The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

05 สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by abcde_nee, 2022-01-01 04:48:00

05 สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย

05 สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย



แผนภูมิแสดงลาดบั ข้นั ตอนการเรียน

๑. อ่านคาชีแ้ จง ๒. อ่านจุดประสงค์

๓. ทดสอบก่อนเรียน

ถ้าทากจิ กรรม และ ๔. ศึกษาบทเรียน
ทาแบบทดสอบแล้วคะแนน
ไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ย้อนกลบั ไป
ศึกษาต้งั แต่ข้นั ที่ ๔ ใหม่ครับ

๕. ทากจิ กรรม

๖. อ่านบทสรุป

๗. ทดสอบหลงั เรียน

๘. ผ่านการทดสอบ



คาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน

เอกสารประกอบการเรียนเล่มน้ี นกั เรียนสามารถศึกษาและเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง
โดยก่อนศึกษาเน้ือหาใหน้ กั เรียนอ่านคาช้ีแจง และปฏิบตั ิตามข้นั ตอนดงั น้ี

๑. อ่านคาช้ีแจงการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนใหเ้ ขา้ ใจตามข้นั ตอน
๒. ศึกษาสาระสาคญั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้

ก่อนเริ่มเรียน
๓. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนและตรวจคาตอบจากเฉลยในภาคผนวก
๔. ศึกษาเน้ือหาใหเ้ ขา้ ใจแลว้ ทากิจกรรมท่ีกาหนดและตรวจคาตอบจาก

เฉลยในภาคผนวก
๕. ขณะศึกษาบทเรียนและปฏิบตั ิกิจกรรม ตอ้ งไม่เปิ ดดูเฉลยคาตอบก่อน

นกั เรียนควรมีความซ่ือสัตยต์ อ่ ตนเอง
๖. เมื่อศึกษาจบแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรียน และเมื่อเสร็จแลว้ ตรวจคาตอบ

จากเฉลยในภาคผนวก
๗. สรุปผลคะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน คะแนนการตอบคาถาม

แตล่ ะกิจกรรม และคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลงั เรียน ลงในแบบ
สรุปผลการเรียน

อ่านคาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน
เข้าใจดแี ล้ว จงึ เปิ ดหน้าต่อไปครับ



สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

สาระสาคญั

สงั คมสุโขทยั มีพ้ืนฐานการดารงชีวติ ที่ผกู พนั เสมือนเครือญาติ แมจ้ ะมีการแบ่งชนช้นั
ในสังคมแต่ก็เป็นการแบ่งเพ่ือแยกกนั ปฏิบตั ิหนา้ ที่เท่าน้นั การรับพระพุทธศาสนาเขา้ มาไดพ้ า
พธิ ีกรรมทางศาสนาพราหมณ์ อารยธรรมทางกฎหมาย และกระบวนการยตุ ิธรรมมาดว้ ย
ประกอบกบั การกาเนิดของอกั ษรไทยลว้ นเป็นปัจจยั ท่ีส่งเสริมใหส้ ุโขทยั สามารถสร้างสรรค์
พฒั นาศิลปวฒั นธรรมจนเป็นมรดกตกทอดสืบมาจนถึงปัจจุบนั

จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. วเิ คราะหส์ ภาพสังคมไทย การแบง่ ชนช้นั ทางสงั คมสมยั สุโขทยั ได้
๒. อธิบายลกั ษณะวฒั นธรรมท่ีสาคญั ในสมยั สุโขทยั ได้

สาระการเรียนรู้

๑. สภาพสงั คมไทยสมยั สุโขทยั
๒. ชนช้นั ทางสงั คมสมยั สุโขทยั
๓. วฒั นธรรมท่ีสาคญั สมยั สุโขทยั



แบบทดสอบก่อนเรียน
เร่ือง สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาท (  ) ลงบนข้อทถ่ี กู ต้องที่สุดเพยี งข้อเดยี ว

๑. ลกั ษณะวฒั นธรรมสมัยสุโขทัยยดึ ถือความเช่ือตามแบบแผนใดมากท่ีสุด
ก. ศาสนาฮินดู
ข. ศาสนาพทุ ธ
ค. ศาสนาอิสลาม
ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู

๒. ข้อใดเปรียบได้กบั เครื่องมือแก้ไขความขัดแย้งของคนในสังคมสมยั สุโขทัย
ก. กฎหมาย
ข. พิธีกรรมทางศาสนา
ค. ความเขม้ แขง็ อดทน
ง. ความศรัทธาเล่ือมใส

๓. ข้อใดคือลกั ษณะรูปทรงเฉพาะของเจดีย์ในสมยั สุโขทัย
ก. ทรงระฆงั ควา่ ยอ่ มมุ แบบลา้ นนา
ข. ทรงกลมแบบลงั กา
ค. ทรงสูงแบบพระปรางคข์ องศรีวิชยั
ง. ทรงพมุ่ ขา้ วบิณฑ์

๔. วรรณกรรมทีม่ คี ุณค่าต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์ไทยสมัยสุโขทยั มากทส่ี ุด คือข้อใด

ก. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์ ข. สุภาษติ พระร่วง

ค. ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ ง. ไตรภูมิพระร่วง

๕. ข้อใดมีส่วนสัมพนั ธ์กบั เคร่ืองเคลือบดินเผาหรือเครื่องสังคโลก

ก. เตาเผาเทียน ข. เตาทเุ รียง

ค. เตาสุโขทยั ง. เตาศรีสชั นาลยั



๖. พระพทุ ธรูปปางใดเป็ นของสมัยสุโขทยั แท้

ก. ปางลีลา ข. ปางสมาธิ
ค. ปางหา้ มญาติ ง. ปางราพงึ

๗. ชนกล่มุ ใดมหี น้าทด่ี แู ลบ้านเมืองปกครองผู้คน และเป็ นผู้นากาลงั ไพร่พลออกทาสงคราม

ป้องกนั อาณาจกั รภายใต้คาส่ังของกษัตริย์

ก. พระราชวงศ์ ข. ขนุ นาง

ค. ไพร่ ง. พระภิกษสุ งฆ์

๘. หนังสือไตรภูมิพระร่วงให้แนวคิดเกีย่ วกบั การดาเนินชีวติ ของคนในสังคมสุโขทยั ในข้อใด
มากทีส่ ุด
ก. ทาดีจะปลอดภยั ทาชวั่ จะเลวร้าย
ข. ทาดีจะไดเ้ ขา้ รับราชการ เป็นเจา้ คนนายคน
ค. ทาดีจะไดข้ ้นึ สวรรค์ ทาชวั่ จะตกนรก
ง. ทาดีจะเป็นเทวดา ทาชว่ั จะเป็นผีเปรต

๙. สถาบนั ท่ีเป็ นศูนย์กลางของความศรัทธาร่วมกัน และเป็ นสถาบันท่ีเชื่อมประสานโครงสร้าง

ระหว่างชนช้ันในสังคมคือสถาบันใด

ก. สถาบนั ทหาร ข. สถาบนั กษตั ริย์

ค. สถาบนั การปกครอง ง. สถาบนั พระพุทธศาสนา

๑๐. ข้อใดเป็ นหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ทางด้านศิลปะสมยั สุโขทยั
ก. ใบลาน - กระดาษสา
ข. ศิลาจารึก - พระพทุ ธรูป
ค. โครงกระดูก - หมอ้ บา้ นเชียง
ง. พระธาตุไชยา - พระท่ีนงั่ ดุสิตมหาปราสาท

ทาเสร็จแล้ว ตรวจคาตอบ
จากเฉลยในภาคผนวก
ได้เลยครับ



เร่ือง
สังคมและวฒั นธรรมสมยั สุโขทยั

สังคมสมัยสุโขทยั

สภาพสงั คมไทยสมยั สุโขทยั มีพ้ืนฐานการดารงชีวิตท่ีผกู พนั เสมือนเครือญาติ แมจ้ ะมีการ
แบ่งชนช้นั ในสังคมแตก่ ็เป็นการแบง่ เพ่ือแยกกนั ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีเทา่ น้นั มีลกั ษณะเด่น ๓ ประการคอื

๑. ดา้ นสิทธิเสรีภาพ ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ ดงั ปรากฏในศิลาจารึกหลกั ที่ ๑
ของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช กล่าววา่ “ดว้ ยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขบั ใครจกั
มกั เล่น เล่น ใครจกั มกั หัว หวั ใครจกั มกั เลื่อน เลื่อน” มีเสรีภาพในการทามาหากิน เช่น
“ใครจกั ใคร่ชา้ ง คา้ ใครจกั ใคร่มา้ คา้ ใครจกั ใคร่เงินคา้ ทอง คา้ ” ถือเป็นกุศโลบายของ
พระมหากษตั ริยท์ ่ีตอ้ งการจะจูงใจให้ชาวต่างเมืองเขา้ มาคา้ ขาย เพอื่ ความเจริญทางเศรษฐกิจ
และกาลงั คน ซ่ึงเป็นปัจจยั สาคญั ในการป้องกนั บา้ นเมืองในสมยั สุโขทยั

๒. ดา้ นระบบความเช่ือ ประชาชนมีความเชื่อท้งั ในดา้ นภูตผีวิญญาณ ไสยศาสตร์
พระพทุ ธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ ดงั ปรากฏในศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ กล่าววา่ “เบ้ืองหวั นอน
เมืองสุโขทยั น้ีมีกฏุ ิวหิ ารป่ ูครูอยู่ มีสรีดภงส์ มีป่ าพร้าว ป่ าลาง ป่ าม่วง ป่ าขาม มีน้าโคก
มีพระขระพุงผี เทพยดาในเขาอนั น้นั เป็นใหญ่กวา่ ทกุ ผใี นเมืองน้ี ขนุ ผใู้ ดถือเมืองสุโขทยั น้ีแลว้
ไหวด้ ีพลีถูกเมืองน้ีเท่ียวเมืองน้ีดี ผไี หวบ้ ่ดี พลีบอ่ ถกู ผใี นเขาอนั บ่อคุม้ บ่อเกรง เมืองน้ีหาย”
สุโขทยั ไดร้ ับอิทธิพลศาสนาพทุ ธนิกายหินยานจากนครศรีธรรมราช พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช
ทรงทาบญุ ถวายทาน และนาประชาชนฟังธรรมเทศนาในวนั ธรรมสวนะและวนั สาคญั

๓. การจดั ระเบียบสงั คม ความจาเป็นทางสังคมและความจาเป็นในดา้ นการรักษา
ความสงบในยามสงคราม ทาใหม้ ีการจดั ระเบียบสงั คมข้นึ สงั คมสุโขทยั แบ่งออกเป็น
สองกลุ่มใหญ่ คือ ชนช้นั ผปู้ กครองและชนช้นั ผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง ส่วนชาวต่างชาติสมยั น้ีก็มิได้
รังเกียจที่จะเขา้ มาต้งั ถิ่นฐานอยู่ นอกจากน้นั พระสงฆย์ งั ไดร้ ับการยกยอ่ งใหส้ ูงกวา่ คนธรรมดาดว้ ย



ชนช้ันทางสังคมสมัยสุโขทัย

๑. กษตั ริย์ คือ เจา้ เมืองหรือพ่อเมือง ทรงเป็นประมขุ ของอาณาจกั ร มีอานาจสูงสุด

ในอาณาจกั ร เป็นผพู้ ิพากษาสูงสุดในการวินิจฉยั ขอ้ พพิ าทต่าง ๆ ในสมยั สุโขทยั ตอนตน้

ชาวสุโขทยั มกั จะเรียกกษตั ริยว์ า่ “พอ่ ขนุ ” แต่ในสมยั สุโขทยั ตอนปลายมกั จะเรียกวา่ “พญา” หรือ

“พระมหาธรรมราชา” มีฐานะความเป็นสมมติเทพซ่ึงไดร้ ับอิทธิพลจากลทั ธิเทวราชาของขอม

กษตั ริยม์ ีหนา้ ท่ีบาบดั ทุกขบ์ ารุงสุขของราษฎร ดูแลช่วยเหลือการประกอบอาชีพ ทรงปกครอง

บา้ นเมืองโดยยดึ มนั่ ในหลกั ธรรม ทรงส่งเสริมทานุบารุงพระพทุ ธศาสนา และทรงเป็นผนู้ า

กองทพั บงั คบั บญั ชาไพร่พล ปกป้องประเทศเม่ือเกิดศึกสงคราม

๒. พระราชวงศ์ คือ ผทู้ ่ีมีเช้ือสายร่วมกนั กบั พระมหากษตั ริยห์ รือสืบราชสมบตั ิต่อ

อาจไดร้ ับมอบหมายใหป้ กครองดูแลหวั เมืองลูกหลวง ซ่ึงเมืองท่ีจะตอ้ งไปครองก่อนเป็นกษตั ริย์

คือ เมืองศรีสัชนาลยั

๓. ขุนนางข้าราชการ คือ ผูท้ ่ีปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดูแลบา้ นเมือง ปกครองผคู้ น และเป็นผนู้ า

กาลงั พลออกทาสงคราม เมื่อยามมีศึกมาประชิดอาณาจกั รภายใตค้ าสง่ั พระมหากษตั ริย์

๔. ไพร่ คือ ราษฎรสามญั ชนธรรมดา

ในศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ใชค้ าวา่ “ลกู บา้ น

ลูกเมือง” เป็นกล่มุ ชนส่วนใหญ่ที่มิไดม้ ีฐานะ

เป็นผนู้ าแตป่ ระการใด มีอิสระในการดารงชีวติ

ไพร่จะถูกเกณฑแ์ รงงานโดยขนุ นางขา้ ราชการ

เป็นคร้ังคราว เช่น ไปเป็นแรงงาน

ภาพที่ ๑ พระมหากษตั ริย์มีหน้าทดี่ ูแลทุกข์สุข ดา้ นเกษตรกรรม สร้างเข่ือนกกั เก็บน้าเพ่อื
ของราษฎรและตัดสินข้อพพิ าท การชลประทาน ก่อสร้างถาวรวตั ถุตา่ ง ๆ
ด้วยความยุติธรรม และทาหนา้ ท่ีเป็นทหารป้องกนั ประเทศใน
ยามสงคราม

ภาพจาก : http://www.tourthai.com

๕. ข้าทาส คือ กลุ่มคนที่มีอิสรภาพและเสรีภาพในการดารงชีวติ ของตนเอง เป็นผรู้ ับใช้
หรือผตู้ ิดตามพวกเจา้ ขนุ หรือชนช้นั ผปู้ กครอง



๖. นักบวชทางศาสนา ที่สาคญั ไดแ้ ก่ พระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนา พราหมณ์ และดาบส
พระสงฆม์ ีบทบาทสาคญั ในการสอนอบรมใหป้ ระชาชนอยใู่ นศีลธรรม มีเมตตา เอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่
ช่วยเหลือกนั และกนั ประชาชนนิยมส่งบตุ รหลานไปฝากไวก้ บั พระสงฆ์ เพอ่ื เล่าเรียนหนงั สือและ
หลกั ธรรมพระพุทธศาสนา วดั จึงเป็นสถานท่ีใหก้ ารศึกษาแก่เด็กชาย โดยมีพระสงฆเ์ ป็นครูอบรม
สัง่ สอน พระสงฆไ์ ดร้ ับความเคารพศรัทธาจากประชาชนทกุ ชนช้นั เป็นผปู้ ระกอบพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ
ทางศาสนาเป็นที่พ่งึ ของสงั คมท้งั ทางโลกและทางธรรม อยภู่ ายใตก้ ารอุปถมั ภข์ องพระมหากษตั ริย์
พระสงฆจ์ ะมีสมณศกั ด์ิลดหลน่ั กนั ตามลาดบั คือ สงั ฆราช ป่ ูครู มหาเถระ และเถระ

ภาพท่ี ๒ พระสงฆ์มีบทบาทสาคญั ในสอนอบรม
ให้ประชาชนอยู่ในศีลธรรม

ภาพจาก : www.kanchanapisek.or.th.



กจิ กรรมท่ี ๑
เรื่อง ลกั ษณะทางสังคมสมัยสุโขทัย

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนขีดเสน้ ใต้ คาตอบที่ถูกตอ้ ง ( ๑๐ คะแนน )

๑. การแบง่ ชนช้นั ในสังคมสมยั สุโขทยั มีจุดประสงคเ์ พอ่ื
(แบ่งแยกหนา้ ที่รับผิดชอบ, พิจารณาลงโทษเม่ือทาความผิด)

๒. สภาพสังคมไทยสมยั สุโขทยั มีลกั ษณะอยา่ งไร
(แบง่ แยกตามชนช้นั วรรณะ, ผกู พนั กนั ฉนั เครือญาติ)

๓. ศาสนาท่ีมีอิทธิพลต่อสังคมและวฒั นธรรมในสมยั สุโขทยั มากท่ีสุดคือ
(ศาสนาพราหมณ์, ศาสนาพุทธ)

๔. บทบาทสาคญั ที่สุดของพระมหากษตั ริยค์ ือ
(ดูแลราษฎรใหม้ ีความสุข, สร้างอาณาจกั รใหย้ ง่ิ ใหญ่)

๕. ลกู บา้ นลูกเมือง หมายถึงชนช้นั ใด
(ราษฎรสามญั ชนธรรมดา, ทาสหรือผเู้ ป็นบริวาร)

๖. ชนช้นั ท่ีไดร้ ับยกยอ่ งใหส้ ูงกวา่ คนธรรมดาคือ
(พระสงฆ,์ ชาวต่างชาติ)

๗. อาณาจกั รสุโขทยั รับอิทธิพลความเชื่อทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทผา่ นทางใด
(นครศรีธรรมราช, ลา้ นนา)

๘. ปกครองดูแลเมืองลูกหลวงเป็นหนา้ ท่ีของชนช้นั ใด
(ขนุ นาง, พระบรมวงศานุวงศ)์

๙. ชนช้นั ใดที่ทาหนา้ ที่ดูแลบา้ นเมือง ควบคุมไพร่พลตามคาสั่งของพระกษตั ริย์
(พระบรมวงศานุวงศ,์ ขุนนาง)

๑๐. ชนช้นั ที่มีมากท่ีสุดในสังคมสมยั สุโขทยั คือ
(ชนช้นั ไพร่, ชนช้นั ทาส)

๑๐

กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม

๑. กฎหมายแพ่งว่าด้วยทรัพย์สินมรดก ประชาราษฎรในกรุงสุโขทยั ไม่วา่ จะเป็นลกู
ขา้ ราชการหรือราษฎรทว่ั ไป เม่ือตายดว้ ยโรคภยั ไขเ้ จบ็ หรือหายสาบสูญไปอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด
ทรัพยส์ ินตา่ ง ๆ ที่เป็นของพ่อแม่ท่ีลม้ หายตายจากไปถือว่าตกเป็นมรดกของลูกหลานท้งั หมด
ดงั ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ กล่าวไวว้ า่

“ลกู เจา้ คณุ ผใู้ ดแล้ ลม้ หายตายกวา่ เหยา้ เรือน พ่อเช้ือเส้ือดามนั ชา้ งขอลูกเมีย
เยยี ขา้ ว ไพร่ฟ้าขา้ ไท ป่ าหมากป่ าพลู พ่อเช้ือมนั ไวแ้ ก่ลูกมนั สิ้น”

...ประชาชน ขนุ นาง เจ้านายทตี่ ายไปแล้ว มบี ้านเรือนเสื้อผ้า ช้างท่เี ลยี้ งไว้
ลกู เมยี ฉางข้าว บ่าวไพร่ สวนหมากพลู ของผ้นู ้นั ให้ยกแก่ลูกของเขาดแู ล...

๒. กฎหมายว่าด้วยการพจิ ารณาคดีความ ผตู้ ดั สินความที่เป็นตวั แทนพระมหากษตั ริย์
จะตอ้ งมีหลกั ธรรมประจาใจดว้ ยวา่ หากจะมีฝ่ายใดใหส้ ินบนจะตดั สินลม้ คดีไมไ่ ด้ ไมม่ ีการเลือก
ท่ีรักมกั ท่ีชงั กินสินบาทคาดสินบนในการพิจารณาคดี พร้อมกบั เตือนมิใหใ้ ยดีกบั ขา้ วของเงินทอง
ของผอู้ ่ืนดว้ ย ดงั ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ กลา่ วไวว้ า่

“ไพร่ฟ้าลูกเจา้ ขนุ ผิแลผิดแผกแสกวา้ งกนั สวนดูแทแ้ ล้ จ่ึงแล่งความแก่เขา
ดว้ ยซื่อ บ่เขา้ ผลู้ ึกมกั ผซู้ ่อนเห็นขา้ วท่านบใ่ คร่ผนิ เห็นสินท่าบ่ใคร่เดือด”

...ประชาชน เจ้านาย ขนุ นาง ท่ีไม่ถูกกนั กใ็ ห้ไต่สวนด้วยความซื่อตรง อย่าเข้าข้าง
คนผดิ อย่าเห็นแก่ทรัพย์สินทมี่ คี นนามาติดสินบน...

๓. กฎหมายว่าด้วยเร่ืองภาษี สมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชมีการคา้ ขายกนั โดยเสรี ไม่มี
การลิดรอนสิทธิของราษฎรและไมม่ ีการเก็บภาษอี ากร ดงั ปรากฏในศิลาจารึกวา่

"เมื่อชว่ั พ่อขนุ รามคาแหง เมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว เจา้ เมืองบ่เอา
จกอบในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงววั ไปคา้ ขีม่ า้ ไปขาย ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ ง คา้ ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้
ใครจกั ใคร่คา้ เงือนคา้ ทอง คา้ "

๑๑

๔. กฎหมายเกย่ี วกบั สิทธใิ นที่ดนิ เป็นลกั ษณะของการจบั จองท่ีดิน ไดก้ รรมสิทธ์ิและถือ
เป็นทรัพยส์ ินท่ีเป็นมรดกตกถึงทายาทดว้ ย ดงั คากล่าวในศิลาจารึก ของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช

“…สร้างป่ าหมากป่ าพลูทวั่ เมืองน้ีทุกแห่ง ป่ าพร้าวกห็ ลายในเมืองน้ี ป่ าลางกห็ ลาย
ในเมืองน้ี หมากม่วงกห็ ลายในเมืองน้ี หมากขามก็หลายในเมืองน้ี ใครสร้างไดไ้ วแ้ ก่มนั …”

...ปลกู พืชผลไม้ทาสวนต่าง ๆ มสี วนมะพร้าว สวนมะม่วง สวนขนุน
ใครเป็ นผู้แผ้วถางจบั จองแล้วกม็ สี ิทธ์ติ รงน้ัน ...

๕. กฎหมายว่าด้วยการถวายฎกี า เมื่อมีกรณีพพิ าทข้นึ ระหวา่ งราษฎรรวมท้งั ลูกเจา้ ลูกขนุ
ถา้ อยใู่ กลพ้ ระราชวงั ก็ใหไ้ ปส่ันกระดิ่งท่ีปากประตูพระราชวงั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชก็จะ
ชาระคดีใหด้ ว้ ยพระองคเ์ อง ถา้ ราษฎรอยไู่ กลไปมาลาบากทางการกจ็ ะมีผตู้ ดั สินกรณีพิพาทประจา
ตามความเป็นจริงและยตุ ิธรรมที่สุด ดงั ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑ กล่าวไวว้ า่

“ในปากประตมู ีกระดิ่งอนั นึงแขวนไวห้ ้นั ไพร่ฟ้าหนา้ ปก กลางบา้ นกลางเมืองมีถอ้ ย
มีความ เจ็บทอ้ งขอ้ งใจ มกั จกั กลา่ วเถิงเจา้ เถิงขนุ บ่ไร้ไปสั่นกระด่ิงอนั ท่านแขวนไว้
พ่อขนุ รามคาแหงเจา้ เมืองไดย้ นิ เรียกเม่ือถาม สวนความแก่มนั ดว้ ยชื่อ ไพร่ในเมืองสุโขทยั
น้ีจึงชม”

...ในปากประตูน้ันจะมีกระดิ่งแขวนไว้หนงึ่ ใบ ประชาชนท่ีอยู่ในบ้านเมืองมคี วามเดือดร้อน
กจ็ ะนึกถงึ พ่อขนุ แล้วไปส่ันกระด่งิ ท่ีท่านแขวนไว้ เม่ือพ่อขุนรามคาแหงได้ยินกจ็ ะเรียกไป

ไต่ถาม ประชาชนในเมืองสุโขทัยจึงมีความยกย่องและชื่นชมท่าน...

๑๒

๖. กฎหมายอาญาว่าด้วยลกั ษณะโจร ซ่ึงตราข้ึนในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๑
(พระยาลิไท) บญั ญตั ิเก่ียวกบั การลกั ทรัพย์ การลกั พาและการฆา่ สัตว์ ดงั ปรากฏในศิลาจารึก
หลกั ท่ี ๓๘ ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นกฎหมายอาญา รัฐม่งุ ที่จะให้ประชาชนพยายามนาตวั ผกู้ ระทาความผิด
มาลงโทษใหไ้ ด้ เพ่ือเป็นการส่งเสริมใหป้ ระชาชนเป็นพลเมืองดี

๗. กฎหมายระหว่างประเทศ เกิดข้ึนสมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ดงั ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑
กล่าวไวว้ า่

“คนใดขช่ี า้ งมาหา พาเมืองมาสู่ ช่อยเหนือเฟ่ื อกู้ มนั บม่ ีชา้ ง บม่ ีมา้ บ่มีปั่วบม่ ีนาง
บ่มีเงือนบม่ ีทอง ใหแ้ ก่มนั ช่อยมนั ตวงเป็นบา้ นเป็นเมือง ไดข้ า้ เสือกขา้ เสือหวั พุ่งหวั รบกด็ ี
บฆ่ า่ บ่ตี”

อาณาจกั รใกล้เคียงเข้ามาอ่อนน้อมสวามภิ ักด์ิด้วย พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงช่วยเหลือ
เอื้อเฟื้ อเกื้อกูล ไม่มชี ้างกห็ าให้ ไม่มมี ้ากห็ าให้ ไม่มปี ัว (บ่าว) กห็ าให้ ช่วยต้ังบ้านเมือง

ให้อยู่ร่มเยน็ เป็ นสุข ทเ่ี ป็ นเชลยศึกกไ็ ม่ฆ่าไม่ทาร้าย

ประเทศไทยเรามีกฎหมายใช้มา
ต้งั แต่สมยั สุโขทัยเลยนะครับ

๑๓

กจิ กรรมที่ ๒
เรื่อง กฎหมายที่สาคญั ในสมยั สุโขทยั

ตอนที่ ๑ ใหส้ มั พนั ธ์
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาตวั อกั ษรหนา้ กฎหมายท่ีกาหนดใหม้ าใส่ที่

กบั ขอ้ ความในศิลาจารึกที่กาหนดให้ ( ๕ คะแนน )

ก. กฎหมายแพ่งวา่ ดว้ ยทรัพยส์ ินมรดก ข. กฎหมายวา่ ดว้ ยการพิจารณาคดีความ
ค. กฎหมายเกี่ยวกบั สิทธิในท่ีดิน ง. กฎหมายวา่ ดว้ ยการถวายฎีกา
จ. กฎหมายวา่ ดว้ ยเรื่องภาษี

๑. “ไพร่ฟ้าลูกเจา้ ขนุ ผิแลผิดแผกแสกวา้ งกนั สวนดูแทแ้ ล้ จ่ึงแลง่ ความแก่
เขาดว้ ยซื่อบเ่ ขา้ ผลู้ ึกมกั ผซู้ ่อนเห็นขา้ วทา่ นบ่ใคร่ผิน เห็นสินท่าบ่ใคร่เดือด”

๒. “ในปากประตูมีกระด่ิงอนั นึงแขวนไวห้ ้นั ไพร่ฟ้าหนา้ ปก กลางบา้ นกลางเมือง
มีถอ้ ยมีความ เจบ็ ทอ้ งขอ้ งใจ มกั จกั กลา่ วเถิงเจา้ เถิงขนุ บ่ไร้ไปส่นั กระด่ิง
อนั ทา่ นแขวนไวพ้ ่อขนุ รามคาแหงเจา้ เมืองไดย้ นิ เรียกเม่ือถาม

๓. “ลกู เจา้ คุณ ผใู้ ดแล ลม้ หายตายกวา่ เหยา้ เรือน พ่อเช้ือเส้ือดามนั ชา้ งขอลกู
เมียเยยี ขา้ ว ไพร่ฟ้าขา้ ไท ป่ าหมากป่ าพลู พอ่ เช้ือมนั ไวแ้ ก่ลกู มนั สิ้น”

๔. "สร้างป่ าหมากป่ าพลทู วั่ เมืองน้ีทกุ แห่ง ป่ าพร้าวก็หลายในเมืองน้ี ป่ าลางก็
หลายในเมืองน้ี หมากมว่ งก็หลายในเมืองน้ี หมากขามก็หลายในเมืองน้ี
ใครสร้างไดไ้ วแ้ ก่มนั "

๕. "เมื่อชวั่ พ่อขนุ รามคาแหง เมืองสุโขทยั น้ีดี ในน้ามีปลา ในนามีขา้ ว เจา้ เมือง
บเ่ อาจกอบในไพร่ ลทู่ างเพ่ือนจูงววั ไปคา้ ข่มี า้ ไปขาย ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ ง คา้
ใครจกั ใคร่คา้ มา้ คา้ ใครจกั ใคร่คา้ เงือนคา้ ทอง คา้ "

๑๔

ตอนที่ ๒ ลองมาทดสอบตัวเอง
กนั อกี สักคร้ังนะครับ

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง ( ๕ คะแนน )
๑. ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทรัพยส์ ินมรดก บญั ญตั ิวา่ ทรัพยส์ ินของผใู้ ดเม่ือถึง

แก่กรรม ให้เป็นของผใู้ ด.............................................................

๒. วิธีการร้องทกุ ขใ์ นสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงใหท้ าอยา่ งไร.........................................

๓. กฎหมายวา่ ดว้ ยลกั ษณะโจร ตราข้ึนในสมยั กษตั ริยพ์ ระองคใ์ ด...........................

๔. กฎหมายท่ีตราข้ึนในสมยั สุโขทยั มีลกั ษณะเป็นกฎหมายอาญาในปัจจุบนั คือ
.........................................................................................................................
................

๕. ตามประมวลกฎหมายเกี่ยวกบั สิทธิในที่ดิน ที่ดินจะตกเป็นของผูน้ ้นั กรณีใด
...........................................................................................................................................

............................................................................................................................................

๑๕

ศาสนา

เดิมชาวสุโขทยั นบั ถือผีบรรพบรุ ุษ

ตลอดจนเทพยดาต่าง ๆ ตามความเช่ือของ

ศาสนาพราหมณ์ ในสมยั พ่อขนุ รามคาแหง

ไดน้ ิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากนครศรีธรรมราช

มาประจาสุโขทยั ทาใหก้ รุงสุโขทยั มีการ ภาพที่ ๓ วดั เป็ นศูนย์กลางทางการศึกษา
นบั ถือศาสนาพุทธ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง สมัยสุโขทยั ศาสนาพทุ ธเข้ามา
โดยในวนั พระจะมีพระสงฆน์ ง่ั แสดงธรรมท่ี มอี ทิ ธพิ ลต่อวถิ ชี ีวติ
พระแทน่ มนงั คศิลาบาตร มีการสร้างวดั

สร้างพระพทุ ธรูป ประชาชนทาบุญทาทาน ภาพจาก www.thai-tour.com
อยใู่ นศีลในธรรม วนั อื่น ๆ พอ่ ขนุ รามคาแหง

ส่งั สอนประชาชนและตดั สินคดีความ

ความเจริญรุ่งเรืองดา้ นศาสนาไดเ้ จริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมยั พระมหาธรรมราชาท่ี ๑

ไดน้ ิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากลงั กามาเผยแพร่ธรรมะ ทรงแต่งต้งั พระสงั ฆราชเป็นหวั หนา้ คณะสงฆ์

ทรงจาลองรอยพระพุทธบาทมาจากลงั กา และพระองค์เป็นกษตั ริยอ์ งคแ์ รกที่ทรงออกผนวช

จึงทาใหป้ ระชาชนมีความเลื่อมใสศรัทธามากยงิ่ ข้ึน

การศึกษา

การศึกษาเป็นการสืบทอดและสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม ในปี พ.ศ. ๑๘๒๖
พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐ์อกั ษรไทยถือเป็นจุดเริ่มตน้ ของการศึกษาไทย
มี ๒ ลกั ษณะดงั น้ี

๑. การศึกษาทางพทุ ธศาสนา ศึกษาอา่ นเขียนพระธรรมคมั ภีร์ต่าง ๆ พระสงฆท์ าหนา้ ที่
“ครูบาอาจารย”์ โดยในวนั พระหรือวนั โกน จะนิมนตพ์ ระมาเทศนาที่บริเวณกลางดงตาลท่ีเรียกวา่
พระแทน่ มนงั คศิลาบาตร ใหร้ าษฎรฟัง

๒. การศึกษาในวชิ าชีพ เป็นการเรียนตามกฎธรรมชาติ เรียนจากพ่อแม่ เรียนจากชุมชน
ท่ีตวั อยใู่ กล้ เรียนจากการกระทา การฝึกฝนศิลปหตั ถกรรมตา่ ง ๆ เรียนรู้ดา้ นการทาไร่ไถนา
การป้ันเครื่องป้ันดินเผา งานทางดา้ นจิตรกรรม ประติมากรรม หรือสถาปัตยกรรม เป็นตน้

๑๖

กจิ กรรมท่ี ๓
เรื่อง ศาสนาและการศึกษาสมัยสุโขทยั

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ท่ีเห็นวา่ ถกู และทาเครื่องหมาย 
หนา้ ขอ้ ที่เห็นวา่ ผดิ ( ๑๐ คะแนน )

..........๑. ก่อนนบั ถือศาสนาพทุ ธชาวสุโขทยั นบั ถือเทพดา ผีบรรพบุรุษ
..........๒. การนบั ถือเทพเจา้ เกิดข้นึ มาจากการรับเอาศาสนาพุทธมาจากนครศรีธรรมราช
..........๓. สถานท่ีพระสงฆเ์ ทศนา และแสดงธรรมคือบริเวณวดั หนา้ ประตูเมือง
..........๔. ศาสนาพุทธเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมยั พระยาลิไทย
..........๕. พระราชกรณียกิจดา้ นศาสนาของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชคือการจาลอง

รอยพระพทุ ธบาทและแตง่ ต้งั พระสงั ฆราช
..........๖. สถานที่แสดงธรรมและตดั สินคดีความในสมยั สุโขทยั คอื พระแทน่ มนงั คศิลาบาตร
..........๗. พอ่ ขนุ รามคาแหงมีศรัทธาตอ่ พระพุทธศาสนามากและทรงออกผนวช
..........๘. การศึกษาสมยั สุโขทยั มีท้งั วชิ าศีลธรรมและวิชาชีพงานบา้ นงานเรือน
..........๙. การศึกษาที่เจริญรุ่งเรืองในสุโขทยั เป็นผลมาจากการประดิษฐ์ตวั อกั ษรของ

พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช
........๑๐. พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชเป็นผสู้ อนศีลธรรมใหก้ บั ประชาชนโดยตรง

ทดสอบความรู้ของผม
อกี แล้ว แล้วผมจะตอบได้

ถูกต้องหรือเปล่านะ

๑๗

วรรณกรรมและภาษา
๑. วรรณกรรม
๑.๑) ศิลาจารึก มีประโยชน์ทางการศึกษาเรื่องราวทางประวตั ิศาสตร์ โบราณคดีตลอดจน

วิชาอกั ษรศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ และอื่น ๆ ศิลาจารึกท่ีพบในสมยั สุโขทยั มีประมาณ
๓๐ หลกั ท่ีสาคญั มากไดแ้ ก่ ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ซ่ึงรวมคุณค่าทางภาษาท้งั ความรู้ กฎหมาย
ปกครอง วฒั นธรรม สถาปัตยกรรม และศิลปกรรม นบั วา่ วรรณกรรมประเภทน้ีเป็นหลกั ฐาน
ยนื ยนั เร่ืองราวทางวฒั นธรรมสมยั สุโขทยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ภาพที่ ๔ ศิลาจารึกในสมัยสุโขทัย
ภาพจาก : ( วุฒิชัย มูลศิลป์ . ๒๕๔๗ : ๙๖ )
๑.๒) ไตรภูมพิ ระร่วง พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลิไทย) ทรงพระราชนิพนธ์ข้ึน
เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๘๘ ในขณะทรงเป็นรัชทายาทเมืองศรีสัชนาลยั เพอ่ื ใชเ้ ทศนาโปรดพระราชมารดา
และอบรมสง่ั สอนราษฎร นบั เป็นวรรณกรรมที่ทรงคุณค่าทางปรัชญา วรรณคดี จริยธรรม คือ
สอนใหค้ นรู้จกั ความดีความชวั่ รู้จกั ใชว้ ิจารณญาณ มีศีลธรรม รักษาความดี มีความรับผิดชอบ
โดยทรงศึกษาคน้ ควา้ จากคมั ภีร์ศาสนาพุทธถึง ๓๐ คมั ภีร์ ไตรภมู ิ หมายถึง สามโลกหรือ
โลกท้งั สาม ประกอบดว้ ย

๑๘

๑. กามภมู ิ เป็นภมู ิท่ีสัตวย์ งั ตอ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั กามตณั หา โลภ โกรธ หลง

๒. รูปภูมิ เป็นภูมิที่อยใู่ นช้นั พรหมโลก มีรูปใหเ้ ห็น แตไ่ ม่มีโลภ โกรธ หลง ตณั หา

๓. อรูปภูมิ เป็นภูมิที่ไม่มีรูป แต่จะมีจิต หนงั สือไตรภูมิพระร่วงจดั เป็นวรรณกรรมทาง

ศาสนาเลม่ แรกของไทยที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเช่ือทางศาสนาของชาวสุโขทยั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

๑.๓) ตารับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ ตอนหน่ึงอา้ งถึงสถานที่

ต่าง ๆ ท่ีเมืองสุโขทยั อีกตอนหน่ึงกลา่ วถึงพระราช

จรรยาของสมเด็จพระร่วงเจา้ จุดประสงคก์ ารแตง่ เพื่อ

เป็นการแนะนาตกั เตือนขา้ ราชการสานกั ฝ่ายในใหม้ ี

กริยามารยาทที่เหมาะสมกบั ศกั ด์ิศรีของตนเองและเพ่ือ

เชิดชูเกียรติยศของพระมหากษตั ริยน์ อกจากน้ียงั

ทรงคุณคา่ ทางดา้ นขนบธรรมเนียมประเพณีของราช

สานกั โดยเฉพาะประเพณีพราหมณ์ท้งั ๑๒ เดือน

ภาพท่ี ๕ ตาหรับท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ นบั วา่ เป็นวรรณกรรมที่ทรงคุณคา่ และมีอิทธิพลตอ่
ชีวติ ความเป็นอยขู่ องคนไทยสมยั สุโขทยั สืบทอดมา

ภาพจาก www.gotoknow.org จนถึงปัจจุบนั น้ี

๑.๔) สุภาษิตพระร่วง (บญั ญตั ิพระร่วง) เป็นวรรณกรรมท่ีทรงคุณค่ายงิ่ เพราะมี

จุดประสงคท์ ่ีจะส่งั สอนคน สาระการสอนนน่ั มีท้งั วิชาความรู้ เรื่องมิตรและการผกู มิตร

การปฏิบตั ิตนตอ่ บคุ คลประเภทต่าง ๆ สอนให้รู้จกั รักษาตวั ใหพ้ น้ ภยั สอนใหร้ อบคอบ เป็นตน้

สุภาษติ พระร่วงจึงมีอิทธิพลต่อความคิดของคนไทยเป็นอนั มาก ท้งั ยงั มีอิทธิพลต่อชีวิต

ความเป็นอยเู่ พราะไดน้ าเอาสุภาษติ มาใชเ้ ป็นคติธรรมในการดารงชีวิต มีการใชถ้ อ้ ยคาไทยแท้

ในการพดู และเขยี น จานวนคาในแตล่ ะวรรคไม่กาหนดเคร่งครัดตายตวั มีต้งั แต่ ๓ – ๑๐ คา

พบจากศิลาจารึกหลกั ที่ ๔๕ เช่น

อยา่ คลาดเคล่ือนคลาถอ้ ย เม่ือนอ้ ยไดเ้ รียนวชิ า

ใหห้ าสินเมื่อใหญ่ อยา่ งใฝ่เอาทรัพยท์ ่าน

ภาพท่ี ๖ สมุดไทยเรื่องไตรภูมิพระร่วง

ภาพจาก www.rakbankerd.com

๑๙

๒. ภาษา
มรดกที่ยง่ิ ใหญข่ องวฒั นธรรมสุโขทยั คอื การประดิษฐ์ตวั อกั ษรไทย เรียกวา่ ลายสือไทย
ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ปรากฏขอ้ ความท่ีเก่ียวขอ้ งอกั ษรไทยสมยั พ่อขนุ รามคาแหงตอนหน่ึงวา่
“๑๒๐๕ ศกปี มะแม พอ่ ขนุ รามคาแหงหาใคร่ใจในแลใส่ลายสือไทยน้ีจึงมีเพ่อื ขนุ ผูน้ น่ั ใส่ไว”้
จากศิลาจารึกดงั กลา่ วจึงเป็นที่เช่ือกนั วา่ อกั ษรไทยพ่อขนุ รามคาแหง เป็นอกั ษรไทยเก่าแก่ที่สุดท่ีใช้
ในประเทศไทย ซ่ึงพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐข์ ้ึนใน พ.ศ. ๑๘๒๖ ศาสตราจารย์
ยอร์ช เซเดส์ นกั ประวตั ิศาสตร์ นกั โบราณคดี นกั อกั ษรศาสตร์ไดท้ าการคน้ ควา้ เกี่ยวกบั เร่ืองน้ี

อยา่ งแพร่หลายโดยเฉพาะ ยอร์ช เซเดส์ สรุปวา่ อกั ษร
สมยั พ่อขนุ รามคาแหงดดั แปลงมาจากอกั ษรขอมหวดั
และมอญโบราณ เพราะมีรูปลกั ษณะคลา้ ยคลึงกนั มาก
โดยอกั ขรวธิ ีในการเขยี น ไดท้ รงวางรูปสระใหเ้ รียง
อยบู่ นบรรทดั เดียวกบั พยญั ชนะ โดยเอาสระไวห้ นา้
พยญั ชนะ วรรณยกุ ตม์ ีเพยี ง ๒ รูป คอื เสียงเอกและ
เสียงโทยงั ไมม่ ีเสียงตรีและจตั วา ในสมยั พระยาลิไทย
(พระมหาธรรมราชาที่ ๑) ไดท้ รงปรับปรุงแกไ้ ขโดย
นาสระไปวางไวข้ า้ งหนา้ หลงั ล่าง หรือบนพยญั ชนะ
แลว้ แตค่ า
ภาพท่ี ๗ ลกั ษณะของลายสือไทย

ภาพจาก : (วุฒิชัย มูลศิลป์ . ๒๕๔๘ : ๙๗.)

อกั ษรไทยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ถือเป็ นรากฐานของภาษาไทยในปัจจุบัน

๒๐

กจิ กรรมที่ ๔
เร่ือง ภาษาและวรรณกรรม

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนจบั คู่ขอ้ ความท่ีสอดคลอ้ งสมั พนั ธก์ นั โดยเติมพยญั ชนะ
หนา้ ขอ้ ความในแต่ละขอ้ ( ๕ คะแนน )

............... ๑. ตวั อกั ษรสมยั พ่อขนุ รามคาแหง ก. ตาหรับทา้ วศรีจุฬาลกั ษณ์
............... ๒. หนงั สือศาสนาเล่มแรก ข. หนงั สือพระไตรปิ ฎก
............... ๓. ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๔๕ ค. สุภาษติ พระร่วง
............... ๔. วรรณกรรมเชิดชูเกียรติพระมหากษตั ริย์ ง. ศิลาจารึกหลกั ท่ี ๑
............... ๕. วรรณกรรมสะทอ้ นสภาพสังคม จ. ดดั แปลงมาจากอกั ษรขอมและมอญ
ฉ. หนงั สือจินดามณี
และวฒั นธรรม ช. บนั ทึกในคมั ภีร์ศาสนา
ฌ. หนงั สือไตรภูมิพระร่วง

ผมเกบ็ ความรู้กลบั ไป
ทบทวนทบ่ี ้านดกี ว่า

๒๑

ศิลปกรรม
ศิลปกรรมสมยั สุโขทยั จดั เป็นศิลปะไทยที่มีลกั ษณะเป็นเอกลกั ษณ์ของตนเองมีความ

งดงามที่สุด แมว้ า่ จะไดร้ ับอิทธิพลจากศิลปะอ่ืน ๆ แตก่ ไ็ ดพ้ ฒั นารูปแบบจนมีเอกลกั ษณ์เฉพาะ
เป็ นของตนเอง

สถาปัตยกรรม
๑. เจดยี ์ มี ๓ แบบ คือ

๑.๑ เจดียท์ ี่เป็นศิลปะสุโขทยั แท้ เรียกวา่ เจดียท์ รงพุ่มขา้ วบิณฑส์ ่วนฐาน จะเป็น
ส่ีเหล่ียม ๓ ช้นั ต้งั ซอ้ นกนั องคเ์ จดียม์ ีลกั ษณะเป็นทรงกลมหรือยอ่ มุมแบบเหล่ียม มีจระนา (ซุม้ )
ปลายเจดียจ์ ะทาเป็นทรงพมุ่ ขา้ วบิณฑห์ รือแบบบวั ตูม เช่น พระเจดียก์ ลางของวดั มหาธาตุ
พระเจดียว์ ดั ตระพงั เงินในสมยั กรุงสุโขทยั และเจดียอ์ งคก์ ลางท่ีวดั เจดียเ์ จ็ดแถวเมืองศรีสัชนาลยั

ภาพที่ ๘ พระเจดยี ์ทรงดอกบัวตูม
หรือทรงพ่มุ ข้าวบิณฑ์
ที่วดั มหาธาตุ

๑.๒ เจดียท์ รงกลมหรือทรงลงั กา เป็นเจดียท์ ี่สุโขทยั รับแบบอยา่ งมาจากลงั กา
เช่น เจดียว์ ดั ชา้ งลอ้ มที่เมืองศรีสชั นาลยั และเจดียว์ ดั ชา้ งลอ้ มที่เมืองกาแพงเพชร

ภาพที่ ๙ เจดีย์ทรงระฆงั หรือ
ดอกบวั คว่า แบบลงั กา

๒๒

๑.๓ เจดียแ์ บบศรีวชิ ยั หรือ เจดียท์ รงเรือนธาตุ เป็นสถาปัตยกรรมแบบศรีวิชยั
ผสมลงั กา เช่น เจดียท์ ่ีวดั เจดียเ์ จ็ดแถวเมืองศรีสัชนาลยั

ภาพท่ี ๑๐ เจดีย์ทรงศรีวิชัย

ภาพจาก : http://www.thaiblogonline.com.
๒. โบสถ์วิหาร สมยั สุโขทยั นิยมสร้างวิหารใหใ้ หญก่ วา่ โบสถ์ ผนงั นิยมทาเป็น
กาแพงทึบเจาะเป็นช่องเลก็ ๆ คลา้ ยหนา้ ตา่ งเพือ่ ใหแ้ สงลอดเขา้ ไปขา้ งในได้ เช่น พระวิหารหลวง
กลางเมืองสุโขทยั

ภาพท่ี ๑๑ โบสถ์วดั มหาธาตุ เป็ นโบสถ์ทีส่ าคัญมีแผนผัง
เป็ นส่ีเหลย่ี มผืนผ้า มีมขุ และมีเสานางเรียง

ภาพจาก : http://www.thaiblogonline.com.
๓. มณฑป คืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ที่มีช่ือเสียงมาก คือ มณฑปวดั ศรีชุม
เมืองสุโขทยั ซ่ึงมีพระพทุ ธรูปปนู ป้ันองคใ์ หญ่ คือ “พระอจนะ”

๒๓

ประติมากรรม
๑. พระพุทธรูป สมยั สุโขทยั ไดช้ ่ือวา่ เป็นศิลปะแบบไทยที่แตกต่างไปจากศิลปะของ
อินเดีย ลงั กา และขอม พฒั นารูปแบบของพระพุทธรูปใหม้ ีลกั ษณะออ่ นชอ้ ย พระพกั ตร์สงบ
มีรอยยมิ้ เลก็ นอ้ ยงามจบั ตาจบั ใจ ในการสร้างพระพุทธรูปซ่ึงมีท้งั ที่หลอ่ ดว้ ยสาริดและเป็นปูนป้ัน
พระพุทธรูปหล่อดว้ ยสาริดปิ ดทองขนาดใหญม่ ีหลายองคท์ ่ีเป็นมรดกตกทอดมาจนถึงปัจจุบนั
ไดแ้ ก่ พระศรีศากยมนุ ีท่ีวดั สุทศั น์เทพวราราม กรุงเทพมหานคร พระพุทธชินราชท่ี
วดั พระศรีมหาธาตุ จงั หวดั พิษณุโลก พระพทุ ธชินสีห์ วดั บวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เป็นตน้
ส่วนพระพทุ ธรูปปูนป้ันขนาดใหญ่ เช่น พระอฏั ฐารส พระพุทธรูปยนื ขนาดใหญ่ท่ี
วดั มหาธาตุและวดั สะพานหินกรุงสุโขทยั พระพุทธรูปนูนสูงปางลีลาในคูหาของมณฑป
วดั ตระพงั ทองหลางกรุงสุโขทยั เป็นตน้ พระพทุ ธรูปสมยั สุโขทยั ท่ีถือวา่ มีความงดงามมาก
เป็นพเิ ศษเป็นเอกลกั ษณ์ของประติมากรรมสมยั สุโขทยั คือ พระพทุ ธรูปปางลีลา

ภาพที่ ๑๒ พระพุทธรูปปางลลี าสมัยสุโขทัย
ภาพจาก : http://www.thaiblogonline.com.

ขนาดเหลือแต่ซากปรักหักพงั
ยังดยู ิง่ ใหญ่มากเลย ใช่ไหมครับ

๒๔

๒. เครื่องสังคโลก การทาเคร่ืองสังคโลกของสุโขทยั มีจุดมุ่งหมายเพือ่ จาหน่ายเป็น
สินคา้ โดยรูปแบบการผลิตจะทาไปตามความตอ้ งการของตลาด เช่น ทาเป็นจาน ชาม ถว้ ย แจกนั
โถ คนโท เหยอื ก ตุ๊กตา โอง่ ไห แผน่ กระเบ้ือง เป็นตน้ ซ่ึงแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ

๒.๑ ชนิดเน้ืออ่อนหรือเน้ือดิน เป็นเคร่ืองสงั คโลกท่ีเน้ือดินมีความพรุนตวั
ค่อนขา้ งมาก สามารถดูดซึมน้าได้ เน้ือดินมีสีสม้ อมแดง ผวิ นอกส่วนใหญ่จะไม่เคลือบน้ายา

๒.๒ ชนิดเน้ือแขง็ หรือเน้ือหิน เป็นสังคโลกเน้ือดินท่ีมีเน้ือแขง็ น้าและของเหลว
ไมส่ ามารถไหลซึมผา่ นออกมาได้ เวลาเคาะจะมีเสียงดงั กงั วาน มีท้งั ประเภทเคลือบน้ายาและ
ไมเ่ คลือบน้ายา สีสนั ตา่ ง ๆ และมีลวดลายประกอบ

ภาพท่ี ๑๓ เครื่องสังคโลกสมัยสุโขทัย
ภาพจาก : วฒุ ชิ ัย มูลศิลป์ . ๒๕๔๘ : ๑๐๐.

จติ รกรรม
จิตรกรรมในสมยั สุโขทยั เราพบท้งั ภาพลายเสน้ และภาพเขยี นสีฝ่นุ ภาพลายเสน้ ใน
สมยั สุโขทยั โดยเฉพาะภาพจาหลงั ลายเส้นลงในแผน่ หินชนวนวดั ศรีชุมเมืองสุโขทยั เป็น
ภาพชาดก จะเห็นไดว้ า่ ภาพสลกั ลายเส้นดงั กล่าวเป็นภาพท่ีมีอิทธิพลของศิลปะลงั กาอยู่ เช่น
ภาพเทวดาต่าง ๆ ใบหนา้ ของเทวดาก็ดี คางมีรอยหยกั มงกุฎทรง เครื่องแตง่ กาย เป็นลกั ษณะ
อิทธิพลลงั กาท้งั สิ้น ส่วนภาพจิตรกรรมฝาผนงั น้นั เป็นววิ ฒั นาการอีกข้นั หน่ึงท่ีไกลออกมาจาก
ภาพสลกั ลายเสน้ สีทใี่ ชร้ ะบายเป็นสีแบบดาแดง ท่ีเรียกวา่ สีเอกรงณ์ แต่มีน้าหนกั อ่อนแก่
เล่นจงั หวะสีอยา่ งสวยงาม ซ่ึงภาพเขยี นท่ีสาคญั คือ ภาพเขียนท่ีวดั เจดียเ์ จด็ แถว เมืองศรีสัชนาลยั

ภาพท่ี ๑๔ ภาพจิตกรรมฝาผนงั วัดศรีชุม
จ.สุโขทัย

ภาพจาก : (วุฒิชัย มูลศิลป์ . ๒๕๔๘ : ๑๙๘.)

๒๕

ขนบธรรมเนียมและประเพณี

ขนบธรรมเนียมประเพณีของสุโขทยั ท่ีเป็นมรดกตกทอดมาจนถึงปัจจุบนั ท่ีสาคญั คงจะมี
ผลมาจากพระราชนิพนธ์ ไตรภมู ิพระร่วงหรือเตภมู ิกถา ของพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) คือ
เร่ืองความเช่ือเกี่ยวกบั นรกสวรรค์ ใครทาดีจะไดข้ ้นึ สวรรค์ ซ่ึงมีแต่ความสุขสบาย ใครทาชว่ั ก็จะ
ตกนรก มีลกั ษณะสยดสยองน่ากลวั ซ่ึงฝังอยใู่ นความเชื่อของคนไทยตลอดมาแมก้ ระทงั่ ปัจจุบนั น้ี
โดยเฉพาะลกั ษณะน่าเกลียดน่ากลวั ของผเี ปรตตา่ ง ๆ เป็นตน้

พธิ ลี อยกระทง
ประเพณีลอยกระทง เป็นประเพณีท่ีไดร้ ับสืบทอดมาต้งั แต่สมยั สุโขทยั กระทง เชื่อว่าเกิด
จากการคิดประดิษฐ์ของนางนพมาศ หรือทา้ วศรีจุฬาลกั ษณ์สนมเอกของพระร่วงในสมยั สุโขทยั
เรียกวา่ การลอยโคมหรือลอยพระประทีป จะมีใหเ้ ห็นในงานนกั ขตั ฤกษ์ ร่ืนเริงของประชาชน
ทวั่ ไป กระทาตามความเชื่อ ท่ีวา่ เพอ่ื เป็นการสกั การะรอยพระพุทธบาท พธิ ีจองเปรียงลอยพระ
ประทีป จะกระทากนั ในวนั เพญ็ เดือน ๑๒ เช่นเดียวกบั การลอยกระทง แต่เป็นพิธีการของ
พราหมณ์ ไม่ใช่ของประชาชนทวั่ ไป ซ่ึงจะกระทาพธิ ีบนพ้นื ฐานความเชื่อ เพ่ือบูชาพระพุทธเจา้
ขออภยั ต่อพระแม่คงคาในความเชื่อทางพระพทุ ธศาสนา กระทาเพ่อื บูชาบรมสารีริกธาตแุ ละ
พระพุทธบาท ประเพณีน้ีในสมยั ก่อนเรียกวา่ การเผาเทียนเลน่ ไฟ
สมยั สุโขทยั ไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็นยคุ ทองของความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ ศิลปวฒั นธรรม
ของชาติไทยและชาวโลก ดว้ ยความงดงามแห่งทศั นศิลป์ ดา้ นสถาปัตยกรรม ประติมากรรมของ
สุโขทยั ทาใหอ้ งคก์ ารศึกษาวิทยาศาสตร์และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) คดั เลือก
ใหอ้ ุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และอุทยานประวตั ิศาสตร์ศรีสชั นาลยั เป็นมรดกโลก

ภาพท่ี ๑๕ ประเพณลี อยกระทงใน
สมยั สุโขทยั ท่สี ืบทอดจนถงึ
ปัจจุบัน

ภาพจาก www. kanchanapisek.com

๒๖

กจิ กรรมที่ ๕
เรื่อง ศิลปกรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณีสมยั สุโขทยั

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง ( ๑๐ คะแนน )

๑. สถาปัตยกรรมสมยั สุโขทยั เกี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองใด ..............................................
๒. เจดียท์ ี่เป็นของสุโขทยั แทค้ ือเจดียแ์ บบใด .....................................................
๓. งานประติมากรรมสมยั สุโขทยั ที่เด่นชดั และเป็นแบบอยา่ งมาถึงปัจจุบนั คือ

……………………………….……………………………………….…….
๔. พธิ ีจองเปรียงลอยพระประทีป ในสมยั สุโขทยั เรียกว่า ……………..…..….
๕. สหประชาชาติ (UNESCO) ไดค้ ดั เลือกใหส้ ถานที่ใดในจงั หวดั สุโขทยั

เป็นมรดกโลก ……………………………………………………………..
๖. พระพทุ ธรูปที่ไดช้ ื่อวา่ งดงามที่สุดในสมยั สุโขทยั คอื ……………………
๗. ภาพจิตกรรมท่ีพบตามวดั ตา่ ง ๆ ในสุโขทยั ส่วนใหญ่มกั วาดเป็นภาพ

เกี่ยวกบั เร่ืองใด ……………………………………………………………
๘. สีเอกรงคม์ ีลกั ษณะอยา่ งไร ……………………….……………….………
๙. ขนบธรรมเนียมประเพณีของสุโขทยั ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากวรรณกรรม

ทางศาสนาเร่ืองใด …………………………………………..…………….
๑๐. ตามความเชื่อของศาสนาพทุ ธพิธีจองเปรียง ลอยพระประทีป

มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื …………………………………………………..……

๒๗

สรุป
ลกั ษณะสังคมและวฒั นธรรมสมยั สุโขทัย

สังคมของชาวเมืองสุโขทยั เป็นสังคมเกษตรกรรม ขณะเดียวกนั ก็มีพระพทุ ธศาสนาเป็น
ขวญั ในการดาเนินชีวิต มีพระภิกษสุ งฆเ์ ป็นผอู้ บรมสง่ั สอน และศูนยก์ ลางของสงั คมจะอยทู่ ่ีวดั
ประเพณีของชาวสุโขทยั ลว้ นเก่ียวขอ้ งกบั พุทธศาสนา เช่น งานลอยกระทง งานทอดกฐิน

ศิลปกรรมสมยั สุโขทยั ส่วนใหญเ่ กี่ยวขอ้ งกบั พระพุทธศาสนา เช่น งานดา้ นสถาปัตยกรรม
นิยมสร้างสถปู เจดีย์ ไดแ้ ก่ เจดียท์ รงพุ่มขา้ วบิณฑห์ รือทรงดอกบวั ตูม เป็นเจดียแ์ บบสุโขทยั แท้
งานประติมากรรม นิยมหล่อพระพุทธรูปโลหะผสมสาริด เช่น พระพุทธรูปปางมารวชิ ยั
พระพทุ ธรูปปางลีลา งานจิตรกรรม ไดแ้ ก่ ภาพลายเส้นและภาพสีฝ่นุ เป็นภาพชาดกพบที่
วดั ศรีชุมเมืองสุโขทยั

ดา้ นภาษา พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐล์ ายสือไทย เม่ือ พ.ศ. ๑๘๒๖
ดดั แปลงมาจากอกั ษรขอมและมอญโบราณ วรรณกรรมท่ีสาคญั ในสมยั สุโขทยั ไดแ้ ก่ ศิลาจารึก
หลกั ท่ี ๑ ของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ทาใหเ้ ราทราบเรื่องราวของสุโขทยั ในอดีต วรรณกรรม
เร่ืองไตรภมู ิพระร่วง เป็นพระราชนิพนธใ์ นสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) เขียนเป็น
บทร้อยแกว้ เป็นเร่ืองราวเก่ียวกบั คาสอนในพระพุทธศาสนา

๒๘

แบบทดสอบหลงั เรียน
เร่ือง สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

คาชีแ้ จง ให้นักเรียนกากบาท (  ) ลงบนข้อทถ่ี กู ต้องที่สุดเพยี งข้อเดียว

๑. พระพุทธรูปปางใดเป็ นของสมยั สุโขทัยแท้ ข. ปางสมาธิ
ก. ปางลีลา ง. ปางราพึง
ค. ปางหา้ มญาติ

๒. หนังสือไตรภูมพิ ระร่วงให้แนวคิดเก่ยี วกบั การดาเนินชีวติ ของคนในสังคมสุโขทยั ในข้อใด
มากท่ีสุด
ก. ทาดีจะปลอดภยั ทาชวั่ จะเลวร้าย
ข. ทาดีจะไดเ้ ขา้ รับราชการ เป็นเจา้ คน
ค. ทาดีจะไดข้ ้ึนสวรรค์ ทาชว่ั จะตกนรก
ง. ทาดีจะเป็นเทวดา ทาชว่ั จะเป็นผเี ปรต

๓. วรรณกรรม ทมี่ คี ุณค่าต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ไทยสมยั สุโขทัยมากทีส่ ุด คือข้อใด

ก. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์ ข. สุภาษิตพระร่วง

ค. ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ง. ไตรภูมิพระร่วง

๔. ชนกล่มุ ใดมีหน้าที่ดแู ลบ้านเมืองปกครองผ้คู น และเป็ นผู้นากาลงั ไพร่พลออกทาสงคราม

ป้องกนั อาณาจักรตามคาส่ังพระมหากษัตริย์

ก. พระราชวงศ์ ข. ขนุ นาง

ค. ไพร่ ง. พระภิกษุสงฆ์

๕. สถาบันทเ่ี ป็ นศูนย์กลางของความศรัทธาร่วมกัน และเป็ นสถาบันท่ีเชื่อมประสานโครงสร้าง

ระหว่างชนช้ันในสังคม คือสถาบนั ใด

ก. สถาบนั ทหาร ข. สถาบนั กษตั ริย์

ค. สถาบนั การปกครอง ง. สถาบนั พระพทุ ธศาสนา

๒๙

๖. ลกั ษณะวัฒนธรรมสมยั สุโขทัยยดึ ถือความเชื่อตามแบบแผนใดมากทสี่ ุด

ก. ศาสนาฮินดู ข. ศาสนาพทุ ธ

ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู

๗. ข้อใดมีส่วนสัมพนั ธ์กบั เครื่องเคลือบดนิ เผาหรือเคร่ืองสังคโลก

ก. เตาเผาเทียน ข. เตาทเุ รียง

ค. เตาสุโขทยั ง. เตาศรีสชั นาลยั

๘. ข้อใดเปรียบได้กบั เคร่ืองมือแก้ไขความขัดแย้งของคนในสังคมสมัยสุโขทยั
ก. กฎหมาย
ข. พิธีกรรมทางศาสนา
ค. ความเขม้ แขง็ อดทน
ง. ความศรัทธาเล่ือมใส

๙. ข้อใดเป็ นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ทางด้านศิลปะสมัยสุโขทยั
ก. ใบลาน-กระดาษสา
ข. ศิลาจารึก-พระพทุ ธรูป
ค. โครงกระดูก-หมอ้ บา้ นเชียง
ง. พระธาตุไชยา-พระท่ีนง่ั ดุสิตมหาปราสาท

๑๐. ข้อใดคือลกั ษณะรูปทรงเฉพาะของเจดยี ์ในสมยั สุโขทัย
ก. ทรงระฆงั ควา่ ยอ่ มมุ แบบลา้ นนา
ข. ทรงกลมแบบลงั กา
ค. ทรงสูงแบบพระปรางคข์ องศรีวิชยั
ง. ทรงพุม่ ขา้ วบิณฑ์

ทาเสร็จแล้ว ตรวจคาตอบ
จากเฉลยในภาคผนวก
ได้เลยครับ

๓๐

บรรณานุกรม

ฐิรวุฒิ บูรณพงศ.์ (ม.ป.ป.). สังคมศึกษา ม.ต้น. กรุงเทพฯ : พีบีซี จากดั .
ณรงค์ พว่ งพิศ และคณะ. (ม.ป.ป.). ประวัติศาสตร์ ม.๑. พิมพค์ ร้ังที่ ๕. กรุงเทพฯ :

อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั .
ไพฑูรย์ มีกศุ ล และคณะ. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตร์ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒.

กรุงเทพฯ : วฒั นาพานิช.
ไพฑูรย์ มีกศุ ล และ ทวีศกั ด์ิ ลอ้ มลิม้ . (๒๕๔๖). ประวตั ิศาสตร์ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑. กรุงเทพฯ :

สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั .
ปิ ยะโรจน์ เลี่ยวไพโรจน์. (๒๕๔๖). สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ม.๑. กรุงเทพฯ :

รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ.์
วณี า เอี่นมประไพ และคณะ. (๒๕๕๐). ส่ือการเรียนรู้พื้นฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา

ศาสนา และวฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑. กรุงเทพฯ :
สานกั พมิ พอ์ กั ษรเจริญทศั น์.
วุฒิชยั มลู ศิลป์ . (๒๕๔๗). ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย. กรุงเทพ ฯ : อมั รินทร์พริ้นติง้ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง.
ศศินนั ท์ บุญประสิทธ์ และคณะ. (๒๕๔๖). สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๑ เล่ม ๑.
กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พบ์ ริษทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากดั .
www.kanchanapisek.com. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
www.thaiblogonline.com. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
www.thaitour.com. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
www.rakbankerd.com. สืบคน้ เม่ือวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
www.gotoknow.org. สืบคน้ เม่ือวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.

๓๑

ภาคผนวก

๓๒

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

๑. ข ๒. ก
๓. ง ๔. ค
๕. ข ๖. ก
๗. ข ๘. ค
๙. ง ๑๐. ข

ถูกกขี่ ้อครับ
ต้องสอบผ่านแน่เลย

๓๓

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๑
เร่ือง ลกั ษณะทางสังคม และการแบ่งชนช้ัน สมัยสุโขทยั

๑. (แบง่ แยกหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ, พิจารณาลงโทษเมื่อทาความผิด)
๒. (แบ่งแยกตามชนช้นั วรรณะ, ผกู พนั กนั ฉนั เครือญาติ)
๓. (ศาสนาพราหมณ์, ศาสนาพทุ ธ)
๔. (ดูแลราษฎรใหม้ ีความสุข, สร้างอาณาจกั รใหย้ งิ่ ใหญ่)
๕. (ราษฎรสามญั ชนธรรมดา, ทาสหรือผเู้ ป็นบริวาร)
๖. (พระสงฆ,์ ชาวตา่ งชาติ)
๗. (นครศรีธรรมราช, ลา้ นนา)
๘. (ขนุ นาง, พระบรมวงศานุวงศ)์
๙. (พระบรมวงศานุวงศ,์ ขนุ นาง)
๑๐. (ชนช้นั ไพร่, ชนช้นั ทาส)

๓๔

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๒
เรื่อง กฎหมายที่สาคญั ในสมัยสุโขทัย

ตอนที่ ๑

๑. ข ๒. ง ๓. ก

๔. ค ๕. จ

ตอนที่ ๒

๑. ลูกหลาน
๒. ส่ันกระดิ่งที่หน้าประตูเมือง
๓. พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลไิ ทย)
๔. กฎหมายอาญาลกั ษณะโจร
๕. ใครเป็ นผู้แผ้วถางจบั จองแล้วกม็ ีสิทธ์ติ รงน้นั ได้กรรมสิทธ์แิ ละถือเป็ น

ทรัพย์สินท่ีเป็ นมรดกตกถึงทายาท

๓๕

เฉลยกจิ กรรมที่ ๓
เร่ือง ศาสนาและการศึกษาสมัยสุโขทยั

ข้อ เฉลย
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐ 

๓๖

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๔
เร่ือง ภาษาและวรรณกรรม

๑. จ ๒. ฌ

๓. ค

๔. ก ๕. ง

๓๗

เฉลยกจิ กรรมที่ ๕
เร่ือง ศิลปกรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี สมยั สุโขทยั

๑. ศาสนาพทุ ธ
๒. เจดียท์ รงพ่มุ ขา้ วบิณฑ์ (เจดียท์ รงดอกบวั ตมู )
๓. การป้ันพระพทุ ธรูป
๔. พิธีเผาเทียนเล่นไฟ
๕. อทุ ยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั และอุทยานประวตั ิศาสตร์ศรีสัชนาลยั
๖. พระพทุ ธรูปปางลีลา
๗. ภาพชาดก
๘. เป็นสีดา - แดง ใชใ้ นการเขียนภาพจิตกรรม แตม่ ีน้านกั ออ่ นแก่เล่น

จงั หวะสีอยา่ งสวยงาม
๙. ไตรภมู ิพระร่วง
๑๐. บูชาบรมสารีริกธาตุ และพระพทุ ธบาท

๓๘

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
เร่ือง สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

๑. ก
๒. ค

๓. ค
๔. ข

๕. ง
๖. ข

๗. ข
๘. ก

๙. ข
๑๐. ง

๓๙

กระดาษคาตอบ

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
เอกสารประกอบการเรียน ชุด ประวัตศิ าสตร์ไทยสมยั สุโขทัย

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์ ( ส ๓๑๑๐๑ ) ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

เล่มท่ี ๕ เร่ือง สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย

ช่ือ...............................................นามสกุล...................................ช้ัน..............เลขที่..............

ก่อนเรียน หลงั เรียน

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
๑ ๑
๒ ๒
๓ ๓
๔ ๔
๕ ๕
๖ ๖
๗ ๗
๘ ๘
๙ ๙
๑๐ ๑๐

คะแนนทไ่ี ด้............. คะแนนที่ได้.............

๔๐

แบบสรุปผลการเรียน เร่ือง สังคมและวฒั นธรรมสมัยสุโขทยั

เลขที่ คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนกจิ กรรม คะแนนทดสอบหลงั เรียน
(๑๐ คะแนน) (๔๕ คะแนน) (๑๐ คะแนน)










๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐


Click to View FlipBook Version