The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปฏิทินปฏิบัติงานครู-ปี-63-รูปเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rung08thienprakob, 2022-05-04 03:04:23

ปฏิทินปฏิบัติงาน 63

ปฏิทินปฏิบัติงานครู-ปี-63-รูปเล่ม

ปฏทิ ินปฏบิ ตั งิ านครู
ประจาปกี ารศึกษา 2563

ขอ้ มลู ประจาตวั ครู

ชื่อ-สกลุ :

วัน เดือน ปเี กดิ : อายุ ปี

เลขทีใ่ บอนุญาตประกอบวิชาชีพครู :

วันออกบัตร วันหมดอายุ

ฝ่าย : กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ :

ตาแหนง่ :

สอนวิชา : ระดับชั้น :

ที่อยู่ปัจจบุ นั เลขที่ หมูท่ ี่ ตาบล/เขต

อาเภอ/แขวง จังหวดั

รหัสไปรษณยี ์ มอื ถอื

E-mail :

คตปิ ระจาใจ

ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานครู -1- ประจาปีการศกึ ษา 2563

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ยัง
ทรงตระหนักดีว่าการศึกษาของเยาวชน เป็นพื้นฐานอันสาคัญ
ของประเทศชาติ ดังที่พระราชทานพระราโชวาทเกี่ยวกับ
การศกึ ษาในวโรกาสต่างๆ อาทิ…

“การแบ่งการศึกษาเป็นสองอย่าง คือการศึกษา
วิชาการอย่างหนึ่ง วิชาการนั้นจะเป็นประโยชน์แกต่ ัวเอง และ
แก่บ้านเมือง ถ้ามาใช้ต่อไปเม่ือสาเร็จการศึกษาแล้ว อีกอย่าง
หนึ่ง ขั้นท่ีสองก็คือ ความรู้ที่จะเรียกได้ว่าธรรม คือรู้ในการ
วางตัว ประพฤติและคิด วิธีคิด วิธีที่จะใช้สมองมาทาเป็น
ประโยชน์แก่ตวั สิ่งทเ่ี ป็นธรรมหมายถึงวธิ ีประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ คนที่
ศึกษาในทางวชิ าการ และศกึ ษาในทางธรรมก็ต้องมปี ญั ญา แต่
ผู้ใช้ความรู้ในทางวิชาการทางเดียวและไม่ใช้ความรู้ในทาง
ธรรม จะนบั ว่าเป็นปญั ญาชนมไิ ด้” (18 ธันวาคม 2513)

พระผู้ทรงเป็นครู... “การศึกษาเป็นเครื่องมืออันสาคัญในการพัฒนา
ความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยม และ
แห่งแผ่นดนิ ... คุณธรรมของบุคคล เพื่อให้เป็นพลเมืองดีมีคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศก็ย่อมทาได้สะดวกราบรื่น
ตลอดระยะเวลาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิ ได้ผลที่แนน่ อนและรวดเร็ว” (22 กรกฎาคม 2520)
พลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามิน-
ทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงครองราชสมบัติยาวนาน 70 ปี “การศึกษานั้นเป็นเรื่องของทุกคน และไม่ใช่ว่า
พระองค์ทรงเป็นพระมหากษตั ริยท์ ม่ี พี ระอัจฉริยภาพในด้านตา่ งๆ เฉพาะในระยะหน่ึง เป็นหน้าท่ีโดยตรงในระยะเดียวไม่ใช่อยา่ ง
ทรงเชี่ยวชาญศิลปะหลายแขนง ทรงเชี่ยวชาญภาษาตา่ งประเทศ นั้น ต้ังแต่เกิดมาก็ต้องศึกษา เติบโตขึ้นมาก็ต้องศึกษา
หลายภาษา ทรงเครอื่ งดนตรีได้หลายชนดิ ทรงพระราชนิพนธ์บท จนกระทั่งถึงขนั้ ทเ่ี รยี กวา่ อุดมศึกษา อย่างทีท่ า่ นท้ังหลายกาลัง
เพลงที่มีคุณค่ามากมาย ทั้งยังทรงพระปรีชาด้านกีฬาและอ่ืนๆ ศึกษาอยู่ หมายความวา่ การศึกษาท่คี รบถ้วน ท่อี ดุ ม ทบ่ี ริบรู ณ์
อีกมากมาย แ ต่ ต่ อ ไ ป เ มื่ อ อ อ ก ไ ป ท า ห น้ า ท่ี ก า ร ง า น ก็ ต้ อ ง ศึ ก ษ า ต่ อ ไ ป
เหมือนกัน มิฉะน้ันคนเราก็อยู่ไม่ได้ แม้จบปริญญาเอกแล้วก็
ด้าน “การศึกษา” พระองค์ทรงประกอบพระราช ต้องศึกษาต่อไปตลอด หมายความว่า การศึกษาไม่มีสิ้นสุด”
กรณียกิจด้านการศึกษาจนเป็นที่ประจักษ์ในพระปรีชาสามารถ (20 เมษายน 2521)

พระบรมราโชบายอันล้าลึก สายพระเนตรอันกว้างไกล “การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้าง และพัฒนา
ในการพัฒนาคนนานัปการ เป็นคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวงแก่ ความรู้ ความคดิ ความประพฤติ และคณุ ธรรมของบคุ คล หาก
การพัฒนาการศึกษาของไทย ทรงมี พระบรมราโชบายส่งเสริม สังคม และบ้านเมืองใดให้การศึกษาท่ีดีแก่เยาวชนได้อย่าง
และสนับสนุนการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ได้แก่ การจัดการ ครบถ้วนในทุกๆ ด้านแล้ว สังคม และบ้านเมืองนั้นก็จะมี
ศึกษาในระบบโรงเรียนนอกระบบโรงเรียน การศึกษาพิเศษ พลเมืองที่มีคุณภาพ สามารถดารงรักษาความเจริญม่ันคงของ
การศึกษาสงเคราะห์ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การพัฒนา ประเทศชาติไว้ และพัฒนาก้าวหน้าต่อไปโดยตลอด” (27
วชิ าการและวจิ ัย และการพระราชทานทนุ การศกึ ษา เป็นต้น กรกฎาคม 2524)

กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) จึงถวายพระราชสมัญญา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ยัง
นามแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ว่า ทรงริเริ่มโครงการตา่ งๆ มากมายทีเ่ กย่ี วกับการศกึ ษา อาทิ
“พระผู้ทรงเป็นครูของแผ่นดิน” เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองใน
โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา พ.ศ.2554 “โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์” ทรงให้การอุปถัมภ์ใน
ด้านต่างๆ เช่น พระราชทานพระราชทรัพย์ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา
รวมทั้งเสด็จฯ ไปเยี่ยมเยือน และพระราชทานพระบรมราโชวาท เพื่อ
สนับสนุน และเป็นกาลังใจแก่ครูและนักเรียนของโรงเรียน มีทั้ง
โรงเรียนรัฐบาล และโรงเรียนเอกชน ได้แก่ โรงเรยี นจติ รลดา โรงเรยี น
ราชวินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชาสมาสัย โรงเรียน

ปฏทิ ินปฏบิ ตั งิ านครู -2- ประจาปกี ารศึกษา 2563

ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนเพ่ือลูกหลาน ในช่วงแรกกาหนดโรงเรียนเครือข่ายทั่วประเทศไว้ 99 โรง
ชนบท โรงเรียนร่มเกล้า ฯลฯ และปีเดียวกันนี้ นายขวัญแก้ว วัชโรทัย ประธานกรรมการบริหาร
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ได้กราบบังคมทูลขอพระบรม
พระองค์ยังพระราชทาน “ทุนการศึกษา” เน่ืองจากทรง ราชานญุ าตจัดต้งั มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม เพ่ือร่วมเฉลิม
ทราบดีว่าเด็กและเยาวชนไทยมิได้ขาดสติปัญญา หากแต่ด้อยโอกาส ฉลองในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี
และขาดทุนทรัพย์สาหรับการศึกษา จึงพระราชทานพระราชทรัพย์ (กาญจนาภิเษก)
ส่วนพระองค์เพ่ือก่อตั้งกองทุนการศึกษาหลายข้ันหลายทุน ต้ังแต่
ระดับประถมถึงอุดมศึกษา ได้แก่ ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ทุนเล่า- โดยพระองค์พระราชทานพระราชทรัพย์ 50 ล้านบาท ท่ี
เรียนหลวง ทุนมูลนิธิภูมิพล ทุนการศึกษาสงเคราะห์ในมูลนิธิราช องคก์ ารโทรศพั ทแ์ หง่ ประเทศไทยทลู เกลา้ ฯ ถวาย เปน็ ทนุ ประเดมิ
ประชานเุ คราะห์ ฯลฯ
นอกจากน้ี พระองค์ได้เสด็จฯ พระราชทานความรู้แก่
ทรงมีพระราชดารกิ อ่ ตง้ั “มลู นธิ ิพระดาบส” ใน พ.ศ.2519 นักเรียนผ่านรายการ “ศึกษาทัศน์” ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน
เพ่ือช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ขาดแคลนทุนทรัพย์ ไม่มี ดาวเทียม โดยพระองค์เสด็จฯ ครั้งแรกในวันที่ 6 ตุลาคม 2544 ท่ี
อาชีพ และไม่มีความรู้พ้ืนฐานเพียงพอท่ีจะศึกษาต่อในสถาบันวิชาชีพ โรงเรียนเทศบาลบา้ นเขาเต่า ต.หนองแก อ.หวั หิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
หากสนใจใฝ่ศึกษา และมีความเพียรอย่างจริงจัง ให้ได้รับโอกาสฝึก
วิชาชีพ และฝึกอบรมคุณธรรมศีลธรรม เพ่ือให้ประกอบสัมมาอาชีวะ คาว่า “ครู” มาจากภาษาบาลีสันสกฤตว่า ครุ หรือ คุรุ
สร้างตนเอง ช่วยเหลือครอบครัว สังคม และประเทศชาติ พระองค์ แปลว่า หนัก กล่าวคือ หนักด้วยภาระหน้าท่ีในการกล่อมเกลาศิษยใ์ ห้
มีความรู้คู่คุณธรรม การเป็นครูเป็นได้ 2 ลักษณะ คือ โดยการบอก
พระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิม 5 ล้านบาท ทรงดารง
ตาแหน่งประธานกติ ติมศักด์ิ ปัจจุบนั เปิดสอน 8 สาขาอาชพี กล่าวช้ีแนะอบรมส่ังสอน และโดยการประพฤติปฏิบัติส่ิงที่ถูกต้องดี
งาม เป็นต้นแบบให้ผู้อื่นได้เรียนรู้แล้วนาไปประพฤติปฏิบัติตาม
“มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์” กับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นครูทั้ง 2 ลักษณะ กล่าวคือ ทรง
“ทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์” โดยมูลนิธิราชประชานุ- มีพื้นฐานแห่งความเป็นครู เห็นได้จากสมเด็จพระบุรพการีหลาย
เคราะห์ฯ เป็นองค์กรการกุศลท่ีพระราชทานกาเนิดเม่ือวันที่ 23 พระองคท์ รงเป็นแบบอย่างและทรงมีพระวิญญาณครู เชน่ สมเดจ็ พระ
สิงหาคม พ.ศ.2506 ภายหลังเกิดมหาวาตภัยภาคใต้แหลมตะลุมพุก ศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระราช
ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบความ ปติ ุจฉา เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบรุ ีราชสริ ินธรสมเด็จพระ
เดือดร้อนจากสาธารณภัย และมีบทบาทอันสาคัญอย่างยิ่งต่อ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีน-
การศึกษา โดยให้ความช่วยเหลือจัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ครินทราบรมราชชนนี ทุกพระองค์ทรงสนับสนุนการศึกษา ทรงสร้าง
มาตั้งแต่ปี 2506 ถึงปัจจุบัน มีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 58 โรงเรียน ทรงอบรมส่งั สอน ทรงมีวิธีการสอนอย่างแยบยล ทรงสอนให้
โรงเรียน และยังให้ความช่วยเหลือระยะยาวด้านการศึกษาสงเคราะห์ เป็นคนดี ดังพระดารัสสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ว่า...
มอบทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ให้แก่นักเรียนกาพร้าที่ “คนดีของฉันรึ จะต้องไม่พูดปด ไม่สอพลอ ไม่อิจฉาริษยา ไม่คดโกง
ครอบครัวประสบสาธารณภัย และนักเรียนท่ีดีเย่ียมจากโรงเรียนราช และไม่มีความทะเยอทะยานอย่างบ้าๆ แต่ต้องพยายามทาหน้าท่ีของ
ประชานุเคราะห์ ให้ได้ศึกษาเล่าเรียนตามความถนัดของแต่ละบุคคล ตนใหด้ ีในขอบเขตของศลี ธรรม”
จนกว่าจะสาเร็จการศกึ ษาข้ันสูงสดุ เท่าทีจ่ ะเรียนได้ 1,895 ทุน
ความเป็นครูจงึ อยใู่ นสายพระโลหิต พระราชกรณยี กิจนานา
“การศึกษาพระราชทานผ่านดาวเทียม” เน่ืองจากปัญหา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงเกี่ยวข้องกับการศึกษาและ
ขาดแคลนครูในท้องท่ีชนบทห่างไกล เป็นปัญหาของการศึกษาไทย สนับสนุนงานอาชีพหลายประการ เช่น พระราชทานกาเนิดโรงเรียน
ขาดแคลนทั้งอตั รากาลังครู ขาดครทู ี่สอนประจาวิชาเฉพาะ มาตรฐาน และมูลนิธิท่ีสนับสนุนการศึกษา โรงเรียนสาหรับพระราชโอรส พระ
คุณภาพของแต่ละโรงเรียนก็แตกต่างกันระหว่างโรงเรียนในชนบท ราชธิดา พระบรมวงศา- นุวงศ์ บุตรหลานข้าราชบริพาร โรงเรียน
และโรงเรียนประจาจังหวัด หรือโรงเรียนในเขตกรุงเทพฯ การศึกษา สาหรับเด็กกาพร้ายากจน เด็กในพ้ืนที่ห่างไกลคมนาคม พระราชทาน
ไทยเหลื่อมล้า เน่ืองจากขาดแคลนครู จะเป็นเครื่องบั่นทอนความ การศึกษาสงเคราะห์สาหรับเด็กยากจน ทุนการศึกษา รางวัลและ
เจริญทางจิตใจ และการพัฒนาการของทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต ซ่ึง กาลังใจในรูปแบบต่างๆ แก่ครู นักเรียนผู้บริหารสถานศึกษา ทรงพระ
เปน็ ความม่นั คงของชาติ กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้รับนักเรยี นไว้ในพระบรมราชานเุ คราะห์และพระ
บรมราชูปถัมภ์ พระราชทานแนวพระราชดาริก่อต้ังสถานศึกษาเพ่ือ
เพ่ือแก้ปัญหา และยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ งานวิจัยข้ันสูง ทรงรับอุปถัมภ์โรงเรียนวังไกลกังวล ทรงเป็นครูใน
โรงเรียนท้ังในเมือง หรือชนบท ในปี 2538 ศธ. จึงจัด “โครงการ รายการ “ศกึ ษาทศั น์” ของมลู นธิ ิทางไกลผ่านดาวเทียม ทรงสอนด้วย
การศึกษาสายสามัญด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม” เฉลิมพระ- พระองค์เอง ทรงพานักเรยี นไปศึกษาในสถานท่ีจริง เป็นต้น ท้ังยังทรง
เกียรตปิ ีกาญจนาภเิ ษกของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอ- ได้รับการยกย่องว่าทรงเป็นครูภาษาไทยของแผ่นดิน ด้วยมีพระ
ดุลยเดช และถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรม- อัจฉริยภาพทางภาษาไทย และทรงเห็นความสาคัญของภาษาไทยว่า
ราชชนนี โดยใช้ “โรงเรียนวังไกลกังวล” อ.หัวหิน จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ เป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ เป็นเคร่ืองมือสื่อสารให้เกิดความ
เป็นแม่ข่ายถ่ายทอดการศึกษาสายสามัญด้วยระบบทางไกลผ่าน เข้าใจอันดีต่อกนั เป็นรากฐานทางวัฒนธรรม ดังจะเห็นไดจ้ ากงานพระ
ดาวเทียม ที่เรยี กกันวา่ “ครูตู้” สอนตั้งแตช่ น้ั ม.1-ม.6 ราชนิพนธ์ กระแสพระราชดารัสตา่ งๆ ทรงอปุ ถมั ภ์หน่วยงาน องคก์ รที่
ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ า น ส่ ง เ ส ริ ม ภ า ษ า ไ ท ย อ ยู่ เ ส ม อ พ ร ะ ร า ช ท า น แ น ว
พ ร ะ ร า ช ด า ริ ใ ห้ จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร ส า ร า นุ ก ร ม ไ ท ย ส า ห รั บ เ ย า ว ช น
นอกจากนี้ยังทรงมีพระวิริยะอุตสาหะในการศึกษาวิจัยใฝ่รู้ตลอดเวลา

ปฏทิ ินปฏิบตั งิ านครู -3- ประจาปีการศึกษา 2563

จนเกิดความเช่ียวชาญในสาขาวิชาการต่างๆ แล้วทรงนาความรู้และ พระองค์เป็นแบบอย่างของผู้ที่มุ่งมั่นทางานเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม
แนวทางท่ีเป็นคุณประโยชน์มาปฏิบัติให้เป็นแบบอย่าง ประจักษ์แก่ ตลอดมา และด้วยเหตุที่ทรงพระเมตตาต่อพสกนิกรจึงพระราชทาน
สาธารณชนอยู่เป็นนิจ ประชาชนทั้งหลายจึงได้เรียนรู้และปฏิบัติตน ความรู้ทกุ สิ่งทกุ อย่างโดยไมป่ ิดบงั ความรนู้ ้นั เป็นความรู้ท่ีทรงคิด ทรง
ตามพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ยังความเจริญก้าวหน้าในทุกวิชาการ ค้นคว้า ทรงทดลองด้วยพระองคเ์ อง การทปี่ ระชาชนปฏบิ ตั ติ ามวิธีการ
เสมอมา พระราชดารัส พระบรมราโชวาท พระราชนิพนธ์ พระราช ต่างๆท่ีทรงสอน ทรงสาธิตทาให้ราษฎรอยู่ดีกินดี มีสุข โครงการอัน
กรณียกจิ พระราชจรยิ วัตร และพระราชดารหิ ลากหลายประการ ลว้ น เน่ืองมาจากพระราชดาริต่างๆ โครงการหลวง โครงการส่วนพระองค์
ทรงส่ังสอนและทรงเป็นแบบอย่างแก่พสกนิกรทั้งสิ้น กล่าวได้ว่าทรง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาต่างๆ เหล่าน้ีเป็นบทเรียนที่มีค่ามหาศาล
เป็นนกั คดิ นักประดิษฐ์ นักวิจัย ทสี่ ามารถนาผลมาเป็นแบบของงานที่ ประชาชนได้เรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวติ การทั้งปวงเป็นที่ประจกั ษ์
อานวยประโยชนส์ ขุ แกป่ ระชาชน ทรงถือเปน็ พระราชภาระที่จะทรงสั่ง ชัด ตั้งแต่แรกเสด็จข้ึนครองราชย์ ทรงประกาศพระปฐมบรมราช
สอน ชี้นา แสดงตัวอย่างและตดิ ตามผลโครงงานตา่ งๆ เพอื่ ความสาเร็จ โองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุขแห่ง
และประโยชน์ของราษฎร อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาชนชาวสยาม” การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จงึ
ก็ทรงให้ความสาคัญแก่ครูและวิชาชีพครูทรงส่ังสอนให้ครูตระหนักใน เป็นไปเพื่ออาณาประชาราษฎร์อย่างแท้จริง ทรงแก้ไขปัญหา ทรงคิด
หน้าที่ความรับผิดชอบ ดังพระราชดารัสตอนหน่ึงท่ีพระราชทานแกค่ รู หาแนวทางแก้ไขสิ่งที่สาคญั คือ ทรงปฏิบตั ิพระองค์เป็นแบบอย่าง ทรง
อาวุโสในโอกาสท่ีเข้ารับพระราชทานเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ เม่ือ ช้ีแนะให้มองประโยชน์ส่วนรวม มีความรู้รักสามัคคี มีความซ่ือสัตย์
พุทธศักราช 2516 ดงั น…้ี สุจริตจริงใจ และมีความเพียร มุ่งมั่นพัฒนาประเทศชาติ จากพระราช

“งานของครูเป็นงานพิเศษผิดแปลกกว่างานอื่นๆ กล่าวใน กรณียกิจนานา พสกนิกรต่างสานึกในพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้น
แง่หนึ่ง ที่สาคัญก็คือว่า...ครูจะหวังผลตอบแทนเป็นยศศักด์ิ ความ กระหม่อมอย่างหาที่สุดมิได้และพร้อมท่ีจะสนองพระมหากรุณาธิคุณ
ร่ารวยหรือประโยชน์ทางวัตถุเป็นที่ตั้งไม่ได้ผลได้ส่วนสาคัญจะเป็นผล ในทุกโอกาสและในกาลทกุ เม่อื
ทางใจ ซงึ่ ผู้เปน็ ครูแท้ก็พึงใจและภมู ใิ จอยู่แล้ว...”
ด้วยพระอัจฉริยภาพดังกล่าวมา จึงทรงเปรียบประดุจครู
จะเห็นไดว้ ่าพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ ของประชาชนทั้งประเทศดังที่กระทรวงศึกษาธิการ อันประกอบด้วย
เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันข้ึน ปีใหม่ วันพระราชทานปริญญา ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนร่วมกันถวายพระราช
บัตร หรือโอกาสใดๆ ก็ตาม ล้วนเป็นคาสอนที่มีค่า เหมาะสมแก่กาล สมัญญา “พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน” นับเป็นบุญของพสกนิกร
สมัยและยังประโยชน์โดยตรงแก่ผู้น้อมนาไปปฏิบัติ ท้ังยังทรงปฏิบัติ ชาวไทย…อยา่ งหาทีส่ ุดมิได…้ .

ปฏิทนิ ปฏบิ ัตงิ านครู -4- ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว มีพระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขา แกป่ ระชาชนชาวไทย ความว่า

"เราจะสบื สาน รกั ษา และต่อยอด และครองแผน่ ดินโดยธรรม
เพ่อื ประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป"

วนั ที่ 4 พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช 2562

รัชกาลที่ 10 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมพิ ล
ราชวรางกรู กติ ิสิรสิ มบูรณ์อดลุ ยเดช สยามนิ ทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชริ เกลา้
เจ้าอย่หู วั อ่านออกเสยี งว่า [พฺระ-บาด-สม-เด็ด-พรฺ ะ-ปะ-ระ-เมน-ทฺะ-รา-มา-ทิบ-บอ-ด-ี สี-สิน-มะ-หา-วะ-
ชิ-รา-ลง-กอน-มะ-ห-ิ สอน-พ-ู มิ-พน-ราด-ชะ-วะ-ราง-กูน ก-ิ ติ-ส-ิ ริ-สม-บนู -อะ-ดุน-ยะ-เดด สะ-หยาม-มิน-
ทรา-ทิ-เบด-ราด-วะ-โร-ดม บอ-รม-มะ-นาด-ถะ-บอ-พดิ พฺระ-วะ-ชิ-ระ-เกฺล้า-เจา้ -อยู่-หวั ]

ปฏิทินปฏบิ ตั งิ านครู สมเด็จพระนางเจ้าสทุ ดิ า
พัชรสุธาพิมลลกั ษณ์ พระบรมราชินี

- 5 - ประจาปกี ารศึกษา 2563

ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านครู -6- ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านครู -7- ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาตามข้อบังคับคุรุสภา
ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2556

“วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพทางการศึกษาท่ีทาหน้าท่ีหลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธกี ารต่างๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบรหิ ารสถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวยั ข้ันพ้ืนฐาน
และอุดมศึกษาท่ีต่ากว่าปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน และการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่
การศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนการศึกษาให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน
การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนว่ ยงานการศกึ ษาต่างๆ

“ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความว่า ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษา พ.ศ.2546

“ครู” หมายความว่า บคุ คลซ่ึงประกอบวชิ าชพี หลกั ทางดา้ นการเรยี นการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี นดว้ ยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพืน้ ฐาน และอดุ มศึกษาทต่ี า่ กวา่ ปริญญา ทงั้ ของรฐั และเอกชน

“ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่
การศึกษา และสถานศกึ ษาอ่นื ทจ่ี ดั การศึกษาปฐมวยั ขน้ั พน้ื ฐานและอดุ มศึกษาต่ากว่าปรญิ ญา ทง้ั ของรฐั และเอกชน

“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซ่ึงปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษา ในระดับเขต
พืน้ ท่ีการศึกษา

“บคุ ลากรทางการศกึ ษาอืน่ ” หมายความวา่ บุคคลซงึ่ ทาหน้าทีส่ นบั สนุนการศึกษา ให้บริการหรอื ปฏิบตั งิ าน
เก่ียวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ ซึ่ง
หนว่ ยงานการศกึ ษากาหนดตาแหนง่ ให้ตอ้ งมีคุณวฒุ ทิ างการศึกษา

“จรรยาบรรณของวิชาชีพ” หมายความว่า มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ีกาหนดข้ึนเป็นแบบแผนในการ
ประพฤติตน ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณช่ือเสียง และฐานะ
ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เช่ือถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคม อันจะนามาซ่ึงเกียรติและศักด์ิศรี
แห่งวิชาชพี

ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพและแบบแผน
พฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ ดังนี้…

จรรยาบรรณต่อตนเอง....

1. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งมีวนิ ัยในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวิชาชีพ บคุ ลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ให้
ทนั ตอ่ การพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองอยเู่ สมอ โดยต้องประพฤติตามแบบแผน
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ดงั นี้
 ประพฤตติ นเหมาะสมกบั สถานภาพและเป็นแบบอย่างทด่ี ี
 ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดีในการดาเนนิ ชวี ิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
 ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมายใหส้ าเรจ็ อยา่ งมีคุณภาพตามเปา้ หมายที่กาหนด
 ศึกษา หาความรู้ วางแผนพฒั นาตนเอง พัฒนางาน และสะสมผลงานอยา่ งสมา่ เสมอ
 ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนคิ ด้านวิชาชีพทพ่ี ฒั นาและก้าวหนา้ เป็นทย่ี อมรับมาใช้แก่ศิษย์และ
ผู้รบั บริการให้เกดิ ผลสัมฤทธิท์ ี่พงึ ประสงค์

ปฏทิ นิ ปฏิบัติงานครู -8- ประจาปีการศกึ ษา 2563

จรรยาบรรณต่อวิชาชพี ...

2. ผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก ศรัทธา ซ่ือสตั ย์สจุ รติ รบั ผดิ ชอบตอ่ วชิ าชพี และเป็นสมาชิกทดี่ ีของ
องค์กรวิชาชีพ โดยตอ้ งประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ดังน้ี
 แสดงความชื่นชมและศรทั ธาในคุณค่าของวชิ าชีพ
 รักษาช่อื เสยี งและปกป้องศกั ด์ศิ รแี ห่งวชิ าชพี
 ยกยอ่ งและเชดิ ชูเกียรตผิ มู้ ีผลงานในวชิ าชีพให้สาธารณชนรบั รู้
 อุทศิ ตนเพื่อความก้าวหนา้ ของวชิ าชพี
 ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีดว้ ยความรับผดิ ชอบ ซื่อสตั ย์สจุ รติ ตามกฎระเบยี บและแบบแผนของทางราชการ
 เลือกใชห้ ลกั วชิ าชีพที่ถูกต้อง สร้างสรรคเ์ ทคนิค วธิ กี ารใหม่ๆ เพอ่ื พัฒนาวชิ าชพี
 ใชอ้ งค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบตั หิ นา้ ท่แี ละแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ ับสมาชกิ ในองค์กร
 เขา้ รว่ มกิจกรรมของวิชาชีพหรอื องค์กรวิชาชพี อยา่ งสรา้ งสรรค์

จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ...

3. ผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสรมิ ใหก้ าลงั ใจแกศ่ ิษย์ และ
ผรู้ บั บริการ ตามบทบาทหน้าท่ีโดยเสมอหนา้

4. ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสยั ท่ีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และ
ผู้รบั บรกิ าร ตามบทบาทหน้าที่อยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบริสุทธใ์ิ จ

5. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี ท้ังทางกาย วาจา และจติ ใจ
6. ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งไม่กระทาตนเป็นปฏปิ ักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ

อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รบั บรกิ าร
7. ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งใหบ้ รกิ ารด้วยความจรงิ ใจและเสมอภาคโดยไม่เรยี กรบั หรือยอมรับ

ผลประโยชน์จากการใชต้ าแหนง่ หน้าทโ่ี ดยมชิ อบ โดยต้องประพฤติตามแบบแผนพฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์ ดังน้ี
 ใหค้ าปรึกษาหรอื ช่วยเหลือศิษย์และผรู้ ับบริการด้วยความเมตตากรุณาอยา่ งเตม็ กาลงั ความสามารถและ

เสมอภาค
 สนบั สนุนการดาเนนิ งานเพอ่ื ปกปอ้ งสิทธเิ ด็ก เยาวชนและผู้ด้อยโอกาส
 ตังใจ เสยี สละ และอทุ ิศตนในการปฏิบัติหนา้ ท่ี เพื่อให้ศิษย์และผรู้ บั บริการไดร้ ับการพัฒนาตาม

ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของแตล่ ะบคุ คล
 ส่งเสริมให้ศษิ ยแ์ ละผรู้ บั บรกิ ารสามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเองจากส่ืออุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้

อยา่ งหลากหลาย
 ใหศ้ ิษยแ์ ละผู้รบั บรกิ าร มีส่วนรว่ มวางแผนการเรยี นรู้และเลือกวธิ ีการปฏิบตั ิท่เี หมาะสมกับตนเอง
 เสริมสรา้ งความภาคภูมิใจให้แกศ่ ิษย์และผู้รบั บริการดว้ ยการรับฟังความคิดเหน็ ยกย่อง ชมเชย และให้

กาลังใจอย่างกัลยาณมติ ร

ปฏทิ นิ ปฏบิ ัติงานครู -9- ประจาปีการศึกษา 2563

จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ว่ มประกอบวิชาชพี ...

8. ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พงึ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูลซ่งึ กนั และกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดม่นั ในระบบ
คณุ ธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมู่คณะ โดยต้องประพฤตติ ามแบบแผนพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ดงั น้ี
 เสยี สละ เออื้ อาทร และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ร่วมประกอบวชิ าชพี
 มคี วามรกั ความสามคั คี และรว่ มใจกัน ผนึกกาลงั ในการพัฒนาการศกึ ษา

จรรยาบรรณตอ่ สงั คม...

9. ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม
ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยดึ มั่นในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข โดยตอ้ งประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรมที่พงึ
ประสงค์ ดังน้ี
 ยึดม่ัน สนบั สนนุ และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
 นาภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และศลิ ปวฒั นธรรมมาเปน็ ปจั จัยในการจดั การศึกษาให้เป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม
 จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ใหศ้ ษิ ย์เกิดการเรียนรแู้ ละสามารถดาเนินชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
 เป็นผนู้ าในการวางแผนและดาเนนิ การเพ่ืออนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาเศรษฐกิจ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ และ
ศลิ ปวัฒนธรรม

ปฏทิ ินปฏบิ ัติงานครู - 10 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

St.Francis Xavier School

ชือ่ โรงเรียน โรงเรียนเซนตฟ์ รงั ซสี เซเวยี ร์ อักษรย่อ ซฟซ

ช่อื โรงเรยี นภาษาองั กฤษ ST.FRANCIS XAVIER SCHOOL อกั ษรย่อ STFX

เปิดสอนประเภท สามัญศึกษา และโครงการจดั การเรียนการสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศึกษาธิการ

เปน็ ภาษาอังกฤษ (ENGLISH PROGRAM)

ระดบั การศึกษา ระดับก่อนประถมศกึ ษา-ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ผู้รบั ใบอนญุ าต มูลนิธิส่งเสริมการศกึ ษาคณะภคินเี ซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร แห่งประเทศไทย

ผู้ลงนามแทนผูร้ ับใบอนญุ าต/ผู้อานวยการ นางสาวบังอร กจิ เจริญ

ดารงตาแหน่งเมอื่ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ถึง ปัจจุบนั

สถานทตี่ ัง้ เลขท่ี 39/4 หมู่ 6 ถนน แจง้ วฒั นะ ตาบล บ้านใหม่ อาเภอ ปากเกร็ด

จังหวดั นนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11120 โทรศัพท์ 0-2980-8528-34

โทรสาร 0-2980-8535 URL : www.stfx.ac.th

E-mail : [email protected]

สีประจาโรงเรยี น สีแดง หมายถึง ความรัก ความกล้าหาญ และความเสียสละ

สีน้าเงนิ หมายถงึ ความมเี กยี รติ มีศักดศ์ิ รี มีวินัย และมีคณุ ธรรม

เน้ือท่ี 28 ไร่ 1 งาน 51.90 ตารางวา แบง่ เป็น 2 สว่ น คอื

ส่วนที่ 1 จานวน 10 ไร่

ส่วนที่ 2 จานวน 18 ไร่ 1 งาน 51.90 ตารางวา

ตน้ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

เขตพ้ืนท่ี ศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี

ปฏทิ ินปฏิบตั ิงานครู - 11 - ประจาปีการศึกษา 2563

นักบุญฟรังซสี เซเวยี ร์ องคอ์ ุปถมั ภ์ของโรงเรียน

นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ เป็นชาวสเปน และเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียน
กับ นักบุญอิกญาซีโอ แห่งโยลา ท่ีกรุงปารีส พร้อมกับนักบุญอิกมาซีโอ
ท่านได้เป็น ผู้ร่วมก่อตั้งคณะนักบุญเยซูอิต ในปี 1541 ท่านได้ออก
เดินทางมุ่งสู่ประเทศอินเดียและได้เป็นพระสงฆ์ชาวสเปนองค์แรกที่ได้ไป
ถึงประเทศที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ท้ังสองน้ี โดยอาศัยการสนับสนุนจากการ
ภาวนา และจิตตารมณ์ท่ีร่าเริงยินดีอยู่เสมอ นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ท่าน
เทศน์สอนโดยไม่รู้จักเหน็ดเหน่ือยในประเทศอินเดีย เกาะมะละกา หมู่
เกาะเครื่องเทศโมลุกกะ หมู่เกาะอ่ืนๆ ในมหาสมุทรและประเทศญ่ีปุ่น
ท่านรู้จักดัดแปลง พระวาจาของพระเจ้าให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น และท่านได้โปรดศีลล้างบาปใหก้ ับประชาชนเป็นจานวนมากกว่า
สามหม่ืนคน นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ ท่านได้สิ้นใจขณะที่มีอายุเพียง 46 ปี
เท่าน้ัน ท่ีเกาะแห่งหนึ่งในทะเลจีนใต้ เพราะหมดกาลังลงขณะที่กาลัง
เตรียมตัวมุ่งสู่แผ่นดินใหญ่ คือ ประเทศจีน ศพของท่านได้รับการเก็บ
รกั ษาไวท้ ี่เมอื งกัวประเทศอินเดีย ท่านเปน็ องคอ์ ปุ ถมั ภข์ องมสิ ซังสากล

วตั ถปุ ระสงค์...ของโรงเรยี น

1. จัดการศึกษาให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและหลักการการก่อต้ังโรงเรียนของมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาคณะ
ภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ต แหง่ ประเทศไทย

2. จัดการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรูปแบบการศึกษาในระบบตาม
หลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงการจัดการศกึ ษาในรปู แบบอน่ื ๆ ท่โี รงเรยี นไดร้ ับอนุญาตตามที่กฎหมาย
กาหนด

3. ให้บริการส่ิงท่ีเกี่ยวเนื่องกับการเรียนการสอนหรืออุปกรณ์เก่ียวกับการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน ครู
ผปู้ กครอง บคุ ลากรของโรงเรยี น ชุมชน และองค์กรอนื่ ๆ

4. ให้บริการด้านวิชาการ และบริการอ่ืนแก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน บุคคลที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน เช่น
สถานท่ี อาหาร รถรับ-ส่งนกั เรียน สุขภาพอนามัย ทพ่ี กั อาศยั ศาสนสถาน และ การกฬี า เปน็ ต้น

5. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้ได้รับการอภิบาลด้านจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรมของ ทุกศาสนา
และวัฒนธรรมประเพณที ีด่ ีงาม

6. ช่วยเหลือสังคม โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน และบุคคลที่ต้องการความช่วยเหลือหรือผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับ
การศกึ ษาอบรมที่ดี ได้รับการฝกึ ฝนทักษะชวี ิตอยา่ งเหมาะสม และเปน็ การร่วมรบั ภาระดา้ นสงั คมและการจัด
การศกึ ษาของรฐั

7. ระดมทรัพยากรให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามความเหมาะสมและ ความจาเป็นตามกฎหมาย
การศกึ ษาแห่งชาติ

ปฏิทินปฏิบตั งิ านครู - 12 - ประจาปีการศกึ ษา 2563

อธิการณิ ีเจา้ คณะแขวงคณะภคนิ เี ซนตป์ อล เดอ ชารต์ ร แหง่ ประเทศไทย

1. แมร์ แซงต์ ซาเวียร์ ค.ศ. 1904 - 1923 (พ.ศ. 2447 - 2466)
(พ.ศ. 2466 - 2472)
2. แมร์ ฟรังซวั ส์ เดอ แซงต์ มเิ ชล ค.ศ. 1923 - 1929 (พ.ศ. 2472 - 2490)
(พ.ศ. 2490 - 2503)
3. แมร์ มารี หลุยส์ นีวู ค.ศ. 1929 - 1947 (พ.ศ. 2503 - 2512)
(พ.ศ. 2512 - 2520)
4. แมร์ อานน์ แชรแ์ มน ค.ศ. 1947 - 1960 (พ.ศ. 2520 - 2540)
(พ.ศ. 2540 - 2550)
5. แมร์ อนั นา เดอ เยซู ค.ศ. 1960 - 1969 (พ.ศ. 2550 - 2560)
(พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน)
6. แมร์ หลยุ ส์ เดอ ลา ตรนี ิเต กจิ เจริญ ค.ศ. 1969 - 1977

7. แมร์ มีเรียม เดอ เซนตอ์ านน์ กิจเจรญิ ค.ศ. 1977 - 1997

8. เซอร์ ฟรงั ซัวส์ ชรี านนท์ ค.ศ. 1997 - 2007

9. เซอร์ ไอรนี ชานาญธรรม ค.ศ. 2007 - 2017

10. เซอร์ อกั แนส บญุ รักษา ศรีตระกลู ค.ศ. 2017 - ปัจจบุ ัน

ผลู้ งนามแทนผรู้ ับใบอนญุ าตโรงเรียนเซนตฟ์ รังซีสเซเวยี ร์

1. นางสาวรจติ กิจเจรญิ พ.ศ. 2540 - 2542
2. นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ ชีรานนท์ พ.ศ. 2542 - 2552
3. นางสาวบษุ บา ชวู ิรัช พ.ศ. 2552 - 4 มิถุนายน 2558
4. นางสาวบังอร กจิ เจรญิ 4 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2558 - ปัจจุบนั

ผอู้ านวยการ/ผูจ้ ัดการ/ครูใหญ่โรงเรียนเซนตฟ์ รงั ซีสเซเวยี ร์

1. นางสาวสว่างจิตต์ ชมไพศาล 2 ม.ิ ย. 2540 - 23 พ.ค. 2546
2. นางสาวบษุ บา ชูวิรัช 23 พ.ค. 2546 - 14 พ.ค. 2558
3. นางสาวบังอร กิจเจรญิ 14 พ.ค. 2558 - ปจั จุบัน

ปรชั ญาการศกึ ษา
“มนุษย์ทีม่ ีคุณภาพ คือมนษุ ย์ท่ีมีคณุ ธรรมและความรู้”

การศึกษาของโรงเรยี นในเครือคณะภคนิ ีเซนตป์ อล เดอ ชารต์ ร คอื การให้ผู้เรียนรจู้ ักและเข้าถงึ สัจธรรม อัน
สูงส่งแห่งความเป็นมนุษย์ ด้วยการดาเนินชีวิตอย่างมีระเบียบวินัย สุภาพเรียบง่าย และเป่ียมด้วยเมตตาธรรม มี
เจตนารมณ์แน่วแน่ท่ีจะศึกษาศาสตร์และศิลป์แขนงต่างๆ ประกอบหน้าท่ีการงานซ่ึงตนเองรับผิดชอบอย่างเต็ม
ความสามารถ รวมทั้งเรียนรู้ที่จะรักษาสุขภาพพลานามัยของตน เพ่ือให้ร่างกายและจิตใจอยู่ในสภาวะท่ีจะประพฤติ
และปฏบิ ัติภารกจิ ใหล้ ลุ ่วงไปด้วยดี โรงเรยี นจึงนานโยบายดงั กลา่ วเปน็ พืน้ ฐานของการกาหนดปรัชญาของโรงเรียนเพื่อ
เป็นแนวทางในการดาเนินกิจการของโรงเรียนให้มีคุณภาพว่า...“มนุษย์ที่มีคุณภาพ คือมนุษย์ที่มีคุณธรรมและ
ความรู้”

ปฏิทินปฏิบัตงิ านครู - 13 - ประจาปีการศกึ ษา 2563

คติพจน์...ของโรงเรียน
“ศกึ ษาดี มีวินัย ใจเมตตา ใฝ่หาคุณธรรม เลศิ ลาการงาน”

ศึกษาดี หมายถึง เป็นการศึกษาที่ให้ความรู้และทักษะพื้นฐานที่จาเป็นอย่างเพียงพอ เช่น ความรู้ด้านภาษา
ด้านคานวณ ความเข้าใจหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมท้ังคิดเป็นแก้ปัญหาเป็น วิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์
และใฝ่รู้ตลอดเวลา รู้จักแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และเพื่อการงานอาชีพ มีความเจริญท่ีสมดุลระหว่างวัตถุ
และจติ ใจ

มีวินัย หมายถึง การมีนิสัยที่ดีงาม การดารงชีวิตอย่างเรียบง่าย มีวินัยในตนเอง รู้จักรับผิดชอบต่อตนเอง
และสังคม เคารพสิทธขิ องผู้อ่ืน ปฏบิ ตั ติ ามกติกาและกฎเกณฑ์ของสังคม เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
และระบอบประชาธิปไตย

ใจเมตตา หมายถึง การไม่เป็นคนเห็นแก่ตัว เห็นความสาคัญของประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าของตน ร่วมมือ
กับผอู้ ่นื ในสงั คม มนี ้าใจดี เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ร้จู กั แบง่ ปันด้วยความรกั และความเสียสละ

ใฝ่หาคุณธรรม หมายถึง เป็นคนศรัทธาในศาสนา ยึดมั่นในหลักธรรม มีค่านิยมท่ีถูกต้อง มีความรักและให้
อภัย มีสามัคคีธรรม กตัญญูต่อสถาบันและผู้มีพระคุณ มีความเข้าใจและซาบซ้ึงในคุณค่าของวัฒนธรรม มีความ
ซื่อสัตย์ อดทน สามารถบูรณาการวิทยาการและเทคโนโลยีเข้ากับสัจธรรมอันสูงส่ง เพื่อการดารงชีวิตที่มีคุณค่าต่อ
ตนเองและผู้อนื่

เลิศล้าการงาน หมายถึง มีวิสัยทัศน์ในการทางาน รักการงานที่ทา มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต ขยัน รู้จัก
พฒั นาการงานอาชพี ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

วสิ ยั ทัศน.์ ..ของโรงเรียน

“บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ เชิดชคู ุณธรรม ก้าวลาเทคโนโลยี มคี วามเออื อาทรตอ่ ผอู้ ื่น
ย่งั ยนื วัฒนธรรมไทย รกั ษห์ ว่ งใยสิ่งแวดล้อม พรอ้ มส่อู นาคต”

บุคคลแห่งการเรียนรู้ หมายถึง เป็นบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ รักการอ่าน การเขียน รู้จัก
แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง พรอ้ มท่ีจะพัฒนาตนเปน็ มนุษย์ทสี่ มบรู ณ์

เชิดชูคุณธรรม หมายถึง เป็นคนดี มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมและค่านยิ มอนั พึงประสงค์

ก้าวล้าเทคโนโลยี หมายถึง เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถนาเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่มาใช้ให้
เกดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง พร้อมทง้ั ปรับปรุงให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกับวถิ ชี ีวิต

มีความเอ้ืออาทรต่อผู้อื่น หมายถึง ความประพฤติด้วยความเอ้ือเฟ้ือ เอาใจใส่ มีน้าใจ และไม่ละเมิดผู้อื่น
ตระหนกั ถึงหน้าท่ที พี่ ึงมตี ่อสงั คม และกระทาโดยคานึงถงึ ประโยชน์สว่ นรวม

ยั่งยืนวัฒนธรรมไทย หมายถึง เป็นบุคคลที่มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ
ปัญญาไทย เข้าใจในประวัติศาสตร์ชาติไทย เป็นพลเมืองดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ

รักษ์ห่วงใยสิ่งแวดล้อม หมายถึง เป็นบุคคลที่ตระหนักและรู้จักท่ีจะอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม

พร้อมสู่อนาคต หมายถึง เป็นผู้ท่ีมีความรู้ท้ังศาสตร์และศิลป์อันเป็นสากล มีทักษะกระบวนการในศาสตร์
ต่างๆ และศักยภาพในการจัดการ การส่ือสารด้วยภาษาสากล ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการ
ทางาน เหมาะสมและเทา่ ทนั ทุกสถานการณ์

ปฏทิ ินปฏบิ ัติงานครู - 14 - ประจาปกี ารศึกษา 2563

แนวคดิ หลกั การพฒั นาโรงเรยี น

แนวคิดหลักท่ีโรงเรียนใช้ในการบริหารจัดการ 4. การพัฒนาปรับปรุงปฏิบัติงาน มีการนาผล
โ ด ย ใ ช้ โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น ฐ า น (School - Based การประเมินมาจัดทาเป็นรายงานประเมินผลตนเอง
Management) มุ่งพัฒนาและสนับสนุนบุคลากรให้มี (Self-Study Report) เผยแพร่ให้ผู้เก่ียวข้องทราบเป็น
ประสทิ ธภิ าพและคุณภาพในการสอน สนับสนุนศกั ยภาพ ลายลักษณ์อักษร และจัดประชุมเพ่ือระดมความคิด
ในการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี คือการมีส่วนร่วม “ร่วมคิด เก่ียวกับการวางแผนพัฒนาโรงเรียนต่อไป มีการ
ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ” บริหารงานตามวงจรการ ดาเนินงานภาคเรียนละครง้ั หรือปีละ 2 ครั้ง หากผลการ
ท า ง า น แ บ บ PDCA (Plan, Do, Check, Act) ทุ ก ประเมินปรากฏว่ามาตรฐานการศึกษาด้านใดหรือข้อใดมี
กิจกรรมท่ีมีการดาเนินงาน จะมีการกากับติดตาม แผนการดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด
ประเมินการทางานเป็นระยะ โดยผู้ที่ได้รับมอบหมายจะ โรงเรียนจะให้ผู้ที่เก่ียวข้อง จัดทาแผนพัฒนาปรับปรุง
เป็นผู้รับผิดชอบ รายงานผลการติดตามให้ผู้บริหาร และ โดยให้กาหนดวิธีปฏิบัติการ ระยะเวลาดาเนินงาน
ผู้เกี่ยวข้องทราบ มีการจัดทารายงานสรุปผลการ ทรัพยากร ท่ีใช้ในการดาเนินงาน และวิธีการติดตาม
ดาเนินงาน ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการแก้ไข เพื่อ ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ผ น พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง จ ะ น า เ ส น อ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง การ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณา และขอรับ
บริหารงานของโรงเรียนที่เน้นให้บุคลากรทุกคนมีส่วน การสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากจาเป็นต้องใช้
ร่วมในการทางาน ส่งผลให้บุคลากรมีความตระหนักและ ทรัพยากรในการดาเนินงาน และต้องการให้ชุมชน
มี จิ ต ส า นึ ก ท่ี ดี ต่ อ ก า ร พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น ใ ห้ มี ค ว า ม ช่วยเหลือในแต่ละเดือน โรงเรียนจัดให้มีการประชุมครู
เจรญิ กา้ วหน้าย่งิ ขน้ึ มีวธิ ีการดาเนนิ งานดงั นี้ เดือนละ 1 ครง้ั เพ่ือตรวจสอบการดาเนินงานและประชุม
หารือประเด็นต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น เพ่ือหาทางแก้ไข และ
1. วางแผนงานของสถานศึกษา ใช้การบริหาร ป้องกันปัญหาต่างๆ และนามาปรับปรุงพฒั นาต่อไป
จัดการแบบมีสว่ นร่วมโดยผ้บู ริหาร ครู เจ้าหน้าท่นี กั เรียน
และ ชุมชน มีการกาหนดเปา้ หมายการดาเนนิ งานภายใต้
แต่ละมาตรฐานว่าต้องการให้เกิดสัมฤทธิ์ผลในด้านใด
ระดับใด โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบ การประเมิน
กาหนดเกณฑ์มาตรฐานสาหรบั ตัดสินระดับความสาเร็จมี
การวางแผนออกแบบกิจกรรม แผนงาน/โครงการ เพ่ือ
นาสกู่ ารปฏบิ ตั ิโดยผเู้ กี่ยวข้อง เปน็ ผ้เู สนอแผนปฏบิ ัติการ
ตลอดจนระบบการกากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล

2. การนาแผนสู่การปฏิบัติ กาหนดขั้นตอนและ
วิธีดาเนินงาน โดยมีปฏิทินปฏิบัติงาน คู่มือ ครู กาหนด
ตารางการประชุม บันทึกการประชุมของทุกหน่วยงาน
เพ่อื บคุ ลากรทุกคน สามารถปฏบิ ัตงิ านตามหน้าท่ีของตน
ได้อย่างถูกต้อง และมีการติดตามตรวจสอบตามตารางที่
กาหนด และรายงานผลการปฏิบัติงานของทุกงาน/
โครงการ เม่อื สิน้ สดุ การดาเนินงาน/โครงการทุกคร้งั

3. การตรวจสอบติดตาม โรงเรียนมีการวาง
ระบบประเมินตนเองแบบเป็นทางการ และไม่เป็น
ทางการ โรงเรียนมีคณะกรรมการท่ีต้ังข้ึนเพ่ือควบคุม
กากับ นิเทศ และประเมินผลดาเนินงานรายงานผลต่อท่ี
ประชุม

ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 15 - ประจาปีการศกึ ษา 2563

ตราของคณะภคนิ เี ซนตป์ อล เดอ ชารต์ ร

สญั ลกั ษณข์ องคณะเซนตป์ อล เดอ ชาร์ตร เปน็ รูปส่ีเหลย่ี ม มโี ลอ่ ยตู่ รงกลาง ความหมายของ
โล่ เปน็ ดงั นี้

 รวงข้าวตั้งตรง สงู เท่ากัน 4 รวง บ่งบอกถงึ ความซอ่ื สตั ย์ ความราบเรียบ และความ
เท่าเทียมกันในหมภู่ คนิ ี 4 คนแรก

 รวงข้าวเขียวสด คือ การเริม่ ต้นของภคินี ท่แี มจ้ ะเยาวว์ ยั แต่ทางานหนักเกนิ กาลงั เพอ่ื
เป็นการพลีชีพ ประดจุ เมลด็ พืชเลก็ ๆ ที่ตกสดู่ นิ

 พน้ื สีทอง หมายถงึ ความสวา่ งทีเ่ จิดจา้ หลงั วนั แห่งความมืดมน ทท่ี อ้ งทงุ่ ทีร่ าบโบสถ์
 สีฟา้ เป็นสขี องพระมารดาที่ภคินรี ัก เธอพิสจู นค์ วามรกั น้ี ด้วยการสวดสายประคา และ

เลียนแบบ พระมารดา
 เดอ ชาร์ตร เป็นชอ่ื ที่สอง บอกถึงบา้ นแม่ ซ่งึ เป็นหวั ใจและศูนย์รวมเอกภาพของภคินี ตัง้ อยใู่ กล้ อาสนวหิ ารพระมารดาแหง่

ชาร์ตร
 สแี ดง สแี หง่ ความรัก สีเลอื ด สีแหง่ ความตายและความกล้าหาญของนักบญุ เปาโล มรณสกั ขี องค์อปุ ถัมภข์ องภคินี ผู้ถอื ดาบ

แหง่ พระวาจา ชรู ับความมีชยั
 บทจดหมาย ทเี่ ปดิ อยู่ มคี าจารกึ วา่ จงเปน็ ทุกอยา่ งสาหรบั ทุกคน บง่ บอกถึงฐานะผู้รบั ใช้ของภคนิ ี ในการนามนุษย์ใหร้ อด

เพอื่ เทดิ พระเกยี รตพิ ระเจ้า
 ภาษาฝร่ังเศส 3 คา คือ REGULARITE (ซ่ือตรง) SIMPLICITE (เรยี บงา่ ย) TRAVAIL (การงาน) เป็นการเตือนใจให้ยดึ ถอื

ปฏิบตั ใิ นคณุ ธรรมของความซื่อตรง สภุ าพราบเรียบ และรักการทางาน

ตราของโรงเรยี นเซนต์ฟรังซสี เซเวยี ร์

ตราของโรงเรียน คือ ช่ือโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์และสถานท่ีตั้งของโรงเรียนปรากฏอยู่
ระหว่างวงกลมสองวงซ้อนกัน ภายในวงกลมเป็นลายโปร่งมีสญั ลักษณข์ องโรงเรียนเป็นรูปวงกลมมีเส้นขอบ
และเสน้ โค้งขน้ึ โคง้ ลง ประดับรอบนอกบงั เกิดเป็นกลบี เจด็ กลบี ตรงกลางมเี ครอ่ื งหมายโล่ป้องกันศัสตราวุธ
ภายในโล่แบ่งออกเป็นสามสว่ น คือส่วนบนของโล่มีอักษร ซฟซ อยู่หน้าเส้นตรงต้ัง ส่วนล่างมีตะเกียงเปล่ง
ประทีปอยู่บนหนังสือพระคัมภีร์สองเล่มซ้อนกันมีเสน้ แนวนอนเป็นฐาน ด้านหลังโล่มีดาบขัดอยู่ปลายดาบ
ปรากฏทดี่ า้ นบนซา้ ยและด้ามปรากฏทดี่ ้านล่างขวา มองเหน็ ใบไมท้ อดปลายด้านบนขวาและดา้ นล่างซา้ ย
ความหมายของตราโรงเรยี น
 วงกลม หมายถึง ความมุ่งหมายร่วมกันในการพัฒนาเยาวชนให้เป็นบุคคลผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตาม

คุณค่าแห่งศาสนธรรม วัฒนธรรม และวิชาความรู้ ขณะเดียวกันหมายถึง การรวมศรัทธาธรรมของ
นักบวช เข้ากับความรักของผู้ปกครอง เมตตาธรรมของครู และการแสวงหาความรู้ความเจริญของ
นกั เรียน
 เส้นประดับเจ็ดกลีบ แทนพระคุณเจ็ดประการของพระจิตเจ้า คือ พระดาริ สติปัญญา ความคิด อ่าน
กาลัง ความรู้ ความศรัทธา ความยาเกรง
 โล่ แสดงนัยของคุณธรรมวา่ ความรเู้ ปน็ เครื่องปกป้องภยั
 ตะเกยี ง เปรียบประดจุ แสงสว่างส่องทางชีวติ เทยี บเทา่ แสงแห่งปญั ญา
 หนังสือสองเล่ม แทนคู่มือปลูกฝังคุณค่าทางจิตใจ และคุณค่าทางวิชาชีพ ความสมดุลของ คุณค่าทั้งสอง เปรียบประดุจตะเกียง
เปลง่ แสงสวา่ งนาชวี ิตไปถกู ทาง
 ดาบคม คอื ปัญญา ด้าม คอื สติ ดาบนี้เปน็ เคร่อื งประหารความเขลา และความไม่ชอบธรรม ทง้ั หลาย และป้องกันตนเองดว้ ยดาบ
ท่อี ย่ทู างซา้ ย จงึ ต้องใช้ความสขุ ุมภมั ภรี ์ภาพ และอย่างองอาจกล้าหาญ
 ใบไม้ แทนใบมะกอก ใบของพชื คอื ส่วนท่ีทาหนา้ ทีห่ ายใจใบมะกอกจึงแทน การดารงชีวิตในสันติสุขและเพอ่ื สันตสิ ขุ

ปฏิทนิ ปฏบิ ตั งิ านครู - 16 - ประจาปกี ารศึกษา 2563

เพลงมารช์ เซนตฟ์ รงั ซีสฯ

เซนต์ฟรงั ซีสเซเวียร์ นามเดน่ เน้ือร้องโดย เซอร์ มารีอา โปลนี ชวู ิรชั
สถานศึกษา แหลง่ ประสิทธ์ิ
ท่ีสรรคส์ ร้าง ภมู ิปญั ญา เปน็ สง่า
ใหง้ ามสม เจดิ จรสั วทิ ยาศรม
มีวนิ ยั คา่ นิยม
ศกึ ษาดี คณุ ธรรม พพิ ฒั นช์ ยั
พรอ้ มใฝ่หา กจิ กรรม ใจเมตตา
ใหเ้ ลิศลา้ คอื ปรชั ญา นาสมยั
นีแ่ หละไซร้ ดนตรี การงานไป
ดาวจารัส คา่ บวร
วชิ าการ ทอ้ งนภา กีฬาเด่น
หวังให้เป็น ดาวดวงเดน่ ประภสั สร
ประดบั ทวั่ สถาพร
นริ นั ดร คอื เซนต์ฟรงั ฯ

อัตลกั ษณข์ องโรงเรยี น

โรงเรยี นเซนตฟ์ รังซสี เซเวียร์ เปน็ โรงเรยี นหนึ่งในมลู นธิ ิส่งเสรมิ การศึกษาของคณะภคินีเซนตป์ อล เดอ ชารต์ ร โรงเรยี นไดท้ า
การวิเคราะห์ เจตนารมณแ์ ละความเป็นมาของโรงเรยี นกอ่ นแลว้ จงึ กาหนดเป็นอตั ลักษณ์ หรอื คุณสมบตั เิ ฉพาะท่ีนักเรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี ฯ
จะต้องมีก่อนสาเร็จการศึกษา ดังน้ันโรงเรียนจึงได้กาหนด “ภาพแห่งความสาเร็จ” (Image of Success) ที่โรงเรียนตอ้ งการใหเ้ กดิ
ขึน้ กับนักเรยี นเซนต์ฟรงั ซสี ฯ ทกุ คน โดยโรงเรียนเซนต์ฟรังซสี เซเวยี ร์ ไดก้ าหนดภาพของความสาเรจ็ (Image of Success) ทีต่ อ้ งการ
ใหเ้ กดิ ขึ้นกบั นกั เรยี นเซนตฟ์ รงั ซสี ฯ ทุกคนไวว้ ่า…

เอกลักษณโ์ รงเรียน : “ชุมชนแหง่ รักและเมตตา”
(Community of charity)

อตั ลักษณ์โรงเรยี น : “จติ แหง่ รกั และเมตตา สามคั คีเปน็ หน่ึงเดยี ว”
“Spirit of love and Compassion Power of Solidarity”

ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 17 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

กระบวนการสร้างความสาเร็จ คมุ้ คา่ เก็บรกั ษาดูแลเปน็ อยา่ งดี รกั ษาสมบัตสิ ว่ นรวม ไม่ใช้
จ่ายเงนิ เกนิ ตัว ไมฟ่ ุ้งเฟอ้ ตัดสินใจอยา่ งรอบคอบ มีเหตผุ ล
โ ร ง เ รี ย น เ ซ น ต์ ฟ รั ง ซี ส เ ซ เ วี ย ร์ ไ ด้ จั ด ก ร ะ บ ว น ก า ร
ปฏิบัติการสร้าง “จิตแห่งรักและเมตตา สามัคคีเป็นหนึ่งเดยี ว”  มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เร่อื ง “ความเคารพ/ศักดิศ์ รี” รู้จักเคารพ
ให้เกิดข้ึนในตัวเด็กนักเรียนเซนต์ฟรังซีสฯ ประกอบด้วย การจัด สิทธขิ องตนเองและผู้อน่ื เข้าใจและยอมรบั ความแตกต่าง
โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ อย่างหลากหลายที่ส่งเสริมเพื่อการ ระหวา่ งบุคคล ไมร่ ังแกผ้ทู ่อี ่อนแอกวา่ มีศกั ดศิ์ รใี นตนเองโดย
พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งมีการประเมินหรือตรวจสอบ ไม่เอาเปรียบผอู้ ่นื
อย่างมีระบบและเหมาะสม โดยมีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ อัต
ลกั ษณข์ องโรงเรยี น ดังน้ี  มัธยมศึกษาปีท่ี 2 เรือ่ ง “อภยั ด้วยใจทีเ่ ปน็ มติ ร” รจู้ ักให้
อภัยแทนการตาหนิ อภัยในความผิดพลาดของผู้ทสี่ านกึ ผิด มี
 กิจกรรมสอนลกู ให้แบง่ ปนั ความปรารถนาดตี ่อผูอ้ ื่น และใหโ้ อกาสผู้อ่นื กลับตวั ใหม่

 กจิ กรรมบา้ นนมี้ รี ักและเมตตา  มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เรอ่ื ง “รักสนั ติ” มคี วามสุขในจติ ใจ
ควบคุมอารมณไ์ ด้ และสามารถขจดั ความขัดแยง้ โดยสันติวิธี
 กิจกรรมกลอ่ มเกลาจติ ใจดว้ ยสายใยแห่งธรรม เป็นผสู้ ร้างบรรยากาศแห่งความสมานฉนั ท์ เอาความดีชนะ
ความไมด่ ี และมหี วั ใจท่เี ปดิ กว้างในการต้อนรบั ผู้อืน่
 กจิ กรรมหอ้ งเรียนจรยิ ธรรมชุมชน
 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรอ่ื ง “ความยตุ ธิ รรม” มคี วามเทยี่ งตรง
 กิจกรรมปันรักปนั รู้...สนู่ อ้ งผดู้ ้อยโอกาส ไม่มอี คติ ไมล่ าเอียง มีความถกู ต้อง มเี หตุผลสามารถแยกแยะ
ได้วา่ อะไรถูกอะไรผดิ รผู้ ิดชอบช่วั ดี มีความเสมอภาคไม่
กิจกรรมทีส่ ่งเสริม/ปลูกฝังนักเรยี น… แบ่งแยก มคี วามตรงไปตรงมา ตัดสินใจดว้ ยเหตผุ ลทีถ่ กู ทคี่ วร
และมใี จเปน็ ธรรมในการตดั สินปญั หา
 ปฐมวยั ปีที่ 1 เรื่อง “สง่ิ รอบตวั ฉัน” ดูแลเอาใจใสต่ ัวเอง
และช่วยเหลอื ตนเองได้  มัธยมศึกษาปีที่ 5 เร่ือง “เปน็ นา้ หนึง่ ใจเดยี วกนั ” มคี วาม
ร่วมมือสมคั รสมานสามคั คี และเอาใจเขามาใส่ใจเรา เห็นแก่
 ปฐมวัยปที ่ี 2 เรื่อง “ทกุ คนคือพนี่ ้องกัน” รกั ครอบครัว รกั ประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ส่วนตน มีส่วนร่วมอยา่ งแข็งขนั ใน
เพ่อื น เอาใจใสท่ กุ คนที่อยูร่ อบข้าง เคารพและเช่ือฟัง การจัดกจิ กรรมส่วนรวม และเป็นผปู้ ระสานความสามัคคใี น
ผู้ปกครอง คณุ ครู และผู้ที่อาวุโสกว่า หมู่คณะ

 ปฐมวัยปที ี่ 3 เรอ่ื ง “ชีวิตท่งี ดงาม” ทางานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ มี  มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เรอ่ื ง “การรับใช้” ช่วยเหลืองานส่วนรวม
ความสภุ าพ เรยี บร้อย ใจกวา้ งและรกั ชาติ มีชวี ิตท่ีเรยี บงา่ ย ด้วยความเตม็ ใจ มองเห็นความตอ้ งการของผู้อ่ืนและ
ตอบสนอง รู้จกั อาสาทจี่ ะทาหน้าท่ีในการรบั ผดิ ชอบกจิ กรรม
 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เรอื่ ง “ความรกั ” รู้จกั รกั ตนเอง รัก ต่างๆ ของโรงเรียน
ครอบครัว รกั เพอ่ื น รกั โรงเรียน รกั ชาติ และรักธรรมชาติ
กจิ กรรมสาหรบั ผปู้ กครอง…
 ประถมศึกษาปีที่ 2 เร่ือง “ความกตัญญูรคู้ ณุ ” รู้บุญคณุ รู้
ตอบแทนผ้มู ีพระคณุ แสดงกตเวทีตอ่ บุพการี โรงเรียน  กิจกรรมสอนลกู ใหแ้ บ่งปัน : สอนลูกให้รจู้ ักแบง่ สิ่งที่ตวั เองมี
มากกวา่ สาหรับผูท้ มี่ ีน้อยกว่า เชน่ การบริจาคส่ิงของ ปัจจยั
 ประถมศึกษาปีที่ 3 เร่ือง “รกั การทางาน” มคี วามมงุ่ มนั่ ตา่ งๆ ฯลฯ ในโอกาสเทศกาลคริสตม์ าส และภยั พิบัตติ า่ ง ๆ
กระตอื รือรน้ ในการทางาน ขยัน อดทน มีสมาธิในการทางาน
ไม่ย่อทอ้ ตอ่ ปัญหา รับผิดชอบต่อหน้าทที่ ่ีไดร้ ับมอบหมายเปน็  กจิ กรรมโลกใบเลก็ ...ของเด็กเซนต์ฟรังซีสฯ : ผูป้ กครอง
อยา่ งดตี อ่ ตนเองผูอ้ น่ื และสามารถทางานรว่ มกับผ้อู ื่นได้ รว่ มจัดงานวันเดก็ เพือ่ ให้สรา้ งความเปน็ นา้ หนงึ่ ใจเดยี วกัน
โดยจดั เคร่ืองเล่น เกมตา่ ง ๆ วาดภาพระบายสี ฯลฯ พร้อม
 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เรื่อง “ความเมตตา” รจู้ ักแบ่งปนั สงิ่ ที่ กับเล้ียงอาหารแก่ลูก ๆ
ตนเองมแี กผ่ อู้ ่ืน อดออมบางส่งิ เพอื่ ชว่ ยผู้อน่ื และให้ความ
ชว่ ยเหลือจนสดุ ความสามารถ  กิจกรรมพอ่ -แม่ เปน็ ครู : คุณพ่อ คุณแม่ อาสาเปน็ คณุ ครใู น
การให้ความรู้ และหลักการดาเนนิ ชวี ติ แก่ลูกๆ ในช่วงเดือน
 ประถมศึกษาปที ่ี 5 เรอ่ื ง “ความซ่อื ตรง” มีความซอ่ื ตรงต่อ สิงหาคม และ ธนั วาคม
ตนเอง และผู้อน่ื ตลอดจนหน้าทที่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ปฏิบัตทิ ุก
อยา่ งด้วยความซือ่ ตรงท้ังตอ่ หนา้ และลบั หลงั ปฏิบตั ิในสิง่ ท่ี
ถกู ต้อง และเป็นแบบอย่างที่ดดี า้ นความซอื่ ตรง

 ประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง “ความเรียบงา่ ย/พอเพยี ง” รจู้ ัก
พอใจในส่งิ ทต่ี นเองมี ใชท้ รัพยส์ นิ ของตนเองอย่างประหยดั

ปฏิทินปฏบิ ตั ิงานครู - 18 - ประจาปีการศึกษา 2563

คุณค่าพระวรสาร (Gospel Values)

คุณค่าพระวรสาร หมายถึง คุณค่าที่พระเยซูส่ังสอนและเจริญชีวิต
เป็นแบบอย่างแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชน ดังที่มีบันทึกในพระคัมภีร์
ตอนที่มีชื่อเรียกว่า “พระวรสาร” ซ่ึงแปลว่า “ข่าวดี” คาว่า “ข่าวดี”
หมายถึง ข่าวดีแห่งความรอดพ้นของมนุษย์จากบาปหมายถึง สารความจริง
อันประเสริฐที่วา่ พระเจ้ารักมนุษย์จนกระท่ังประทานพระบุตรมาบังเกิดเปน็
มนุษย์ เพ่ือไขแสดงพระองค์ และสอนพระธรรมแก่มนุษย์ พระเยซูทรง
สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อไถ่มนุษย์ให้รอดพ้นจากบาป และทรงกลับคืน
พระชนมชพี เพื่อบันดาลให้มนุษย์ได้รบั ชีวิตนิรนั ดร

1. ความศรัทธา (Faith) ความศรัทธา หมายถงึ ความ 7. ความเคารพ/ศักดิ์ศรี (Respect/Dignity) มนุษย์
เช่ือศรัทธาในพระเจ้า ความเชื่อในความเป็นจริงที่อยู่เหนือสิ่งที่ ถูกสร้างตามพระฉายาลักษณ์ของพระเจ้า ดังน้ัน ชีวิตมนุษย์จึงมี
เราจับต้องมองเห็น ความเช่ือในความเป็นจริงของจิตวิญญาณ ความศักดิ์สิทธิ์ พระเยซูสอนใหเ้ ราเคารพศักดศ์ิ รีของตนเอง และ
และในมิติทางศาสนาของชีวิต พระเยซูสอนว่า หากเรามีความ ของกัน และกัน
เชื่อศรัทธาอัศจรรย์จะเกิดข้ึนในชีวิตของเรา เราต้องมีความเชื่อ
ศรัทธาเม่ือเราภาวนาและเมื่อเราอยู่ในวิกฤต ความเช่ือศรัทธา 8. ความซ่ือตรง (Honest) พระเยซูคาดหวังใหเ้ ราเปน็
เป็นพืน้ ฐานของคณุ คา่ พระวรสารอน่ื ๆ ท้งั หมด “มนุษย์ใหม่” มนุษย์ที่ซื่อตรง ชอบธรรม ประพฤติชอบในสาย
พระเนตรของพระเจ้า ดารงตนอยู่ในศีลธรรม ไม่น่าซ่ือใจคด ไม่
2. ความจริง (Truth) พระเยซูตรัสว่าพระองค์คือ คดโกงหรอื เบยี ดเบียนผอู้ น่ื
“หนทาง ความจริง และชีวิต” ชีวิตของเราเป็นการแสวงหา
ความจริง ความจริงของธรรมชาติ ความจริงของโลกและความ 9. ความเรียบง่าย (Simplicity) พระเยซูเจริญชีวิตที่
จริงของมนุษย์ พระองค์สอนเราวา่ ความจริงทาใหเ้ ราเป็นไท เรียบงา่ ย คลุกคลกี ับประชาชนคนสามัญ ทกุ คนเข้าหาพระองคไ์ ด้
แม้แต่เด็กๆพระองค์สอนเรามิให้กังวลใจในเครื่องแต่งกาย ใน
3. การไตรต่ รอง/ภาวนา (Reflection/Prayer) พระ อาหารการกนิ เพราะพระเจ้าดแู ลชวี ติ ของเราทุกคน
เยซูภาวนาอยู่เสมอ พระองค์ภาวนาเป็นพิเศษเมื่อประกอบ
ภารกิจสาคัญ เม่อื มีการประจญและเมื่อมวี ิกฤตของชีวิต พระองค์ 10. ความรัก (Love) พระเยซูสอนใหเ้ รามีความรักแท้
ยังสอนให้เรารู้คุณค่าของความสงบการไตร่ตรองเพ่ื อหา ความรักท่ีสูงส่งกว่าความรักใคร่ เป็นความรักที่ไม่เห็นแก่ตัว ไม่
ความหมายที่ลกึ ซง้ึ ของปรากฏการณ์ต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในชวี ติ หวังสิ่งตอบแทน ความรักท่ีมอบแก่ทุกคน ความรักท่ีเอาชนะ
อารมณ์ความรู้สึกของตน จนกระทั่งสามารถรกั แมแ้ ต่คนท่เี ป็นอริ
4. มโนธรรม/วิจารณญาณ/ความกล้ าห าญ กับเรา หลักปฏิบัติพื้นฐานของการแสดงความรักคือ “ปฏิบัติต่อ
(Conscience/Discernment/Courage) พระเยซูสอนให้เรามี ผู้อ่ืนดังท่ีเราอยากให้ผู้อ่ืนปฏิบัติต่อเรา” หลักปฏิบัติขั้นสูงของ
ความกล้าหาญเด็ดเด่ียวในการรักษาศีลธรรม มีมโนธรรม การแสดงความรักคือ “รักกันและกันเหมือนท่ีพระเจ้าทรงรัก
เท่ียงตรง วิจารณญาณแยกแยะชั่วดี รู้จักตัดสินใจเลือกทางแห่ง เรา” ความรักเป็นคุณค่าที่สาคัญที่สุดเป็นจุดมุ่งหมายที่คุณค่า
ความดีงามและยึดมั่นในทางแห่งความดี แม้ในสถานการณ์ท่ีเรา อ่ืนๆ ทุกคณุ คา่ นาไปสู่
ถกู คุกคาม
11. ความเมตตา (Compassion,Charity) พระเยซู
5. อิสรภาพ (Freedom) พระเยซสู อนวา่ “ความจริง เจริญชีวติ ทเี่ ป็นแบบอยา่ งของความเมตตา พระองค์เมตตาต่อทุก
ทาใหเ้ ราเปน็ อสิ ระ” ซ่งึ หมายถึงความเปน็ อสิ ระจากการเป็นทาส คน คนเจ็บป่วย คนตกทุกข์ได้ยาก และคนด้อยโอกาส พระองค์
ของบาป เราปฏิบัติหน้าท่ีของเราด้วยความเชื่อม่ัน ด้วยความรัก ร่วมทุกข์กับคนที่มีความทุกข์ เข้าถึงความรู้สึกและความต้องการ
มิใช่ด้วยความกลวั ของผู้อ่นื

6 . ค ว า ม ยิ น ดี ( Joy) ค ว า ม ยิ น ดี เ ป็ น ผ ล ของ 12. ความกตัญญูรู้คุณ (Gratitude) พระเยซูตรัส
ประสบการณ์การสัมผสั ความรกั ของพระเจ้าพระเยซูสอนใหเ้ รามี ชมเชยผู้ที่ได้รับการรักษาจากโรคภัย ที่กลับมาขอบคุณพระองค์
ใจเบิกบานอยู่เสมอ ไม่มีส่ิงใดทาให้เราหว่ันไหว หรือหวั่นกลัว พระเยซูขอบคุณพระเจ้าในทุกขณะ และสอนให้เรารู้จักกตัญญู
เพราะพระเจา้ รกั เรา รู้คุณตอ่ พระเจา้ และตอ่ ทุกคนทมี่ บี ญุ คุณตอ่ เรา

ปฏิทนิ ปฏิบัติงานครู - 19 - ประจาปีการศึกษา 2563

13. การงาน (Work) พระเยซูสอนเราให้เห็นคุณค่า 20. ความหวัง (Hope) ความหวังมีพ้ืนฐานอยู่บนคา
ของการทางาน ผู้ท่ีทางานก็สมควรได้รับค่าตอบแทน (ลก 10:7) สัญญาของพระเยซูว่า พระองค์มาเพ่ือกอบกู้มนุษย์ทุกคนให้ได้
พระองค์จะประทานรางวลั แกท่ ุกคนตามการทางานของแต่ละคน ความรอดพ้นจากบาป และมีชีวิตนิรันดร์ ความหวังทาให้เรามี
(มท 16:27) พระองค์ทางานอยู่เสมอเหมือนพระบิดาทางานอยู่ ความอดทน พากเพียร และม่ันคงในความดี ความหวังยังทาให้
เสมอ (ยน 5:17) พระองค์ยังสอนว่าการทางานเป็นการถวาย เราคิดบวก มองโลกในแง่ดี เราหวังในพระเจ้ามิใช่ในวัตถุ
เกียรติแด่พระเจ้า (ยน 17:4) เราพึงระลึกอยู่เสมอว่าเราต้อง ความหวังจึงเป็นแรงบันดาลใจให้เรายึดม่ันในความดี “จงให้
ทางานเพื่ออาหารที่คงอยู่เป็นชีวิตนิรันดร์ “จงทางานหนักเพ่ือ แล้วพระเจ้าจะประทานแก่ท่าน ท่านจะได้รับเต็มสัดเต็ม
เขา้ ประตูแคบสพู่ ระราชยั สวรรค์” (ลก 13:24) ทะนานอัดแน่นจนล้น เพราะว่าท่านใช้ทะนานใดตวงให้เรา
พระเจ้าก็จะใช้ทะนานนั้นตวงตอบแทนให้ท่านด้วย” (ลูกา 6:
14. การรับใช้ (Service) พระเยซูเสด็จมาในโลกเพ่ือ 38)
มารับใช้มิใช่มาเพื่อได้รับการรับใช้ พระองค์สอนสานุศิษย์ว่า
พระองค์ ผู้เป็นพระเจ้ายังรับใช้พวกเขา ดังน้ันพวกเขาต้องรับใช้ คุณคา่ พระวรสาร (Gospel Values)
ผอู้ ืน่ เช่นเดียวกัน ผู้ใหญก่ ว่าจะตอ้ งรบั ใช้ผ้นู อ้ ยกว่า
“พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมาก จึง
15. ความยุติธรรม (Justice) พระเยซูสอนให้เรา ประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของ
แสวงหาความยุติธรรมให้กบั ผ้อู ่ืนก่อนให้กับตัวเอง ความยุตธิ รรม พระองค์ เพ่อื ทกุ คนทม่ี คี วามเช่ือในพระบุตรจะ
เรียกร้องให้เราเปิดใจกว้างต่อความต้องการของผู้อื่นโดยเฉพาะ ไมพ่ นิ าศ แต่จะมีชีวิตนิรันดร” (ยอห์น 3:16)
อยา่ งยิ่งผูท้ ี่ด้อยกว่าเรา

16. สันติ/การคืนดี (Peace/Reconciliation) พระ
เยซูตรัสว่า พระองค์นาสันติมาสู่โลก สันติเป็นผลมาจากความ
ยุติธรรม เราสามารถนาสันติสู่สังคมท่ีเราอย่โู ดยมีความสัมพันธท์ ่ี
ดีต่อกันและกัน มีใจที่ปล่อยวาง หลุดพ้นจากความว้าวุ่นใจ
หลีกเล่ียงความรุนแรงทุกชนิด และเมื่อมีความขัดแย้ง เราต้อง
พร้อมท่ีจะคืนดีเสมอ การคืนดีเป็นผลจากการเคารพซึ่งกันและ
กนั และใจเปิดต่อการเสวนา

17. การอภัย (Forgiveness) พระเยซูสอนศิษย์ให้
ภาวนาต่อพระบิดาเสมอๆ ว่า “โปรดอภัยแก่ข้าพเจ้า เหมือนที่
ข้าพเจา้ อภยั ให้ผู้อื่นท่ีทาผิดต่อข้าพเจ้า” พระเยซเู ลา่ นทิ านของ
บิดาผู้ใจดีที่ให้อภัยแก่ลูกท่ีล้างผลาญทรัพย์สมบัติของบิดา พระ
เยซูให้อภัยแก่ผู้ท่ีตรึงพระองค์บนกางเขน การรู้จักให้อภัยผู้อ่ืน
เกิดขึ้นได้เม่ือเรารู้จักเอาชนะความโกรธเคือง ความอาฆาตมาตร
รา้ ยทกุ ชนิด การใหอ้ ภยั ของเราต้องไม่มขี อบเขตเหมือนท่ีพระเจ้า
ให้อภัยแก่เราอย่างไม่มขี อบเขต พระเยซูสอนเราว่า “อย่าปล่อย
ให้ตะวันตกดินโดยทีใ่ จยงั โกรธเคืองผู้อ่ืนอยู่”

18. ความเป็นหน่ึง/ความเป็นชุมชน (Unity/
Community) พระเยซูสอนว่า มนุษย์ทุกคนเป็นพี่น้องกัน ทุก
คนมีพระเจ้าเป็นพระบิดาองค์เดียวกัน ดังน้ันมนุษย์จึงต้องสร้าง
สังคมมนุษย์ให้นา่ อยู่ มคี วามเปน็ พ่ีเปน็ นอ้ งกัน มสี ายใยยึดเหน่ียว
กันอย่างมั่นคง ไม่ว่าเราจะอยู่ในหน่วยใดของสังคม ทั้งบ้าน
โรงเรียน และท้องถ่ิน เราต้องแสดงความเป็นเจ้าของ การมีส่วน
รว่ ม ในชีวติ ของชุมชนนนั้ ๆ

19. การพิศเพ่งธรรมชาติสิ่งสร้าง (Wonder) พระ
เยซูสอนให้เรามองดูความสวยงามของธรรมชาติ ดวงดาวบน
ท้องฟ้า นกท่ีบินในอากาศ ดอกไม้ในทุ่งหญ้า แล้วมองเห็นความ
ยิ่งใหญ่ของพระผู้สร้างธรรมชาติ มองเห็นความน่าพิศวงของ
ธรรมชาติ ที่ถูกสร้างมาเพื่อให้มนุษย์เอาใจใส่ดแู ล เราจึงต้องหวง
แหนธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พิทกั ษ์โลกของเราใหอ้ นชุ นรุ่น
หลัง

ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานครู - 20 - ประจาปีการศึกษา 2563

มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ระดบั ปฐมวยั

1. พฒั นาการด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสุขนสิ ัยทดี่ ี
มาตรฐานท่ี 2 กล้ามเน้อื ใหญแ่ ละกล้ามเนือ้ เล็กแข็งแรงใช้ได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และประสานสัมพนั ธก์ ัน

2. พัฒนาการด้านอารมณ์
มาตรฐานที่ 3 มสี ุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข
มาตรฐานที่ 4 ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจทีด่ งี าม

3. พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานท่ี 6 มที ักษะชวี ิตและปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ 7 รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยู่รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏิบตั ติ นเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

4. พฒั นาการด้านสติปญั ญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดทีเ่ ปน็ พนื้ ฐานในการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี 11 มจี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
มาตรฐานท่ี 12 มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนรูแ้ ละมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วยั

กิจกรรมการเรยี นรู้ระดบั ปฐมวัย...

1. กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ ในกิจกรรมนี้ เด็กๆ ได้ 3. กิจกรรมเสรี เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้เด็กๆ จะได้เล่น
รอ้ ง เลน่ เตน้ ระบาไปกับเสียงเพลงตามจนิ ตนาการ เดก็ จะ ส่ิงของต่างๆ ที่คุณครูไดจ้ ดั เตรียมไวใ้ นหอ้ งเรียนตามท่ีเด็ก
เคล่ือนไหวร่างกายอย่างสร้างสรรค์ เกิดการเรียนรู้จังหวะ สนใจอย่างอิสระ ภายใต้ข้อตกลงในห้องเรียน อาทิ การ
ดนตรีอย่างง่าย อีกท้ังยังรู้จักการปฏิบัติตนตามคาส่ังและ เลน่ ตวั ตอ่ ไมบ้ ลอ็ ก มุมวิทยาศาสตร์ หรอื มุมธรรมชาติ เปน็
ข้อตกลง มีความสนกุ สนานร่าเรงิ ต้น ซึ่งนอกจากเด็กจะได้เรียนรู้ส่ิงต่างๆ ผ่านการเล่นแล้ว
เด็กๆ ยังได้เรียนรู้การเล่นร่วมกันกับผู้อ่ืน ซ่ึงจะเป็น
2. กิจกรรมสร้างสรรค์ เด็กๆ จะได้สร้างสรรค์ผลงานทาง พ้ืนฐานทางดา้ นการดารงชวี ติ ประจาวันในสงั คมต่อไป
ศิลปะ โดยผ่านกระบวนการเลน่ กับสแี ละกระดาษ โดยการ
วาด พับ ตดั ฉีก ปะ เป็นตน้ กจิ กรรมเหล่านี้จะช่วยพัฒนา 4. กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กจะได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของ
กล้ามเน้ือมือให้แข็งแรง อันจะเป็นพ้ืนฐานในการหยิบจับ ร่างกายโดยผ่านกิจกรรมวิชาพลศึกษา อีกท้ังยังมีการเล่น
สิ่งของต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ส่งผลให้ทักษะด้านการ เครอ่ื งเลน่ ทส่ี นามเด็กเลน่ การเล่นบ่อนา้ การเล่นบ่อทราย
เขียนของเด็กได้มีการพัฒนาท่ีดีข้ึน และส่ิงสาคัญที่สุดคือ นอกจากจะส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงแลว้
เป็นการพัฒนาสมองโดยการผ่านเส้นประสาทจากปลาย ยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม
น้ิวน้อยๆ ของเด็กๆ นอกจากนี้จะทาให้เด็กเกิดสมาธิใน ภายนอกห้องเรียน รู้จักการแก้ปัญหาและพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ท่ีดี และถ่ายทอดจินตนาการผ่านผลงาน รู้จัก ทางสงั คมในการเล่นรว่ มกับผ้อู ื่น
ชืน่ ชมผอู้ ่นื และภมู ใิ จในชนิ้ งานของตนเอง ซึง่ สง่ ผลให้เด็ก
เกิดความมัน่ ใจในตนเองตามมา

ปฏิทินปฏบิ ตั ิงานครู - 21 - ประจาปีการศึกษา 2562

5. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กจะได้เรียนรู้สิงใหม่ๆ  คณุ ลุงต้นไม้ ใหเ้ ดก็ ๆ ได้เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั
ต่างๆ รอบตวั ที่เปน็ การเพิม่ พูนประสบการณด์ า้ นต่างๆ ซ่ึง ของธรรมชาติ วา่ ทกุ สิง่ ในโลกล้วนมคี วามสมั พนั ธ์กนั
จะเป็นก้าวแรกในโลกใบใหม่ของเด็กๆ ซ่ึงทางโรงเรียนที่ เมอื่ เราทาลายสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ส่ิงก็จะสง่ ผลไปยังอีกสง่ิ
จัดระบบเรอื่ งนี้เป็นหน่วยการเรยี นที่จะให้ความรแู้ ก่เดก็ ใน หน่ึง ทฤษฎเี ด็ดดอกไมส้ ะเทอื นถึงดวงดาว
สาระท่ีเด็กควรจะได้รับ โดยมีเนื้อหาความยากง่ายที่
เหมาะสมกับวัยและระดับช้ันที่แตกต่างกันไป อาทิ หน่วย  พี่กบเสียงใส เรียนรเู้ กย่ี วกับดนตรีเสยี งเพลง และการ
ร่างกายของฉัน หน่วยอาเซียน หน่วยครอบครัวแสนสุข เคล่อื นไหวพรอ้ มทงั้ ทักษะพื้นฐานของการเลน่ เปียโน
เปน็ ตน้ โดยคุณครจู ะมีการสอนท่หี ลากหลาย มกี ารบูรณา
การส่งิ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก มเี ทคนคิ การสอนท่หี ลากหลาย ที่  เจ้าเสือนกั คิด เด็กจะเรียนรเู้ กย่ี วกบั คณติ ศาสตร์
เปิดกว้างในเด็กเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะการคิด กล้า จานวน และ Concept พนื้ ฐานคณิตสาหรบั เดก็
แสดงออกและสามารถรู้จักนาความรทู้ ไ่ี ด้รับไปประยุกต์ใช้ ปฐมวัย
ในชีวิตประจาวันได้ เช่น การสนทนาซักถาม หรือ การ
อภิปราย การสาธิต การทดลอง การปฏิบัติ การประกอบ  คุณโจก๊ ช่างเจรจา นอกเหนอื จากการเรยี นใน
อาหาร นิทาน ทัศนศกึ ษา การเลน่ เกม เป็นต้น หอ้ งเรียนแลว้ การเรยี นภาษาอังกฤษผ่าน Theme ใน
ศนู ย์โลกอัจฉรยิ ะ
6. กิจกรรมเกมการศึกษา เด็กจะไดท้ บทวนเก่ยี วกบั เรอ่ื งท่ี
เรียนจากกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ หรอื กิจกรรมอืน่ ๆ ที่  ม้าลายชา่ งศลิ ป์ กิจกรรมศลิ ปะ ผา่ นการป้ัน วาด
เดก็ ได้ปฏบิ ัติ หรอื พฒั นาทักษะการสังเกตดา้ นสตปิ ัญญา ระบาย รวมท้งั ศิลปะประดิษฐต์ ่างๆ เพ่อื ฝกึ ความคดิ
โดยผ่านการเล่นเกมชุดการสอนทคี่ รจู ดั เตรยี มไว้ให้ อาทิ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ การทางานรว่ มกับผูอ้ ืน่
การเรยี งลาดับภาพการเจรญิ เติบโตของต้นไม้ เป็นตน้ ใน
การทากจิ กรรมนีโ้ ดยสว่ นใหญ่มักจัดในรูปแบบกิจกรรม  ดร.สิงห์ นกั ทดลอง เรยี นรแู้ ละทาการทดลองทาง
กลมุ่ เดก็ จะเรยี นรูใ้ นการสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง วิทยาศาสตร์ โดยเน้นทกั ษะกระบวนการทาง
เรียนรทู้ ักษะการแกป้ ญั หาและกระบวนการทางานกลุ่ม วิทยาศาสตร์ให้เกิดขึน้ กบั เด็กๆ ฝกึ ใหเ้ ดก็ ไดร้ จู้ ักสังเกต
อย่างงา่ ยและเหมาะสมกับวัย ตง้ั คาถาม และหาขอสรปุ ในสง่ิ ทส่ี งสัยและเป็นปัญหา

7. กจิ กรรมพิเศษ 9. ทกั ษะพน้ื ฐานในชวี ติ ประจาวนั ทักษะพน้ื ฐานใน
ชีวติ ประจาวนั ท่โี รงเรียนเซนตฟ์ รังซีสเซเวียร์ แผนก
 คอมพวิ เตอร์ นกั เรยี นทุกคนจะไดเ้ รยี นรู้ คอมพิวเตอร์ ปฐมวยั ไดเ้ ห็นถงึ ความสาคญั ในการเรยี นรพู้ น้ื ฐาน เรมิ่ จาก
สปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ เปน็ การปูพื้นฐานทางด้าน การดแู ลสขุ ภาพของตนเอง การชว่ ยเหลอื ตนเองในกจิ วัตร
เทคโนโลยี ผา่ นโปรแกรมสาเรจ็ รปู หนา้ จอTouch ประจาวันง่ายๆ อาทิเชน่ การเข้าหอ้ งนา้ การลา้ งมอื การ
screen ลา้ งหน้า แปรงฟนั การรบั ประทานอาหาร และการ
พกั ผอ่ น รว่ มทงั้ มีทักษะพ้ืนฐานในการดูแลตนเองได้
 ภาษาองั กฤษ นักเรยี นทกุ คนจะไดเ้ รยี นภาษาอังกฤษ
สปั ดาหล์ ะ 2 ครง้ั เป็นการเรยี นการสอนที่มงุ่ เนน้ ให้ ตารางกจิ กรรมประจาวัน ระดับชันปฐมวยั ปที ี่ 1 -3
เด็กได้มคี วามคนุ้ เคยกบั การออกเสียง ตามหลกั
Phonice และ การสนทนาผ่านกจิ กรรมร้อง เล่น เต้น เวลา กิจกรรม
เปน็ การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษที่เหมาะสมกบั วยั อนุบาล
07.00-08.20 น.  รบั เดก็
 Creative Reading เปน็ หอ้ งท่ีส่งเสรมิ และปลูกนิสยั 08.30-09.00 น.  กจิ กรรมหนา้ เสาธง
รักการอ่านโดยผา่ นนทิ าน และ กจิ กรรมต่างๆให้เดก็ 09.00-09.15 น.  ตรวจสุขภาพ ไปหอ้ งน้า
ไดม้ โี อกาสได้แสดงศกั ยภาพในด้านการแสดงบทบาท 09.15-09.35 น.  กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
สมมติผ่านเนื้อเร่ืองในนิทาน ภายใตบ้ รรยากาศท่ี 09.35–10.20 น.  กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
สง่ เสริมจินตนาการ 10.20–10.40 น.  พักทานของวา่ งเชา้ /ดื่มนม
10.40–11.15 น.  กจิ กรรมเสร/ี เล่นตามมมุ
8. กิจกรรมโลกศนู ยอ์ จั ฉริยะ โลกศนู ยอ์ จั ฉรยิ ะเกดิ ข้นึ ภายใต้ 11.15–11.40 น.  กจิ กรรมนทิ านกอ่ นรบั ประทานอาหาร
ความเช่อื ท่วี า่ เดก็ ทุกคนมสี ามารถในการเรยี นร้ทู ี่แตกต่าง 11.40–12.20 น.  รบั ประทานอาหารกลางวัน/แปรงฟัน
กนั ตามหลกั ทฤษฎขี องโอเวริ ด์ การด์ เนอร์ และนกั การ 12.20–14.00 น.  นอนพกั ผ่อน
ศกึ ษาอกี หลายทา่ นจงึ ทาใหศ้ ูนยโ์ ลกอจั ฉรยิ ะ ได้ 14.00–14.20 น.  เปลีย่ นชุด/เก็บทนี่ อน/ลา้ งหน้า
จัดรูปแบบการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองตามพฒั นาการการ 14.20–14.40 น.  อาหารว่างบา่ ย
เรยี นรขู้ องเด็กปฐมวยั โดยแบง่ ออกเปน็ 6 กิจกรรมการ 14.40–15.00 น.  เกมการศึกษา
เรียนรู้ ไดแ้ ก่ 15.00–15.45 น.  กจิ กรรมพิเศษ/เตรยี มตัวกลับบ้าน

16.00 น.  กลบั บ้าน

ปฏทิ ินปฏบิ ตั ิงานครู - 22 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

ขอ้ แนะนาสาหรบั ผ้ปู กครองนักเรียนระดบั ชันปฐมวยั

1. การตดิ ต่อครปู ระจาชนั้ 3. การลาโรงเรยี น

 ทางโทรศัพท์ 02-980-8522 สามารถติดต่อใน  ลากิจ โทรศพั ท์แจ้งครูประจาชั้น หรือติดตอ่
ช่วงเวลา 12.00-13.20 น.และ เวลา 16.00- ประชาสัมพันธ์
17.00 น.
 ลาป่วย โทรศัพท์แจ้งครปู ระจาชน้ั หรอื ตดิ ต่อ
 การขอพบคุณครูประจาช้นั กรณุ าตดิ ต่อห้อง ประชาสมั พันธ์ พร้อมใบรบั รองแพทย์
ประชาสมั พันธ์ช่วงเวลา 12.00-13.20 น. และ (กรณีมยี าประจาตวั ขอใหผ้ ู้ปกครองแจ้งครปู ระจา
เวลา 16.00-17.00 น. ช้ันโดยตรง หรอื แจ้งในสมดุ ส่ือสาร)

 ติดต่อผา่ นไดอาร่ีของโรงเรยี น 4. กรุณาเตรียมชดุ สารองวันละ 1 ชุด เขียนช่ือ-สกุล
2. การรับ-ส่งนักเรยี น ชือ่ เล่น ตดิ ของใช้ และอุปกรณข์ องนกั เรยี นทุกชน้ิ
เพือ่ สะดวกในการจัดเกบ็ และปอ้ งกันการสูญหาย
การส่งนกั เรยี น (เชา้ ) โรงเรียนเข้าเวลา 08.15 น.
- ผู้ปกครองวนรถส่งนักเรียนกับคุณครูท่ีมหี น้าที่ 5. ห้ามนักเรียนนาสิ่งของมคี ่ามาโรงเรยี น อาทิ
โทรศพั ท์ ของเล่น เกมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ หากเกิด
ดแู ล และกรุณาเตรียมกระเป๋า กระติกนา้ พร้อม การสญู หายทางโรงเรียนจะไม่รบั ผดิ ชอบใดๆ ท้งั สิน้
ส่งนกั เรยี น
การรับนักเรยี น (เยน็ ) 6. เพื่อความปลอดภยั ของนักเรียน ทางโรงเรยี นไม่
- จันทร์-พฤหสั บดี เลิกเรียนเวลา 16.00 น. อนุญาตใหผ้ ูป้ กครองเขา้ ภายในอาคารเรียน
(ประตเู ปิด 16.00 น.)
- วนั ศกุ ร์ เลิกเรียนเวลา 15.00 น. 7. มาตรการรักษาความสะอาด โรงเรียนจดั ของใช้สว่ นตัว
(ประตูเปดิ 15.15 น.) ใหก้ ับนักเรียนทกุ คน เช่น แก้วน้า ผา้ เชด็ มอื แปรงสฟี นั
- ผู้ปกครองกรุณาลดกระจก และชบู ัตรรับ ฯลฯ รว่ มท้ังทาความสะอาดห้องเรียน ของเล่น และของ
นักเรียน ตามจดุ ท่ีกาหนด ใชด้ ว้ ยน้ายาฆ่าเชอ้ื โรคทุกวนั

 กรณีผู้ปกครองรบั นักเรียนก่อนเวลา กรุณาติดต่อ 8. เพื่อเปน็ แบบอย่างทดี่ ี และให้เกยี รตสิ ถานที่ ขอ
หอ้ งประชาสัมพันธ์พร้อมแสดงบัตรรับนกั เรยี น ความร่วมมือกบั ผู้ปกครองทุกท่าน แต่งกายสุภาพ
ทกุ คร้ังทม่ี ารบั นักเรยี นกลับบ้าน เมอื่ มาตดิ ต่อ หรือ รบั -สง่ นกั เรียน (งดเส้ือสายเดีย่ ว
เสือ้ กลา้ ม กางเกงขาส้ัน กระโปรงสัน้ ฯลฯ)

ปฏิทินปฏบิ ตั ิงานครู - 23 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ม่งุ พฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซึ่งการ
พจิ ารณาผูเ้ รียนให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรทู้ ีก่ าหนดใหน้ ้ัน จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการดังน้ี

1. ความสามารถในการสอื่ สาร เป็นความสามารถในการรับข่าวสาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอด
ความคดิ ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณ์อันจะ
เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และลดปัญหาความขดั แย้ง
ต่างๆ การเลือกรบั หรือไมร่ ับข้อมลู ข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี าร
ส่ือสารทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดอย่างสรา้ งสรรค์
การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอื่ นาไปส่กู ารสรา้ งองคค์ วามรหู้ รือสารสนเทศเพ่ือการ
ตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ทเี่ ผชิญได้อยา่ งถูกต้อง
และเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศเข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่างๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแก้ไข
ปญั หาและมีการตดั สนิ ใจทีม่ ีประสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรตู้ ่อเนื่อง การทางาน และการอยู่รว่ มกนั ในสังคมด้วยการสรา้ ง
เสริมความสมั พันธ์อันดีระหว่างบุคคล

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยดี ้านต่างๆ และมีทกั ษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทางาน การ
แกป้ ัญหาตนเองอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม

ปฏทิ ินปฏบิ ัตงิ านครู - 24 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดบั ประถม-มธั ยมศึกษา
นิยาม ตวั ชีวดั พฤติกรรมบง่ ชี และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ข้อ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ การเป็นพลเมืองดีของชาติธารงไว้

ซึง่ ความเป็นชาตไิ ทย ศรทั ธา ยดึ มน่ั ในศาสนา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์

ตวั ชว้ี ัด/พฤตกิ รรมทบี่ ่งชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )

1. เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติทกุ คร้ังทไ่ี ด้ยินเสียงเพลงชาติ บง่ ชี้ บ่งช้ี บง่ ชี้ บ่งชี้
1.2 มคี วามสามัคคีในหมคู่ ณะ
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ

1.3 ประพฤตติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามกฎระเบยี บของโรงเรียน

1.4 ร้องเพลงชาติได้

1.5 ประพฤตติ ามหนา้ ที่ของนกั เรยี น

1.6 ไม่ละเมดิ สิทธขิ องผู้อื่น

2. ธารงไว้ซงึ่ ความเปน็ ไทย มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม
2.1 พดู ภาษาไทย เขยี นภาษาไทย ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม บ่งช้ี บง่ ช้ี บง่ ชี้ บ่งช้ี
2.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมในวันสาคญั ของไทย
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ

2.3 แตง่ กายชดุ นักเรียนด้วยความเรยี บรอ้ ย

2.4 ภูมใิ จในความเปน็ ไทย

2.5 หวงแหน ปกปอ้ งชาติไทย

3. ศรทั ธา ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักศาสนา มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม
3.1 เข้าร่วมทางศาสนาทต่ี นเองนบั ถือ บง่ ชี้ บ่งชี้ บ่งชี้ บง่ ชี้
3.2 ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนาที่ตนเองนับถือ
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

3.3 เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี

3.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมวนั สาคญั ทางศาสนา

4. เคารพ เทิดทนู สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม
4.1 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับสถาบันพระมหากษตั ริย์ บง่ ช้ี บ่งช้ี บ่งชี้ บง่ ชี้
4.2 ยนื ตรงและรอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมไี ด้
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

4.3 แสดงความจงรกั ภักดโี ดยตดิ ธงสัญลักษณ์ หรือพระบรม

ฉายาลกั ษณไ์ ว้ท่ีบ้าน

4.4 แสดงออกซง่ึ ความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์

ข้อ 2. ซ่ือสตั ย์สจุ ริต หมายถึง คุณลกั ษณะทีแ่ สดงออกถึงการยดึ มัน่ ในการถกู ต้อง ประพฤติตรงตาม

ความเป็นจรงิ ต่อตนเองละผู้อน่ื ท้ังกาย วาจา ใจ

ตัวชีว้ ดั /พฤติกรรมท่ีบง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยี่ยม ( 3 )

1. ประพฤตติ รงตามความเปน็ จริงต่อตนเองทั้งกาย วาจา ใจ มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
1.1 ให้ขอ้ มลู ของตนเองตามความเปน็ จริงถูกตอ้ ง บ่งชี้ บ่งช้ี บ่งช้ี บ่งช้ี
1.2 ปฏิบตั ิตามคามัน่ สญั ญา
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ

1.3 ไม่พูดโกหก

1.4 ไมป่ ระพฤตติ นในทางท่ีผิด

1.5 แยกแยะไดว้ า่ สิ่งใดถกู สง่ิ ใดผดิ

ปฏิทินปฏบิ ตั ิงานครู - 25 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

ตัวชี้วดั /พฤติกรรมท่บี ง่ ช้ี เกณฑ์การให้คะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )

2. ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งกาย วาจา ใจ มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม
2.1 ไม่ลกั ขโมยของผูอ้ ่ืน บ่งช้ี บ่งชี้ บง่ ช้ี บง่ ช้ี
2.2 มคี วามซ่ือสตั ยต์ ่อผอู้ ืน่
1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ

2.3 ไมล่ อกการบา้ นเพอื่ น

2.4 เก็บของมีค่าได้แลว้ ส่งคนื ครู

2.5 ไมล่ อกเลียนผลงานผ้อู ืน่

2.6 นยิ มยกยอ่ งผู้ทีม่ ีความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

ข้อ 3. มวี นิ ยั หมายถงึ คณุ ลักษณะทแี่ สดงออกถงึ ความยึดม่นั ในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบยี บ

ขอ้ บงั คับของครอบครวั โรงเรยี นและสงั คม

ตวั ชี้วัด/พฤติกรรมทบ่ี ง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )

1. ปฏิบัติตนตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของ มีพฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม
ครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม บ่งชี้ บง่ ชี้ บง่ ชี้ บ่งชี้
1.1 ทาตามข้อตกลงของห้องเรยี น โรงเรียน
1-3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ 7-8 รายการ

1.2 ส่งงานตรงเวลา

1.3 เขา้ แถวทกุ วนั ตามระเบยี บของโรงเรียน

1.4 รับผดิ ชอบในการทางาน

1.5 ปฏิบตั ติ ามระเบยี บ กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั ของสังคม

1.6 แต่งกายถกู ต้องตามระเบยี บของโรงเรยี น

1.7 เขา้ หอ้ งเรียนตามเวลา

1.8 มีมารยาททด่ี ใี นการเป็นผู้ฟังทด่ี ี

ขอ้ 4. ใฝเ่ รียนรู้ หมายถึง คุณลกั ษณะทแี่ สดงออกถงึ ความต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นแสวงหา

ความรูจ้ ากแหลง่ เรียนรทู้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน

ตวั ชว้ี ดั /พฤตกิ รรมท่บี ง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไมผ่ า่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )

1. ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกจิ กรรม มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบง่ ชี้
1.1 ตั้งใจเรยี น 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

1.2 เขา้ เรียนทกุ ช่ัวโมง

1.3 สนใจกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ่างๆ

1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทที่ างโรงเรยี นจัดให้

2. แสวงหาความรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ท้ังภายในและ มีพฤตกิ รรมบง่ ช้ี มีพฤติกรรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบง่ ช้ี มพี ฤติกรรมบง่ ชี้
ภายนอกโรงเรยี นด้วยการเลอื กใชส้ ่อื อย่างเหมาะสม 1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ

2.1 เขา้ หอ้ งสมดุ สม่าเสมอ

2.2 บันทกึ ความรู้จากสิ่งทเ่ี รยี นรู้

2.3 ค้นคว้าความรูด้ ว้ ยตนเองจากแหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ

2.4 นาความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้

2.5 แลกเปลย่ี นความรกู้ ับเพื่อนและครู

2.6 ใช้ Internet ในการคน้ คว้าหาความรู้

ปฏิทินปฏบิ ัตงิ านครู - 26 - ประจาปีการศึกษา 2562

ขอ้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง หมายถงึ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถงึ การดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งพอประมาณ

มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภมู คิ ุ้มกนั ในตัวทดี่ ี และปรบั ตัวเพ่อื อยูใ่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ

ตวั ชวี้ ดั /พฤติกรรมทบี่ ง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยยี่ ม ( 3 )

1. ดาเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มี มีพฤติกรรมบ่งชี้ มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ มพี ฤติกรรมบง่ ช้ี มีพฤติกรรมบง่ ช้ี
คณุ ธรรม 1-3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ 6-7 รายการ

1.1 ใช้จา่ ยเงนิ อย่างประหยดั

1.2 มีการออมทรัพย์

1.3 ใช้ทรพั ยส์ นิ ของตนเองอยา่ งประหยดั คุม้ ค่า

1.4 ปิดน้า ปิดไฟ เมือ่ เลิกใชง้ าน

1.5 แบง่ ปันส่งิ ของให้เพื่อนที่ขาดแคลน

1.6 ไมเ่ อาเปรยี บเพอ่ื นรว่ มชน้ั เรยี น

1.7 ใชส้ ง่ิ ของของโรงเรียนอย่างประหยดั คุ้มคา่

2. มภี ูมิคุม้ กนั ในตัวทด่ี ี ปรบั ตวั เพอื่ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมี มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบ่งช้ี มีพฤติกรรมบง่ ชี้
ความสุข 1-3 รายการ 4 รายการ 5-6 รายการ 7-8 รายการ

2.1 นาเสนอข่าวสารหนา้ ช้ันเรยี นและร่วมกนั วเิ คราะห์วา่ ควร

ปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร

2.2 ติดตามข่าวสารประจาวนั

2.3 ปรบั ตัวกบั เพอื่ นร่วมชั้นเรยี นได้

2.4 วางแผนการเรยี น และการทางาน

2.5 ยอมรบั เพอื่ นร่วมชั้นเรยี น

2.6 เชื่อฟังคาสง่ั สอนของครูบาอาจารย์

2.7 เชอื่ ฟังคาสง่ั สอนของพอ่ แม่

2.8 รู้จกั แยกแยะวา่ สิ่งใดถกู ต้อง สง่ิ ใดไม่ถกู ตอ้ ง

ข้อ 6. ม่งุ มัน่ ในการทางาน หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทแี่ สดงออกถึงความตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในการทา

หน้าทีก่ ารงาน ดว้ ยความเพยี รพยาม อดทน เพอ่ื ให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย

ตวั ชว้ี ดั /พฤตกิ รรมทบ่ี ง่ ชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยย่ี ม ( 3 )

1. ตัง้ ใจและรบั ผดิ ชอบในหนา้ ทก่ี ารงาน มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤตกิ รรมบง่ ช้ี มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี
1.1 มคี วามต้งั ใจทมุ่ เทเสยี สละในการทางาน 1-2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ

1.2 มคี วามรับผดิ ชอบในการทางาน

1.3 เอาใจใส่ต่องานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

1.4 แก้ไขงานทบ่ี กพร่องใหด้ ยี ิ่งข้ึน

1.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมของทางโรงเรยี นอยา่ งต่อเน่อื ง

2. ทางานดว้ ยความเพียร พยามยาม และอดทน เพ่อื ใหง้ าน มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มพี ฤติกรรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบ่งชี้
1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ
สาเรจ็ ตามเป้าหมาย

2.1 มคี วามขยัน อดทนรอบคอบในการทางาน

2.2 ชื่นชมผลงานของตนเองและเพือ่ น

2.3 มคี วามพยายามในการทางานจนงานสาเรจ็

2.4 ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของเพอ่ื นรว่ มงาน

ปฏิทนิ ปฏิบัตงิ านครู - 27 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

ขอ้ 7. รักความเป็นไทย หมายถึง คณุ ลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความภาคภมู ิใจ เหน็ คณุ ค่ารว่ มอนุรักษ์

สืบทอดภมู ปิ ัญญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณีศิลปะและวัฒนธรรม ใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร

ได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม

ตวั ชวี้ ดั /พฤตกิ รรมทีบ่ ง่ ช้ี เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยี่ยม ( 3 )

1. ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรม ไม่มีพฤติกรรม มีพฤติกรรมบง่ ช้ี มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี
บ่งชี้ 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
ไทย และมีความกตัญญูกตเวที

1.1 มมี ารยาท สมั มาคารวะทดี่ งี าม

1.2 แต่งกายสะอาดเรยี บรอ้ ย

1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีเกยี่ วขอ้ งกับประเพณไี ทย

2. เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารได้อย่างถกู ต้อง ไมม่ พี ฤติกรรม มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบ่งช้ี
บง่ ชี้ 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ
และเหมาะสม

2.1 ใช้ภาษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

2.2 พดู ภาษาไทยถูกต้องตามอักขระวิธี

2.3 สามารถส่อื สารใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจได้

3. อนรุ ักษแ์ ละสบื ทอดภมู ิปัญญาไทย ไมม่ พี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรมบง่ ชี้ มีพฤติกรรมบ่งช้ี มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี
3.1 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่เี กยี่ วขอ้ งกับภูมิปญั ญาไทย บง่ ช้ี 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ

3.2 สามารถบอกภมู ิปัญญาไทยในทอ้ งถิ่นได้

3.3 มสี ่วนรว่ มในการสบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย

ขอ้ 8. มีจิตสาธารณะ หมายถงึ คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงการมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมหรือสถานการณ์

ทีก่ ่อให้เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่นื ชุมชน และสังคม ดว้ ยความเตม็ ใจกระตือรือร้น โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน

ตวั ชวี้ ดั /พฤติกรรมทบ่ี ่งช้ี เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไม่ผา่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยี่ยม ( 3 )

1. ชว่ ยเหลือผอู้ ่นื ด้วยความเต็มใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบ่งชี้
1.1 ช่วยเหลือพ่อแม่คณุ ครแู ละผูอ้ นื่ ในการทางาน 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

1.2 แบง่ ปันส่ิงของใหก้ บั ผอู้ ่นื ท่ขี าดแคลน

1.3 อาสาทางานชว่ ยคิดชว่ ยทาด้วยจิตใจที่ไม่หวงั ผลตอบแทน

1.4 แสดงความเหน็ อกเห็นใจและใหก้ าลงั ใจต่อผู้อืน่

2. เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนชมุ ชน และ ไม่มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบง่ ช้ี
สงั คม บ่งชี้ 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ

2.1 เขา้ ร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ที่ทางโรงเรยี นจดั ขนึ้

2.2 ดูแลรักษาความสะอาดห้องเรียนและโรงเรียนของตนเอง

2.3 ดูแลรกั ษาสาธารณสมบตั แิ ละสง่ิ แวดล้อม

ข้อ 9. ลกู ที่ดีของพ่อ-แม่ หมายถึง ลกู ที่ดเี คารพเชื่อฟังและกตญั ญกู ตเวทีตอ่ พอ่ แม่ผปู้ กครอง และ

รักษาช่ือเสียงของวงศ์ตระกูล

ตวั ช้วี ัด/พฤติกรรมท่ีบง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ า่ น ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยย่ี ม ( 3 )

1. เปน็ ลกู ทีด่ ีตอ่ พอ่ แม่ และผูป้ กครอง มีพฤตกิ รรมบง่ ชี้ มีพฤติกรรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ มพี ฤติกรรมบง่ ชี้
1.1 รักและเคารพเชือ่ ฟังคาสัง่ สอนของพอ่ แมแ่ ละผปู้ กครอง 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

1.2 ดูแลช่วยเหลือกิจธรุ ะตามกาลงั และความสามารถของตน

1.3 ประพฤตติ นใหเ้ ป็นลกู ที่ดี ไมน่ าความเส่ือมเสียมาสู่วงศ์

ตระกลู

1.4 แสดงความกตัญญกู ตเวทีต่อพอ่ แม่และผู้ปกครองตาม

โอกาสอนั ควร

ปฏิทนิ ปฏิบัติงานครู - 28 - ประจาปีการศึกษา 2562

ข้อ 10. นักเรียนทีด่ ีของโรงเรียน หมายถึง นักเรียนเคารพและเช่ือฟังปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บข้อบังคบั

ของโรงเรียน

ตัวช้วี ัด/พฤตกิ รรมทบ่ี ่งชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผ่าน ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ย่ยี ม ( 3 )

1. เคารพและเชอื่ ฟังปฏิบัติตามกฎระเบียบขอ้ บงั คบั ของ มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มพี ฤตกิ รรมบง่ ชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบ่งช้ี
โรงเรยี น 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4-5 รายการ

1.1 เคารพและปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบและรกั ษาชื่อเสยี งของ

โรงเรียน

1.2 เคารพและเชือ่ ฟังคาสัง่ สอนของคณะเซอรแ์ ละคณุ ครู

1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมต่างๆของโรงเรยี นด้วยความเตม็ ใจ

1.4 ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบตั ิของโรงเรียน

1.5 ช่วยกันสอดสอ่ งดแู ลความปลอดภัยภายในบรเิ วณโรงเรียน

ขอ้ 11. บาเพ็ญประโยชน์ต่อสงั คม หมายถงึ ชว่ ยเหลือผ้อู นื่ หรอื มสี ว่ นรว่ มทแ่ี สดงถงึ ความรับผิดชอบ

ในฐานะของสมาชกิ ท่ีดีของสังคม

ตวั ชว้ี ดั /พฤตกิ รรมทบ่ี ่งชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ไม่ผ่าน ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ยี่ยม ( 3 )

1.1. ชว่ ยเหลือผู้อนื่ หรือมีสว่ นร่วมรบั ผิดชอบต่อสังคม มพี ฤตกิ รรมบ่งช้ี มีพฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบง่ ช้ี
1.1 ช่วยเหลือผูอ้ ื่นและผู้ดอ้ ยโอกาสอยา่ งเตม็ ใจ 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

1.2 ปฏิบตั ิตนเปน็ ประโยชน์ต่อสงั คม

1.3 ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของสังคม

1.4 ร่วมกิจกรรมกับสงั คมในโอกาสอันควร

ข้อ 12. จติ แหง่ รักและเมตตา หมายถึงการมีลักษณะหรอื พฤติกรรมที่เออ้ื อาทรท้ังต่อตนเองและผู้อ่นื

มคี วามคิดอภยั ด้วยใจท่ีเปน็ มิตร เห็นใจและอยากชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื อยเู่ สมอ

ตัวชีว้ ดั /พฤติกรรมทบี่ ง่ ชี้ เกณฑก์ ารให้คะแนน
ไมผ่ า่ น ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดีเยีย่ ม ( 3 )

1. มคี วามเอือ้ อาทรตอ่ ผู้อน่ื ไม่มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรมบ่งชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งชี้ มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี
1.1 มีน้าใจช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื ด้วยความเตม็ ใจ บง่ ช้ี 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ

1.2 รู้จักแบ่งปนั ส่ิงทีต่ นมีแกผ่ อู้ ่นื

1.3 ทาบญุ ตามโอกาสอันควร

2. มีความคดิ อภยั ดว้ ยใจท่ีเป็นมติ ร มพี ฤติกรรมบง่ ช้ี มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤตกิ รรมบง่ ชี้
2.1 ให้อภัยไม่แกแ้ ค้นและผูกใจเจบ็ ต่อผอู้ ่ืนทสี่ านกึ ผิด 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

2.2 ไม่ซ้าเตมิ ผู้อืน่ เม่ือผิดพลั้ง

2.3 มีความปรารถนาดตี อ่ ผู้อื่น และให้โอกาสผู้อ่ืนกลับตัวใหม่

2.4 คืนดดี ว้ ยความเต็มใจ และรจู้ กั ขอโทษเม่ือรู้ว่าตนเองได้

กระทาผดิ

3. เห็นใจและอยากชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ อยู่เสมอ มพี ฤตกิ รรมบ่งชี้ มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี มีพฤตกิ รรมบง่ ชี้
3.1 ช่วยหาทางออกท่ีถูกต้องแก่เพอ่ื นทีก่ าลงั เดอื ดร้อน 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4-5 รายการ

3.2 ยนิ ดเี ม่อื ผ้อู น่ื มคี วามสขุ และมใี จสงสารผู้ทเ่ี ป็นทกุ ข์

3.3 มองเห็นความตอ้ งการของผู้อน่ื และชว่ ยเหลอื จนสดุ

ความสามารถ

3.4 ไมเ่ อาเปรยี บและเบียดเบียนผอู้ นื่

3.5 ปฏบิ ัติตอ่ ผอู้ ่นื โดยไมเ่ ลอื กทร่ี กั มกั ทชี่ งั

ปฏิทินปฏบิ ตั งิ านครู - 29 - ประจาปีการศึกษา 2562

ขอ้ 13. สามัคคีเปน็ หนึ่งเดียว หมายถงึ ความรว่ มมือสมคั รสมานสามัคคี และเอาใจเขามาใส่ใจเรา

ตัวชี้วดั /พฤตกิ รรมท่ีบ่งชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ไมผ่ ่าน ( 0 ) ผา่ น ( 1 ) ดี ( 2 ) ดเี ย่ยี ม ( 3 )

1. มคี วามรว่ มมอื สมัครสมานสามัคคี มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี
1.1 เป็นผู้ประสานความสามคั คใี นหมคู่ ณะ รักหมคู่ ณะ 1 รายการ 2-3 รายการ 4-5 รายการ 6-7 รายการ

1.2 รว่ มแรงรว่ มใจมีใจหวงั ดแี ละช่วยเหลอื เกอ้ื กูลในทางท่ถี กู

1.3 ไมแ่ บ่งพรรคแบ่งพวกและทางานร่วมกับผ้อู ่นื ได้

1.4 มีใจเปน็ ธรรมในการตัดสินปัญหา

1.5 รู้จักเลือกทาในสิ่งท่ดี ีและหลกี เลี่ยงในสิ่งท่ไี มด่ ี ตัดสินใจ

ด้วยเหตผุ ลทถี่ ูกที่ควร

1.6 รูจ้ กั ให้เกยี รตผิ ้อู ืน่ เป็นผู้สร้างบรรยากาศแหง่ ความ

สมานฉนั ท์

1.7 มหี ัวใจทีเ่ ปิดกว้างในการตอ้ นรบั ผอู้ ่นื พร้อมรบั เหตกุ ารณท์ ี่

เกดิ ข้ึนดว้ ยใจสงบ

2. เอาใจเขามาใสใ่ จเรา มีพฤตกิ รรมบ่งช้ี มพี ฤติกรรมบ่งชี้ มีพฤติกรรมบง่ ชี้ มพี ฤติกรรมบ่งช้ี
2.1 เขา้ ใจและมองคนอนื่ ในแง่ดอี ย่เู สมอและเคารพความ 1 รายการ 2 รายการ 3-4 รายการ 5-6 รายการ

แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

2.2 อาทรต่อความรสู้ กึ ผอู้ ่ืนและช่นื ชมในความสาเรจ็ ของผูอ้ ่นื

2.3 เปิดโอกาสใหแ้ กค่ นอื่นก่อนและรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่น

2.4 รจู้ กั ยอมรับเม่อื ตนเองกระทาผิดและรู้จักควบคุมอารมณ์

2.5 ไมท่ าให้ใครเสยี ใจไม่ทาร้ายจติ ใจใครอยกู่ ับทุกคนไดอ้ ยา่ งมี

ความสุข

2.6 รจู้ กั ขอบคณุ เมือ่ ไดร้ บั รจู้ กั ขอโทษเมือ่ กระทาผดิ

3. มีความมน่ั คงทางอารมณ์ มีพฤติกรรมบ่งช้ี มีพฤติกรรมบ่งชี้ มพี ฤติกรรมบ่งช้ี มีพฤตกิ รรมบง่ ช้ี
3.1 มคี วามสุขุมเยือกเย็นมีความเกรงอกเกรงใจต่อผอู้ ่นื 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ

3.2 ปฏิบัติตอ่ ผู้อนื่ ดว้ ยความอ่อนโยน

3.3 มีศกั ดิ์ศรีในตนเองไมย่ อมเอาเปรียบใคร

3.4 ไม่พูดจาโออ้ วดหรือข่มผอู้ ่นื

ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานครู - 30 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

ระเบยี บโรงเรยี นเซนตฟ์ รังซสี เซเวียร์

วา่ ดว้ ยความประพฤติของนักเรยี น พ.ศ.2560

************************************************
ด้วยโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ พิจารณาเห็นว่านักเรียนเป็นเยาวชนที่อยู่ในวัยที่ควรเสริมสร้าง
คุณลักษณะนิสัยที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ ความคิด และสุขภาพ
อนามัยทแ่ี ข็งแรง ดงั นน้ั เพ่อื ให้การพัฒนาคณุ ภาพนักเรยี นเกดิ ประโยชนส์ งู สุด โรงเรยี นจึงไดอ้ อกระเบียบวา่ ดว้ ยความ
ประพฤติของนักเรียนเพอ่ื เป็นแนวทางให้นักเรยี นยึดถอื และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
อาศัยอานาจตามความในข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดความประพฤติของ
นักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.2548 โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ จึงวางระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนไว้
ดังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ ว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน
พ.ศ.2560”
ข้อ 2 ระเบียบนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับตัง้ แต่ปกี ารศึกษา 2560 เป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 ใหย้ กเลิกระเบยี บโรงเรียนเซนตฟ์ รังซีสเซเวียร์ ว่าดว้ ยคะแนนความประพฤติ พ.ศ.2556
ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้

“ผู้บริหารโรงเรียน” หมายความว่า ผู้รับใบอนุญาต หรือ อธิการิณี ผู้อานวยการโรงเรียน หรือ
ผู้จดั การ หรือ ตาแหนง่ ทเ่ี รียกช่อื อยา่ งอนื่ ของโรงเรยี น

“ความประพฤติไม่เรียบร้อย” หมายความว่า การกระทาท่ีนักเรียนมีพฤติกรรมประพฤติตนฝ่า
ฝนื ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของโรงเรยี น

“การปรับเปล่ียนพฤติกรรม” หมายความว่า การให้นักเรียน ที่มีความประพฤติไม่เรียบร้อย
ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมให้เปน็ ผทู้ ่มี ีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยมคี วามมุง่ หมายเพอ่ื การอบรมสง่ั สอน

ข้อ 5 การดาเนินการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมของนักเรียนท่ีมีความประพฤติไม่เรียบรอ้ ยให้มี 4 สถาน
ดังนี้

5.1 วา่ กลา่ วตกั เตือน
5.2 ทาทัณฑ์บน
5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ
5.4 ทากจิ กรรมเพือ่ ให้ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม
ขอ้ 6 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน โรงเรียนและครูจะไม่กระทาด้วยวิธีการอันรุนแรง หรือ
กลน่ั แกล้งหรือกระทาด้วยความโกรธ หรือ ด้วยความพยาบาท แต่จะกระทาเพื่อเจตนาทีจ่ ะแก้นิสยั และความประพฤติ
ที่ไม่ดีของนักเรียน ให้รู้สานึกในการกระทาพฤติกรรมที่ไม่ดี กลับมาประพฤติตนในพฤติกรรมท่ีดี และเพื่อเป็นการ
ปลูกฝังค่านิยมในด้านคุณธรรม จริยธรรมให้ต้ังอยู่บนพื้นฐานของวัฒนธรรมประเพณี อันดีงาม และอยู่ในกฎระเบียบ
ของสังคม ตอ่ ไป
ขอ้ 7 ให้ผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนมอบหมายเป็นผู้มีอานาจในการปรับเปล่ียน
พฤติกรรมความประพฤติของนักเรยี น

ปฏทิ ินปฏิบตั ิงานครู - 31 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

ขอ้ 8 ให้มีคณะกรรมการรักษาระเบียบวินัยของโรงเรียน ประกอบด้วย หัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน
ครูท่ีทาหน้าที่งานรักษาระเบียบวินัย ครูหัวหน้าระดับและ/หรือครูประจาชั้นของนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เรียบร้อย
โดยให้มีหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี

8.1 ปฐมนิเทศนักเรียนเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการรักษาระเบียบวินัย เมื่อเริ่มเปิดปี
การศึกษาใหม่

8.2 ควบคุม กากับ ติดตาม การรักษาความประพฤติของนักเรียนใหอ้ ยู่ในระเบียบวินัยท่ีโรงเรียน
กาหนด เช่น การมาเรยี น กริ ิยามารยาท และการแต่งกายของนักเรยี น เป็นต้น

8.3 ชี้แนะ ว่ากล่าวตักเตือน ตัดคะแนนความประพฤติ ทาทัณฑ์บน และกาหนดการทากิจกรรม
ของนักเรียน ตามระเบยี บทีโ่ รงเรยี นกาหนดไว้

8.4 ส่งเสริม สนับสนุน ประกาศยกย่องชมเชยนักเรียนที่ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบของ
โรงเรยี น หรือสรา้ งคณุ งามความดีจนเป็นประโยชนต์ ่อตนเอง โรงเรยี น และสงั คม

8.5 รายงานความประพฤติของนักเรียนท้ังในเชิงบวกหรือในเชิงลบให้ผู้บริหารโรงเรียนเพื่อ
รับทราบ

ขอ้ 9 การว่ากล่าวตักเตือน ใชก้ รณนี กั เรียนที่มคี วามประพฤติไม่เรยี บร้อย ไม่ร้ายแรง
ขอ้ 10 การทาทัณฑบ์ น ใช้กรณีนกั เรยี นท่ีมีความประพฤติไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรยี น หรือไดร้ ับการ
ว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การทาทัณฑ์บนจะทาเป็นหนังสือ และอาจแจ้งหรือเชิญ
ผปู้ กครองมาบนั ทกึ รับทราบและรับรองการทาทณั ฑ์บนไวด้ ้วย
ข้อ 11 การตัดคะแนนความประพฤติ ใช้กรณีนักเรียนที่มีความประพฤติไม่เรียบร้อย ไม่เหมาะสมกับ
สภาพนักเรียน หรือได้รับการว่ากล่าวตักเตือน หรือทาทัณฑ์บนแล้ว แต่ยังไม่ปรับเปล่ียนพฤติกรรม โดย การตัด
คะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามรายละเอียดแนบท้ายระเบยี บนี้ โดยให้จดั ทาบันทกึ ข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ 12 การทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ใช้กรณีที่นักเรียนมีความประพฤติไม่เรียบร้อย
สมควรต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรม โดยการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการและโรงเรียน
กาหนด
ข้อ 13 โรงเรียนหรือผู้ที่โรงเรียนมอบหมายอาจเชิญผู้ปกครองมาพบในกรณีที่นักเรียนมีความ
ประพฤตไิ มเ่ รียบร้อยและสมควรต้องได้รบั การแกไ้ ขอย่างเร่งด่วน
ข้อ 14 ทุกปีการศึกษาโรงเรียนจะกาหนดให้นักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติ 100 คะแนน
และเมื่อส้ินสุดปีการศึกษาการสะสมคะแนนต่างๆ เป็นอันสิ้นสดุ ทั้งนี้ เมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมแสดงความประพฤตไิ ม่
เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสมตามที่โรงเรยี นกาหนด นักเรียนจะถูกตัดคะแนนความประพฤติและต้องได้รับการแก้ไขเพอ่ื
ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม ดงั น้ี

14.1 เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 20 คะแนน นักเรียนจะได้รับการว่ากล่าว
ตักเตือนจากครูประจาช้ัน บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน โดยโรงเรียนจะมีหนังสือแจ้งผู้ปกครองเพื่อรายงาน
พฤติกรรมของนักเรียนท่ีประพฤติตนไม่เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสมเพ่ือขอให้ผู้ปกครองช่วยกาชับ ควบคุม ดูแล ว่า
กล่าวตกั เตือนเพ่ือใหป้ รบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม

14.2 เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติ ตั้งแต่ 21-35 คะแนน นักเรียนจะได้รับการว่า
กล่าวตักเตือนจากครูประจาชั้น ครูหัวหน้าระดับ บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน ทาทัณฑ์บน โรงเรียนจะเชิญ
ผู้ปกครองมาพบเพ่ือรับทราบและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของนักเรียน โดยนักเรียนต้องทา
กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ภายในโรงเรียน 20 ชั่วโมง

14.3 เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติ ต้ังแต่ 36-50 คะแนน นักเรียนจะได้รับการว่า
กล่าวตักเตือนจากครูประจาชั้น ครูหัวหน้าระดับ ครูหัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน
ทาทณั ฑบ์ น โรงเรียนจะเชิญผปู้ กครองมาพบเพ่ือรบั ทราบและร่วมปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของนักเรยี น โดยนกั เรยี นต้อง
ทากจิ กรรมบาเพ็ญประโยชนภ์ ายในโรงเรียน 30 ชัว่ โมง

ปฏิทินปฏิบตั ิงานครู - 32 - ประจาปกี ารศึกษา 2562

14.4 เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติ ต้ังแต่ 50 คะแนน ขึ้นไป นักเรียนจะได้รับการว่า
กล่าวตักเตือนจากครูประจาช้ัน ครูหัวหน้าระดับ ครูหัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน ผู้บริหารโรงเรียน หรือ ผู้ที่ผู้บริหาร
โรงเรียนมอบหมาย บันทึกพฤติกรรมและการตัดคะแนน ทาทัณฑ์บน โรงเรียนจะเชิญผู้ปกครองมาพบเพ่ือรับทราบ
และร่วมแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน โดยนักเรียนต้องทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ภายในหรือภายนอก
โรงเรียน ตามดุลยพนิ ิจท่โี รงเรียนจะพจิ ารณาตามความเหมาะสม

ข้อ 15 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) รายใดท่ีมีคะแนนความประพฤติใน ปี
การศึกษาใดปีการศึกษาหน่ึงน้อยกว่า 60 คะแนน โรงเรียนโดยฝ่ายวิชาการและฝ่ายกิจการนักเรียนสามารถท่ีจะ
นามาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการศึกษาต่อในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ของนักเรียนรายนั้น
ได้

ข้อ 16 เม่ือนักเรียนมีพฤติกรรมปฏิบัติตนมีความประพฤติไม่เรียบร้อย ให้ครูและบุคลากรทาง
การศกึ ษาของโรงเรียนที่พบเหน็ แจ้งให้ครูประจาชน้ั ของนกั เรียนผนู้ ้ันเพื่อทราบ และดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบ
นี้

ข้อ 17 โรงเรียนสามารถมอบหมายให้ครูของโรงเรียน ตรวจกระเป๋าหนังสือของนักเรียนได้ โดยให้
กระทาอยา่ งเปิดเผยตอ่ หน้านักเรียน เพอ่ื นนกั เรยี น เม่อื มีเหตตุ อ้ งสงสยั ในการนาสิ่งของที่ไม่ถูกต้องตามระเบียบเข้ามา
ในโรงเรยี น

ข้อ 18 ให้ผู้บริหารโรงเรียน รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจตีความและวินิจฉัย
ปัญหาเกย่ี วกบั การปฏบิ ัติตามระเบยี บน้ี เม่ือดาเนินการใดแลว้ ให้รายงานคณะกรรมการบริหารของโรงเรียนเพื่อทราบ
ตอ่ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี 15 เดอื น มีนาคม พ.ศ.2560

(นางสาวบงั อร กิจเจรญิ )
ผูร้ บั ใบอนุญาตโรงเรยี นเซนต์ฟรงั ซีสเซเวียร์

ปฏิทินปฏบิ ัตงิ านครู - 33 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

รายละเอยี ดระเบยี บโรงเรียนเซนต์ฟรังซสี เซเวียร์
เกีย่ วกบั การตดั คะแนนความประพฤตขิ องนกั เรยี น

โรงเรยี นไดก้ าหนดลกั ษณะพฤติกรรมท่ีไมเ่ รียบรอ้ ยและเหมาะสม โดยจดั ออกเปน็ 3 ระดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี
ระดับต้น หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกประพฤติตนไม่เสียหายร้ายแรง เช่น การมาโรงเรียน
สาย และการไม่มาเรยี นโดยไม่มีเหตุอนั ควร เปน็ ต้น
ระดับกลาง หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนกระทาหรือแสดงออก ประพฤติตนเสียหายต่อตนเองและไม่
รักษาระเบียบ ข้อบงั คับของโรงเรยี น เชน่ การแตง่ กาย ทรงผมนกั เรียน การเสรมิ สวยหรือใช้เคร่ืองประดับ เปน็ ต้น
ระดับสูง หมายถึง พฤติกรรมท่ีนักเรียนแสดงออกประพฤติเสียหายร้ายแรง สร้างความเส่ือมเสียให้แก่
ตนเอง และส่งผลกระทบต่อผู้อืน่ ช่ือเสียงของโรงเรียนและสาธารณะ เช่น หนีเรียนหรือออกนอกโรงเรยี นโดยไม่ได้รับ
อนุญาตในช่วงเวลาเรียน พกพาอาวธุ หรือวตั ถุระเบดิ ก่อเหตทุ ะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน เตรียมการหรือกระทา
การใดๆ อันน่าจะก่อใหเ้ กดิ ความไมส่ งบเรยี บร้อย หรือขดั ตอ่ ศีลธรรมอันดีของประชาชน เป็นต้น

ระดับต้น หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารแก้ไขพฤตกิ รรม

1.การมาโรงเรียนสายหลังเวลา 07.45 น. 1.ว่ากลา่ วตกั เตือนไมเ่ กนิ 5 คร้ัง
2.การไมม่ าเรยี นโดยไมม่ ีเหตอุ นั ควร 2.ตงั้ แต่ครงั้ ที่ 6-10 ตดั คะแนนครงั้ ละ 1 คะแนน
3.ต้ังแต่ครง้ั ที่ 11-15 ตดั คะแนนครงั้ ละ 2 คะแนน
4.ตง้ั แตค่ รั้งท่ี 16 ขึน้ ไป ตดั คะแนนครั้งละ 3 คะแนน
(ให้บันทกึ ไวเ้ ปน็ หลักฐานทุกคร้งั )

ระดบั กลาง หลักเกณฑ์และวธิ ีการแก้ไขพฤติกรรม

1.การแตง่ กายตามระเบยี บของโรงเรียน 1.ว่ากลา่ วตักเตือนไมเ่ กนิ 3 คร้ัง
1.1 แตง่ เครอื่ งแบบนกั เรียนทไ่ี มถ่ กู ต้องตามระเบยี บของ 2.ตั้งแต่ครงั้ ที่ 4-10 ตัดคะแนนครงั้ ละ 3 คะแนน
โรงเรยี น (ชดุ นักเรียน,ชดุ ลกู เสอื -เนตรนารี และ 3.ตั้งแต่คร้ังที่ 11 ข้นึ ไป ตัดคะแนนคร้ังละ 5 คะแนน
ชดุ นักศึกษาวิชาทหาร) (ใหล้ งบนั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐานทุกครง้ั )
1.2 ไมส่ วมชุดพละในวนั ที่มีการเรยี นพลศกึ ษา
1.3 ไม่ใส่รองเทา้ นักเรยี นตามท่ีระเบียบกาหนด และ 1.ว่ากลา่ วตกั เตอื นไมเ่ กนิ 3 ครงั้
เหยียบส้นรองเท้า 2.ต้ังแตค่ รั้งที่ 4 ขึน้ ไป ตัดคะแนนครง้ั ละ 5 คะแนน
1.4 ปล่อยชายเสอื้ นักเรียนออกนอกกางเกง/กระโปรง (ให้ลงบันทึกไว้เปน็ หลักฐานทกุ ครงั้ )
1.5 ดึงชายเสือ้ ลงมาปิดเขม็ ขดั หรอื ใส่กางเกงเอวตา่
1.6 ไม่ตดิ กระดมุ เสื้อนักเรยี นตามทรี่ ะเบียบกาหนด

2.พฤตกิ รรมท่ไี มเ่ หมาะสมกบั การเปน็ นกั เรยี น
2.1 การไว้เล็บยาว,ทาเล็บ
2.2 การไวห้ นวดเครา
2.3 การสกั บรเิ วณตา่ งๆ ของร่างกาย
2.4 การแต่งหนา้
2.5 นกั เรียนชาย/หญงิ เจาะห,ู เจาะจมกู ,เจาะลนิ้
และการใสเ่ คร่ืองประดบั ฯลฯ

ปฏิทินปฏบิ ัตงิ านครู - 34 - ประจาปกี ารศึกษา 2562

ระดบั กลาง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการแกไ้ ขพฤตกิ รรม

3.ทรงผมนักเรยี นชาย นักเรียนหญงิ 1.ว่ากลา่ วตกั เตอื นไมเ่ กนิ 3 ครงั้
3.1 ไว้ทรงผมไม่ถูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรยี นและ 2.ต้งั แตค่ ร้งั ที่ 4-7 ตดั คะแนนครั้งละ 10 คะแนน
กระทรวงศึกษาธิการ 3.ต้ังแตค่ ร้งั ที่ 8 ขน้ึ ไป ตัดคะแนนครงั้ ละ 20 คะแนน
3.2 ซอยผม สไลดผ์ ม ตดั ผมหน้ามา้ ทาสีผม ดดั ผม (ให้ลงบันทกึ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานทุกครง้ั )

ระดบั สูง หลักเกณฑ์และวิธีการแกไ้ ขพฤตกิ รรม

1.การใหค้ วามร่วมมือกบั ทางโรงเรยี น 1.วา่ กล่าวตกั เตือนพร้อมตดั คะแนนครง้ั ละ 10 คะแนน
1.1 ไมเ่ ข้าเรยี นในชั่วโมงท่ีทาการเรยี นการสอนทกุ ชว่ั โมง (ลงบนั ทึกไว้เป็นหลกั ฐานทุกครงั้ )
1.2 ไม่เข้าหอ้ งประชุมและร่วมกจิ กรรมตามทโ่ี รงเรียนจดั ขน้ึ
ทุกครั้ง 1.ว่ากลา่ วตกั เตือนพร้อมตดั คะแนนครั้งละ 30 คะแนน
1.3 การใช้โทรศพั ทม์ อื ถือและส่ืออปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ 2.อยู่ในดุลพนิ ิจของโรงเรยี น
ไมเ่ ปน็ ไปตามเวลาทโ่ี รงเรยี นกาหนดให้ (ลงบันทึกไวเ้ ป็นหลักฐานทกุ คร้งั )
1.4 หนอี อกนอกบรเิ วณโรงเรียนทกุ กรณี
1.อย่ใู นดุลพนิ จิ ของโรงเรยี น
2.กรณีช้สู าว (ลงบันทึกไว้เป็นหลกั ฐานทกุ ครั้ง)
2.1 ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับสภาพการเป็นนกั เรยี นส่อ
ไปทางชสู้ าว ท้งั ในโรงเรยี นและในที่สาธารณะ 1.วา่ กลา่ วตกั เตือนพร้อมตดั คะแนนครัง้ ละ 30 คะแนน
2.2 ประพฤตผิ ิดทางเพศนามาซ่ึงความเส่ือมเสยี ช่ือเสยี ง 2.อยูใ่ นดลุ พนิ จิ ของโรงเรยี น
ของโรงเรยี น ไมว่ า่ ดว้ ยกรณีใดๆ (และลงบนั ทึกไวเ้ ปน็ หลักฐานทกุ ครัง้ )

3.การทะเลาะววิ าทและพกพาอาวธุ 1.วา่ กลา่ วตักเตือนไมเ่ กนิ 2 คร้งั
3.1 ก่อเหตทุ ะเลาะววิ าท ร่วมกันทาร้ายผู้อนื่ เตรยี มการ 2.ตั้งแต่คร้งั ที่ 3 ข้นึ ไป ตัดคะแนนครงั้ ละ 50 คะแนน
หรือกระทาการใดๆ อันน่าจะกอ่ ให้เกดิ ความ 3.อยใู่ นดุลยพินิจของโรงเรยี น
ไม่เรยี บรอ้ ย หรือขัดต่อศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน (ลงบนั ทึกไว้เป็นหลกั ฐานทุกครง้ั )
3.2 ทาร้ายรา่ งกายผู้อน่ื โดยอาวธุ
3.3 พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิดเขา้ มาบริเวณโรงเรยี น ประจาปีการศึกษา 2562
3.4 ออกนอกสถานท่พี กั เวลากลางคนื เพอื่ เที่ยวเตรห่ รือ
รวมกลุ่มอันเปน็ การสร้างความเดอื ดรอ้ นใหแ้ ก่ตนเอง
หรอื ผู้อ่นื
3.5 ชกั ชวนบุคคลภายในและ/หรอื ภายนอกโรงเรยี นทาร้าย
รา่ งกายผอู้ ่นื

4.เรือ่ งอบายมขุ และส่งิ เสพติด
4.1 มอี บายมขุ และสง่ิ เสพตดิ เชน่ บหุ รี่ สรุ า ยาเสพตดิ
สอื่ ลามกอนาจาร อปุ กรณ์การพนนั ทกุ ประเภทไว้
ครอบครอง ซ่งึ ไม่เหมาะสมกบั การเป็นนกั เรียน
4.2 สบู บุหรที่ ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น
4.3 เสพสุราหรือของมึนเมาทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน
4.4 เลน่ การพนันทกุ ประเภท จัดให้มกี ารเล่นการพนนั หรือ
มว่ั สุมในวงการพนนั
4.5 การเข้าไปในสถานที่ ทีไ่ ม่เหมาะสมกับสภาพการเปน็
นักเรียน

5.กิรยิ ามารยาท
5.1 แสดงกิริยาวาจากา้ วรา้ วต่อคณะผู้บรหิ าร คณะครู เชน่
กล่าวคาหยาบ ใช้วาจาไมส่ ภุ าพ กล่าวคานนิ ทาวา่ รา้ ย
ทางสื่อต่างๆ หมิน่ ประมาท กลั่นแกลง้ หรอื ล้อเลียน
บงั คบั ข่มขู่ เป็นต้น

ปฏทิ ินปฏิบัตงิ านครู - 35 -

ระดับสูง หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารแกไ้ ขพฤติกรรม

6.การลักทรัพย์และการทาลายทรพั ย์สนิ 1.ว่ากลา่ วตกั เตอื นพรอ้ มชดใชค้ ่าเสยี หาย
6.1 ลักทรพั ย์ เชน่ การหยิบของของผอู้ ื่นโดยไม่ไดร้ ับ 2.อยู่ในดุลยพินจิ ของโรงเรยี น
อนญุ าต เป็นต้น และการกรรโชกทรัพย์ ขม่ ขู่ หรอื (ลงบนั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐานทกุ คร้งั )
บงั คบั ขืนใจเพ่ือเอาทรพั ยบ์ คุ คลอน่ื
6.2 การขีดเขียนฝาผนงั โต๊ะ เก้าอ้ี ของนกั เรยี นและของครู 1.ดาเนนิ การตามระเบียบว่าด้วยการนั้น
หรอื สิง่ อ่ืนใดของโรงเรยี น 2.อยู่ในดลุ พินจิ ของโรงเรยี น
6.3 ทาลายทรัพยส์ ินของโรงเรยี น สถานที่สาธารณะ (ลงบันทึกไว้เปน็ หลักฐานทุกครง้ั )
ประโยชน์
1.อยูใ่ นดุลพนิ จิ ของโรงเรยี น
7.ความผิดโดยทั่วไป 2.ให้ผปู้ กครองจัดหาทเี่ รยี นแหง่ ใหม่ หรอื จาหน่ายออก
7.1 การทุจรติ การสอบ (ลงบนั ทึกไวเ้ ปน็ หลกั ฐานทกุ ครัง้ )
7.2 การปลอมลายมือช่ือผูป้ กครองหรอื ปลอมแปลง
หลกั ฐานอันก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่บุคคลและ
โรงเรยี น
7.3 การประกวดความงามในทกุ สถาบนั
7.4 การเป็นแบบถา่ ยโฆษณาสนิ คา้ หรอื เป็นแบบใน
มวิ สิควดี ีโอ
7.5 การเป็นนกั ร้อง นักแสดง โดยเปน็ อาชพี หรอื สมคั รเลน่
7.6 อื่นๆ ตามสถานการณ์และเหตุการณท์ ่เี กิดขึ้น
(ข้อ 7.3-7.6 กรณที าใหเ้ สยี เวลาเรยี นหรือสรา้ งความเสอื่ มเสยี
เกียรตยิ ศ ชื่อเสียงแกต่ นเองและของโรงเรยี น)

8.การกระทาความผดิ ทางกฎหมาย และทางราชการ
8.1 มียาเสพตดิ หรือสารเสพตดิ ไวใ้ นครอบครอง ทง้ั ผลติ
และจาหนา่ ย แลกเปล่ยี นทุกประเภท
8.2 ถกู สารวัตรนักเรยี น เจา้ หนา้ ทขี่ องหน่วยราชการแจง้
พฤติกรรมมายังโรงเรยี นและถูกดาเนินคดีตามกฎหมาย

ปฏิทนิ ปฏิบตั งิ านครู - 36 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

ภารกิจหนา้ ทขี่ องครูโรงเรยี นเซนต์ฟรงั ซีสเซเวียร์

การปฏบิ ัตงิ าน 2. ครูทุกคนสารวมเวลาเคารพธงชาติ และประนมมือ
เวลาสวดภาวนา หลงั สวดภานา ดูแลนกั เรียนเดินเข้า

เวลาปฏบิ ัตงิ าน ห้องเรียน พร้อมท้ังทาความเคารพครูทีละคู่โดยการ
ไหวอ้ ย่างถกู ตอ้ งสวยงาม

1. โรงเรียนเปิดทาการสอน เวลา 07.30 น. ครูต้อง 3. กลางวนั นาแถวลงมาทานอาหาร ครูประจาวิชาท้ัง
มาถึงโรงเรียนก่อนโรงเรียนเข้า 15 นาที และต้อง ทุกระดับช้ันต้องนานักเรียนลงมารับประทานอาหาร
แสกนลายนวิ้ มอื พร้อมลงลายมือช่ือในการปฏบิ ัติงาน กลางวันให้เป็นระเบียบเรียบร้อยไม่เสียงดัง (หมาย
ดว้ ยตนเองทุกครั้งก่อนปฏบิ ัตงิ าน และกลับหลงั เวลา เหตุ ป.1-ป.4 นาแถวนักเรียนพักทานอาหารว่างเช้า
เลิกเรียน เวลา 17.00 น. อย่างน้อย 15 นาที และ ดว้ ย)
4. ภาคบ่าย นาแถวนักเรียนข้ึนอาคารเรียน ครูประจา
ตอ้ งไปลงลายมือชอื่ เวลากลับทกุ ครัง้
2. โรงเรียนกาหนดให้ครูช่วยทางานของโรงเรียน ชั้นและครูประจาวิชาจะต้องรอนักเรียนที่หน้า
นอกเหนือเวลาสอนระหว่างเวลาหยุดประจาภาค ห้องเรียนและใต้อาคารเรียนก่อนสัญญาณเพลงเรียก
หรือวันหยุดอ่ืนๆ ได้ โดยหมุนเวียนกันปฏิบัติหน้าท่ี เข้าแถวดงั ข้ึน 5 นาที พร้อมทงั้ ให้นักเรียนเข้าแถวให้
ตามความเหมาะสมและเร่งด่วนของงานตาม เป็นระเบียบเรียบร้อยก่อนเข้าห้องเรียน ทาความ
เคารพครทู ีละคู่โดยการไหวอ้ ยา่ งถกู ต้องสวยงาม
สถานการณ์
3. โรงเรียนกาหนดให้ครูผลัดเปลี่ยนกันทาหน้าท่ีครูเวร 5. ในกรณีเข้าแถวเพ่ือไปเรียนวิชาในห้องปฏิบัติการ
ในเวลาเช้าก่อนเข้าเรียน ระหว่างพักกลางวัน และ หรือนอกห้องเรียนให้ครูประจาวิชาเป็นผู้นานักเรียน
ไปและส่งกลับทุกคร้ัง เพ่ือไม่ให้รบกวนนักเรียนที่
เวลาหลงั เลกิ เรยี นได้
4. โรงเรียนกาหนดให้คณะกรรมการประเมินคุณภาพ กาลังเรยี นในหอ้ งท่เี ดนิ ผา่ น
ภายใน ติดตามเก็บรวบรวมข้อมูลโครงการหลังจาก 6. ถ้านักเรียนต้องไปเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในห้อง
เสร็จสิ้นกิจกรรมต่างๆ หลังการปฏิบัติ 2 สัปดาห์ ประชุม กลางสนาม ใต้อาคารเรียน ให้ครูทุกคนที่มี
เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการประเมินคุณภาพ ส่วนร่วมช่วยดูแล ท้ังครูประจาชั้นและประจาวิชา
รบั ผิดชอบดแู ลนักเรยี นตลอดกจิ กรรม
ภายนอก

การคุมแถวนกั เรยี น การดแู ลความเรยี บรอ้ ย

1. ตอนเช้า เคารพธงชาติ ครปู ระจาชัน้ และครูคู่ชั้นทุก ดแู ลความเรยี บร้อยบริเวณประตโู รงเรยี น
ท่านจะต้องมารอนักเรียนที่บริเวณเข้าแถวก่อน
สัญญาณเพลงเรียกแถวขึ้น 5 นาที และเมื่อสัญญาณ เช้า ครปู ฏิบตั หิ น้าท่ี ตง้ั แตเ่ วลา 06.30-07.45 น.
เพลงเรียกแถวจบ ครูจะต้องให้แถวอยู่ในความเป็น หน้าที่ : ให้นักเรียนทาความเคารพคุณครูเวรประตู และ
ระเบียบเรียบรอ้ ย นกั บญุ อยา่ งสวยงาม สอดส่องดแู ลไมใ่ ห้นักเรยี นออกนอก
บรเิ วณโรงเรียนโดยเดด็ ขาด

ปฏิทนิ ปฏิบตั ิงานครู - 37 - ประจาปีการศึกษา 2562

เย็น ครูปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ต้ังแต่เวลา 16.00-18.00 น. 2. การเปล่ียนเวรประตูทุกคร้ัง ขอให้เป็นเหตุผลที่
หน้าท่ี : ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเข้มแข็ง ตรวจบัตร สุดวิสัย ขอให้ครูผู้ปฏิบัติหน้าท่ีเวรแจ้งให้ผู้ตรวจเวร
นักเรยี น ผู้ปกครองเขา้ ออก อยา่ งสมา่ เสมอ ไมป่ ลอ่ ยปละ รับทราบเสียก่อน จึงจะทาการแลกเปลี่ยนเวรได้
ละเลยในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ วรประตู ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าท่ีดูแล
นกั เรยี นบริเวณประตูโรงเรยี น
การตรวจบัตร
3. ถ้าครูผู้รับแลกเวรประตูไม่มาปฏบิ ัติหน้าท่ีตามทแี่ ลก
1. บัตรรบั นักเรียนของผู้ปกครอง สชี มพู ทุกคนท่เี ข้ามา เวรไว้ ครูผู้แลกเวรและครูผู้รับแลกเวร จะต้อง
รั บ นั ก เ รี ย น ใ ห้ ต ร ว จ ก่ อ น เ ข้ า ม า ภ า ย ใ น บ ริ เ ว ณ รับผิดชอบร่วมกัน โดยการยืนเวรประตูชดเชย 1 วัน
โรงเรยี น และบนั ทึกไวเ้ ป็นหลักฐานที่หอ้ งรกั ษาระเบยี บวนิ ยั

2. บัตรอนุญาตกลับบ้านด้วยตนเอง ให้ตรวจก่อนออก ในกรณีที่ครูไม่แลกเวร และไม่มาปฏิบัติหน้าที่ ครู
บริเวณโรงเรียนเพื่อแสดงสิทธ์ิว่านักเรียนสามารถ จะต้องยืนเวรประตูชดเชย 1 วัน และบันทึกไว้เป็น
กลับบ้านด้วยตนเองได้ ถ้านักเรียนไม่มีบัตรแสดง หลักฐานที่หอ้ งรักษาระเบยี บวนิ ยั
สิทธิ์ในการกลับบ้านด้วยตนเอง ครูเวรประตูต้องให้
นักเรียนเซ็นช่ือกับครูเวรประตู แล้วจึงออกนอก การเข้าร่วมประชมุ
โรงเรยี นได้ ดงั น้ี
 ระดับช้นั ป.5 – ป.6 บัตรสฟี ้า 1. ครูทุกท่านต้องเข้าประชุมครู ตามที่ทางโรงเรียนได้
 ระดับช้ัน ม.1 – ม.3 บัตรสเี ขียว กาหนดข้ึนไม่ว่าจะเป็นการประชุมครูประจาเดือน
 ระดับช้ัน ม.4 –ม.6 บัตรสเี หลอื ง การประชมุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ หรอื การประชมุ ตาม
 English Program ตามสที ท่ี ี่กาหนดตอ่ ปี สายงานทกี่ าหนดไว้

เวรประจาจุดตา่ งๆ 2. ครูตอ้ งให้ความสนใจ และใหค้ วามรว่ มมือปฏิบัติตาม
ข้อตกลงมติ หรือข้อเสนอแนะของที่ประชุมด้วย
กลางวัน ครูปฏิบัติหน้าที่ดูแลความเรียบร้อยตามจุด ความพรอ้ มเพรยี งกันและกระตือรือร้นตอ่ งานที่ได้รับ
ต่างๆ ท่รี ับผิดชอบของโรงเรยี น มอบหมาย
หน้าท่ี :
- เดินดูความเรียบร้อยในบริเวณท่ีครูรับผิดชอบอย่าง การรับงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

เครง่ ครัด 1. คณะเซอร์ หัวหน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสารฯ หัวหน้า
- ดแู ลเรอ่ื งความสะอาด,การเก็บภาชนะ งาน สามารถมอบหมายงานอ่ืนๆ นอกเหนือจากงาน
- ตักเตือนนักเรียนท่ีนาเครื่องด่ืม อาหาร ขนม ออกมา สอน และงานหนา้ ที่ประจาใหท้ าได้

รับประทานภายนอกโรงอาหาร และนักเรียนที่เล่น 2. ครูปฏิบัติงานงานท่ีได้รับมอบหมายด้วยความขยัน
ผาดโผนซงึ่ อาจเกดิ อันตรายได้ ขันแข็ง ด้วยจติ สานกึ แหง่ ความรับผดิ ชอบอยา่ งเต็มท่ี
- สอดส่องดูแลบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาภายในบริเวณ มีการวางแผนดาเนินการ ประเมินผลและรายงานผล
โรงเรียน และหากมีข้อสงสัยให้ใช้การซักถาม เพื่อ หลังเสรจ็ ภาระงานทุกคร้ัง
ความปลอดภัยของนักเรยี น และครู
3. ครูควรนาผลการประเมินงานครั้งทีผ่ า่ นมา เพือ่ ศึกษา
การแลกเปลีย่ นเวร ข้ันตอนต่างๆ ก่อนลงมือปฏิบัติงานคร้ังต่อไปอย่าง
รอบคอบ และประเมินเปรียบเทียบการทางานเพื่อ
1. ครูเวรประตูที่ไม่สามารถมาปฏิบัติหน้าท่ีได้ ด้วยเหตุ พฒั นาตอ่ ไป
ฉุกเฉิน ขอให้ครูแจ้งผู้ตรวจเวรทราบด้วยตนเองหรือ
ทางโทรศัพท์ ท้ังในกรณีท่ีให้ครูท่านอื่นยืนแทนและ
ไมส่ ามารถหาครเู วรแทนได้

ปฏิทินปฏิบัติงานครู - 38 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

การออกขอ้ สอบ1. ครูออกข้อสอบให้ตรงตามท่ีกาหนดไว้ในกาหนดการ 4. ครูคุมสอบแจกข้อสอบและเก็บกระดาษเรียงตาม
เลขท่ีพร้อมท้ังตรวจดูให้นักเรียนเขียนชื่อ-สกุล และ
สอน และต้องเป็นข้อสอบที่มีประสิทธิภ า พ เลขที่ ให้ครบทกุ แผ่นในกระดาษคาตอบ
ครอบคลุมเนื้อหาตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวัด/ผลการ
เรียนรู้ และส่งข้อสอบท่ีออกตรงตามเวลาที่กาหนด 5. เก็บกระดาษคาตอบ แยกกับตัวข้อสอบทุกคร้ัง และ
ให้กับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อตรวจทาน ใหเ้ รียงตัวขอ้ สอบตามหมายเลขขอ้ สอบ
และเลือกข้อสอบท่ีได้รับการพิจารณา แล้วส่งที่
หัวหน้าฝ่ายวิชาการเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิใหด้ าเนินการ 6. การเฝ้าห้องสอบ ให้ยืนหน้าห้องสอบ และหลังห้อง
ตามข้ันตอนต่อไป สอบตลอดการสอบ ไม่ทางานใดๆ ท้ังส้ิน ขณะ
2. ผู้ทาหน้าท่ีออกข้อสอบ พิมพ์ข้อสอบ และจัดทา คมุ สอบ และไมเ่ ดนิ ขณะเฝ้าสอบ
ข้อสอบจะต้องทาด้วยความซ่ือตรง ถือเป็นความลับ
อยา่ งเคร่งครัดและไม่นาข้อสอบออกไปเผยแพร่ไม่ว่า 7. ถา้ ขอ้ สอบมีปัญหา ไม่มีการแกข้ ้อสอบใดๆ ทงั้ สน้ิ ให้
กรณีใด ถ้าละเมดิ ไม่วา่ ด้วยวธิ ีการใด ถอื เปน็ ความผดิ นกั เรยี นทาตามขอ้ สอบทเี่ ปน็ อยู่
ต่อจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีร้ายแรงถึงข้ันต้องให้ออก
จากโรงเรยี น โดยไมม่ เี ง่อื นไข 8. ไม่อนุญาตให้นักเรียนนาข้อสอบออกนอกห้องสอบ
3. ครูผู้ทาหน้าที่ตรวจข้อสอบจะต้องตรวจข้อสอบและ ถ้ามีนักเรียนจะต้องไปทาธุระส่วนตัวท่ีห้องน้าให้
ทาคะแนนให้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง ด้วย นักเรียนคนน้ันส่งกระดาษคาตอบก่อนจึงให้ออกไป
ความละเอียด และรอบคอบให้เสร็จตามเวลาท่ี และไมอ่ นุญาตให้ทาขอ้ สอบต่อเมื่อนักเรียนผู้นั้นกลับ
กาหนด และปฏิบัติตามขั้นตอนของการทาคะแนน เข้าหอ้ งสอบ
ตามทกี่ าหนดไวอ้ ยา่ งเคร่งครดั
4. งานอืน่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับข้อสอบ เช่น แบบบันทกึ ผลการ 9. กรณที ่มี ีนักเรียนทจุ รติ ในการสอบให้ครเู ฝา้ สอบเขียน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายวิชา สมุดรายงาน สมุด “0” ด้วยปากกาสีแดง ที่กระดาษคาตอบทันที และ
ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ครูต้องทาด้วย ให้ทั้งครูคุมสอบและนักเรียนผู้ทุจริตลงชื่อกากับบน
สะอาดเรียบร้อย รอบคอบ ถี่ถ้วน และส่งตรงตาม หน้ากระดาษคาตอบน้ัน แล้วส่งนักเรียนท่ีทุจริตไปที่
เวลาท่แี ผนกวัดผลกาหนด ฝ่ายวิชาการ เพื่อพบครูฝ่ายวิชาการ เพื่อดาเนินการ
ขั้นตอนต่อไป

10. ให้ครูปล่อยนักเรียนตามเวลาท่ีกาหนดไว้ในตาราง
สอบ เมื่อเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละวันให้กเรียน
ออกมาเข้าแถวหน้าห้องสอบ ครูนานักเรียนลงมาส่ง
ด้านล่าง และให้นักเรียนทาเวร ปิดไฟ ปิดแอร์ และ
จัดหอ้ งสอบใหเ้ รียบร้อย

การคมุ สอบและการจาหน่ายขอ้ สอบ 11. วันสุดท้ายของการสอบให้ครูคุมสอบเก็บกระดาษทกุ
ชนิด อุปกรณ์ต่างๆ พร้อมท้ังเก็บโต๊ะ เก้าอ้ี ไว้

1. ครูผู้คุมสอบตรวจสอบความเรียบร้อยของห้องสอบ ดา้ นหลังหอ้ ง โดยแยกโต๊ะเกา้ อ้ีที่ชารุดไว้ต่างหาก

ใหเ้ รียบรอ้ ยก่อนนานกั เรียนเข้าหอ้ งสอบ การรว่ มกิจกรรม

2. นาแถวนักเรียนข้ึนห้องสอบ ให้นักเรียนเตรียมบัตร 1. ครูเขา้ ร่วมกิจกรรมพิเศษทุกคร้ังท่ีทางโรงเรียนจัดขึ้น
ประจาตัวนักเรียน อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอบ เรียง ดว้ ยความรับผิดชอบ และกระตือรอื ร้น
กระเป๋าหนังสือไว้หน้าห้องสอบอย่างเป็นระเบียบ
เรียบร้อย พร้อมยืนเข้าแถวเรียงตามเลขท่ีของแต่ละ 2. ช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ ด้วยความเต็มใจอย่างเต็มที่
ชัน้ เรยี นใหเ้ รยี บร้อย ไม่ว่ากิจกรรมนั้นจะอยู่ในเวลาเรียนหรือนอกเวลา
เรียน เพ่ือให้กิจกรรมเหล่าน้ันบรรลุเป้าหมาย และ
3. ตรวจบัตรประจาตวั นกั เรียนกอ่ นเข้าหอ้ งสอบท้ังภาค ประสบความสาเรจ็
เชา้ และภาคบ่าย อนุญาตใหน้ าเฉพาะอปุ กรณ์ที่ใช้ใน
การสอบเท่าน้ันเข้าไปในห้องสอบ และไม่อนุญาตให้

นักเรียนใช้นาฬิกาที่เป็นเคร่ืองคิดเลขเข้ามาในห้อง

สอบ

ปฏทิ ินปฏิบตั งิ านครู - 39 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

การรับประทานอาหาร 3. การลาคลอด

ครูประจาวิชา/ครูประจาช้ันท่ีสอนคาบเรียน การคลอดกรณปี กตใิ ห้ลาคลอดได้ 1 เดอื น และ
ก่อนรับประทานอาหาร มีหน้าที่พานักเรียนเดินแถวมา ในกรณที ผ่ี ่าตัดใหล้ าได้ไมเ่ กนิ 45 วัน และตอ้ งยนื่ ใบลา
โรงอาหาร พร้อมทั้งดูแลนักเรียนระหว่างรับประทาน ล่วงหนา้ หรอื สง่ ภายในวนั คลอดในกรณที ่ีคลอด
อาหารเรยี บร้อยแล้วจึงไปปฏิบัติงานอื่นๆ กะทันหัน โดยยงั ไม่ได้แจ้งลา ใหย้ ่นื แจ้งได้ภายใน 3 วัน
หลังคลอด
การรักษาความสะอาด
4. การลาอปุ สมบท หรอื ประกอบพิธีฮัจจ์
1. ครูพึงระลึกเสมอว่า ครูเป็นแบบฉบับท่ีดีของนักเรียน
ในการรักษาความสะอาดทุกวนั คุณครูสามารถลาได้ไม่เกิน 120 วัน เฉพาะครูท่ี
ไม่เคยอุปสมบท และได้ทาการสอนในโรงเรียนมาแล้วไม่
2. หมั่นรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ น้อยกว่า 3 ปี และต้องแจ้งให้ผู้อานวยการโรงเรียนทราบ
เรียบร้อยบริเวณท่ีครูปฏิบัติงาน เก็บของเข้าโต๊ะ ตู้ ล่วงหน้า เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนอย่างน้อย 3 เดือน
และชนั้ วางหนงั สือใหเ้ รียบรอ้ ยเสมอ เพื่อสารองครูไว้ทาหน้าท่ีแทนครูต้องย่ืนใบลาอุปสมบท
หรือประกอบพิธีฮัจจ์ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 เดือน ใน
3. ช่วยกันรักษาความสะอาดในบริเวณห้องพักครู และ กรณที ท่ี างโรงเรียนยังไม่สามารถหาครูไว้แทนได้ ผจู้ ดั การ
บรเิ วณหน้าหอ้ งพกั ครู มีสทิ ธย์ิ บั ย้ังการลาไวก้ ่อน เพือ่ ให้อุปสมบทในปีตอ่ ไป

4. ไม่อนุญาตให้ครูนาอาหารและเครื่องด่ืมทุกชนิดเข้า 5. การลาประชุม
มาบริโภคในห้องพักครู ห้องปฏิบัติการต่างๆ เพื่อ
เปน็ แบบอย่างทดี่ ใี ห้แกน่ ักเรียน ครูที่จะขอลาไปประชุมทางวิชาการหรือประชุม
อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับทางโรงเรียน ให้ทาเรื่องขอลา และ
การลาของครู สับเปลี่ยนชั่วโมงสอนไว้ล่วงหน้า พร้อมมอบตารางการ
สับเปล่ียนชวั่ โมงใหฝ้ ่ายวชิ าการ กอ่ นวันไปประชุม

1. การลาป่วย แบง่ ออกเปน็ 2 กรณคี อื ขัน้ ตอนการขอลา…

 การลาเจบ็ ป่วยธรรมดา ลาไดไ้ ม่เกิน 15 วนั ใน
กรณลี าตดิ ต่อกนั เกิน 3 วัน โรงเรียนจะขอให้ 1. ขอรบั ใบลาไดท้ ีห่ ้องธรุ การ-สารบรรณ/หอ้ งบคุ ลากร
และใบแลกคาบที่หอ้ งวชิ าการ
คุณครนู าใบรบั รองแพทย์ท่โี รงพยาบาลของรฐั
2. ให้ย่นื ใบลาด้วยตนเองทห่ี อ้ งอธิการ/ฝ่ายบคุ ลากร
ออกให้มายนื่ ประกอบการลาด้วย
 การลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ให้ลาได้ไม่ พรอ้ มใบแลกคาบ, ใบรบั รองแพทย์ (กรณปี ่วย)
เกิน 60 วัน การลาป่วย ครูผู้ลาต้องทาการแจ้งให้ 3. ทา่ นอธกิ ารเซ็นใบลาแล้วใหน้ าส่งใบลาทห่ี อ้ งฝ่าย
ทางโรงเรยี นทราบทนั ทโี ดยทางโทรศัพท์ 0-2980- บคุ ลากรและสง่ ใบแลกคาบท่ีหอ้ งวชิ าการ

8528-32 และควรแจ้งก่อนเวลาโรงเรียนเข้า เพื่อ

สะดวกในการจัดหาครูสารองแทน เว้นแต่กรณี

สุดวิสัยให้ส่งใบลาในวันแรกท่ีกลับมาทางานต่อ

ผ้อู านวยการ

2. การลากิจ

คณุ ครตู ้องยน่ื ใบลาลว่ งหนา้ อย่างน้อย 3 วนั

พร้อมแลกคาบแลกเวรใหเ้ รียบร้อย ในกรณีที่มีความ

จาเปน็ ไมส่ ามารถยื่นใบลาได้ทนั ตามกาหนด คุณครตู อ้ ง

โทรศพั ท์แจ้งฝ่ายบคุ ลากร แล้วย่ืนใบลาย้อนหลังส่งที่หอ้ ง

บคุ ลากร

ปฏทิ ินปฏบิ ตั ิงานครู - 40 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

การเบิกสวัสดิการต่างๆ การเบกิ ค่าการศกึ ษาบตุ ร (เฉพาะครูท่บี รรจ/ุ แตง่ ต้ัง)

การเบกิ คา่ รกั ษาพยาบาล (สวสั ดกิ ารโรงเรยี น) 1. คุณครูขอใบเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการศกึ ษาบตุ ร
ได้ทห่ี ้องธรุ การ-สารบรรณ
1. คณุ ครูขอรบั ใบเบกิ คา่ รักษาพยาบาล (สวัสดิการของ
โรงเรยี น) ไดท้ ่ีหอ้ งฝ่ายบุคลากร และประชาสมั พนั ธ์ 2. ครตู อ้ งรวบรวมเอกสารการขอเบิกเงนิ สวัสดกิ าร
เกี่ยวกับการศกึ ษาบตุ ร ภายในเดือนพฤศจกิ ายน
2. กรอกขอ้ มลู ใหค้ รบถ้วน ย่ืนใบเบิกค่ารักษาพยาบาล ของทกุ ปี โดยมีเอกสารประกอบ ดงั นี้
พรอ้ มกับใบรบั รองแพทย์ ส่งที่ห้องฝ่ายบุคลากร
 สาเนาสมุดประจาตัวครู (ทกุ หนา้ ท่มี ีการบนั ทึก)
การขอหนงั สอื สง่ ตวั เขา้ รกั ษาทโ่ี รงพยาบาล
 สาเนาหน้าสมุดค่ฝู ากธนาคารกรุงไทย
(เฉพาะครูทบี่ รรจ/ุ แต่งตงั้ )
 ใบเสร็จรับเงินของโรงเรียนพร้อมสาเนา
1. คณุ ครูขอใบยื่นคาร้องรับรองการมีสทิ ธ์ิรบั เงนิ ค่า ประกาศโรงเรยี น เร่ืองการเก็บคา่ ธรรมเนยี ม
รกั ษาพยาบาลทห่ี ้องธุรการ-สารบรรณ กรอกข้อมูล การเรียนและคา่ ธรรมเนยี มอ่ืน
ใหค้ รบถว้ น อาทิ โรงพยาบาล, โรค, วนั ท่ีเข้ารบั การ
รกั ษา, ใบนดั ของแพทย์ โดยคุณครจู ะต้องย่ืนคารอ้ ง การเปลย่ี นแปลงสมดุ ประจาตวั ครู
ลว่ งหน้า 1 สัปดาห์ (กรณฉี กุ เฉนิ ให้คุณครูแจง้ กับ
ทางโรงพยาบาล แล้วใหต้ ิดตอ่ มาทคี่ รูห้องธรุ การ- (เฉพาะครูท่ีบรรจุ/แตง่ ตง้ั )
สารบรรณ เพอื่ ทาหนังสือส่งตวั ตามไป)
คณุ ครูขอใบแจง้ การเปลีย่ นแปลงสมดุ ประจาตัว
2. ให้คณุ ครนู าคาหนังสือส่งตัวไปยน่ื ท่ีศกึ ษาธกิ าร ครไู ด้ที่ห้องธรุ การ-สารบรรณ เพ่ือเสนอผูอ้ านวยการเซน็
จงั หวดั นนทบรุ ีด้วยตนเอง แล้วเจา้ หน้าทที่ ่ี เอกสาร ทางงานธุรการ-สารบรรณจะทาการเปลี่ยนแปลง
รับผิดชอบจะออกหนงั สอื รบั รองสิทธิ์ฯ ให้คุณครู ขอ้ มูลสมุดประจาตวั ครู (ทช.4) และเอกสารต่างๆ ของ
ภายในวนั เดยี วกัน เพ่อื นาสง่ หนังสอื รับรองสิทธ์ฯิ โรงเรยี นต่อไป คุณครูสามารถขอร้องการเปล่ียนแปลง
กบั โรงพยาบาลท่ีทาการรักษาหรือวันทีแ่ พทย์นดั สมุดประจาตวั ครูได้ ในกรณตี ่างๆ ดังน้ี

การเบกิ สวสั ดกิ ารกบั สช. (เฉพาะครทู ่ีบรรจ/ุ แต่งตงั้ )  เปลี่ยนคานาหน้า/ชือ่ /นามสกุล (สง่ สาเนาใบเปลี่ยน
คานาหน้า/ชือ่ /นามสกุล จานวน 2 ชุด)
1. คุณครมู สี ิทธิใ์ นการเบิกคา่ รักษาพยาบาล จานวน
100,000 บาท/ปี (เบกิ ไดเ้ ฉพาะตนเองเท่าน้ัน) โดย  จดทะเบยี นสมรส/หย่า (ส่งสาเนาใบทะเบยี นสมรส/
ตอ้ งทาการรกั ษาเฉพาะโรงพยาบาลรฐั บาล และต้อง หยา่ จานวน 2 ชดุ )
มีใบเสรจ็ จากโรงพยาบาลดว้ ยทกุ ครง้ั ท้ังนี้ ใบเสร็จ
ค่ารักษาพยาบาลมีอายุ 1 ปี (นับจากวันเดือนปีที่  เพิม่ บตุ ร (สง่ สาเนาใบสตู บิ ัตร จานวน 2 ชุด)
ออกใบเสร็จ)
 ปรับวฒุ ิการศึกษา (ส่งสาเนาใบรับรองวฒุ กิ ารศึกษา/
2. คุณครูขอรบั แบบใบเบิกเงนิ สวัสดกิ ารค่า สาเนาใบปริญญาบัตร จานวน 2 ชดุ )
รกั ษาพยาบาล กรณีนาใบเสร็จรับเงินมาเบกิ ไดท้ ่ี
ห้องธุรการ-สารบรรณ การขอรบั เงนิ คนื จากกองทนุ เลยี้ งชพี ครู (3%)

3. คุณครตู ้องยน่ื เอกสารประกอบการขอเบกิ คา่ (เฉพาะครูที่บรรจุ/แตง่ ตง้ั )
รักษาพยาบาล ภายในวันท่ึ 20 ของทุกเดือนทห่ี อ้ ง
ธุรการ-สารบรรณ โดยมเี อกสารประกอบด้วย กรณีที่คณุ ครลู าออกและประสงค์จะทาเรื่อง
ขอรับเงนิ ทุนเลย้ี งชีพ (3%) คนื ให้คณุ ครตู ดิ ตอ่ ยื่นขอใช้
 สาเนาสมุดประจาตวั ครู (ทุกหนา้ ทีม่ ีการบันทึก) สิทธริ์ ับเงนิ ทนุ เล้ยี งชพี ตามที่ระเบยี บกาหนดไว้ ดว้ ย
ตนเองท่หี ้องธรุ การ-สารบรรณ หลังจากยื่นเรื่องลาออก
 สาเนาหนา้ สมุดคู่ฝากธนาคารกรงุ ไทย แล้ว 15 วัน

 ใบเสร็จรับเงนิ จากโรงพยาบาล “การเบกิ สวสั ดกิ ารตา่ งๆ ของโรงเรยี น
หมายเหตุ : กรณีทค่ี ุณครูเข้ารับการรกั ษาที่โรงพยาบาล
ของเอกชน สามารถเบิกได้บางส่วน เฉพาะกรณปี ระสบ สามารถตดิ ตอ่ สอบถาม/ปรกึ ษา
อบุ ตั เิ หตุร้ายแรง/อาจถึงแก่ชีวิต ต้องมใี บรับรองแพทย์
ครหู อ้ งธรุ การ-สารบรรณ ไดต้ ลอดคะ่ ”

ปฏทิ ินปฏิบัตงิ านครู - 41 - ประจาปีการศกึ ษา 2562

การขอใบขออนญุ าตตา่ งๆ การขออนญุ าตเบกิ ใบวฒุ บิ ตั ร/ประกาศ

ครขู อใบเบิกใบวฒุ ิบัตร/ประกาศ ท่ีหอ้ งธุรการ-
การขออนญุ าตนานกั เรยี นไปนอกสถานศึกษา สารบรรณ สง่ ท่หี อ้ งธุรการ-สารบรรณ เพอื่ รบั วุฒบิ ัติไป

1. ครูขอใบขออนุญาตนานักเรียนไปนอกสถานศึกษาได้ พิมพ์ต่อไป กรณีทค่ี ุณครตู ้องการใหห้ ้องธรุ การ-สาร
ท่ีห้องธุรการ-สารบรรณ กรอกรายละเอียดให้ บรรณพมิ พ์วุฒบิ ัตรให้ กรณุ าสง่ รายละเอียด อาทิ ชื่อ
งาน/โครงการ/กจิ กรรม วนั เดือนปีที่ออกวฒุ ิบัติ ฯลฯ
ครบถว้ น เพ่ือเสนอเซน็ ต่อท่านอธกิ าร
2. เม่ือท่านอธิการเซ็นเรียบร้อยแล้ว ให้คุณครูจัดทา พรอ้ มไฟลร์ ายช่ือ-สกุลนกั เรยี น/ครทู ่ีไดร้ บั วุฒิบตั ร เพือ่
คาส่ังแต่งตั้งครูผู้นานักเรียนออกไปนอกสถานศึกษา ความสะดวกและรวดเรว็ ในการจัดพมิ พว์ ฒุ บิ ัตร กรุณา
สง่ ลว่ งหน้าอยา่ งนอ้ ย 3 วัน
ดว้ ยทกุ ครั้ง

3. เมอ่ื คุณครูนานักเรียนไปนอกสถานศกึ ษาเรยี บร้อย

แล้ว ใหส้ ง่ แบบรายงานสรปุ การนานกั เรียนไปนอก

การเบิก-จา่ ยพสั ดุ-ครภุ ณั ฑ์สถานศึกษาท่ีห้องธรุ การ-สารบรรณ ภายใน 3 วัน
การขออนญุ าตใชร้ ถโรงเรยี น
การเบกิ -จา่ ยพัสดุ-ครภุ ัณฑ์
1. ครูขอรับแบบฟอร์มใบขออนุญาตใช้รถโรงเรียนท่ี 1. ครูเขียนใบเบิกของท่ีห้องพัสดุ-ครุภัณฑ์ (เฉพาะ
ห้องธรุ การ-สารบรรณ กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน หัวหน้ากล่มุ สาระฯ)
เพื่อเสนอท่านอธิการเซ็น ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน 2. รอการอนุมัติ หวั หนา้ ฝ่ายบรกิ ารการศกึ ษา
(หากมีแผนท่ีการเดนิ ทางใหแ้ นบไปด้วย)
3. เจ้าหน้าทหี่ อ้ งพัสดุ-ครุภัณฑ์ จัดของตามใบเบิกของ
2. เมื่อท่านอธิการเซ็นอนุญาตแล้ว ให้นาใบขออนุญาต 4. คุณครูมารับวสั ดุอปุ กรณท์ ่ีหอ้ งพัสดุ-ครภุ ัณฑ์
ใช้รถสง่ ที่ครโู ภชนาการ เพือ่ ทาการจดั รถให้คุณครู
การส่งั ซ้ือพสั ดุ-ครภุ ณั ฑ์
การขออนญุ าตเบกิ อาหาร-เครอ่ื งดมื่
1. ครูเขยี นใบขอส่ังซื้อท่ีหอ้ งพสั ดุ-ครภุ ัณฑ์
1. ครขู อใบขออนุญาตเบอกอาหาร-เครือ่ งด่ืมท่ีหอ้ ง 2. รอการอนมุ ตั ิ จากผูอ้ านวยการ ภายใน 2 วนั
ธรุ การ-สารบรรณ/ห้องโภชนาการ กรอกข้อมลู ให้ 3. หัวหนา้ บรกิ ารการศึกษา จัดทาการสงั่ ซือ้ ของ
เรยี บร้อย เพื่อเสนอท่านอธกิ ารเซ็นอนุมัติ
4. ครูติดต่อรับวัสดุอุปกรณ์ท่ีห้อง พัสดุ-ครุภัณฑ์
2. เมือ่ ท่านอธกิ ารเซ็นอนุมัติเรียบรอ้ ยแลว้ ให้คุณครู
ภายหลังจากวันอนุมัติแล้ว
นาใบขออนญุ าตเบกิ อาหาร-เครอื่ งดื่มสง่ กบั ครู
โภชนาการ กรุณาสง่ ล่วงหน้า 3 วนั การแจง้ ซ่อมวัสดุอปุ กรณ์

การขอใบอนญุ าตรบั รองการทางาน/เงนิ เดอื น 1. ครูเขยี นใบแจ้งซอ่ มวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่หี อ้ งพัสดุ-ครภุ ัณฑ์
2. รอการดาเนินการซ่อมวัสดุอปุ กรณ์ ภายใน 3 วนั
1. ครขู อใบคาร้องขออนญุ าตรบั รองการทางาน/
3. ครูติดตามการซ่อม และตรวจสอบการใช้งานเม่ือ
เงนิ เดอื นทหี่ ้องธุรการ-สารบรรณ กรอกข้อมลู ให้
ซ่อมเรียบร้อยแลว้
เรยี บรอ้ ย เพื่อเสนอท่านอธิการเซ็นอนมุ ตั ิ
2. เมอ่ื ท่านอธิการเซน็ อนุมัติเรยี บร้อยแล้ว ให้สง่ ใบคาร้อง การเชค็ ทรัพย์สินประจาปี
ท่หี ้องธรุ การ-สารบรรณ เพ่อื จัดทาหนังสอื รับรองการ
ทางาน/เงนิ เดือน ภายใน 3 วันทาการ การเช็คทรัพย์สินประจาปี ของโรงเรียนเซนต์ฟ
รังซีสเซเวียร์ ทาการเช็คทรัพย์สินภาคเรียน ละ 1 ครั้ง
คือ ภาคเรียนที่ 1 เดือน ตุลาคม และ ภาคเรียนท่ี 2

เดอื น กมุ ภาพันธ์ ของทกุ ปี

ปฏิทนิ ปฏิบตั ิงานครู - 42 - ประจาปีการศึกษา 2562

พฤษภาคม 2563 พ/Wed พฤ/Thu May 2020

อา/Sun จ/Mon อ/Tue ศ/Fri ส/Sat

3 4วนั ฉตั รมงคล 5 วนั วสิ าขบชู า 7 12
89
10 วนั พชื มงคล 11 12 6 14
19 13 21 15 16
17 18 26 20 28 22 23
27 29 30
24 31 25

วนั เดอื นปี รายการ ผ้รู ับผดิ ชอบ

7 พ.ค. 63 - ครเู ริ่มทำงำน บุคลำกร
8 พ.ค. 63 - ประชมุ ครูเปิดปีกำรศึกษำ 2563 ทกุ ฝ่ำย
12 – 13 พ.ค. 63 - ปฐมนิเทศบคุ ลำกรครูใหม่ ปกี ำรศึกษำ 2563 ทกุ ฝ่ำย
14 พ.ค.63 - ขำยหนังสือเรียน ภำคภำษำองั กฤษ วิชำกำร (EP)
- อบรมบคุ ลำกรครู บุคลำกร
15 พ.ค.63 - เปิดเรยี นภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2563 วิชำกำร
- เปิดเรยี นภำคเรียนที่ 1 ระดับช้ันปฐมวัยปีที1่ ปีกำรศึกษำ 2563 ปฐมวัย
18 พ.ค. 63 - กิจกรรม กล่อมเกลำจิตใจ...ด้วยสำยใยแห่งธรรม คร้ังที่ 1 ครูปรชี ำ, ครูบญุ ยืน (EP)
18 – 22 พ.ค. 63 - กิจกรรม ปฐมนิเทศ Walk Rally คร้ังที่ 1 ครูฝันนภำ, ครูเศกสินธุ์ (EP)
- กิจกรรม บ้ำนนีม้ ีรกั และเมตตำ คร้ังที่ 1 ครูกรรริกำ (อ), ครพู ัชรนิ ทร์ (อ)
18 พ.ค. 63 (EP)
- กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ บญั ญัติทีด่ ี ครอู รอุมำ (ขนุ ) (EP)
ปฏทิ ินปฏิบตั งิ านครู - วจนพิธีกรรมเปิดปีกำรศึกษำ 2563 ครสู ำวินี / ครอู ญั ชลี
- เริ่มกิจกรรม ศนู ย์สร้ำงสรรค์จนิ ตภำพ วิชำกำร
- เริม่ กิจกรรม ศนู ย์ภมู ิปญั ญำไทย ครสู รุ รี ตั น์
- เริม่ กิจกรรม ศนู ย์เศรษฐกิจพอเพียง ครูธนธร
- เริม่ กิจกรรม ห้องมรดกวฒั นธรรมไทย ครชู ำญณรงค์
- เริม่ กิจกรรม ห้องอำเซียน ครูทิพวิมล
- เริ่มกิจกรรมศนู ย์โลกอจั ฉริยะ ครนู จุ ะรี
- เริ่มกิจกรรมCreative Reading ครฉู ัตรฤดี
- เริม่ กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ บัญญตั ิทีด่ ี ครปู รญิ ญำ
- เริม่ กิจกรรมห้องเรียนเชิงบวก ครูนลินนิภำ
- เริม่ กิจกรรม ออกกำลงั กำยให้สนกุ ...เพื่อสขุ ภำพทีด่ ี ครูอริษำ
- กิจกรรม ซ้อมหนไี ฟ ประจำปีกำรศึกษำ 2563 ครูกรรณิกำ,ครูอนนั ต์, ครูประจำช้ัน
- เปิดเรยี นภำคเรียนที่ 1 ระดับช้ันปฐมวยั ปีที่ 2-3 ปีกำรศึกษำ 2563 ปฐมวยั
- ตรวจสขุ ภำพนกั เรียนและทดสอบสมรรถภำพนกั เรียน ประจำปีกำรศึกษำ ครูจงรักษ์(บ), ครูวรำภรณ์ (EP)
2563
- กิจกรรม สภุ ำพบรุ ุษที่ดี สภุ ำพสตรที นี่ ่ำรกั ครูรจุ ี / ครูอิฏอำณกิ , ครนู ลินภัสร์ (EP)
- เริ่มกิจกรรมขมุ พลงั แห่งปญั ญำ / Little Treasure of Knowledge ครชู ตุ ิกำญจน์ / ครูกรรณภรณ์,

- 43 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

วนั เดือนปี รายการ ผู้รบั ผิดชอบ

25 – 29 พ.ค. 63 - กิจกรรม อ่ำนทุกวนั สรำ้ งฐำนปญั ญำ ครกู รรทมิ ำ (EP)
23 พ.ค. 63 - กิจกรรมอ่ำนคล่องท่องโลกกว้ำง ครนู พรตั น์, ครูภรพรรณภชั ร (EP)
25 พ.ค. 63 - กิจกรรม ซ้อมหนไี ฟ ประจำปีกำรศึกษำ 2563 คร้ังที่ 1
- กิจกรรมปฐมนิเทศกำรใชห้ ้องสมดุ ครูภชั รำภรณ์ (EP)
29 พ.ค.63 - รับบัญชีเรียกชื่อ ประจำปีกำรศึกษำ 2563 ครชู นัญญำ (EP)
- กิจกรรมตำรวจน้อย ครอู สิ รำ, ครูประจำช้ัน
- กิจกรรม เซนต์ฟรังซีสฯ...รกั ษ์สะอำด ครูกนิษฐำ,ครูนรีรัตน์
- กิจกรรม คณุ คือ..ดำวเด่นเซนต์ฟรังซสี ฯ ครูดวงนภำ, ครูศิริธนำ (EP)
- กิจกรรม รณรงค์งดสูบบหุ รีโ่ ลก ครรู ัติยำ / ครลู ัดดำ, ครูรถั ยำ (EP)
- กิจกรรมเกลำสำยจิตใจ...ด้วยสำยใยแห่งธรรม ครูอนสุ รำ, ครูสรุ ยี ์
- กิจกรรมส่งเสิรมสขุ ภำพและรณรงคต์ ่อตำ้ นยำเสพติด ครอู นันต์, ครอู ำจรีย์ (EP)
- ประชุมประจำเดือน พฤษภำคม ครอู ฎิ อำณกิ

ครธู ันยำพร
ครพู รภทั ร

บนั ทกึ

ปฏทิ นิ ปฏิบัตงิ านครู - 44 - ประจาปกี ารศึกษา 2563

มิถนุ ายน 2563 อ/Tue พ/Wed พฤ/Thu June 2020

อา/Sun จ/Mon 2 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบรมราชนิ ี 4 ศ/Fri ส/Sat

1 9 3 11 56
16 10 18
78 23 17 25 12 13
14 15 30 24 19 20
21 22 26 27
28 29

วนั เดอื นปี รายการ ผู้รบั ผิดชอบ

1 มิ.ย. – 18 ก.ย. 63 - เริม่ นิเทศกำรเรียนกำรสอนท้ัง 8 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ หัวหน้ำกลุ่มสำระฯ
1 มิ.ย. 63 - นิเทศกำรสอนครภู ำคภำษำองั กฤษ ครพู ชั รนิ ทร์ (บุญ) (EP)
- กิจกรรม โครงงำน
1 มิ.ย. 63 - กิจกรรม ตำมควำมถนดั และควำมสนใจ ครวู ิชญั ญำ
- กิจกรรม ห้องเรียนเชิงบวก ครูธรรมรำช
2 มิ.ย. 63 ครูพุทธชำต,ิ ครูภำวินี, ครูดวงพร
- กิจกรรม สอนลูกใหแ้ บ่งปัน
3 มิ.ย. 63 - กิจกรรม นกั อำ่ นมำรำธอน (EP)
4 มิ.ย. 63 - นิเทศกำรสอน (ปฐมวยั ) ครูกรรณิกำ(อ) / ครสู วรรยำ
5 มิ.ย. 63 - กิจกรรม ยุวบรรณำรักษ์ / Junior Librarians
6 มิ.ย. 63 - กิจกรรม ตอบคำถำมแฟนพนั ธุ์แทห้ ้องสมุด ครูอสิ รำ
8 มิ.ย. 63 - กิจกรรมแผ่นพับสขุ ภำพ ครนู จุ ะรี
9 มิ.ย. 63 - กิจกรรมแขง่ ขันเกมคณิตศำสตร์ ครอู สิ รำ, ครนู ิศติ ำ (EP)
10 มิ.ย. 63 - กิจกรรมภำษำวนั ละคำ ครอู สิ รำ
11 มิ.ย. 63 - เริ่มกิจกรรมส่งเสรมิ ศกั ยภำพและควำมสำมำรถทำงภำษำไทย ครนู พรตั น์
8 – 12 มิ.ย. 63 - กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษำสมเดจ็ พระนำงเจ้ำสุทิดำ พชั รสุธำพิมล ครูธรรมรำช,ครนู ิภำดำ
ลกั ษณ พระบรมรำชินี ครจู อมทิพย์/ครธู นั ยำพร
ปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ านครู - กิจกรรม ออกกำลงั กำยยำมเช้ำ ครูสมพร,ครูวนิดำ
หยดุ เนอื่ งวนั เฉลิมพระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ สทุ ิดา พัชร กิจกำรนักเรียน / ครูนุจะรี
สุธาพิมลลกั ษณ พระบรมราชินี
กิจกรรม วันไหว้ครู ครพู รรษปกรณ์,ครพู งษ์ลดั ดำ

- รับรำยชื่อนกั เรียนประจำปีกำรศึกษำ 2563 ครูเนอื้ นอ้ ง / ครูนุจะรี , ครจู ุฑำมำศ
- พิธีมอบวฒุ ิบัตรนกั เรียนเรยี นดี ประพฤติดี น้ำใจดี ครมู กุ ระวี (EP)
ปีกำรศึกษำ 2563
- เริม่ กิจกรรมส่งเสรมิ ศกั ยภำพนกั เรียน ทุกกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ครูกนิษฐำ,ครนู รีรตั น์
- English Quiz ม.6 ครูศรณั ยำ, ครูกรรทิมำ (EP)
- English Quiz ม.5
- English Quiz ม.4 หวั หน้ำกลุ่มสำระฯ
- กิจกรรมนนทบุรที ี่รกั ษ์ ครูวิไลพร /T.Rowel /T.Angela

- 45 - ครูพงษ์ศกั ดิ์ /T.Rowel
ครพู งษ์ศักดิ์ /T.Rowel

ครูกญั ญำรัตน์

ประจาปีการศกึ ษา 2563

วนั เดือนปี รายการ ผู้รับผดิ ชอบ

8 – 19 มิ.ย. 63 - สปั ดำหก์ ำรคัดกรองนกั เรียนทกุ ระดบั ครูอจั ฉรำพร,ครูประจำช้ัน
- สปั ดำห์สง่ เสรมิ ประชำธปิ ไตยในโรงเรียน ครูเพียงเพญ็ , ครูอรอุมำ (ศ) (EP)
15 มิ.ย. 63 - กิจกรรมหนนู ้อยรักษ์ประชำธิปไตย
15 – 19 มิ.ย. 63 - กิจกรรมป้นั ฝนั นกั เล่ำตัวน้อย ครอู รินยำ
- ส่งบัญชเี รียกชื่อเดือนพฤษภำคม ครูฉตั รฤดี
18 มิ.ย. 63 - กิจกรรมส่งเสรมิ ประชำธปิ ไตย ครกู นิษฐำ,ครนู รีรัตน์
22 – 26 มิ.ย. 63 - เลือกตั้งคณะกรรมกำรนักเรียน ปีกำรศึกษำ2563 ครอู ริณยำ
- กิจกรรมสัปดำหค์ รูกลอนสนุ ทรภู่ ครเู พียงเพ็ญ, ครอู รอมุ ำ (ศ) (EP)
ครูนฤมล/ครอู รินยำ, ครูจันทิมำ,
29 มิ.ย. 63 - กิจกรรมเพื่อนที่ปรึกษำ (YC) ครูคนึงนิตย์ ครกู ำญจนำ
22 – 29 มิ.ย. 63 - กิจกรรมสำนสัมพนั ธบ์ ้ำนและโรงเรียน ครูวิชสุดำ ครูปิยพร (EP)
- กิจกรรมหนูน้อยนกั ประดิษฐ์ ครูอัจฉรำพร
29มิ.ย. – 3 ก.ค. 63 - กิจกรรมส่งเสรมิ วันสำคญั ทำงศำสนำ ครูกรรณภรณ์
ครวู ิชดุ ำ
30 มิ.ย. 63 - กิจกรรมหล่อเทียนพรรษำ ครสู มคดิ / ครูนจุ ะร,ี ครธู นตั ถก์ รณ์
- ส่งบัญชเี รียกชื่อ เดือนมิถนุ ำยน
- กิจกรรมโลกนิทำนยำมเช้ำ คร้ังที่ 1 (EP)
- ประชุมประจำเดือน มิถุนำยน ครสู มคิด
ครูกนิษฐำ,ครนู รีรตั น์
ครฉู ตั รฤดี
ครพู รภัทร

บนั ทึก

ปฏทิ ินปฏิบัติงานครู - 46 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

กรกฎาคม 2563 พ/Wed พฤ/Thu July 2020

อา/Sun จ/Mon อ/Tue 1 2 ศ/Fri ส/Sat
8 9
5วนั อาสาฬหบชู า วนั เข้าพรรษา 7 34
15 16 10 11
12 6หยุดชดเชยวนั อาสาฬหบูชา 22 23
19 29 30 17 18
26 13 14 24 25
31
20 21

27 28วนั เฉลมิ พระชนมพรรณษา ในหลวง ร.10

วันเดอื นปี รายการ ผรู้ ับผิดชอบ

1 ก.ค. 63 - พิธเี ปิดกองลูกเสือ-เนตรนำรี ครูพรรษปกรณ์,ครสู ันธะนะ ครู
ประจำชั้น, ครเู ศกสินธ์ุ (EP)
2 ก.ค. 63 - กิจกรรม กระดำษ 3 มิติ ครนู พรัตน์
- กิจกรรมเล่มนสี้ ิน่ำอำ่ น ครูเกศินี
3 ก.ค. 63 - เริ่มกิจกรรมสัปดำหส์ ่งเสรมิ มำรยำทไทย ครูสรุ ยี ์
5 ก.ค. 63 - กิจกรรม ถวำยเทียนพรรษำ ครูสมคิด /ครนู จุ ะรี
6 ก.ค. 63 - กิจกรรมหล่อเทียนพรรษำ ครธู นัตถ์กรณ์ (EP)
13 – 17 ก.ค.63 - กิจกรรม ถวำยเทียนพรรษำ ครูธนตั ถ์กรณ์ (EP)
13 ก.ค. 63 - วนั อาสาฬหบชู า
13 ก.ค. 63 - หยุดชดเชยวนั อาสาฬหบูชาและวนั เขา้ พรรษา วิชำกำร (EP)
- สอบนอกตำรำงกลำงภำคเรียนที่ 1 / 2563
14 ก.ค. 63 - กิจกรรม เดอะพิซซ่ำ คอมปะนีชวนนอ้ งอำ่ น คร้ังที่ 18 ครูอิสรำ,ครูเกศินี,ครนู พรตั น์, ครูนิศิตำ
15 ก.ค. 63 - กิจกรรมกระเป๋ำของเล่น
20 – 23 ก.ค.63 - กิจกรรมเวทีสรำ้ งสรรค์ของนกั คิดรุ่นจวิ๋ ครูนุจะรี
20 – 31 ก.ค.63 - กิจกรรมภำษำจีน ครูปรญิ ญำ/ครูเบญจพร
23 ก.ค. 63 - กิจกรรมค่ำยอนรุ ักษ์พลงั งำน ป.3, ม.1
27 ก.ค. 63 - สอบกลำงภำคเรียนที่ 1/2563 อ. มณีศรี
- กิจกรรม เยีย่ มบ้ำนคร้ังที่ 1 ทุกระดบั ชั้น ครมู ำริษำ
28 ก.ค. 63 - กิจกรรมพฒั นำสมองหนูสู่อัจฉริยะ (EF) วิชำกำร / วิชำกำร (EP)
31 ก.ค. 63 - วจนพิธีกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษำพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั ครอู จั ฉรำพร,ครูประจำช้ัน
- กิจกรรมเทิดพระเกียรติ (เฉลมิ พระชนมพรรษำ ร.10) ครนู ิษชำ
- หยดุ วนั เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ครูสำวินี,ครูกรรณิกำ(อ)/
- ส่งบญั ชเี รียกชื่อ เดือนกรกฎำคม ครูนุจะร,ี ครยู ุวรรณ
- กิจกรรมโลกนิทำนยำมเช้ำ คร้ังที่ 2
- ประชุมประจำเดือน กรกฎำคม ครูกนิษฐำ,ครนู รีรตั น์
ครูฉัตรฤดี
ครูพรภัทร

บนั ทกึ - 47 - ประจาปีการศกึ ษา 2563

ปฏิทนิ ปฏบิ ตั งิ านครู

สิงหาคม 2563 - 48 - August 2020

ปฏทิ ินปฏบิ ัติงานครู ประจาปีการศกึ ษา 2563

อา/Sun จ/Mon อ/Tue พ/Wed พฤ/Thu ศ/Fri ส/Sat

23 45 6 7 1
9 10 11 12วนั แม่แห่งชาติ 13 14 8
16 17 18 19 20 21 15
23 30 24 25 26 27 28 22
29
31

วันเดือนปี รายการ ผรู้ ับผดิ ชอบ

3 ส.ค.63 - กิจกรรม สำนสมั พันธ์พนี่ ้องเซนต์ฟรงั ซีสฯ ม.6 ครอู ัจฉรำพร
3 – 31 ส.ค. 63
- กิจกรรมพ่อ – แม่เปน็ ครู ปีกำรศึกษำ2563 ครอู ำรีพรรณ / ครูจอมทพิ ย์, ครนู ิภำพร(EP)
7 ส.ค. 63
10 – 14 ส.ค. 63 - กิจกรรมคลินิกคณิตศำสตร,์ ภำษำไทย,วิทยำศำสตร์ ครูนริศรำ,ครจู ิตรำ,ครอู ไุ ร

10 ส.ค. 63 - กิจกรรม บรรณนิทศั น์กล่อง ครูนพรัตน์
11 ส.ค. 63
- เริม่ กำรแข่งขันกีฬำภำยในปีกำรศึกษำ 2563 รอบที่ 1 ครผู ู้สอนสุขศึกษำฯ
12 ส.ค. 63
- ประเมินกิจกรรม ประจำเดือนสงิ หำคม ครวู รรณำ/ครนู ุจะรี
14 ส.ค. 63
- กิจกรรมสปั ดำห์รณรงค์ตอ่ ต้ำนยำเสพติดและกิจกรรมเดินรณรงค์ตอ่ ต้ำน ครอู นนั ต์,ครจู งรักษ์(บ) /ครธู นั ยพร,
17 – 20 ส.ค. 63
17 ส.ค. 63 ยำเสพติด ครูยุทธนำ (EP)
19 ส.ค. 63
21 ส.ค. 63 - กิจกรรมเตรียมควำมพร้อม TCAS (ม.6) ครูอัจฉรำพร

24 ส.ค. 63 - วจนพิธีกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษำสมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ ครสู ดุ ำรตั น์ / ครูนุจะร/ี ครูยวุ รรณ,
24 – 26 ส.ค. 63
พระบรมรำชินนี ำถ พระบรมรำชชนนีพนั ปีหลวง ครไู พลิน(EP)
28 ส.ค. 63
- กิจกรรมเทิดพระเกียรติ (วนั แมแ่ หง่ ชำติ)
31 ส.ค. 63
- หยุดเนอื่ งวนั เฉลิมพระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิติ์

พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง (วนั แม่

แหง่ ชาต)ิ

- กิจกรรม Day Camp ป.1–ป.3 ครูพรรษปกรณ์, ครสู ันธะนะ,
ครปู ระจำชั้น, ครูเศกสินธ์ุ (EP)

- กิจกรรมสัปดำห์วทิ ยำศำสตร์ ครูสุวภำ/ครผู ณิลดำ

- กิจกรรมพฒั นำบุคลิกภำพ (ม.1-3) ครูอัจฉรำพร

- บ้ำนนี้มีรักและเมตตำ ครอู ัญชลี

- กิจกรรม Day Camp ป.4-ป.6 ครูพรรษปกรณ์, ครสู นั ธะนะ.
ครปู ระจำชั้น, ครูเศกสินธุ์ (EP)

- เริ่มกิจกรรมห้องเรียนจริยธรรมชุมชน ครูกรรณิกำ (อ)

- กิจกรรมออกกำลงั กำยให้สนกุ ...เพื่อสขุ ภำพที่ดี ครูอริษำ

- กิจกรรมโลกนิทำนยำมเช้ำ คร้ังที่ 3 ครูฉตั รฤดี

- Singing and dancing P.3 ครมู นิ ตรำ,ครสู กุ ัญญำ,T.Wenxian

- ส่งบัญชเี รียกชือ่ เดือนสิงหำคม ครกู นิษฐำ,ครนู รีรัตน์

- ประชุมประจำเดือน สิงหำคม ครพู รภทั ร

บนั ทึก - 49 - ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

ปฏิทนิ ปฏิบัตงิ านครู

กนั ยายน 2563 - 50 - September 2020

ปฏทิ นิ ปฏิบตั งิ านครู ประจาปีการศึกษา 2563


Click to View FlipBook Version