริหารโรงเรียน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจตีความและ
วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี เมื่อดาเนินการใดแล้วให้รายงานคณะกรรมการบริหารของ
โรงเรยี นเพือ่ ทราบต่อไป
ประกาศ ณ วันที่ 15 เดอื น มีนาคม พ.ศ.2560
(นางสาวบังอร กิจเจรญิ )
ผรู้ บั ใบอนญุ าตโรงเรียนเซนต์ฟรงั ซีสเซเวียร์
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 29 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
รายละเอยี ดแนบทา้ ยระเบยี บโรงเรียนเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์
เก่ยี วกบั การตดั คะแนนความประพฤตขิ องนักเรยี น
โรงเรียนได้กาหนดลักษณะพฤติกรรมท่ีไม่เรียบร้อยและเหมาะสม โดยจัดออกเป็น 3 ระดับ
ดงั ตอ่ ไปนี้
ระดับต้น หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกประพฤติตนไม่เสียหายร้ายแรง เช่น การมา
โรงเรียนสาย และการไมม่ าเรียนโดยไมม่ ีเหตุอันควร เปน็ ตน้
ระดับกลาง หมายถึง พฤติกรรมท่ีนักเรียนกระทาหรือแสดงออก ประพฤติตนเสียหายต่อตนเอง
และไม่รักษาระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียน เช่น การแต่งกาย ทรงผมนักเรียน การเสริมสวยหรือใช้
เคร่ืองประดบั เปน็ ต้น
ระดับสูง หมายถึง พฤติกรรมท่ีนักเรียนแสดงออกประพฤติเสียหายร้ายแรง สร้างความเส่ือมเสีย
ให้แก่ตนเอง และสง่ ผลกระทบต่อผู้อ่นื ช่อื เสียงของโรงเรยี นและสาธารณะ เชน่ หนเี รยี นหรอื ออกนอกโรงเรียน
โดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกายผู้อ่ื น
เตรียมการหรือกระทาการใดๆ อันน่าจะกอ่ ใหเ้ กิดความไมส่ งบเรยี บร้อย หรือขดั ต่อศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน
เป็นต้น
ระดบั ต้น หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารแกไ้ ขพฤตกิ รรม
1.การมาโรงเรียนสายหลงั เวลา 07.45 น. 1.วา่ กลา่ วตักเตอื นไมเ่ กนิ 5 ครง้ั
2.การไมม่ าเรยี นโดยไม่มเี หตอุ ันควร 2.ตั้งแตค่ รง้ั ที่ 6-10 ตัดคะแนนครง้ั ละ 1 คะแนน
3.ตง้ั แตค่ ร้ังที่ 11-15 ตดั คะแนนคร้ังละ 2 คะแนน
4.ตั้งแต่ครั้งท่ี 16 ข้ึนไป ตัดคะแนนครงั้ ละ 3 คะแนน
(ใหบ้ นั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานทุกครั้ง)
ระดบั กลาง หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารแก้ไขพฤตกิ รรม
1.การแตง่ กายตามระเบยี บของโรงเรียน 1.ว่ากล่าวตักเตือนไมเ่ กิน 3 ครั้ง
1.1 แตง่ เครอ่ื งแบบนักเรียนทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งตามระเบยี บของ 2.ต้งั แต่ครง้ั ท่ี 4-10 ตดั คะแนนครง้ั ละ 3 คะแนน
โรงเรียน (ชุดนักเรียน,ชดุ ลูกเสือ-เนตรนารี และ 3.ตง้ั แต่ครง้ั ที่ 11 ข้นึ ไป ตดั คะแนนครั้งละ 5 คะแนน
ชุดนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร) (ใหล้ งบนั ทึกไว้เปน็ หลกั ฐานทุกครงั้ )
1.2 ไม่สวมชดุ พละในวันทม่ี ีการเรยี นพลศึกษา
1.3 ไมใ่ สร่ องเท้านักเรียนตามทร่ี ะเบยี บกาหนด และ 1.ว่ากล่าวตักเตือนไมเ่ กนิ 3 คร้ัง
เหยยี บสน้ รองเท้า 2.ตง้ั แตค่ รั้งท่ี 4 ข้ึนไป ตัดคะแนนครัง้ ละ 5 คะแนน
1.4 ปล่อยชายเสือ้ นกั เรียนออกนอกกางเกง/กระโปรง (ให้ลงบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานทกุ ครง้ั )
1.5 ดึงชายเสอื้ ลงมาปดิ เขม็ ขดั หรอื ใส่กางเกงเอวต่า
1.6 ไม่ตดิ กระดมุ เสื้อนกั เรียนตามที่ระเบยี บกาหนด
2.พฤตกิ รรมท่ีไม่เหมาะสมกับการเป็นนกั เรยี น
2.1 การไว้เล็บยาว,ทาเล็บ
2.2 การไว้หนวดเครา
2.3 การสักบรเิ วณต่างๆ ของรา่ งกาย
2.4 การแตง่ หน้า
2.5 นกั เรยี นชาย/หญิง เจาะห,ู เจาะจมูก,เจาะลน้ิ
และการใส่เคร่ืองประดบั ฯลฯ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 30 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ระดบั กลาง หลักเกณฑ์และวธิ ีการแก้ไขพฤติกรรม
3.ทรงผมนักเรยี นชาย นักเรียนหญงิ 1.วา่ กล่าวตกั เตอื นไมเ่ กนิ 3 ครง้ั
3.1 ไวท้ รงผมไมถ่ กู ต้องตามระเบยี บของโรงเรยี นและ 2.ตง้ั แตค่ รัง้ ที่ 4-7 ตัดคะแนนครัง้ ละ 10 คะแนน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3.ตง้ั แต่ครง้ั ท่ี 8 ขึ้นไป ตดั คะแนนคร้ังละ 20 คะแนน
3.2 ซอยผม สไลดผ์ ม ตดั ผมหนา้ มา้ ทาสีผม ดดั ผม (ให้ลงบนั ทึกไวเ้ ปน็ หลักฐานทกุ ครงั้ )
ระดับสูง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการแก้ไขพฤตกิ รรม
1.การใหค้ วามร่วมมอื กับทางโรงเรยี น
1.1 ไมเ่ ขา้ เรยี นในชั่วโมงท่ที าการเรยี นการสอนทุกชัว่ โมง 1.ว่ากลา่ วตักเตือนพรอ้ มตดั คะแนนครั้งละ 10 คะแนน
1.2 ไมเ่ ข้าห้องประชมุ และร่วมกิจกรรมตามทโ่ี รงเรยี นจดั ขึ้น (ลงบันทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐานทุกครง้ั )
ทุกครั้ง
1.3 การใช้โทรศัพทม์ ือถอื และสอ่ื อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์
ไม่เป็นไปตามเวลาทีโ่ รงเรยี นกาหนดให้
1.4 หนีออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นทกุ กรณี
2.กรณชี สู้ าว
2.1 ประพฤตติ นไม่เหมาะสมกับสภาพการเปน็ นกั เรียนส่อ 1.ว่ากลา่ วตกั เตอื นพร้อมตดั คะแนนครัง้ ละ 30 คะแนน
ไปทางชูส้ าว ท้ังในโรงเรยี นและในทส่ี าธารณะ 2.อยู่ในดลุ พนิ จิ ของโรงเรยี น
2.2 ประพฤตผิ ดิ ทางเพศนามาซึ่งความเสอื่ มเสยี ช่อื เสยี ง (ลงบันทกึ ไว้เป็นหลักฐานทกุ ครง้ั )
ของโรงเรียน ไม่วา่ ด้วยกรณใี ดๆ
3.การทะเลาะวิวาทและพกพาอาวุธ
3.1 ก่อเหตทุ ะเลาะวิวาท รว่ มกันทาร้ายผอู้ นื่ เตรียมการ 1.อย่ใู นดลุ พนิ ิจของโรงเรยี น
หรอื กระทาการใดๆ อันน่าจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความ (ลงบนั ทกึ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานทกุ ครง้ั )
ไม่เรยี บรอ้ ย หรอื ขัดตอ่ ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน
3.2 ทาร้ายร่างกายผู้อ่นื โดยอาวุธ
3.3 พกพาอาวุธหรอื วัตถรุ ะเบดิ เขา้ มาบริเวณโรงเรยี น
3.4 ออกนอกสถานทีพ่ ักเวลากลางคืน เพือ่ เทย่ี วเตรห่ รือ
รวมกลุ่มอนั เปน็ การสรา้ งความเดือดร้อนใหแ้ ก่ตนเอง
หรอื ผูอ้ ่ืน
3.5 ชกั ชวนบุคคลภายในและ/หรอื ภายนอกโรงเรียนทารา้ ย
รา่ งกายผู้อน่ื
4.เรอ่ื งอบายมุข และส่งิ เสพตดิ
4.1 มีอบายมุขและสิ่งเสพตดิ เช่น บหุ ร่ี สุรา ยาเสพตดิ 1.ว่ากลา่ วตกั เตือนพรอ้ มตดั คะแนนคร้ังละ 30 คะแนน
สอ่ื ลามกอนาจาร อปุ กรณก์ ารพนนั ทุกประเภทไว้ 2.อยู่ในดลุ พินิจของโรงเรยี น
ครอบครอง ซึ่งไม่เหมาะสมกบั การเป็นนกั เรยี น (และลงบันทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐานทกุ คร้ัง)
4.2 สูบบหุ ร่ีท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น
4.3 เสพสุราหรอื ของมึนเมาทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น
4.4 เล่นการพนนั ทุกประเภท จัดใหม้ กี ารเลน่ การพนัน หรอื
ม่วั สุมในวงการพนัน
4.5 การเขา้ ไปในสถานที่ ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพการเปน็
นกั เรยี น
5.กริ ยิ ามารยาท
5.1 แสดงกริ ิยาวาจากา้ วร้าวตอ่ คณะผู้บริหาร คณะครู เช่น 1.วา่ กลา่ วตกั เตือนไมเ่ กนิ 2 ครั้ง
กลา่ วคาหยาบ ใช้วาจาไม่สภุ าพ กล่าวคานินทาวา่ รา้ ย 2.ตงั้ แตค่ รั้งที่ 3 ขึน้ ไป ตัดคะแนนคร้งั ละ 50 คะแนน
ทางส่ือตา่ งๆ หม่นิ ประมาท กลนั่ แกลง้ หรือล้อเลยี น 3.อยู่ในดุลยพนิ ิจของโรงเรียน
บงั คับ ข่มขู่ เป็นตน้ (ลงบันทึกไว้เปน็ หลกั ฐานทกุ ครง้ั )
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 31 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ระดบั สูง หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารแก้ไขพฤตกิ รรม
6.การลกั ทรพั ยแ์ ละการทาลายทรัพยส์ นิ 1.วา่ กล่าวตักเตอื นพร้อมชดใช้คา่ เสียหาย
6.1 ลกั ทรพั ย์ เชน่ การหยิบของของผ้อู นื่ โดยไม่ไดร้ ับ 2.อยใู่ นดลุ ยพินิจของโรงเรียน
อนุญาต เปน็ ต้น และการกรรโชกทรัพย์ ขม่ ขู่ หรือ (ลงบันทึกไว้เป็นหลกั ฐานทุกครง้ั )
บังคับขนื ใจเพือ่ เอาทรพั ยบ์ ุคคลอน่ื
6.2 การขดี เขยี นฝาผนัง โตะ๊ เก้าอี้ ของนกั เรียนและของครู 1.ดาเนินการตามระเบยี บว่าดว้ ยการนน้ั
หรอื สิง่ อนื่ ใดของโรงเรียน 2.อยใู่ นดุลพนิ จิ ของโรงเรยี น
6.3 ทาลายทรพั ยส์ ินของโรงเรยี น สถานทีส่ าธารณะ (ลงบนั ทึกไว้เป็นหลักฐานทุกครั้ง)
ประโยชน์
1.อยใู่ นดลุ พินิจของโรงเรยี น
7.ความผิดโดยทวั่ ไป 2.ให้ผูป้ กครองจดั หาทเ่ี รยี นแหง่ ใหม่ หรอื จาหนา่ ยออก
7.1 การทุจริตการสอบ (ลงบันทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐานทกุ ครัง้ )
7.2 การปลอมลายมือช่อื ผปู้ กครองหรอื ปลอมแปลง
หลักฐานอันกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่บคุ คลและ
โรงเรยี น
7.3 การประกวดความงามในทกุ สถาบัน
7.4 การเป็นแบบถ่ายโฆษณาสินคา้ หรือเป็นแบบใน
มิวสิควีดีโอ
7.5 การเปน็ นักร้อง นักแสดง โดยเปน็ อาชพี หรอื สมคั รเลน่
7.6 อืน่ ๆ ตามสถานการณแ์ ละเหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขึน้
(ขอ้ 7.3-7.6 กรณีทาใหเ้ สียเวลาเรยี นหรอื สร้างความเสื่อม
เสียเกยี รตยิ ศ ชื่อเสียงแก่ตนเองและของโรงเรียน)
8.การกระทาความผิดทางกฎหมาย และทางราชการ
8.1 มยี าเสพตดิ หรอื สารเสพตดิ ไวใ้ นครอบครอง ท้ังผลิต
และจาหน่าย แลกเปล่ียนทุกประเภท
8.2 ถูกสารวัตรนกั เรียน เจา้ หนา้ ทข่ี องหน่วยราชการแจ้ง
พฤตกิ รรมมายงั โรงเรียนและถูกดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 32 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั ประถม-มธั ยมศกึ ษา
นยิ าม ตวั ชว้ี ดั พฤตกิ รรมบง่ ช้ี และเกณฑ์การใหค้ ะแนน
ขอ้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คณุ ลกั ษณะท่แี สดงออกถึงการเป็นพลเมืองดขี อง
ชาติธารงไวซ้ ง่ึ ความเปน็ ชาติไทย ศรัทธา ยดึ ม่นั ในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์
ตัวช้วี ดั /พฤตกิ รรมที่บ่งชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ า่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยี่ยม ( 3 )
1.เป็นพลเมอื งดีของชาติ มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติทุกครงั้ ทไี่ ด้ยินเสียงเพลงชาติ บง่ ชี้ บง่ ช้ี บ่งช้ี บง่ ช้ี
1.2 มีความสามคั คใี นหมู่คณะ
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ
1.3 ประพฤติตนเป็นพลเมอื งดตี ามกฎระเบยี บของ
โรงเรียน
1.4 ร้องเพลงชาติได้
1.5 ประพฤตติ ามหนา้ ทข่ี องนกั เรยี น
1.6 ไม่ละเมดิ สิทธขิ องผ้อู ่นื
2.ธารงไว้ซ่งึ ความเปน็ ไทย มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม
2.1 พูดภาษาไทย เขยี นภาษาไทย ได้อยา่ งถูกตอ้ ง บง่ ช้ี บ่งช้ี บง่ ชี้ บง่ ชี้
เหมาะสม
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ
2.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมในวนั สาคญั ของไทย
2.3 แต่งกายชุดนกั เรยี นด้วยความเรียบร้อย
2.4 ภูมใิ จในความเปน็ ไทย
2.5 หวงแหน ปกปอ้ งชาตไิ ทย
3.ศรทั ธา ยดึ ม่นั และปฏบิ ตั ติ ามหลักศาสนา มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
3.1 เข้ารว่ มทางศาสนาท่ตี นเองนบั ถอื บง่ ชี้ บ่งช้ี บง่ ช้ี บง่ ช้ี
3.2 ปฏบิ ัตติ ามหลักศาสนาที่ตนเองนบั ถือ
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
3.3 เปน็ แบบอย่างทีด่ ี
3.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมวนั สาคญั ทางศาสนา
4.เคารพ เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม
4.1 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับสถาบัน บ่งชี้ บ่งช้ี บง่ ช้ี บง่ ช้ี
พระมหากษตั รยิ ์
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
4.2 ยืนตรงและร้องเพลงสรรเสรญิ พระบารมไี ด้
4.3 แสดงความจงรกั ภักดีโดยตดิ ธงสัญลกั ษณ์ หรือพระ
บรมฉายาลกั ษณไ์ วท้ ีบ่ ้าน
4.4 แสดงออกซ่งึ ความจงรกั ภกั ดตี ่อสถาบัน
พระมหากษตั รยิ ์
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 33 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ขอ้ 2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ หมายถงึ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในการถูกต้อง
ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ตอ่ ตนเองละผู้อนื่ ท้งั กาย วาจา ใจ
ตัวชวี้ ัด/พฤตกิ รรมทีบ่ ่งช้ี เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเย่ียม ( 3 )
1.ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองทงั้ กาย มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
วาจา ใจ บง่ ชี้ บ่งช้ี บ่งชี้ บ่งช้ี
1.1 ให้ข้อมลู ของตนเองตามความเป็นจรงิ ถูกต้อง
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ
1.2 ปฏบิ ตั ิตามคามัน่ สญั ญา
1.3 ไม่พดู โกหก
1.4 ไมป่ ระพฤตติ นในทางทีผ่ ดิ
1.5 แยกแยะได้วา่ ส่งิ ใดถกู ส่งิ ใดผดิ
2.ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ต่อผอู้ นื่ ทัง้ กาย วาจา ใจ มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม
2.1 ไม่ลกั ขโมยของผอู้ ื่น บ่งชี้ บง่ ช้ี บง่ ช้ี บ่งชี้
2.2 มคี วามซ่ือสตั ยต์ ่อผู้อนื่
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ
2.3 ไม่ลอกการบา้ นเพ่อื น
2.4 เกบ็ ของมคี า่ ได้แล้วส่งคนื ครู
2.5 ไม่ลอกเลียนผลงานผูอ้ ่ืน
2.6 นิยมยกยอ่ งผูท้ ีม่ ีความซอื่ สัตยส์ ุจรติ
ขอ้ 3. มวี ินัย หมายถงึ คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความยดึ ม่ันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และ
ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว โรงเรยี นและสังคม
ตวั ชีว้ ัด/พฤตกิ รรมท่บี ง่ ช้ี เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยีย่ ม ( 3 )
1.ปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม บ่งชี้ บง่ ชี้ บง่ ช้ี บ่งช้ี
1.1 ทาตามข้อตกลงของห้องเรียน โรงเรยี น
1-3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ 7-8 รายการ
1.2 ส่งงานตรงเวลา
1.3 เขา้ แถวทกุ วันตามระเบยี บของโรงเรยี น
1.4 รบั ผิดชอบในการทางาน
1.5 ปฏิบตั ิตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของสงั คม
1.6 แต่งกายถกู ตอ้ งตามระเบียบของโรงเรยี น
1.7 เขา้ หอ้ งเรยี นตามเวลา
1.8 มมี ารยาทที่ดใี นการเป็นผูฟ้ ังทดี่ ี
ขอ้ 4. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรียน
แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน
ตวั ชวี้ ดั /พฤติกรรมท่ีบ่งชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไมผ่ า่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเย่ยี ม ( 3 )
1.ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรยี น และเข้ารว่ มกจิ กรรม มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม
1.1 ตัง้ ใจเรยี น บ่งช้ี บ่งช้ี บ่งชี้ บ่งช้ี
1.2 เข้าเรียนทุกชัว่ โมง
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
1.3 สนใจกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ่างๆ
1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทท่ี างโรงเรยี นจดั ให้
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 34 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตวั ชวี้ ัด/พฤตกิ รรมทบ่ี ง่ ชี้ ไมผ่ า่ น ( 0 ) เกณฑ์การให้คะแนน ดเี ยี่ยม ( 3 )
2.แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ต่างๆ ท้ังภายในและ มพี ฤติกรรม ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) มพี ฤตกิ รรม
ภายนอกโรงเรียนด้วยการเลอื กใช้สอ่ื อยา่ งเหมาะสม บง่ ช้ี บ่งช้ี
2.1 เขา้ หอ้ งสมดุ สม่าเสมอ มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม
2.2 บนั ทึกความร้จู ากสงิ่ ท่ีเรยี นรู้ 1-2 รายการ บง่ ชี้ บ่งชี้ 5-6 รายการ
2.3 คน้ คว้าความรดู้ ้วยตนเองจากแหล่งเรียนร้ตู า่ งๆ
2.4 นาความรู้ทไี่ ดไ้ ปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3 รายการ 4 รายการ
2.5 แลกเปลีย่ นความรกู้ บั เพื่อนและครู
2.6 ใช้ Internet ในการค้นคว้าหาความรู้
ขอ้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะทแี่ สดงออกถึงการดาเนนิ ชีวติ อยา่ ง
พอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม มีภูมิคมุ้ กันในตัวทด่ี ี และปรบั ตวั เพ่อื อย่ใู นสงั คมได้
อยา่ งมีความสขุ
ตวั ช้วี ดั /พฤตกิ รรมทบ่ี ง่ ชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยี่ยม ( 3 )
1.ดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มี มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม
คณุ ธรรม บง่ ชี้ บ่งชี้ บง่ ชี้ บง่ ช้ี
1.1 ใช้จ่ายเงินอย่างประหยัด
1-3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ 6-7 รายการ
1.2 มีการออมทรพั ย์
1.3 ใชท้ รพั ย์สนิ ของตนเองอย่างประหยดั คุ้มคา่
1.4 ปิดน้า ปดิ ไฟ เมอ่ื เลกิ ใชง้ าน
1.5 แบง่ ปันสง่ิ ของใหเ้ พอื่ นทีข่ าดแคลน
1.6 ไมเ่ อาเปรยี บเพ่อื นร่วมชนั้ เรยี น
1.7 ใช้ส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั ค้มุ ค่า
2.มภี มู ิคุม้ กันในตวั ทด่ี ี ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมี มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
ความสขุ บ่งช้ี บง่ ชี้ บง่ ช้ี บ่งชี้
2.1 นาเสนอข่าวสารหนา้ ชนั้ เรยี นและรว่ มกนั วเิ คราะห์ว่า
1-3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ 7-8 รายการ
ควร ปฏบิ ตั ติ นอย่างไร
2.2 ติดตามขา่ วสารประจาวนั
2.3 ปรบั ตวั กบั เพอื่ นร่วมชนั้ เรยี นได้
2.4 วางแผนการเรียน และการทางาน
2.5 ยอมรบั เพอ่ื นร่วมช้ันเรยี น
2.6 เชื่อฟังคาส่งั สอนของครูบาอาจารย์
2.7 เชอื่ ฟงั คาสง่ั สอนของพ่อแม่
2.8 ร้จู กั แยกแยะวา่ ส่ิงใดถกู ต้อง สงิ่ ใดไม่ถูกตอ้ ง
ขอ้ 6. มุ่งมัน่ ในการทางาน หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ ความต้ังใจและรับผดิ ชอบ
ในการทาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยาม อดทน เพือ่ ให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชวี้ ัด/พฤตกิ รรมท่บี ่งช้ี เกณฑก์ ารให้คะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเย่ยี ม ( 3 )
1.ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบในหน้าทกี่ ารงาน มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม
1.1 มีความต้งั ใจทุ่มเทเสยี สละในการทางาน บ่งชี้ บ่งช้ี บง่ ชี้ บ่งชี้
1.2 มีความรบั ผดิ ชอบในการทางาน
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 35 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตัวชว้ี ัด/พฤติกรรมท่ีบ่งช้ี ไม่ผ่าน ( 0 ) เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดเี ยยี่ ม ( 3 )
ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 )
1.3 เอาใจใส่ต่องานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม
1.4 แก้ไขงานทบี่ กพร่องใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ บ่งชี้ มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม บ่งช้ี
1.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมของทางโรงเรยี นอยา่ งต่อเน่อื ง บ่งชี้ บ่งช้ี
2.ทางานด้วยความเพียร พยามยาม และอดทน เพอื่ ให้ 1 รายการ 4 รายการ
งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 2 รายการ 3 รายการ
2.1 มีความขยัน อดทนรอบคอบในการทางาน
2.2 ชืน่ ชมผลงานของตนเองและเพือ่ น
2.3 มคี วามพยายามในการทางานจนงานสาเรจ็
2.4 ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพอื่ นรว่ มงาน
ขอ้ 7. รกั ความเปน็ ไทย หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทีแ่ สดงออกถงึ ความภาคภูมใิ จ เห็นคุณค่า
รว่ มอนรุ กั ษ์ สบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณีศลิ ปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยใน
การสือ่ สาร ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
ตวั ชว้ี ดั /พฤตกิ รรมทีบ่ ง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยี่ยม ( 3 )
1.ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ ไม่มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม
วัฒนธรรมไทย และมคี วามกตญั ญกู ตเวที บง่ ช้ี บง่ ช้ี บง่ ช้ี บง่ ชี้
1.1 มมี ารยาท สมั มาคารวะท่ดี งี าม
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
1.2 แต่งกายสะอาดเรียบรอ้ ย
1.3 เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ประเพณีไทย
2.เห็นคณุ คา่ และใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารไดอ้ ยา่ ง ไมม่ พี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม
ถูกตอ้ งและเหมาะสม บง่ ช้ี บง่ ชี้ บ่งชี้ บง่ ชี้
2.1 ใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและ
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
เหมาะสม
2.2 พูดภาษาไทยถกู ต้องตามอักขระวธิ ี
2.3 สามารถสือ่ สารใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจได้
3.อนุรักษ์และสบื ทอดภูมปิ ญั ญาไทย ไม่มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม
3.1 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้องกับภูมปิ ญั ญาไทย บง่ ช้ี บง่ ชี้ บ่งช้ี บง่ ชี้
3.2 สามารถบอกภมู ิปญั ญาไทยในทอ้ งถ่นิ ได้
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
3.3 มสี ว่ นร่วมในการสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาไทย
ข้อ 8. มีจติ สาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมหรอื
สถานการณ์ทีก่ ่อให้เกดิ ประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน ชมุ ชน และสังคม ด้วยความเต็มใจกระตอื รือร้น โดยไม่
หวังผลตอบแทน
ตวั ชว้ี ัด/พฤติกรรมทบี่ ง่ ช้ี เกณฑ์การให้คะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยยี่ ม ( 3 )
1.ช่วยเหลือผ้อู ื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวงั มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม
ผลตอบแทน บ่งช้ี บ่งชี้ บ่งชี้ บง่ ชี้
1.1 ชว่ ยเหลือพอ่ แม่คุณครแู ละผู้อน่ื ในการทางาน
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
1.2 แบ่งปันส่ิงของให้กบั ผ้อู น่ื ท่ขี าดแคลน
1.3 อาสาทางานชว่ ยคิดช่วยทาดว้ ยจิตใจท่ีไม่หวงั ผลตอบแทน
1.4 แสดงความเห็นอกเหน็ ใจและใหก้ าลังใจต่อผู้อน่ื
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 36 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตัวชี้วดั /พฤตกิ รรมทีบ่ ่งชี้ ไมผ่ ่าน ( 0 ) เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดีเยย่ี ม ( 3 )
2.เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี นชมุ ชน ไมม่ พี ฤตกิ รรม ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) มพี ฤตกิ รรม
และสงั คม บง่ ชี้ บง่ ช้ี
2.1 เขา้ รว่ มกจิ กรรมบาเพ็ญประโยชนท์ ่ีทางโรงเรียนจัดข้นึ มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม
2.2 ดแู ลรกั ษาความสะอาดห้องเรยี นและโรงเรียนของตนเอง บ่งช้ี บ่งชี้ 3 รายการ
2.3 ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
1 รายการ 2 รายการ
ข้อ 9. ลกู ทด่ี ขี องพ่อ-แม่ หมายถึง ลูกท่ีดีเคารพเชือ่ ฟังและกตัญญกู ตเวทีตอ่ พอ่ แม่
ผู้ปกครอง และรกั ษาช่อื เสียงของวงศต์ ระกลู
ตวั ชีว้ ัด/พฤตกิ รรมทบี่ ่งชี้ เกณฑก์ ารให้คะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )
1.เป็นลูกที่ดตี อ่ พ่อ แม่ และผปู้ กครอง มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
1.1 รกั และเคารพเชอ่ื ฟังคาสัง่ สอนของพ่อแมแ่ ละ บ่งช้ี บง่ ช้ี บ่งชี้ บง่ ชี้
ผปู้ กครอง
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
1.2 ดูแลช่วยเหลือกจิ ธุระตามกาลังและความสามารถของตน
1.3 ประพฤตติ นให้เปน็ ลกู ท่ดี ี ไมน่ าความเส่ือมเสียมาสู่
วงศต์ ระกลู
1.4 แสดงความกตญั ญูกตเวทตี ่อพอ่ แม่และผปู้ กครองตาม
โอกาสอันควร
ขอ้ 10. นกั เรียนทีด่ ขี องโรงเรยี น หมายถงึ นกั เรยี นเคารพและเช่ือฟงั ปฏิบตั ติ าม
กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ของโรงเรียน
ตวั ชีว้ ดั /พฤติกรรมทบี่ ง่ ชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยี่ยม ( 3 )
1.เคารพและเชื่อฟงั ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบข้อบงั คับของ มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
โรงเรียน บง่ ช้ี บง่ ช้ี บ่งช้ี บง่ ช้ี
1.1 เคารพและปฏิบัตติ ามกฎระเบียบและรักษาชือ่ เสียง
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4-5 รายการ
ของโรงเรียน
1.2 เคารพและเชือ่ ฟงั คาสัง่ สอนของคณะเซอร์และคุณครู
1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆของโรงเรียนดว้ ยความเตม็ ใจ
1.4 ดแู ลรักษาสาธารณสมบัตขิ องโรงเรยี น
1.5 ชว่ ยกนั สอดสอ่ งดแู ลความปลอดภัยภายในบริเวณ
โรงเรยี น
ข้อ 11. บาเพญ็ ประโยชนต์ ่อสังคม หมายถึง ชว่ ยเหลอื ผอู้ ืน่ หรือมีส่วนร่วมที่แสดงถึงความ
รับผดิ ชอบในฐานะของสมาชิกท่ดี ขี องสังคม
ตวั ชว้ี ัด/พฤตกิ รรมที่บง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )
1.1.ช่วยเหลือผอู้ ่ืนหรือมีสว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อสังคม มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม
1.1 ชว่ ยเหลือผูอ้ ืน่ และผ้ดู ้อยโอกาสอยา่ งเตม็ ใจ บง่ ช้ี บง่ ชี้ บง่ ช้ี บง่ ช้ี
1.2 ปฏิบัตติ นเป็นประโยชนต์ ่อสังคม
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
1.3 ปฏิบัติตามกฎระเบยี บของสงั คม
1.4 รว่ มกจิ กรรมกบั สงั คมในโอกาสอันควร
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 37 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ข้อ 12. จติ แหง่ รักและเมตตา หมายถงึ การมีลกั ษณะหรือพฤติกรรมที่เอ้ืออาทรทง้ั ตอ่
ตนเองและผูอ้ ื่นมีความคดิ อภัยดว้ ยใจท่ีเป็นมติ ร เหน็ ใจและอยากชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนอยู่เสมอ
ตัวช้ีวดั /พฤติกรรมท่ีบง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยยี่ ม ( 3 )
1.มคี วามเออ้ื อาทรตอ่ ผู้อ่นื ไม่มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
1.1 มนี า้ ใจชว่ ยเหลอื ผูอ้ น่ื ด้วยความเต็มใจ บง่ ชี้ บ่งช้ี บ่งชี้ บง่ ช้ี
1.2 รู้จักแบ่งปันสิง่ ที่ตนมีแกผ่ ู้อืน่
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
1.3 ทาบุญตามโอกาสอนั ควร
2.มีความคิดอภยั ดว้ ยใจที่เปน็ มติ ร มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
2.1 ใหอ้ ภัยไม่แกแ้ คน้ และผกู ใจเจบ็ ตอ่ ผอู้ ืน่ ท่สี านกึ ผดิ บง่ ชี้ บ่งชี้ บง่ ช้ี บ่งช้ี
2.2 ไมซ่ า้ เตมิ ผู้อื่นเมื่อผดิ พลั้ง
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
2.3 มีความปรารถนาดตี ่อผู้อื่น และให้โอกาสผอู้ ่ืนกลับตัวใหม่
2.4 คนื ดดี ว้ ยความเตม็ ใจ และรจู้ กั ขอโทษเมอื่ รวู้ า่ ตนเอง
ไดก้ ระทาผดิ
3.เห็นใจและอยากชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืนอยู่เสมอ มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม
3.1 ชว่ ยหาทางออกทีถ่ กู ตอ้ งแก่เพ่ือนทีก่ าลังเดือดรอ้ น บง่ ช้ี บง่ ชี้ บ่งช้ี บง่ ช้ี
3.2 ยนิ ดีเมือ่ ผูอ้ น่ื มคี วามสขุ และมใี จสงสารผทู้ ีเ่ ป็นทุกข์
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4-5 รายการ
3.3 มองเหน็ ความต้องการของผู้อน่ื และช่วยเหลอื จนสดุ
ความสามารถ
3.4 ไมเ่ อาเปรยี บและเบียดเบียนผอู้ ่นื
3.5 ปฏิบัตติ ่อผู้อืน่ โดยไมเ่ ลือกทีร่ กั มักท่ีชงั
ขอ้ 13. สามัคคีเปน็ หน่งึ เดยี ว หมายถึง ความร่วมมือสมคั รสมานสามัคคี และเอาใจเขามา
ใสใ่ จเรา
ตวั ช้วี ดั /พฤติกรรมทีบ่ ่งช้ี เกณฑก์ ารให้คะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ย่ียม ( 3 )
1.มีความร่วมมือสมัครสมานสามคั คี มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
1.1 เป็นผปู้ ระสานความสามคั คีในหมูค่ ณะ รกั หมคู่ ณะ บ่งชี้ บง่ ชี้ บ่งช้ี บง่ ช้ี
1.2 รว่ มแรงร่วมใจมีใจหวงั ดีและช่วยเหลอื เก้ือกลู ในทางทถ่ี ูก
1 รายการ 2-3 รายการ 4-5 รายการ 6-7 รายการ
1.3 ไมแ่ บง่ พรรคแบ่งพวกและทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้
1.4 มีใจเปน็ ธรรมในการตดั สนิ ปัญหา
1.5 รจู้ กั เลอื กทาในสิ่งท่ีดแี ละหลกี เล่ยี งในสงิ่ ท่ไี มด่ ี
ตัดสนิ ใจดว้ ยเหตผุ ลท่ถี ูกที่ควร
1.6 รู้จักใหเ้ กยี รตผิ ู้อน่ื เปน็ ผ้สู ร้างบรรยากาศแห่งความ
สมานฉนั ท์
1.7 มีหวั ใจท่เี ปิดกวา้ งในการตอ้ นรับผอู้ ื่นพรอ้ มรบั
เหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ดว้ ยใจสงบ
2.เอาใจเขามาใส่ใจเรา มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม
2.1 เข้าใจและมองคนอื่นในแงด่ อี ยู่เสมอและเคารพความ บ่งชี้ บง่ ชี้ บ่งช้ี บ่งชี้
แตกต่างระหว่างบุคคล
1 รายการ 2 รายการ 3-4 รายการ 5-6 รายการ
2.2 อาทรตอ่ ความรสู้ กึ ผอู้ ื่นและชืน่ ชมในความสาเรจ็ ของผอู้ ืน่
2.3 เปดิ โอกาสให้แกค่ นอ่ืนก่อนและรับฟังความคดิ เห็นของ
ผู้อ่นื
2.4 รจู้ กั ยอมรับเม่ือตนเองกระทาผดิ และร้จู กั ควบคุมอารมณ์
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 38 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ตวั ช้วี ดั /พฤติกรรมท่ีบง่ ช้ี ไม่ผ่าน ( 0 ) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดเี ย่ยี ม ( 3 )
ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 )
2.5 ไม่ทาใหใ้ ครเสยี ใจไม่ทารา้ ยจติ ใจใครอยกู่ ับทุกคนได้ มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม
อย่างมีความสขุ บ่งชี้ มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม บง่ ช้ี
2.6 รจู้ ักขอบคุณเม่อื ไดร้ บั รู้จกั ขอโทษเม่อื กระทาผดิ บ่งชี้ บง่ ชี้
3.มีความมนั่ คงทางอารมณ์ 1 รายการ 4 รายการ
3.1 มีความสุขมุ เยอื กเย็นมีความเกรงอกเกรงใจตอ่ ผูอ้ ่นื 2 รายการ 3 รายการ
3.2 ปฏบิ ัตติ อ่ ผู้อื่นด้วยความอ่อนโยน
3.3 มีศกั ดศ์ิ รใี นตนเองไมย่ อมเอาเปรียบใคร
3.4 ไมพ่ ดู จาโอ้อวดหรอื ขม่ ผูอ้ น่ื
การสอื่ สารระหวา่ งบา้ นและโรงเรยี น
1. การติดต่อกบั ครูประจาช้นั /ครูประจาวชิ า/ 2. การตดิ ต่อกับทางโรงเรยี น
หวั หนา้ ระดับ/หวั หน้าชว่ งชัน้ ผูป้ กครองสามารถ
ติดตอ่ โดยผา่ นช่องทาง ดังตอ่ ไปน้ี ติดต่อด้วยตนเอง ผู้ปกครองสามารถติดต่อ
ได้ท่ีประชาสัมพันธ์โรงเรียน ตั้งแต่เวลา
การติดต่อทางโทรศัพท์ ผู้ปกครองที่มีความ 07.30–17.00 น. วนั จันทร์ – วันศุกร์ ยกเวน้
ประสงค์พบ หรือโทรศัพท์โดยตรงกับคุณครู วนั หยดุ ราชการและวันนกั ขัตฤกษ์
ประจาช้นั ครูประจาวชิ า
ระดับปฐมวัย ช่วงเวลา 12.00 - 13.20 น. ติดต่อทางโทรศัพท์ และโทรสาร โทร. 0-
และ 16.00 - 17.00 น. 2980-8528-34 โทรสาร 0-2980-8535
ระดับประถม ช่วงเวลา 11.45 - 12.15 น.
และ 16.00 - 17.00 น. ติดต่อทางไปรษณยี ์ โรงเรียนเซนต์ฟรังซสี เซ
ระดับมัธยม ช่วงเวลา 12.40 - 13.15 น. เวีร์ เลขท่ี 39/4 หมู่ 6 ถนนแจ้งวัฒนะ ตาบล
และ 16.00 - 17.00 น. บ้านใหม่ อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
รหสั ไปรษณีย์ 11120
ไดอารี่ เป็นสมุดส่ือสารระหว่าผู้ปกครองกับครู
ประจาชั้น ที่บันทึกเก่ียวกับพฤติกรรมต่างๆ ตดิ ตอ่ ทาง Website และ E-mail ของทาง
ของนักเรียนท่ีเกิดขึ้นภายในโรงเรียน โดย โรงเรียน URL : www.stfx.ac.th
นักเรียนเป็นผู้บันทึกเอง และส่งให้ผู้ปกครอง E-mail : [email protected]
รบั ทราบในวนั ศกุ ร์
สมุดจดการบ้าน เป็นการสื่อสารระหว่าง
ผู้ปกครองกับครูประจาชั้นต่อเนื่องเป็นประจา
ทุ ก วั น ใ น ก า ร ดู แ ล ก า ร บ้ า น แ ล ะ ค ว า ม
รับผิดชอบของนกั เรยี นในห้องเรียน
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 39 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 40 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ภารกจิ หนา้ ท่ขี องคณุ ครู
โรงเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์
เวลาปฏบิ ตั ิงาน เวลา 07.30 – 17.00 น. เรยี บรอ้ ยไม่เสยี งดัง (หมายเหตุ ป.1-ป.4 นาแถว
1. โรงเรียนเปิดทาการสอน เวลา 07.30 น. ครูต้อง นักเรยี นพักทานอาหารวา่ งเชา้ ด้วย)
มาถึงโรงเรียนกอ่ นโรงเรยี นเขา้ 15 นาที และต้อง 4. ภาคบ่าย นาแถวนักเรียนข้ึนอาคารเรียน ครู
แสกนลายนิ้วมือพร้อมลงลายมือชื่อในการ ประจาช้ันและครูประจาวิชาจะต้องรอนักเรียนท่ี
ปฏบิ ตั งิ านด้วยตนเองทุกครั้งก่อนปฏิบัตงิ าน และ หน้าห้องเรียนและใต้อาคารเรียนก่อนสัญญาณ
กลบั หลังเวลาเลิกเรียน เวลา 17.00 น. อยา่ งน้อย เพลงเรียกเข้าแถวดังขึ้น 5 นาที พร้อมท้ังให้
15 นาที และต้องไปลงลายมือชื่อเวลากลับทุก นักเรียนเข้าแถวใหเ้ ป็นระเบียบเรียบรอ้ ยก่อนเข้า
ครัง้ ห้องเรียน ทาความเคารพครูทีละคู่โดยการไหว้
2. โรงเรียนกาหนดให้ครูช่วยทางานของโรงเรียน อย่างถกู ต้องสวยงาม
นอกเหนือเวลาสอนระหว่างเวลาหยุดประจาภาค 5. ในกรณีเข้าแถวเพื่อไปเรียนวิชาในห้องปฏิบัติการ
หรือวันหยุดอื่นๆ ได้ โดยหมุนเวียนกันปฏิบัติ หรือนอกห้องเรียนให้ครูประจาวิชาเป็นผู้นา
หน้าที่ตามความเหมาะสมและเร่งด่วนของงาน นักเรียนไปและส่งกลับทุกครั้ง เพื่อไม่ให้รบกวน
นกั เรียนทก่ี าลังเรียนในห้องทเ่ี ดินผ่าน
ตามสถานการณ์
3. โรงเรียนกาหนดให้ครูผลัดเปล่ียนกันทาหน้าที่ครู 6. ถ้านักเรียนต้องไปเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในห้อง
เวรในเวลาเช้าก่อนเข้าเรียน ระหว่างพักกลางวัน ประชมุ กลางสนาม ใตอ้ าคารเรียน ให้ครทู ุกคนท่ี
มีส่วนร่วมช่วยดูแล ทั้งครูประจาชั้นและประจา
และเวลาหลังเลิกเรียนได้
4. โรงเรียนกาหนดให้คณะกรรมการประเมิน วิชารบั ผดิ ชอบดูแลนกั เรยี นตลอดกจิ กรรม
คุณภาพภายใน ติดตามเก็บรวบรวมข้อมูล
โครงการหลังจากเสรจ็ สน้ิ กิจกรรมตา่ งๆ หลังการ การรบั ประทานอาหาร
ปฏิบัติ 2 สัปดาห์ เพ่ือเตรียมความพร้อมสาหรับ ครูประจาวิชา/ครูประจาชั้นที่สอนคาบเรียน
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ก่อนรับประทานอาหาร มีหน้าที่พานักเรียนเดินแถว
มาโรงอาหาร พร้อมทั้งดูแลนักเรียนระหว่าง
การคมุ แถวนักเรยี น รบั ประทานอาหารเรียบรอ้ ยแล้วจงึ ไปปฏิบัติงานอนื่ ๆ
1. ตอนเชา้ เคารพธงชาติ ครูประจาชั้นและครูคู่ช้ัน
ทุกท่านจะต้องมารอนักเรียนท่ีบริเวณเข้าแถว การรักษาความสะอาด
ก่อนสัญญาณเพลงเรียกแถวขึ้น 5 นาที และเมื่อ 1. ครูพึงระลึกเสมอว่า ครูเป็นแบบฉบับที่ดีของ
สัญญาณเพลงเรียกแถวจบ ครูจะต้องให้แถวอยู่ นักเรยี นในการรกั ษาความสะอาดทุกวนั
ในความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย
2. หม่ันรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ
2. ครูทุกคนสารวมเวลาเคารพธงชาติ และประนม เรียบร้อยบริเวณที่ครูปฏิบัติงาน เก็บของเข้าโต๊ะ
มือเวลาสวดภาวนา หลังสวดภานา ดูแลนักเรียน ตู้ และช้นั วางหนังสอื ใหเ้ รียบรอ้ ยเสมอ
เดินเข้าห้องเรยี น พรอ้ มท้งั ทาความเคารพครูทีละ 3. ช่วยกันรักษาความสะอาดในบริเวณห้องพักครู
คูโ่ ดยการไหว้อยา่ งถูกต้องสวยงาม
และบรเิ วณหน้าหอ้ งพกั ครู
3. กลางวัน นาแถวลงมาทานอาหาร ครูประจา 4. ไม่อนุญาตให้ครูนาอาหารและเคร่ืองดื่มทุกชนิด
วิชาทั้งทุกระดับชั้นต้องนานักเรียนลงมา เข้ามาบริโภคในห้องพักครู ห้องปฏิบัติการต่างๆ
รับประทานอาหารกลางวันให้เป็นระเบียบ เพ่อื เปน็ แบบอย่างที่ดใี ห้แก่นกั เรยี น
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 41 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
การรว่ มกจิ กรรม 3. ในกรณีมีค่าใชจ้ า่ ยใหห้ วั หน้ากลุ่มสาระฯ สามารถ
เบิกค่าใช้จ่ายโดยแนบแบบอนุญาตส่งบุคลากร
1. ครูเขา้ รว่ มกิจกรรมพิเศษทุกครั้งท่ีทางโรงเรียนจัด เข้าร่วมการประชุม/อบรม/สัมมนานอกสถานที่
ขึ้นด้วยความรับผดิ ชอบ และกระตอื รอื รน้ เสนอฝา่ ยบคุ ลากร
2. ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ด้วยความเต็มใจอย่าง
เต็มที่ไม่ว่ากิจกรรมน้ันจะอยู่ในเวลาเรียนหรือ
นอกเวลาเรียน เพื่อให้กิจกรรมเหล่านั้นบรรลุ การปฏิบัตหิ นา้ ที่ดูแลความเรยี บร้อย
เป้าหมาย และประสบความสาเร็จ ดแู ลความเรียบร้อยบริเวณประตโู รงเรียน
การรบั งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย เชา้ ครปู ฏิบัตหิ นา้ ที่ ตั้งแตเ่ วลา 06.30-07.45 น.
หน้าท่ี : ให้นักเรียนทาความเคารพคุณครูเวรประตู
1. คณะเซอร์ หัวน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสารฯ หัวหน้า และนักบุญอย่างสวยงาม สอดส่องดูแลไม่ให้นักเรียน
งาน สามารถมอบหมายงานอ่ืนๆ นอกเหนือจาก ออกนอกบรเิ วณโรงเรียนโดยเด็ดขาด
งานสอน และงานหนา้ ทป่ี ระจาให้ทาได้ เย็น ครปู ฏบิ ัติหน้าที่ ต้งั แตเ่ วลา 16.00-18.00 น.
2. ครูปฏิบัติงานงานท่ีได้รับมอบหมายด้วยความ หน้าที่ : ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความเข้มแข็ง ตรวจบัตร
ขยันขันแข็ง ด้วยจิตสานึกแห่งความรับผิดชอบ นักเรียน ผู้ปกครองเข้าออก อย่างสม่าเสมอ ไม่ปล่อย
อย่างเต็มท่ีมีการวางแผนดาเนินการ ประเมินผล ปละละเลยในการปฏิบัติหนา้ ทเี่ วรประตู
และรายงานผลหลงั เสรจ็ ภาระทุกครงั้ การตรวจบตั ร
3. ครูควรนาผลการประเมินงานครั้งที่ผ่านมา เพื่อ 1. บัตรรับนักเรียนของผู้ปกครอง สีชมพู ทุกคนท่ี
ศึกษาขั้นตอนต่างๆ ก่อนลงมือปฏิบัติงานครั้ง เข้ามารับนักเรียนให้ตรวจก่อนเข้ามาภายใน
ต่อไปอย่างรอบคอบ และประเมินเปรียบเทียบ บรเิ วณโรงเรยี น
การทางานเพ่ือพัฒนาต่อไป 2. บัตรอนุญาตกลับบ้านด้วยตนเอง ให้ตรวจก่อน
ออกบริเวณโรงเรียนเพื่อแสดงสิทธ์ิว่านักเรียน
การเขา้ ร่วมประชุม สามารถกลับบ้านด้วยตนเองได้ ถ้านักเรียนไม่มี
1. ครูทุกท่านต้องเข้าประชุมครู ตามท่ีทางโรงเรียน บัตรแสดงสิทธิ์ในการกลับบ้านด้วยตนเอง ครูเวร
ประตูต้องให้นักเรียนเซ็นช่ือกับครูเวรประตู แล้ว
ได้กาหนด ขึ้นไม่ว่าจะเป็นการประชุมครู จึงออกนอกโรงเรียนได้ ดังนี้
ประจาเดือน การประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้
ระดบั ชั้น ป.5 – ป.6 บตั รสฟี า้
หรอื การประชมุ ตามสายงานทก่ี าหนดไว้
ระดบั ชนั้ ม.1 – ม.3 บัตรสีเขยี ว
2. ครูต้องให้ความสนใจ และให้ความร่วมมือปฏิบัติ ระดับชน้ั ม.4 –ม.6 บัตรสเี หลือง
ตามข้อตกลงมติ หรือข้อเสนอแนะของท่ีประชุม
ด้วยความพร้อมเพรียงกันและกระตือรือร้นต่อ เวรประจาจดุ ต่างๆ
กลางวนั ครปู ฏบิ ตั หิ นา้ ทีต่ ามตารางพกั ท่ีกาหนดให้
งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
หน้าที่ :
การเข้าอบรม/สมั มนา (นอกสถานท่ี) - เดินดูความเรียบร้อยในบริเวณท่ีครูรับผิดชอบ
อย่างเครง่ ครัด
1. ครูขอแบบอนุญาตส่งบุคลากรเข้าร่วมการ
ประชุม/อบรม/สัมมนานอกสถานที่ โดยหัวหน้า - ดูแลเรอ่ื งความสะอาด,การเก็บภาชนะ
กลุ่มสาระฯ เป็นผู้ขออนุญาตพร้อมทั้งนาส่งแบบ - ตักเตือนนักเรียนที่นาเครื่องด่ืม อาหาร ขนม
ขออนญุ าตทฝ่ี ่ายบุคลากรและฝา่ ยวชิ าการ
ออกมารับประทานภายนอกโรงอาหาร และ
2. กรุณาแจง้ ธุรการ-สารบรรณ ทกุ คร้ังท่ไี ดร้ ับอนุมัติ นกั เรียนท่ีเลน่ ผาดโผนซง่ึ อาจเกดิ อนั ตรายได้
เข้าอบรม/สัมมนา พร้อมหนังสือเข้าอบรม เพ่ือ - สอดส่องดูแลบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาภายใน
ขอเลขทคี่ าสั่ง ในการพิมพค์ าส่ังแตง่ ต้ังเข้ารับการ บริเวณโรงเรียน และหากมีข้อสงสัยให้ใช้การ
อบรม/สมั มนาน้นั ๆ ตอ่ ไป ซักถาม เพื่อความปลอดภัยของนกั เรียน และครู
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 42 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ขน้ั ตอนของการแลกเปลย่ี นเวร 4. งานอื่นท่เี กี่ยวข้องกบั ข้อสอบ เชน่ แบบบนั ทึกผล
1. ครูเวรประตูที่ไม่สามารถมาปฏิบัติหน้าท่ีได้ ด้วย การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา สมุดรายงาน
เหตุฉุกเฉิน ขอให้ครูแจ้งผู้ตรวจเวรทราบด้วย สมุดประเมินผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู
ตนเองหรือทางโทรศัพท์ ท้ังในกรณีท่ีให้ครูท่าน ต้องทาด้วยสะอาดเรียบร้อย รอบคอบ ถี่ถ้วน
อน่ื ยืนแทนและไม่สามารถหาครูเวรแทนได้ และส่งตรงตามเวลาท่แี ผนกวดั ผลกาหนด
2. การเปล่ียนเวรประตูทุกครั้ง ขอให้เป็นเหตุผลท่ี
สุดวิสัย ขอให้ครูผู้ปฏิบัติหน้าที่เวรแจ้งให้ผู้ตรวจ การคุมสอบและการจาหน่ายขอ้ สอบ
เวรรับทราบเสยี ก่อน จึงจะทาการแลกเปลี่ยนเวร 1. ครูผู้คุมสอบตรวจสอบความเรียบร้อยของห้อง
ได้ ท้ังน้ี เพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ สอบให้เรียบรอ้ ยกอ่ นนานกั เรียนเขา้ หอ้ งสอบ
ดแู ลนักเรียนบริเวณประตโู รงเรียน 2. นาแถวนักเรียนข้ึนห้องสอบ ให้นักเรียนเตรียม
3. ถ้าครูผู้รับแลกเวรประตูไม่มาปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ี บัตรประจาตัวนักเรียน อุปกรณ์ท่ีใช้ในการสอบ
แลกเวรไว้ ครูผู้แลกเวรและครูผู้รับแลกเวร เรียงกระเป๋าหนังสือไว้หน้าห้องสอบอย่างเป็น
จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน โดยการยืนเวรประตู ระเบียบเรียบร้อย พร้อมยืนเข้าแถวเรียงตาม
ชดเชย 1 วัน และบันทึกไว้เป็นหลักฐานท่ีห้อง เลขที่ของแต่ละชั้นเรยี นให้เรยี บรอ้ ย
รักษาระเบียบวนิ ยั 3. ตรวจบัตรประจาตัวนักเรียนก่อนเข้าห้องสอบท้ัง
4. ในกรณที ่ีครูไมแ่ ลกเวร และไม่มาปฏบิ ัตหิ น้าที่ ครู ภาคเช้าและภาคบ่าย อนุญาตให้นาเฉพาะ
จะต้องยืนเวรประตูชดเชย 1 วัน และบันทึกไว้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบเท่านั้นเข้าไปในห้องสอบ
เปน็ หลกั ฐานที่หอ้ งรักษาระเบยี บวินัย และไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้นาฬิกาท่ีเป็นเครื่อง
คิดเลขเขา้ มาในห้องสอบ
การออกข้อสอบ 4. ครูคุมสอบแจกข้อสอบและเก็บกระดาษเรียงตาม
1. ครูออกข้อสอบให้ตรงตามที่กาหนดไว้ ใน เลขที่พร้อมทั้งตรวจดูให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล
กาหนดการสอน และต้องเป็นข้อสอบท่ีมี และเลขที่ ให้ครบทุกแผน่ ในกระดาษคาตอบ
ประสทิ ธภิ าพครอบคลุมเน้ือหาตรงตามมาตรฐาน 5. เก็บกระดาษคาตอบ แยกกับตัวข้อสอบทุกครั้ง
ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ และส่งข้อสอบท่ีออกตรง และให้เรียงตัวข้อสอบตามหมายเลขข้อสอบ
ตามเวลาท่ีกาหนดให้กับหัวหน้ากลุ่มสาระการ 6. การเฝ้าห้องสอบ ให้ยืนหน้าห้องสอบ และหลัง
เรียนรู้ เพื่อตรวจทานและเลือกข้อสอบที่ได้รับ ห้องสอบตลอดการสอบ ไม่ทางานใดๆ ทั้งส้ิน
การพิจารณา แล้วส่งที่หัวหน้าฝ่ายวิชาการเพ่ือ ขณะคุมสอบ และไม่เดินขณะเฝา้ สอบ
พิจารณาอนมุ ัตใิ หด้ าเนนิ การตามข้ันตอนต่อไป 7. ถ้าขอ้ สอบมปี ัญหา ไม่มกี ารแก้ข้อสอบใดๆ ท้งั สนิ้
2. ผู้ทาหน้าท่ีออกข้อสอบ พิมพ์ข้อสอบ และจัดทา ใหน้ กั เรยี นทาตามข้อสอบที่เปน็ อยู่
ข้อสอบจะต้องทาด้วยความซ่ือตรง ถือเป็น 8. ไม่อนุญาตให้นักเรียนนาข้อสอบออกนอกห้อง
ความลับอย่างเคร่งครัดและไม่นาข้อสอบออกไป สอบ ถ้ามีนักเรียนจะต้องไปทาธุระส่วนตัวที่
เผยแพร่ไม่ว่ากรณีใด ถ้าละเมิดไม่ว่าด้วยวิธีการ ห้องน้าให้นักเรียนคนน้ันส่งกระดาษคาตอบก่อน
ใด ถือเป็นความผิดต่อจรรยาบรรณวิชาชีพที่ จึงให้ออกไป และไม่อนุญาตให้ทาข้อสอบต่อเมื่อ
ร้ายแรงถึงข้ันต้องให้ออกจากโรงเรียน โดยไม่มี นกั เรียนผนู้ น้ั กลับเข้าหอ้ งสอบ
เง่อื นไข 9. กรณีท่ีมีนักเรียนทุจริตในการสอบให้ครูเฝ้าสอบ
3. ครูผู้ทาหน้าท่ีตรวจข้อสอบจะต้องตรวจข้อสอบ เขียน “0” ด้วยปากกาสีแดง ท่ีกระดาษคาตอบ
และทาคะแนนให้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ทันที และใหท้ ้ังครูคุมสอบและนักเรียนผู้ทุจริตลง
ด้วยความละเอยี ด และรอบคอบให้เสรจ็ ตามเวลา ช่ือกากับบนหน้ากระดาษคาตอบน้ัน แล้วส่ง
ท่ีกาหนด และปฏิบัติตามขั้นตอนของการทา นักเรียนท่ีทุจริตไปที่ฝ่ายวิชาการ เพ่ือพบครูฝ่าย
วิชาการ เพอ่ื ดาเนินการขั้นตอนต่อไป
คะแนนตามที่กาหนดไวอ้ ย่างเครง่ ครัด
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 43 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
10. ให้ครูปล่อยนักเรียนตามเวลาท่ีกาหนดไว้ใน
ตารางสอบ เม่ือเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวันให้
กเรียนออกมาเข้าแถวหน้าห้องสอบ ครูนา
นักเรียนลงมาส่งด้านล่าง และให้นักเรียนทาเวร
ปดิ ไฟ ปิดแอร์ และจดั หอ้ งสอบให้เรยี บรอ้ ย
11. วันสุดท้ายของการสอบให้ครูคุมสอบเก็บกระดาษ
ทกุ ชนดิ อุปกรณ์ตา่ งๆ พร้อมทง้ั เก็บโต๊ะ เก้าอ้ี ไว้
ด้านหลังห้อง โดยแยกโตะ๊ เก้าอีท้ ี่ชารดุ ไวต้ ่างหาก
ข้อปฏบิ ตั กิ ารลาของครู
1. การลาปว่ ย แบ่งออกเปน็ 2 กรณีคอื 4. การลาอปุ สมบท หรอื ประกอบพธิ ีฮจั จ์
1 การลาเจ็บป่วยธรรมดา ลาได้ไม่เกนิ 15 วัน คุณครูสามารถลาได้ไม่เกิน 120 วัน
ในกรณีลาติดต่อกันเกนิ 3 วัน โรงเรียนจะ เฉพาะครูท่ีไม่เคยอุปสมบท และได้ทาการสอนใน
ขอให้คุณครูนาใบรบั รองแพทย์ที่โรงพยาบาล โรงเรียนมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี และต้องแจ้งให้
ของรัฐออกให้มายืน่ ประกอบการลาดว้ ย ผู้อานวยการโรงเรียนทราบล่วงหน้า เป็นลาย
ลักษณ์อักษรก่อนอย่างน้อย 3 เดือน เพื่อสารองครู
2 การลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ให้ลาได้ ไว้ทาหน้าท่ีแทนครูต้องยื่นใบลาอุปสมบท หรือ
ไม่เกิน 60 วัน การลาป่วย ครูผู้ลาต้องทาการ ประกอบพิธีฮัจจ์ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 เดือน ใน
แ จ้ ง ใ ห้ ท า ง โ ร ง เ รี ย น ท ร า บ ทั น ที โ ด ย ท า ง กรณีท่ีทางโรงเรียนยังไม่สามารถหาครูไว้แทนได้
โทรศัพท์ 0-2980-8528-32 และควรแจ้งก่อน ผูจ้ ดั การมสี ทิ ธ์ยิ ับย้งั การลาไว้กอ่ น เพื่อให้อปุ สมบท
เวลาโรงเรียนเข้า เพื่อสะดวกในการจัดหาครู ในปตี ่อไป
สารองแทน เว้นแต่กรณีสุดวิสัยให้ส่งใบลาใน
วันแรกทกี่ ลับมาทางานต่อผ้อู านวยการ 5. การลาประชมุ
2. การลากิจ ครูที่จะขอลาไปประชุมทางวิชาการหรือ
ประชมุ อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับทางโรงเรียน ให้ทาเรื่อง
คุณครสู ามารถลาได้ไม่เกนิ 10 วนั /ต่อปี ขอลา และสับเปลี่ยนชั่วโมงสอนไว้ล่วงหน้า พร้อม
และตอ้ งย่ืนใบลาลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 1 วันในกรณที ี่ มอบตารางการสับเปลี่ยนช่ัวโมงให้ฝ่ายวิชาการ
มีความจาเป็น และไมส่ ามารถยื่นใบลาได้ทนั ตาม ก่อนวนั ไปประชุม
กาหนด ครูผู้ลาต้องแจง้ การลาโดยเร็วทีส่ ดุ ใน
ภายหลัง ขนั้ ตอนการขอลา
3. การลาคลอด 1. ขอรบั ใบลาได้ท่ีห้องธรุ การ-สารบรรณ/หอ้ ง
บุคลากร และใบแลกคาบท่ีห้องวิชาการ
การคลอดกรณีปกตใิ หล้ าคลอดได้ 1 เดือน
และในกรณีทผ่ี า่ ตัดใหล้ าได้ไม่เกนิ 45 วนั และตอ้ ง 2. ใหย้ ืน่ ใบลาดว้ ยตนเองทหี่ ้องอธิการ/ฝา่ ย
ยื่นใบลาล่วงหน้า หรือส่งภายในวนั คลอดในกรณที ่ี บุคลากร พร้อมใบแลกคาบ,ใบรับรองแพทย์
คลอดกะทนั หัน โดยยังไม่ไดแ้ จ้งลา ให้ยนื่ แจง้ ได้ (กรณปี ว่ ย)
ภายใน 3 วันหลังคลอด
3. ท่านอธิการเซน็ ใบลาแลว้ ให้นาสง่ ใบลาที่ห้อง
ฝา่ ยบุคลากรและส่งใบแลกคาบทห่ี อ้ งวิชาการ
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 44 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ขั้นตอนในการเบกิ สวสั ดกิ ารตา่ งๆ
กรณเี บกิ ค่ารกั ษาพยาบาล สวสั ดกิ ารโรงเรยี น การเบกิ คา่ การศกึ ษาบตุ ร
1. ขอรบั ใบเบิกค่ารักษาพยาบาลไดท้ หี่ ้องฝ่าย (เฉพาะครูทไี่ ดร้ ับการบรรจ/ุ แต่งตง้ั )
บุคลากรและประชาสัมพนั ธ์
คณุ ครูทุกทา่ นทมี่ สี ทิ ธิ์ในการเบกิ จะต้อง
2. ยน่ื ใบเบกิ ค่ารักษาพยาบาลพรอ้ มกบั ใบรบั รอง รวบรวมเอกสารคาร้องประกอบการเบิกส่งพร้อม
แพทยด์ ้วยตนเองท่ีห้องฝ่ายบุคลากร กนั ทหี่ อ้ งธุรการ- สารบรรณ ภายในเดือน
พฤศจิกายนของทุกปี
กรณขี อหนงั สอื สง่ ตวั เขา้ นอนรกั ษาที่
โรงพยาบาล (เฉพาะครทู ่ีได้รบั การบรรจุ/แตง่ ต้งั ) การเปลยี่ นแปลงสมดุ ประจาตวั ครู
1. ยืน่ คาร้องรบั รองการมีสิทธ์ิรับเงินค่า (เฉพาะครทู ไ่ี ด้รับการบรรจ/ุ แต่งตง้ั )
รักษาพยาบาลทห่ี ้องธุรการ-สารบรรณ พร้อม
ท้ังระบุ โรงพยาบาล, โรค,วนั ท่ีเข้ารับการ ยืน่ คาร้องขอเปล่ยี นแปลงสมุดประจาตัว
รักษา, ใบนดั ของแพทย์) ยนื่ คาร้องล่วงหนา้ 1 ครไู ดท้ ีห่ ้องธรุ การ-สารบรรณ ในกรณีดังต่อไปน้ี
สปั ดาห์ 1. เปลย่ี นคานาหนา้ /ชอ่ื /นามสกุล (สง่ สาเนาใบ
2. นาคารอ้ งไปยื่นทเี่ ขต 2 ด้วยตนเอง โดย เปล่ียนคานาหนา้ /ชอ่ื /นามสกุล จานวน 2 ชุด)
เจ้าหนา้ ท่ี เขต 2 จะออกหนงั สอื รับรองสิทธิ์ฯ 2. จดทะเบียนสมรส/หยา่ (สง่ สาเนาใบทะเบยี น
ให้ภายในวันเดียวกัน แล้วใหน้ าส่งหนังสอื
รบั รองสิทธฯิ์ กับโรงพยาบาลท่ที าการรักษาใน สมรส/หย่า จานวน 2 ชดุ )
วนั ทแี่ พทยน์ ัด 3. เพ่ิมบตุ ร (ส่งสาเนาใบสตู ิบัตร จานวน 2 ชุด)
4. ปรับวุฒิการศกึ ษา (สง่ สาเนาใบรบั รองวฒุ ิ
กรณเี บกิ สวสั ดกิ ารกบั สช.
การศกึ ษา/สาเนาใบปริญญาบัตร จานวน 2 ชุด)
(เฉพาะครทู ี่ไดร้ ับการบรรจ/ุ แตง่ ตงั้ ) 5. ขอใบแจง้ การเปลยี่ นแปลงได้ท่ีหอ้ งธรุ การ-สาร
1. สทิ ธ์ใิ นการเบิกค่ารักษาพยาบาลเบกิ ได้เฉพาะ บรรณ เพอ่ื เสนอเซน็ ต่อทา่ นอธกิ าร และหอ้ ง
ตนเอง 100,000 บาท/ปี (กรณมี ใี บเสร็จ) เบิก ธุรการ-สารบรรณ จะทาการเปลย่ี นแปลง
ได้เฉพาะโรงพยาบาลรฐั บาล ขอ้ มลู สมดุ ประจาตวั ครู (ทช.4) และเอกสาร
ของโรงเรยี นต่อไป
2. ขอรับแบบคาขอเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ที่ห้อง
ธรุ การ-สารบรรณ การขอรบั เงนิ คนื จากกองทนุ เลย้ี งชพี ครู (3%)
3. ยน่ื เอกสารประกอบการขอเบิกค่า (เฉพาะครทู ไ่ี ดร้ ับการบรรจ/ุ แต่งตงั้ )
รักษาพยาบาลด้วยตนเองทห่ี ้องธรุ การ-สาร
บรรณ ทุกวนั ที่ 20 ของเดือน ในกรณที ่ีคุณครูลาออก และประสงค์จะ
ทาเร่อื งขอรับเงินทนุ เล้ยี งชีพ (3%) คืน ใหค้ ณุ ครู
4. กรณีท่เี ป็นโรงพยาบาลของเอกชนเบิกได้กรณี ติดตอ่ ยน่ื ขอใช้สิทธิร์ บั เงินทนุ เล้ียงชีพตามท่ี
ประสบอบุ ัติเหตุร้ายแรง และอาจถงึ แก่ชีวติ ระเบยี บกาหนดไว้ ด้วยตนเองท่ีห้องธรุ การ-สาร
(เบิกได้บางสว่ น) และต้องมใี บรับรองแพทย์ บรรณ หลงั จากยื่นเรือ่ งลาออกแลว้ 15 วัน
5. ใบเสร็จค่ารกั ษาพยาบาลมีอายุ 1 ปี
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 45 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ขัน้ ตอนการเบกิ -จา่ ย...พัสดุ-ครุภณั ฑ์
การเบิก-จา่ ยพสั ดุ-ครุภัณฑ์ การแจง้ ซ่อมวสั ดุอปุ กรณ์
1. ครูเขียนใบเบิกของท่ีห้องพัสดุ-ครุภัณฑ์ (เฉพาะ 1. ครูเขียนใบแจ้งซ่อมวัสดุอุปกรณ์ที่ห้องพัสดุ-
หวั หน้ากลุ่มสาระฯ) ครุภัณฑ์
2. รอการอนุมตั ิ หัวหน้าฝา่ ยบรกิ ารการศกึ ษา 2. รอการดาเนนิ การซ่อมวสั ดุอุปกรณ์ ภายใน 3 วนั
3. เจา้ หน้าห้องพัสดุ-ครุภณั ฑ์ จัดของตามใบเบกิ ของ 3. ครูติดตามการซ่อม และตรวจสอบการใช้งานเมอ่ื
4. คุณครมู ารบั วัสดุอุปกรณ์ทห่ี ้องพสั ดุ-ครภุ ณั ฑ์ ซ่อมเรียบรอ้ ยแล้ว
การส่งั ซอื้ พัสดุ-ครภุ ัณฑ์ การเชค็ ทรพั ย์สนิ ประจาปี
1. ครเู ขียนใบขอส่ังซื้อท่ีห้องพัสดุ-ครภุ ัณฑ์ การเช็คทรัพย์สินประจาปี ของโรงเรียน
2. รอการอนมุ ัติ จากผูอ้ านวยการ ภายใน 2 วนั เซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ ทาการเช็คทรัพย์สินภาคเรียน
3. หัวหน้าบริการการศึกษา จดั ทาการสั่งซ้อื ของ ละ 1 ครง้ั คอื ภาคเรียนท่ี 1 เดือน ตุลาคม และ ภาค
4. ครูติดต่อรับวัสดุอุปกรณ์ที่ห้องพัสดุ-ครุภัณฑ์ เรียนที่ 2 เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ ของทกุ ปี
ภายหลงั จากวนั อนมุ ตั แิ ลว้
ขนั้ ตอนการขอใบขออนญุ าตตา่ งๆ
ขนั้ ตอนการขออนญุ าตนานักเรยี นไป ขน้ั ตอนการขอใบขออนญุ าตรบั รองการ
นอกสถานศกึ ษา ทางาน/เงนิ เดอื น
1. ครูขอใบขออนุญาตนานักเรียนไปนอ ก 1. ครขู อใบคาร้องได้ที่ห้องธรุ การ-สารบรรณ และ
สถานศึกษาได้ทห่ี ้องธรุ การ-สารบรรณ เสนอเซน็ ต่อทา่ นอธิการด้วยตนเอง
เพ่ือกรอกรายละเอียดและเสนอเซ็นต่อท่าน
อธิการ 2. สง่ ใบคาร้องท่ีห้องธุรการ-สารบรรณ เพอื่ ทา
ใบรับรอง และรอรบั ใบรับรองไดภ้ ายใน 3 วัน
2. เม่ือนานักเรียนไปนอกสถานศึกษาเรียบร้อย
ขัน้ ตอนการขออนญุ าตเบิกอาหาร-เครอื่ งดม่ื
แล้ว ให้ทาแบบรายงานสรุปการนานักเรียนไป
นอกสถานศึกษา ส่งที่ห้องธุรการ-สารบรรณ 1. ขอใบอนญุ าตได้ทหี่ ้องธรุ การ-สารบรรณ/หอ้ ง
ภายใน 3 วัน โภชนาการ และยื่นเสนอเซ็นไดท้ ี่หอ้ งธุรการ-
ขนั้ ตอนการขออนญุ าตใชร้ ถโรงเรยี น สารบรรณ
1. ครูขอรับแบบฟอร์มใบขออนุญาตใช้รถ 2. เมอ่ื เซ็นแล้วให้นาใบขอเบกิ อาหารสง่ ใหก้ บั ครู
ทรี่ ับผิดชอบ (กรุณาขอลว่ งหนา้ 3 วนั )
โรงเรียนได้ที่ หอ้ งธรุ การ-สารบรรณ เพือ่ กรอก
รายละเอียด ถ้าหากมีแผนที่การเดินทางให้ ขน้ั ตอนการขออนญุ าตเบกิ ใบวฒุ บิ ตั ร/ประกาศ
แนบไปด้วย และนาเสนอท่านอธิการเซ็น 1. ขอใบเบิกวฒุ ิบตั ร และรับวฒุ ิบัตรได้ทหี่ ้อง
อนุญาตลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 1 วนั
2. เมื่อท่านอธิการเซ็นอนุญาตแล้ว ให้นาส่งด้วย ธรุ การ-สารบรรณ
ตนเองที่ห้องโภชนาการ เพ่ือความสะดวกและ 2. ส่งใบเบกิ วฒุ บิ ัตรหอ้ งธุรการ-สารบรรณ
รวดเรว็ ในการจดั รถ 3. กรณที ่ีใหห้ ้องธรุ การ-สารบรรณพมิ พ์วฒุ ิบตั ร
ให้ ควรส่งรายละเอยี ด และไฟล์รายชอื่
ลว่ งหนา้ อย่างน้อย 3 วัน เพื่อความสะดวก
และรวดเรว็ ในการจดั พมิ พ์วฒุ ิบตั ร
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 46 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 47 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
พฤษภาคม 2560 May 2017
อา/Sun จ/Mon อ/Tue พ/Wed พฤ/Thu ศ/Fri ส/Sat
12 3 4 5วนั ฉตั รมงคล 6
7 89 10วนั วสิ าขบชู า 11 12 13
14 15 16 18 19 20
21 22 23 17 25 26 27
28 29 30 24
31
วดป รายการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
15 พ.ค.60 - ประชมุ ครเู ปดิ ปกี ารศึกษา 2560 ทกุ ฝา่ ย
16 พ.ค.60 - ปฐมนเิ ทศบคุ ลากรครใู หม่ ปกี ารศกึ ษา 2560 ทกุ ฝา่ ย
วิชาการ
17 พ.ค.60 - เปิดเรยี นภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 ครูปรีชา,ครนู ริศรา
- กิจกรรม กล่อมเกลาจิตใจ...ดว้ ยสายใยแห่งธรรม คร้ังที่ 1 ครฝู นั นภา,E.P.
17 พ.ค.60 - กิจกรรม ปฐมนเิ ทศ Walk Rally คร้งั ที่ 1 ครูกรรณกิ า,ครพู ัชรินทร์(อ)
- กิจกรรม บา้ นนม้ี รี ักและเมตตา ครง้ั ท่ี 1 งานอภบิ าล
17-23 พ.ค.60 ครอู เทตยา
18 พ.ค.60 - วจนพิธกี รรมเปดิ ปีการศึกษา 2560 ครูกรรณิกา,ครปู ระจาชน้ั ,E.P.
19 พ.ค.60 - กิจกรรม ศนู ยภ์ มู ิปญั ญาไทย ครกู รรณกิ า(ม)
22 พ.ค.60 - กจิ กรรม ซอ้ มหนีไฟ วิชาการ
22 พ.ค.60 - กจิ กรรม โลกนักคดิ ครปู ระจาชน้ั ป.5,ครูศิรธิ นา
- เริ่มกิจกรรม ศนู ย์สรา้ งสรรคจ์ นิ ตภาพ ครูฐิตารีย์
- กจิ กรรม ตารวจนอ้ ย ครูนุจะรี
ครูฉตั รฤดี
- เรม่ิ กจิ กรรม เซนต์ฟรงั ซสี ฯ...รกั ษส์ ะอาด ครูอรณิ ยา
- เริ่มกิจกรรม ศนู ยโ์ ลกอัจฉริยะ ครวู ิชุดา
- เริม่ กิจกรรม Creative Reading ครูฐติ ารยี ์
- เรม่ิ กจิ กรรม หอ้ งเรยี นเชงิ บวก จงรักษ์(บ),ครูอริษา
- กจิ กรรม สภุ าพบรุ ษุ ทดี่ ี สภุ าพสตรที ่ีน่ารกั E.P.
- กิจกรรม สง่ เสริมสขุ บัญญตั ทิ ี่ดี E.P.
ครูกรรณภรณ์
- ตรวจสขุ ภาพนักเรยี น ประจาปกี ารศกึ ษา 2560 ครูกรรณภรณ์
ครชู ตุ ิกาญจน์
- Parents’ Orientation G.1 ครูรัตตยิ า,ครูไพลนิ
- Parents’ Orientation G.7-G.9 ครพู ุทธชาต,ิ ครูภาวิณ,ี ครูสายรุ้ง
- เร่มิ กจิ กรรม ขมุ พลงั แหง่ ปญั ญา ครรู จุ ,ี ครนู ลนิ ภสั ร์
ครดู วงใจ
- เรม่ิ เรยี นพิเศษ E.P.
- เริ่มกิจกรรม ขมุ พลงั แห่งปัญญา
- กิจกรรม เซนตฟ์ รังซสี ฯ...รักษ์สะอาด
- กจิ กรรม หอ้ งเรียนเชิงบวก
- กจิ กรรม สภุ าพบรุ ษุ ทดี่ ี สุภาพสตรีที่นา่ รัก
- กจิ กรรม หอ้ งมรดกวฒั นธรรมไทย
- Little Treasure of Knowledge
ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 48 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
ว ด ป รายการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
22-31 พ.ค.60 - กิจกรรม ปฐมนเิ ทศการใช้หอ้ งสมดุ ครอู ิสรา,ครปู ุณยาภัสร์
23 พ.ค.60 - รับบัญชเี รยี กชอ่ื ประจาปกี ารศึกษา 2560 ครูกนิษฐา
29 พ.ค.60 - กจิ กรรม ห้องเศรษฐกิจพอเพียง ครูสรุ ีรตั น์
30-31 พ.ค.60 - กจิ กรรม กลอ่ มเกลาจิตใจ...ดว้ ยสายใยแห่งธรรม ครเู บญจพร
31 พ.ค.60 - กิจกรรม รณรงค์งดสูบบุหร่โี ลก
- ประชุมประจาเดอื น พฤษภาคม ครอู นนั ต,์ ครเู ศกสินธ์ุ
บันทกึ ครพู รภทั ร
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________________________________
ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 49 - ประจาปีการศกึ ษา 2560
บันทกึ การปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
บันทึก
2. จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี ครู
บนั ทึก
3. จรรยาบรรณต่อผู้รบั บริการ
บนั ทึก
4. จรรยาบรรณต่อผรู้ ว่ มประกอบวิชาชพี
บนั ทกึ
5. จรรยาบรรณตอ่ สังคม
บนั ทึก
ปฏิทินปฏิบัติงานครู ลงช่ือ ผู้บันทึก
( )
วันที่ เดอื น พ.ศ.
- 50 - ประจาปีการศกึ ษา 2560