The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“สังคโลก” ไม่ว่าจะมีรากมาจากคำใด แม้ยังไม่มีหลักฐานของชื่อเรียกปรากฏในหลักศิลาจารึกที่ได้ขุดค้นพบแล้วก็ตาม แต่นั่นไม่สำคัญเลย เพราะเมื่อเอ่ยถึง “สังคโลก” คำนี้เป็นคำเฉพาะของคนที่เกิดในแผ่นดินพระร่วงอย่างแน่นอน สังคโลก คือ ศาสตร์ของการใช้ดิน น้ำ ไฟ สร้างสรรค์ออกมาเป็นงานศิลป์ ณ จังหวัดสุโขทัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dastaarea4, 2021-08-20 03:33:00

สังคโลก มรดกศิลป์จากดินสู่แดนไกล

“สังคโลก” ไม่ว่าจะมีรากมาจากคำใด แม้ยังไม่มีหลักฐานของชื่อเรียกปรากฏในหลักศิลาจารึกที่ได้ขุดค้นพบแล้วก็ตาม แต่นั่นไม่สำคัญเลย เพราะเมื่อเอ่ยถึง “สังคโลก” คำนี้เป็นคำเฉพาะของคนที่เกิดในแผ่นดินพระร่วงอย่างแน่นอน สังคโลก คือ ศาสตร์ของการใช้ดิน น้ำ ไฟ สร้างสรรค์ออกมาเป็นงานศิลป์ ณ จังหวัดสุโขทัย

Keywords: สังคโลก,สุโขทัย,เครื่องปั้นดินเผาสุโขทัย,เครื่องถ้วย,มรดกวัฒนธรรม

�ั ง ค โ ล ก

สิรว�ย เอี่ยมสุดใจ: เร�ยบเร�ยง





คำนยิ ม

เม่ือวันท่ี 20 และ 21 สิงหาคม พ.ศ.2559 องคการบร�หารการพัฒนาพ้�นท่ีพ�เศษเพ่�อการทองเท่ียวอยางย่ังยืน
(องคการมหาชน) โดยสํานักงานพ้�นท่ีพ�เศษอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย-ศร�สัชนาลัย-กําแพงเพชร (อพท.4) ไดจัดงาน
“ชุมชนอทุ ยานตํานานศิลป วนั สงั คโลก คร้งั ที่ 1” ข�น้ ณ บร�เวณเนินปราสาท อทุ ยานประวตั ศิ าสตรสโุ ขทัย ดว ยความตระหนกั ดี
วาจังหวดั สโุ ขทยั และจังหวัดกาํ แพงเพชร เปน เมืองแหง ศาสตรและศิลปบ นตนกําเนดิ แผน ดนิ สยาม แผน ดินพระรว งทเี่ ปย มไปดวย
ประวตั ศิ าสตรแ ละมรดกวฒั นธรรมมงี านศลิ ปะทสี่ บื ทอดมาแตอ ดตี ปรากฏใหเ หน็ มากมายแตเ ปน ทนี่ า เสยี ดายวา ทง้ั สองจงั หวดั นี้
ยังไมมีแหลง แสดงงานศิลปะ สื่อประชาสัมพันธงานศลิ ปะ และการจดั แสดงงานศิลปะอยา งเพ�ยงพอ ท่ีจะทําใหนกั ทองเทย่ี วไดรบั
ความรูและมีประสบการณทรงคุณคาจากสิ�งท่ีมีนี้ จร�งอยูวาโบราณสถานและว�ถีชีว�ตจร�งๆ นั้น นับเปนพ�พ�ธภัณฑท่ีมีชีว�ต
(Live Museum) แตการถายทอดความรูและภูมิปญญาก็ยังมีความจําเปนตองบร�หารจัดการเพ่�อใหเกิดการส่ือสารหร�อ
สื่อความหมายทีด่ ีดว ยเชน กัน

ดังนั้น อพท. จึงจัดพ�มพหนังสือ “สังคโลก มรดกศิลปจากดินสูแดนไกล” ข้�น เพ�่อรวบรวมเร�่องราวประวัติศาสตร
ความเปนมา และองคความรูในการผลิตเครอ่� งปน เดินเผาสงั คโลก สาํ หรบั ใหชนรนุ หลงั ไดรบั รูถึงคุณคา จากอดตี ท่ีไดร บั การดูแล
รกั ษาอยา งภาคภมู ิใจน้ี โดยหวงั วา จะนําความรูท่ีไดไปใชต อ ยอดเพ�อ่ สรา งอนาคตได

“สังคโลก” ไมวาจะมีรากมาจากคําใด แมยังไมมีหลักฐานของชื่อเร�ยกปรากฏในหลักศิลาจาร�กที่ไดข�ดคนพบแลวก็ตาม
แตน่ันไมสําคัญเลย เพราะเมื่อเอยถึง “สังคโลก” คําน้ีเปนคําเฉพาะของคนท่ีเกิดในแผนดินพระรวงอยางแนนอน สังคโลก คือ
ศาสตรข องการใชดิน นา้ํ ไฟ สรางสรรคออกมาเปนงานศลิ ป เน้อื หาภายในหนังสือเลม นี้ประกอบดวย 5 ขั้นตอนสืบทอดสงั คโลก
มรดกพระรว ง คือ “รูด ิน” รูจกั ดินประเภทตางๆ และการเตร�ยมเนื้อดิน “รดู ิน รนู ํา้ ”การขน�้ รปู ภาชนะหรอ� รูปทรงตางๆ “รเู ข�ยน”
การสรา งลวดลายตางๆ บนพ�้นผว� สงั คโลก “รเู คลือบ” รูจกั กบั วัตถุดบิ ของนาํ้ เคลอื บแตละสี และ “รูเร�ยง รูเ ผา” เตาเผาสงั คโลก
น้ันมหี ลายประเภทตามวว� ฒั นาการ และการเรย� งสังคโลกภายในเตากม็ ีเคล็ดลับสําคญั

งานสงั คโลกทีส่ บื ทอดตอ กนั มาจนถงึ ปจจบ� นั น้ี เปน ท่รี จู ักกันดีดวยเปน สนิ คา เอกลักษณข องสุโขทัย มผี ปู ระกอบการทองถนิ�
ประมาณ 10 ราย ที่ผลิตข�้นมาเพ�่อจําหนายเปนสินคาท่ีระลึก ภาชนะใสอาหาร ของตกแตงบาน และสิ�งเคารพบูชาในรูปแบบ
ใกลเคียงชิ�นงานดั้งเดิม ทั้งนี้ อพท. ไดพัฒนาผูประกอบการที่สนใจใหสามารถตอยอดเปนสินคาที่ระลึกในรูปลักษณชิ�นงาน
รว มสมัยมากย�ิงข้น� เพ่อ� ขยายฐานลกู คา และตอบโจทยน กั ทอ งเท่ยี วอกี กลุมหนึ่ง นอกจากน้ี เม่ือครัง้ การจดั งานชุมชนอุทยาน
ตาํ นานศิลป วนั สงั คโลก ครั้งที่ 1 นนั้ ไดสรา งการมสี ว นรว มจากประชาชนในทองถิ�นและนกั ทอ งเท่ียวทั้งจากจงั หวัดสโุ ขทัย และ
กําแพงเพชร ไดรวมกันรังสรรคเ กล็ดปลาจํานวน 989 ชิน� เพ่อ� นํามาประกอบเปน งานศิลปะขนาดใหญก วา 2.7 เมตร ในชื่อ
“ปลาสังคโลกของแผนดินพระรวง” ซึ่งไดนํามาจัดแสดงไว ณ แหลงอุตสาหกรรมผลิตเคร่�องสังคโลกในอดีต ศูนยศึกษาและ
อนุรกั ษเตาเผาสงั คโลกหมายเลข 42 อทุ ยานประวตั ิศาสตรศรส� ัชนาลยั

ผมหวังเปน อยางยิ�งวา การมาเยอื นจงั หวดั สุโขทัยครงั้ ตอ ไป นักทองเที่ยวจะไดมาชื่นชมกบั ความนารกั ของ “ปลาสังคโลก
ของแผนดินพระรวง” น้ี และไดสัมผัสกระบวนการทําสังคโลกอยางแนบชิดกับชุมชนผูผลิต ไดทดลองสัมผัสจับดิน เข�ยนลาย
สังคโลก และไดรบั ชน�ิ งานนเี้ ปนศลิ ปะสวนบคุ คลท่ีเปน ชน�ิ เดยี วในโลกของคณุ โดยเฉพาะ อันเปน กจิ กรรมทองเทีย่ วเชิงสรา งสรรค
ท่ี อพท. ไดพฒั นาศกั ยภาพใหก ับผูประกอบการในทองถิ�นไวบ รก� ารนกั ทอ งเทย่ี วทส่ี นใจ

การพฒั นาการทองเท่ยี วจะเปนเคร�่องมอื หน่ึงทจี่ ะใชประโยชนจ ากมรดกวัฒนธรรมมาตอ ยอดสรางคุณคา และสรางราย
ไดใหกับคนในทองถน�ิ การพฒั นาดําเนินไปก็เพอ�่ การอนรุ กั ษ การอนุรักษกเ็ พอ�่ การพัฒนาเชนกัน แนวโนมของการทองเทีย่ ว
ในปจจ�บนั เปน รปู แบบของการทองเทยี่ วเพอ่� การเรย� นรู ซึ่งเนน การสรางประสบการณใหก ับนกั ทอ งเทย่ี ว และสามารถตอบสนอง
ความตอ งการของนกั ทองเทย่ี วดว ยสิ�งทเ่ี รามีและเราเปน อนั เปนการรักษาคณุ คา ทางสังคมเพ่�มมูลคา ทางเศรษฐกิจจากทุนทาง
วัฒนธรรม เกดิ การกระจายรายไดสชู มุ ชน

พนั เอก ดร.นาิกอติภัค แสงสนทิ
ผูอาํ นวยการ อพท.

สารบญั
หนา

บทนํา

รจู กั : สงั คโลก มรดกศลิ ปจ ากดินสูแดนไกล
หนา

บทที่ 1 หนา
รูด ิน :
ฉลาดใช ดนิ เขา ดินน้าํ ดินนา

บทท่ี 2

รูดิน รนู ํา้ :
หนา รังสรรคด วงดาราจากกอนดิน

บทท่ี 3 หนา
รูเขย� น :
สง จนิ ตนาการไหลร�นสูดินปน

บทท่ี 4

รูเคลอื บ :
หนา กล่ันกรองแรธาตุฉาบงานศิลป

บทท่ี 5
รเู รย� ง รูเผา :
บนั ดาลกอ นดนิ เปน ผลติ ภัณฑ หนา

บทสงทาย

เก็บดินกลั่นดินแลวปนดิน เปนศิลปเปนศาสตรสืบสาย
วาดร้�วพลิ�วพวงรวงลาย ระบายระบิลยินดี
ฟาใสเข�ยวสองผองขาว ดลดินเปนดาวหลากสี
วาดปลาวาดไมใหชีว� เปนเคร�่องบงชี้ตัวตน
กอไฟโหมไฟแลวเผาไฟ ควันฟ�งพลุงในโพยมหน
กอเกิดมนตราศิลาดล อัตลักษณของคนสุโขทัย
เก็บดินกล่ันดินแลวปนดิน เปนศิลปเปนศาสตรสืบสาย
จนโลกประจักษแจงใจ มรดกพระรวงของไทยแผนดินทอง

สิรว�ย เอี่ยมสุดใจ

บทนำ

รูจัก: สังคโลก มรดกศิลปจากดินสูแดนไกล

ตลอดชว งระยะเวลายาวนานทอ่ี าณาจกั รสโุ ขทยั เจรญ� รงุ เรอ� งอยภู ายใตก ารปกครองของราชวงศพ ระรว งนนั้ งานศลิ ปกรรม
หลากหลายแขนงไดรับการรังสรรคข้�นดวยความ ชาญฉลาด และฝมือเชิงชางผนวกกับความว�ร�ยอุตสาหะของศิลปนผูสราง
เพ�่อตอบสนองความตองการทางจิตว�ญญาณของผูคนในพ้�นที่ จนเปนเสมือนเคร่�องประดับเกียรติยศของอาณาจักร ส่ือแสดง
อัตลักษณและประกาศความเปน “สุโขทัย” ใหเกร�ยงไกรเปนที่ประจักษไปท่ัวแดน ท้ังสถาปตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม
วรรณกรรม ไปจนถึงงานประณีตศิลป ซึ่งลวนแลวแตเปนมรดกพระรวง

อาจกลาวไดวาในจํานวนงานประณีตศิลปของอาณาจักรสุโขทัย แผนดินพระรวงนั้น เคร่�องถวยที่เร�ยกวา “สังคโลก”
มีช่ือเสียงอยางยิ�งจนกลายเปนหน่ึงในสินคาออกที่สําคัญมีคุณคาทั้งในดานความงาม (AestheticValue) คุณคาดานประโยชนใชสอย
(Functional Value) คุณคาดานเศรษฐกิจ (Economic Value) และคุณคาดานศิลปวัฒนธรรม (Cultural Value) กระทั่ง
กลายเปนมรดกทางภูมิปญญาท่ีสงตอจากรุนสูรุน จากเมืองสูเมือง จากอาณาจักรสูอาณาจักร และจากอดีตสูปจจ�บัน ดังน้ัน
หนทางหน่ึงซึ่งจะทําใหเราเขาใจ และเขาถึงจิตว�ญญาณของความเปนอาณาจักรสุโขทัยได ก็คือการทําความรูจักกับเคร่�องสังคโลก
และเร�่องราวท่ีซอนอยูภายใตความงามน้ัน ดั่งเปนเสนหที่ถูกซอนเรน

..............

ชื่อนนั้ สาํ คญั ไฉน?

แมกระทั่งปจจ�บนั น้ี ทม่ี าของคาํ วา “สงั คโลก” กย็ ังไมมผี ูใดสามารถสบื ความไดแ นชัดวา เกิดข้น� หร�อ

มคี วามหมายอยา งไรแน. น.อ.ก.จา.ก.แ.น.วท.างสนั นษิ ฐานตา งๆ อาทิ

1.มาจากภาษาจีน

นักว�ชาการสว นหนึง่ รวมถึงสมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ
เชอื่ วา ชา งสโุ ขทยั เรย� นรกู รรมวธ� กี ารผลติ เครอ�่ งสงั คโลกมาจากชา งชาวจนี ทอี่ พยพเขา มา
จึงเร�ยกช่ือเคร�่องถวยเหลาน้ีวา “ซองโกลก” คําวา ซองคือช่ือของราชวงศ “ ”
เม่ืออานตามสําเนียงฮกเก้ียน หร�ออานวาซง หากเปนสําเนียงจีนกลาง สวนคําวา
โกลก สันนิษฐานวาอาจเปนคําจีน แปลวา “เตา” เมื่อเวลาผานไปนานเขา ซองโกลก
(เคร�่องถว ยแบบเตาแผน ดินซอง) กเ็ พ�้ยนไปเปน “สังคโลก” ในที่สดุ

1

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

อยางไรก็ตาม ในปจจ�บนั มนี กั ว�ชาการหลายทาน เชน ศาสตราจารย 3.มาจากชื่อเมือง
พ�เศษศร�ศักร วัลลิโภดม และนายปร�วรรต ธรรมปร�ชากร ไมเห็นดวย
กับแนวคิดนี้ เน่ืองจากพบวามีหลักฐานจากการข�ดคนทางโบราณคดี เปนแนวทางสันนิษฐานท่ีไดรับการยอมรับมากท่ีสุดในปจจ�บัน
ทส่ี ามารถยนื ยนั ไดว า คนสโุ ขทยั พฒั นาองคค วามรดู า นการทําเครอ่� งถว ย ซึ่งนักว�ชาการจาํ นวนมากพยายามคนหากําเนิดของเคร่�องสังคโลก
ไดดว ยตนเอง โดยอาศัยแรงบนั ดาลใจจากผลติ ภัณฑของตางชาติ เชน แลวสรุปแนวความเห็นใหมวามีข�้นไดดวยภูมิปญญาของชางสุโขทัยเอง
อาณาจกั รไดเวย� ต(ในประเทศเวย� ดนาม)อาณาจกั รรว� กวิ (ในประเทศญปี่ นุ ) กอนจะไดรับแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑจาก
อาณาจกั รโชซอน(ในประเทศเกาหล)ี และเครอ่� งปน ดนิ เผาจากอาณาจกั ร ตางชาตใิ นเวลาตอมา เชื่อกนั วา คํา “สังคโลก” เปนคําท่เี พ้�ยนมาจาก
ใกลเ คยี งเชน ลาํ พ�น เปนตน “สวรรคโลก” (ปจ จบ� นั คอื พน้� ทอ่ี าํ เภอศรส� ชั นาลยั จงั หวดั สโุ ขทยั ในปจ จบ� นั )
ซึ่งเปนชื่อของเมืองที่พบหลักฐานวาเปนตนกําเนิด และแหลงผลิตใหญ
2.มาจากคํามอญ ของเคร�่องถวยชนิดน้ี

ศาสตราจารยไมเคิล ว�คเคอร่� (Michael Vickery) ผูเชี่ยวชาญ
ดานประวัติศาสตรไทย สนั นษิ ฐานที่มาของคาํ สงั คโลกวา อาจมที ่มี าจาก
ภาษามอญ

หลักฐานท่ีนาสนใจอีกอยางหน่ึงท่ีสนับสนุนแนวคิดน้ี คือ
พระพ�ทธรูปสําร�ดศิลปะสุโขทัยที่ประดิษฐานอยูในระเบียงคด
ดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัดพระเชตุพนว�มลมังคลาราม
กรุงเทพมหานคร บางองคซ่ึงมีคาํ จาร�กประวตั กิ ารสรางไวท ีฐ่ าน
ของพระพท� ธรปู ดว ยตวั อกั ษรสมยั สโุ ขทยั ทวา มกี ารจารก� อกั ษร
สมัยรัตนโกสินทรเพ่�มเติมลงไปดวย คือ คําวา “โสกโขไท”
และคาํ วา “สงั คโลก” หรอ� “สังฆโลก” ซง่ึ อาจหมายถงึ ชื่อเมอื ง
ท่ีพระพ�ทธรูปองคนั้นเคยประดิษฐานอยูมาแตเดิม กอนถูก
เคลื่อนยายไปยังพระนครในสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรก็เปนได

พระพ�ทธรูปศิลปะสุโขทัย ประดิษฐานใน พระพ�ทธรูปศิลปะสุโขทัย ประดิษฐานใน
ระเบยี งคดของวดั พระเชตพุ นวม� ลมงั คลาราม ระเบียงคดของวัดพระเชตุพนว�มลมังคลาราม
กรุงเทพมหานคร ที่ฐานมีจาร�กสมัยสุโขทัย กรุงเทพมหานคร ที่ฐานมีจาร�กสมัยสุโขทัย
ระบุวานายทิดไสเปนผูสราง และมีอักษรสมัย ระบวุ า ผา ขาวทองเปน ผูส รา งและมอี กั ษรสมยั
รัตนโกสินทรเข�ยนไววา “สังคโลก” (ภาพจาก รตั นโกสินทร เขย� นไววา “สังฆโลก” (ภาพจาก
หนังสือพระพ�ทธปฏิมาวัดโพธิ์) หนังสือ พระพ�ทธปฏิมาวัดโพธ์ิ)

อยางไรก็ตาม สําหรับวงว�ชาการแลว สังคโลกเปนช่ือท่ีใชเร�ยก
พระพ�ทธรูปศิลปะสุโขทัย ประดิษฐานใน เคร�่องปนดินเผาเน้ือแกรง (Stone Ware) ทั้งชนิดเคลือบ และไมเคลือบ
ระเบยี งคดของวดั พระเชตพุ นวม� ลมงั คลาราม ถูกเผาที่อุณหภูมิประมาณ 1,150-1,250 องศาเซลเซียส ซงึ่ เร่�มทาํ กนั
กรงุ เทพมหานคร ทฐ่ี านมจี ารก� สมยั สุโขทยั และ ราวกลางพท� ธศตวรรษท่ี 19 จนถงึ ตน ศตวรรษที่ 22 มีแหลง ผลิตใหญ
มอี กั ษรสมัยรัตนโกสนิ ทร เขย� นไววา “สงั ฆโลก” อยูในเขตวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทยั
(ภาพจากหนังสือ พระพ�ทธปฏิมาวัดโพธ์ิ) จึงสรุปไดว า ไมว า รากศัพทข องคาํ นจี้ ะเปนมาอยางไร แตป จ จ�บันน้ี

ทั้งนักว�ชาการและผูคนจํานวนมากก็เขาใจตรงกันวา “สังคโลก”
คือช่ือเร�ยกเคร่�องถวยท่ีมีประวัติศาสตรยาวนาน มีความงดงาม
เปนเอกลักษณตามแบบฉบับเฉพาะของเมืองสุโขทัยต้ังแตอดีต
จนถึงปจจ�บัน

2 ภาพจาก elizabethmaupin pottery .wordpress.com

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

นารู

ประเภทของเคร่อ� งถวย

มคี าํ เรย� กมากมายทใี่ ชเ รย� กผลติ ภณั ฑท ที่ าํ จากดนิ เผาอาทิเครอ�่ งถว ย,เครอ่� งปน ,เครอ�่ งปน ดนิ เผา,เครอ�่ งเคลอื บ,ภาชนะฯคาํ เหลา นแ้ี มฟ ง ดแู ตกตา งกนั ในภาษาไทย
จนทาํ ใหเ กดิ การสบั สนสาํ หรบั ผทู ่ีไมใ ชน กั วช� าการเฉพาะทาง ทง้ั ๆ ทโี่ ดยบรบ� ทแลว ทกุ ๆ คาํ มคี วามหมายคลา ยกบั คาํ วา “WARE” ในภาษาองั กฤษ ในหนงั สอื เลม น้ี ขอใชค าํ วา
“เครอ่� งถวย” ตามท่ีนิยมกัน ทวาไมไดเ จาะจงเฉพาะถวยชามเทานั้น เนื้อหายงั ครอบคลมุ ไปถงึ Ware ชนดิ อืน่ ๆ เชน ตุกตาและเครอ�่ งประกอบสถาปต ยกรรมดว ย

แมโ ดยครา วๆ แลว จะมกี ารแบง เครอ�่ งถว ยออกเปน ๒ กลมุ ใหญๆ คอื แบบไมเ คลอื บและแบบเคลอื บ แตเ รามกั พบศพั ทเ ฉพาะทใี่ ชบ รรยายลกั ษณะของเครอ่� งถว ยเปน
หลายชนดิ ดงั ที่ วช� าภรณ แสงมณี แบง ไวด งั น้ี

1. Terra Cotta เคร�่องปน ดนิ เผาที่เผาข้น� ดวยอณุ หภมู ติ ่ํา เนอ้ื ไมแกรง น้ําซึมผา นได
2. Earthenware เครอ่� งปน ดนิ เผาทเี่ ผาดว ยอณุ หภมู ปิ ระมาณ 905-1,000 องศาเซลเซยี ส มสี อี อ นแกต า งกนั ไปตามอณุ หภมู ิ เนอ้ื คอ นขา งแกรง นาํ้ ซมึ ผา นไดบ า ง
3. Stoneware เคร�่องปนดินเผาที่เผาดว ยอุณหภูมิประมาณ 1,200-1,300 องศาเซลเซยี ส เนือ้ แกรง คอนขางเนยี นละเอยี ด เม่อื เคาะมเี สียงดังกงั วาน
4. Iron Stoneware เครอ�่ งปน ดนิ เผาชนิด Stoneware ทีม่ ีสวนผสมของ Iron Oxide เมื่อเผาแลวเปน สีนํา้ ตาล
5. Porcelain คือเครอ�่ งถว ยจีน (Chinese Ware) เปนเครอ่� งปน ดินเผาชนั้ ดี เผาดวยอุณหภูมิสงู มาก เน้ือละเอียด มีสีขาวหร�อสีออ น เนื้อแกรง แตโปรง แสง น้าํ ซึมผา น
ไมไ ด เมือ่ เคาะมีเสยี งกงั วานใส บางครั้งใชคารบ อน (คอื เถากระดูก) ผสมลงไปดวย ทาํ ใหเนือ้ ย�งิ ใส โปรงแสง เร�ยกวา Bone-China เคร�อ่ งถวยชนิดนี้ไดรับความนยิ มไปทวั่
โลกต้งั แตครงั้ โบราณ

การเดินทางของสังคโลก
กอนท่ีอาณาจักรสุโขทัยจะถูกสถาปนาข้�นในราวกลางพ�ทธศตวรรษที่ 19 หร�อเมื่อกวา 700 ป
ลวงมาแลว นั้น ดนิ แดนแถบลมุ แมน าํ้ เจาพระยาตอนบนมผี ูคนเขามาตัง้ ถนิ� ฐานอยูแลว อาจนบั ยอ นขน้� ไปได
หลายพนั ปดงั ทน่ี กั โบราณคดีไดข ด� พบหลกั ฐานมากมายรวมทงั้ เครอ�่ งปน ดนิ เผาทงั้ ประเภทภาชนะประตมิ ากรรม
และเคร่อ� งมอื เคร�่องใชต ้ังแตสมยั กอนประวตั ิศาสตร นอกจากนั้นยงั มกี ารคนพบเคร่�องถว ยเขมรเคร่�องถวยมอญ
และเคร�่องถว ยจีน ซง่ึ มีอายรุ าวตนพ�ทธศตวรรษท่ี 19 อนั เปน ชว งเวลากอนการสถาปนาอาณาจกั รสุโขทัยของ
พอขน� ศรอ� นิ ทราทติ ย ปฐมกษตั ร�ยร าชวงศพ ระรวง
หลักฐานเหลาน้ีทําใหเขาใจไดวาบรรพชนของคนแถบน้ีเร�่มรูจักการทําเคร่�องถวยอยูแลวกอนท่ี
อาณาจกั รสโุ ขทยั จะเรม่� กอ รา งสรา งตวั เสยี อกี และคงจะไดพ ยายามพฒั นาคณุ ภาพเครอ�่ งถว ยของตนอยเู รอ่� ยๆ
โดยไดรับแรงบนั ดาลใจจากแหลง อืน่ ๆ และสิ�งท่ีอยรู อบตัว กลายเปนภมู ปิ ญ ญาที่พัฒนาตอ ยอดจนกลายเปน
เคร�่องสังคโลกท่ีมีชื่อเสียง การข�ดคน และตรวจสอบทางโบราณคดีทําใหเราทราบวาการผลิตเคร�่องสังคโลก
ครัง้ แรกๆ มีข้น� ณ เมืองสวรรคโลก บรเ� วณกลมุ เตาบา นเกาะนอ ย อาํ เภอศร�สชั นาลัย จังหวดั สโุ ขทัย และอาจ
เปนเหตุผลวาทําไมจึงเร�ยกเคร่�องถวยเหลานี้วา “สังคโลก” อยางไรก็ตาม จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบ
ทําใหสันนิษฐานวาเคร�่องสังคโลกท่ีมีคุณภาพดีจนเปนท่ียอมรับในวงกวางน้ัน ผลิตข�้นไดราวรัชกาล
สมเด็จพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลิไท) ลงมา
ดร.ธันยกานต วงษออน ผูอํานวยการศูนยอนุรักษเคร�่องปนดินเผาโรงเร�ยนถนอมบุตร
แบงยุคสมัยของพัฒนาการเคร่�องถวยสุโขทัยไวเปน 3 ระยะ คือ

นารู

การนับศตวรรษ

เวลาไปเท่ียวพ�พ�ธภัณฑ อานหนังสือหร�อเร�่องราวทางประวัติศาสตร มักจะพบคําศัพทวา “ศตวรรษ” ซึ่งตามดวยตัวเลข…คํานี้มักจะมาพรอมคําถามในใจ
ของหลายๆ คนวา หมายถึงเวลาผานมานานก่ีปแลว

ศตวรรษ แปลวา หนงึ่ รอ ยป เปนหนวยนับเวลาแบบรวบรดั คอื นับเวลาคร้ังละ 100 ป ดงั นน้ั ศตวรรษที่ 1 จึงหมายถงึ ปท ี่ 1 – ปท่ี 100 และศตวรรษที่ 2 คอื
ปท ี่ 101 - ปท่ี 200

ว�ธีคํานวณเปน ปงายๆ คอื นาํ ตัวเลขของศตวรรษมาคณู ดวย 100 เชน ศตวรรษที่ 19 กค็ ือ ป 1900 แตเ ม่อื นบั เปนชวงเวลาตอ งนับยอนลงมาอกี 100 ป

…………………………………………….ดงั นั้นศตวรรษที่ 19 จงึ หมายถงึ ระยะเวลาประมาณ ป 1801 – 1900 นัน่ เอง

3

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

1. ระยะเร่�มตน (อายุราวปลายพ�ทธศตวรรษที่ 19 - ตนศตวรรษท่ี 20) นารู
การข�ดคนทางโบราณคดีในเขตโบราณสถานของเมืองสาํ คัญของอาณาจักร
เคร�่องถวยมอนไมเก่ียวกับชนชาติมอญ
สุโขทัย อาทิ สุโขทัย บางขลัง สวรรคโลก (เมืองศร�สัชนาลัยปจจ�บัน) พบเคร่�องถวย
หลายชนดิ หลากรปู แบบ ซงึ่ สันนิษฐานวาผลติ ข้�นในพ�น้ ท่ีนนั้ ๆ พรอ มกบั พบเครอ่� งถวย การศกึ ษาวจ� ยั เกยี่ วกบั เครอ่� งสงั คโลกเรม่� ขน�้ อยา งจรง� จงั
จากตางถิ�นถูกฝงปะปนอยูดวย เปนขอมูลสําคัญที่ทําใหสามารถกําหนดอายุคราวๆ โดยความรว มมอื ระหวา งกรมศลิ ปากรประเทศไทยกบั หอศลิ ปะ
แหง มหาวท� ยาลยั เอคเลค (The Art Gallery of The University
ของเคร�่องสังคโลกในยุคแรกเร�่มเหลานี้ได เชน ท่ีบานเกาะนอย ตําบลหนองออ of Adelaide) ประเทศออสเตรเลีย เมือ่ เดือนมกราคม – กมุ ภาพนั ธ
อาํ เภอศรส� ัชนาลยั จังหวัดสุโขทัย มีการข�ดพบเตาเคร�อ่ งปน ดินเผาจํานวนมากกวา 2524และเดือนมกราคม2525ในโครงการกําหนดอายุเคร�่อง
200 เตา พบเคร�่องถวยหลายประเภท ท้ังแบบไมเคลือบ แบบเคลือบสีเข�ยว ถวยไทย (Thai Ceramic Dating Project : TCDP) ซ่ึงคณะ
หลายระดบั ตงั้ แตเ ขย� วปนเหลอื งเขย� วอมฟา ไปจนถงึ เขย� วเขม เคลอื บสนี ้ําตาลอมดํา สํารวจที่ลงพ้�นท่ีข�ดคนแหลงเตาเผาเคร่�องสังคโลกในพ�้นท่ี
เนื้อดินที่ใชทําภาชนะมีสีน้ําตาลอมแดง เน้ือหยาบ มักทานํ้าดิน (Slip) กอนเคลือบ เมืองศร�สัชนาลัยขนานนามเคร�่องถวยสีเข�ยวที่มีรูปภาชนะคลายปุม
เปนภาชนะประเภทไห ขวด กระปุก จาน ชาม พานและแจกนั รวมไปถึงเคร่อ� งประกอบ หร�อจานบินวา Most Original Node Ware ซึ่งใชตัวยอวา Mon
สถาปตยกรรมเชน บราลี ดงั นน้ั ตามหลกั ทคี่ วรจะเปน ในบรบ� ทของการศกึ ษาพฒั นาการ
ของเครอ�่ งสงั คโลกควรจะสะกดชอ่ื เครอ�่ งถว ยชนดิ นวี้ า “มอน”เพ่�อ
ใหสามารถแยกออกจากคําวา “มอญ” ซึ่งเปนชื่อชนชาติ
และเปนคนละประเด็นในการศึกษาดานเคร่�องถวย

ท่ีกนหลุมข�ดคนของเตาหมายเลข 110 บานเกาะนอย อําเภอศร�สัชนาลัย

จงั หวดั สโุ ขทยั ลึกลงไปจากผว� ดินประมาณ 7 เมตร พบเศษภาชนะประเภทจานกนลึก
เคลือบสีเข�ยวมะกอกหร�อเข�ยวอมน้ําตาล เร�ยกวา “เคร�่องถวยสีเข�ยวแบบมอน”
จากระดับความลึกของหลุมข�ดคนทําใหสันนิษฐานไดวาเคร�่องถวยชนิดนี้เปนหน่ึงใน

เคร่�องถวยยุคแรกๆ ท่ีมีการผลิตข�้นในดินแดนแถบนี้

เครอ่� งถวยสเี ขย� วแบบมอนยังถูกคนพบภายในกรขุ องเจดีย ในเขตพ�พ�ธภัณฑ
สถานแหงชาติ รามคาํ แหง อําเภอเมือง จงั หวดั สโุ ขทยั พรอ มกับเครอ่� งลายคราม
สมัยราชวงศเ หยว�ยน ( ) ทั้งยงั พบภาชนะแบบเดียวกบั ที่คน พบทบี่ านเกาะนอย
จมลงสูกนมหาสมุทรพรอมเร�อรางเกว�ยนและเร�อซองดอก ซ่ึงสันนิษฐานวาจมลงเม่ือ
ตน พ�ทธศตวรรษที่ 20 นักว�ชาการเห็นตรงกันวา ภาชนะทีม่ รี ปู แบบ และสีสันเชนนี้
คงทําขน้� ใชภ ายในทอ งถนิ� นานแลว กอ นจะนาํ สง ขายออกนอกพน�้ ที่อยา งนอ ยราวปลาย
พ�ทธศตวรรษที่ 19

นอกจากน้ี ยังพบเคร�่องถวยสีนํ้าตาลอมดํา เนื้อหยาบ เปนภาชนะประเภทไห ขวด กระปุก รวมไปถึงเคร�่องประกอบสถาปตยกรรม
เชน บราลี ซึ่งเร�ยกกันวา “เคร่�องถวยเชลียง” และพบไหไมเคลือบซึ่งตกแตงลวดลายดวยการข�ดข�ดควบคูกับการปนแปะ อีกดวย

ท่ีเมืองบางขลัง พบภาชนะบรรจ�อัฐิถูกฝงไวเปนจํานวนมาก ทั้งชนิดเคลือบสีเข�ยวแบบมอญ เคร่�องเคลือบเข�ยวแบบเชลียงและ
แบบไมเ คลอื บทง้ั ยงั พบเครอ�่ งถว ยจนี จากเตาหลงเฉวย� นและเครอ�่ งถว ยชงิ ไปป ะปนอยดู ว ยหลกั ฐานเหลา นที้ าํ ใหม น่ั ใจวา ในยคุ แรกเรม่� ของอตุ สาหกรรม
เครอ่� งถว ยสโุ ขทยั นนั้ มอี ายยุ อ นหลงั ไปถงึ ตอนปลายพท� ธศตวรรษท่ี19มกี ารผลติ เครอ่� งถว ยหลากหลายรปู แบบภายในอาณาจกั รและบางสว นสง
ออกไปยังตางแดน พรอมๆ กับการนําเขาเคร�่องถวยจากตางชาติ ซ่ึงกลายเปนแรงบันดาลใจใหมีการพัฒนารูปแบบและคุณภาพของ
ผลิตภณั ฑในยุคตอมา

บราลี ไหขด� ลายและปน แปะ

4

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

2. ระยะกลางหร�อระยะรุงเร�อง (อายุราวกลางพ�ทธศตวรรษท่ี 20-ตนพ�ทธศตวรรษที่ 21)
ในชวงน้ีปรากฏศนู ยกลางอาํ นาจแหงใหมซ ึง่ แขงรศั มีกบั อาณาจกั รสุโขทยั มาโดยตลอด นั่นคอื กรงุ ศรอ� ยุธยา จงึ เกดิ การปะทะสงั สรรค
และความพยายามลดความตึงเคร�ยดทางการเมืองโดยการเช่ือมไมตร�ดวยการแตงงาน เจานายจากสองอาณาจักรนี้จึงมีสายสัมพันธที่
แนนแฟน อยางยิ�งตอกัน
หากการเสด็จไปเมืองจีนของสมเด็จพระนคร�นทราธิราช
(เจานครอินทร) เปนความจร�ง น่ีอาจเปนจ�ดเปล่ียนสําคัญท่ีทําให
อุตสาหกรรมการผลิตเคร�่องสังคโลกมีการพัฒนารุดหนาไปอยางมาก
เปนไปไดวาเมื่อเสด็จนิวัติมาน้ัน สมเด็จพระนคร�นทราธิราชทรงนํา
ความรูและเทคโนโลยีดานการผลิตเคร่�องถวยกลับมาดวยและ
ผลิตภัณฑกลุมที่เปน “ชิ�นงานคุณภาพ (Masterpiece)” ของ
เคร�่องสงั คโลกก็เกดิ ขน�้ ในชวงเวลาน้ี เชน เคร่�องถวยสีเข�ยวอมฟา
(Celadon) ซงึ่ ในปจจ�บนั มีการคนพบโบราณวัตถกุ ลมุ นี้อยใู นพน้� ท่ี
และแหลงเร�อจมในหลายภูมิภาคของโลก
รปู แบบของเครอ่� งถวยจากตางประเทศ โดยเฉพาะเครอ่� งถวย
จีนและเว�ยดนามมีสวนสาํ คัญตอการปรับปรุงรูปแบบของเคร�่อง
สงั คโลก ดังจะพบการเข�ยนลายเลยี นแบบเคร�อ่ งถว ยจากตา งชาตเิ หลา นน้ั ท้งั ลายดอกไมม งคล ลายสตั วมงคล แตการเข�ยนลายโดยใชสนี ้าํ เงน�
จากโคบอลตซึ่งไมมใี นพน้� ท่นี น้ั ทาํ ใหต องลงทุนสงู เกินไปไมค มุ คาชางสุโขทยั จงึ ใชส นิมเหลก็ ท่ีไดจากดนิ แดงหร�อดนิ ลกู รังทมี่ ีอยมู ากในพน้� ทีแ่ ทน
ซ่ึงใหผลลัพธเปนสนี ํ้าตาลเขม และดําเปนวัตถดุ ิบในการเขย� นลาย เครอ�่ งสงั คโลกชนดิ เข�ยนลายใตเคลือบจึงปรากฏข้�นในชวงน้ีและแมจะพยายาม
ปรบั ปรงุ รปู ทรงตลอดจนกรรมว�ธใี นการผลิตใหล ะเอียดงดงามข้�น แตก ็ยังสูเคร่อ� งถวยจากแหลงแรงบนั ดาลใจเหลา นน้ั ไดยาก
ดงั น้ัน เคร�่องสงั คโลกสโุ ขทยั จงึ เปนทางเลือกท่นี า สนใจ ดว ยคณุ ภาพท่ีดมี ากข�น้ ประจวบกบั การผลิตและสงออกของเคร่อ� งถว ยจากจนี
หยุดชะงกั เพราะความผนั ผวนทางการเมืองภายในประเทศ โดยเฉพาะสมัยราชวงศห มงิ ( ) ทาํ ใหการสง ออกเคร�่องถว ยหมงิ ซบเซา
(Ming Gap) การสงออกเคร่�องถวยสโุ ขทัยจึงมมี ากข�้น นคี่ อื เหตผุ ลทีม่ ีการคน พบเครอ่� งสังคโลกในดนิ แดนตางๆ ตัง้ แตห มเู กาะชวา
บอรเนยี ว ซาราวคั สมุ าตรา มาเลเซีย ฟล ปิ ปนส และญ่ปี นุ ขณะทเ่ี ครอ่� งสงั คโลกเคลอื บสนี ํา้ ตาลอมดําที่ผลิตสืบเน่ืองจากระยะแรกกย็ งั
ไดรบั ความนิยมใชเปน บรรจ�ภัณฑข องสนิ คาและเสบยี งในการเดนิ ทาง จากการสาํ รวจดานโบราณคดใี ตน้ําจึงพบเครอ่� งถว ยประเภทน้มี ากมาย
ในแหลงเร�อจม อยา งไรกต็ ามเครอ่� งสังคโลกประเภทนี้พบวา มีการผลิตบรเ� วณเมืองสงิ หบ รุ �ดว ย ซึ่งอาจเปน การขยายฐานการผลิตก็เปน ได

การสงออกท่เี ฟอ งฟม� ากเชนน้อี าจทําใหกาํ ลงั การผลิตทเี่ มอื งสวรรคโลก (ศร�สชั นาลยั ) มีไมเพย� งพอ จําเปน ตองเพ�่มแหลง ผลิตเคร่อ� ง
สังคโลกที่เมืองสุโขทัย บร�เวณดานทิศเหนือนอกกําแพงเมืองใกลกับคูแมโจนและคลองแมลําพันจึงพบแหลงเตาทุเร�ยงจํานวนมาก แตสินคา
ทีผ่ ลติ จากทงั้ สองแหลงนกี้ ็มีความแตกตางกันทั้งในดา นคณุ ภาพและรูปแบบ เชน สังคโลกสโุ ขทัยจะมีเนอ้ื ดินหยาบกวา มีสีเทานวลและพบ
เมด็ กรวดแทรกในเนอื้ ดินบา ง เปนตน

สิ�งที่นาสนใจคือ แหลงเตาสุโขทัยเกิดข้�นและดํารงอยูเร�่อยมาในฐานะแหลงอุตสาหกรรมการผลิตเพ�่อการคาอยางเต็มตัว
ยุคทองของการผลิตเคร่�องสังคโลกสวางไสวข�้นในชวงเวลาน้ี และเปนเหตุสําคัญใหเมืองสุโขทัยและเมืองสวรรคโลก ซ่ึงชาวอยุธยา
เร�ยกวา “หัวเมืองเหนือ” มีความสําคัญอยางยิ�งจนสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถตองเสด็จพระราชดําเนินจากกรุงศร�อยุธยามาประทับท่ี
เมืองพ�ษณุโลกเพ�่อทรงบัญชาการรบกับพระเจาติโลกราชแหงลานนาซึ่งพยายามจะยึดเมืองสุโขทัยและสวรรคโลกไปจากกรุงศร�อยุธยาน่ันเอง

3. ระยะสุดทายถึงสิ�นสุดการผลิต (อายุราวกลางพ�ทธศตวรรษที่ 21-ตนพ�ทธศตวรรษที่ 22)
ชวงเวลานี้อาณาจักรสุโขทัยถูกผนวกรวมเขากับอาณาจักรอยุธยาโดยสมบูรณแลว และดํารงสถานะเมืองสําคัญทางเศรษฐกิจโดย
มีเคร�่องสังคโลกเปนสินคาสําคัญท่ีถูกผลิตข�้นอยางตอเน่ือง ทามกลางความผันผวนทางการเมืองท้ังภายในและภายนอกกรุงศร�อยุธยา
แมที่ผานมาผลิตภัณฑสังคโลกจะไดรับการพัฒนาอยางเต็มท่ีแตก็ยังไมสามารถเทียบกับเคร่�องถวยจีนได ท้ังในแงของความสวยงาม
การออกแบบและคุณภาพ ดังจะพบวาเคร่�องสังคโลกมีความหนา หนัก และเนื้อดินที่หยาบมากกวาเคร�่องถวยจีน แมชางสุโขทัยจะพยายาม
ปรับขนาดของชิ�นงานใหบางและเล็กลง เข�ยนลายดวยความประณีตละเอียดลออมากข้�นแลวก็ตาม ทวาการสรางสรรคเทคนิคใหมๆ
ก็ยังทําอยูเสมอและชวยใหเคร่�องสังคโลกมีอัตลักษณมากยิ�งข�้น อาทิ การเข�ยนลายสีดําใตเคลือบสีเข�ยวอมฟาใส เคร�่องถวยสองสี
ซ่ึงมีความประณีตมากจนสันนิษฐานวาเปนของสําหรับชนชั้นสูง ไปจนถึงความพยายามผลิตเคร�่องสังคโลกเคลือบขาวตามอยางเคร�่องถวย
เว�ยดนาม แตสรางสรรคผลิตภัณฑตางรูปแบบกันเพ่�อแยงสวนแบงทางการตลาดจนสามารถครองตลาดเคร่�องถวยไดเมื่อเคร�่องถวยอันนัม
(เว�ยดนาม) ขาดแคลน

5

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

แมจะมีคุณภาพดอยกวาคูแขง แตเคร�่องสังคโลกก็ยังมีการสงออกอยางตอเน่ืองตามความนิยมของพ้�นที่ปลายทาง

อาทิ ประเทศญี่ปุนซ่ึงนิยมใชสังคโลกเปนภาชนะในการชงชา โดยเร�ยกเคร�่องถวยเหลาน้ีตามสําเนียงญ่ีปุนวา “ซังโกโรกุ”

ถอื กนั วา ถํ้าชาทท่ี ําจากเครอ่� งสงั คโลกมคี ณุ สมบตั พิ เ� ศษในการเกบ็ รกั ษากลนิ� หอมและรสชาตขิ องใบชาไวไดจงึ ปรากฏวา พอ คา
จากร�วกิวเดินทางมารับซ้ือซังโกโรกุจากเมืองลูซอน ประเทศฟลิปปนสในปจจ�บันเสมอๆ

ในชวงนี้เองที่เมืองสวรรคโลก แหลงผลิตเคร�่องสังคโลกไดยายจากบานเกาะนอยมาเปนบานปายางซึ่งอยูไมไกลกันนัก
จากการข�ดคนทางโบราณคดีเมื่อ พ.ศ.2526 พบเตาจํานวน 21 เตา มีภาชนะที่หลากหลายท้ังลักษณะและรูปทรง จากการ
ศึกษาและเปร�ยบเทียบโดยนักว�ชาการพบวาผลิตภัณฑที่ดังกลาวมีพัฒนาการตอจากเตาเกาะนอย แตประเภทของผลิตภัณฑ
และรูปแบบการตกแตงแตกตางกันอยางสิ�นเชิง

นอกจากน้ี ยังพบเคร�่องสังคโลกประเภทประติมากรรมลอยตัวขนาดใหญและเคร�่องประดับสถาปตยกรรม จึงเร�ยกวา

เตาบร�เวณน้ันวากลุม เตายักษ อีกกลุมหนึ่งพบตุกตาขนาดเล็กท้ังรูปคนและสัตว ตลอดจนภาชนะตางๆ จึงเร�ยกกันวา
เตาตุกตา

อยางไรก็ตาม นายปร�วรรต ธรรมปร�ชากร ไดเสนอแนวคิดดานการจัดแบงอายุเคร่�องถวยสุโขทัยไวในการสัมมนาก่ึง
ศตวรรษความกาวหนาการศึกษาทางโบราณคดีและประวัติศาสตรสุโขทัย เม่ือวันที่ 12 ธันวาคม 2559 ไววา จากการ
ข�ดคนทางโบราณคดีท้ังในพ�้นท่ีจังหวัดสุโขทัยและแหลงเร�อจมตางๆ ซึ่งเปร�ยบเทียบรูปแบบของผลิตภัณฑที่พบแสดงเคาเง�่อน
ใหเห็นวามีชวงระยะเวลาสั้นๆ ท่ีการผลิตเคร่�องถวยสุโขทัยหยุดชะงักไป กอนจะถึงชวงสําคัญที่มีการสงผานการผลิตจากบร�เวณ
บานเกาะนอยมาอยูท่ีบานปายาง โดยมีการพระราชสงคราม พ.ศ.2003-2017 ระหวางสยาม (หมายถึงกรุงศร�อยุธยาต้ังแต
รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเปนตนไป ซึ่งผนวกรวมอาณาจักรสุโขทัยไวใตอํานาจเร�ยบรอยแลว) กับลานนา
เปนตัวแปรสําคัญ โดยในชวงแรกเมือง “ศร�สัชนาลัย” ไดตกไปอยูในอาณัติของลานนา พระเจาติโลกราชโปรดฯ ใหเปลี่ยนช่ือ

เปน “เชียงชื่น” มีหมื่นดงนครเปนผูครองเมือง ตอมาสยามชิงเมืองนี้กลับคืนมาได สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ
ใหเปล่ียนช่ือเมืองใหมอีกคร้ังเปน “สวรรคโลก” นับเปนจ�ดเร�่มตนของการเร�ยกช่ือเคร�่องถวยเหลาน้ีวา “สังคโลก”

6

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ระยะเวลา 14 ปในระหวางสงคราม การผลิตเคร่�องถวยคงหยุดชะงักลงและเมื่อเหตุการณเร่�มคล่ีคลายลงในป
พ.ศ.2017 น้ัน จึงเกิดการฟนฟ�การผลิตข้�นมาอีกครั้ง โดยยายแหลงผลิตจากบร�เวณบานเกาะนอยมายังบร�เวณบานปายาง
ดังน้ัน รูปแบบของผลิตภัณฑจากสองแหลงนี้จึงมีความแตกตางกันในรายละเอียดบางประการ และไมเคยพบรวมกันในแหลง
การคาตางๆ เลย

“…ผลิตภัณฑของเตาเกาะนอยมีความแตกตางจากเตาปายางอยางชัดเจนทั้งรูปทรง ประเภท หร�อการตกแตง กลาวคือ
เตาเกาะนอยจะผลิตเคร�่องปนดินเผาสุโขทัยประเภทเคลือบสีเข�ยวที่ตกแตงดวยว�ธีข�ดสลักและเซาะรอง ประเภทเคลือบสีน้ําตาล
ท่ีมักมีสีเคลือบอมสีดํา ประเภทลายสีดําท่ีมีรูปทรงสวนใหญเปนจาน ชาม พานและแจกัน สวนเตาปายางจะผลิตเคร�่องปนดินเผา
สุโขทัยประเภทเคลือบสีเข�ยวท่ีตกแตงดวยว�ธีข�ดข�ดประเภทเคลือบสีน้ําตาลท่ีมักมีสีเคลือบอมสีเหลือง ประเภทลายสีดําท่ีมีรูปทรง
ท่ีผลิตสวนใหญเปนคณฑีหร�อกุณฑี กระปุก โถ ตลับ และตุกตา ประเภทเคลือบสีขาว ประเภทเคลือบสองสี

เคร่�องปนดินเผาสุโขทัยท่ีถูกคนพบในแหลงเร�ออับปางกวา 20 ลํา ระหวาง พ.ศ.2003-2017 เชน แหลงเร�อปนดานัน
แหลงเร�อฮอยอัน และแหลงเร�อสีชัง 2 ก็ไมเคยคนพบเคร่�องปนดินเผาสุโขทัยท่ีถูกผลิตจากเตาบร�เวณบานเกาะนอยรวมกับเตา
บร�เวณบานปายางเลย จึงเปนหลักฐานสําคัญชี้ใหเห็นวาเคร�่องปนดินเผาสุโขทัยที่ถูกผลิตในบร�เวณบานเกาะนอยและบานปายาง
มิไดมีระยะเวลาการผลิตรวมสมัยกัน”

แตในท่ีสุดการผลิตเคร�่องสังคโลกก็สิ�นสุดลงอยางสิ�นเชิงในราวตนพ�ทธศตวรรษท่ี 22 นักว�ชาการเห็นวาความผันผวน
ทางการเมืองอาจเปนเหตุสําคัญ เม่ือกรุงศร�อยุธยาตองเสียแกขาศึกคร้ังแรกในป พ.ศ.2112 และมีการกวาดตอนผูคนกลับไปยัง
พมา ตามธรรมเนยี มการพระราชสงครามหรอ� แมก ระทงั่ การเทครวั ผคู นจากหวั เมอื งเหนอื เขา ไปยงั กรงุ ศรอ� ยธุ ยาเพอ�่ ปอ งกนั พระนคร
อันเปนยุทธว�ธีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชน้ัน กลุมชางผลิตเคร่�องสังคโลกคงไดรับผลกระทบไปดวยไมทางใดก็ทางหน่ึงอวสาน
ของการผลิตเคร�่องสังคโลกจึงมาถึงตั้งแตเวลานั้น กระนั้นรูปแบบของเคร�่องสังคโลกบางชนิดก็ยังไปปรากฏในพ�้นที่ภาคกลางของ
ประเทศไทย เชน แหลงเตาสิงหบุร� ซึ่งอาจเกิดข�้นไดเพราะการเปลี่ยนฐานการผลิตจากเหตุการณดังกลาว หร�ออาจเกิดข�้นกอนหนา
ชวงเวลานี้ในฐานะแหลงผลิตใหมเพ่�อปอนสินคาใหทันความตองการของตลาดในชวงเฟองฟ�ก็เปนได

การเดินทางคร้ังใหมของสงั คโลก

“ยังมีที่อยูแหงหน่ึง ซ่ึงมาถึงสวรรคโลกแลวก็ควรจะไปดู
กลาวคือเตาทุเร�ยงท่ีทาํ ถวยชามสังกโลก…นายอําเภอไดจัดการ
ข�ดเคร่�องถวยชามและกระปกุ ข�้นมาไวไดม าก ทีเ่ ปนสังกโลกคือ
พ้�นขาวมีรอยแตกราวน้ันมาก แตท่ีเปนอยางอื่น ๆ ก็มี คือ
เข�ยวไขกาทั้งเกลี้ยงทั้งมีลายโปนพ�้นขาวลายดํา เปนดอกไม
หร�อนกก็มี เปนรูปตุกตารูปสัตวก็มี นอกจากชามจานและ
ภาชนะใชในบานมีกระเบ้ืองเคลือบ บราลีและศีรษะมังกร
เคลือบขาวเปนพ�้น จะหากระเบื้องเคลือบสีสักแผนไมพบเลย
เมื่อไดพักและเลี้ยงอาหารกันแลวพวกที่ไปดวยกันไดไปดูให
เขาข�ดหาชิ�น และไดลงมือข�ดเองบาง แตก็ไมพบชิ�นดี ๆ เลย
ซึ่งไมสูนาประหลาดใจนัก เพราะประการหนึ่งชิ�นที่ไมเสียเขา
ก็คงไมทิ�งไวอีกประการหน่ึง คนที่ไดมากอนๆนี้ก็ไดมาข�ด
เก็บกันไปเสียมาก ที่ยังเหลืออยูมีแตชิ�นที่แตกหร�อติดกัน
เปนพวงๆ แกะหลุดจากกันไมได เตาที่เผานั้นกอดวยอิฐ
ชิ�นท่ีข�ดๆ ไดนั้นไมใชข�ดไดในเตาไดในท่ีนอก ๆ มาก และบางทีตองข�ดลงไปเปนบอลึกถึง 5 ศอก 6 ศอก จึงจะพบ เขาใจวาเดิมชิ�นเหลาน้ี
คงจะทิ�งเกล่ือนกลาดอยูเฉยๆ แลวจึงไดมีดินมาถมทับข�้น

เตาทุเร�ยงนี้มีปญหาเก่ียวของท่ีตอบยากๆ อยูหลายขอ ขอหน่ึงช่ือท่ีเร�ยกวาเตาทุเร�ยงมานั้นจากอะไร นายเทียนวาเปนชื่อของจีนผูที่
มาเปนครูสอนทําถวยชามแต จีนชื่อทุเร�ยงก็ยังไมเคยไดยินเลย และอยางไรๆ ก็ไมมีหลักฐาน ของควรเชื่อไดอยางหน่ึงคือจีนคงจะได
มาเปนครูจร�งในชั้นตน แตตอมาไทยเราก็คงทําเปน ขอน้ีนําปญหามาอีกขอหน่ึงคือไดเลิกทําชิ�นสังกโลกมาเสียแตเมื่อไร แตเหตุที่
เลิกไปนั้นนาจะเดาไดคือเปนเพราะเร่�องเทครัวกันไปเทครัวกันมาหลายทอดนักน้ันเอง” (สะกดตามตนฉบับเดิม)

7

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
ต้ังแตครั้งดํารงพระราชอิสร�ยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟา
มหาวชิราวุธสยามมกุฎราชกุมารและเสด็จประพาส หัวเมืองเหนือ
เม่ือป พ.ศ.2450 ทรงบันทึกสภาพของแหลงเตาเผาเคร�่องถวย
ทเี่ มอื งสวรรคโลก(ศรส� ชั นาลยั )ซง่ึ สะทอ นใหเ หน็ วา ความนยิ มเครอ�่ ง
สังคโลกในฐานะ “ของเกา” มีอยูมากในเวลาน้ันและอาจจะกอนหนา
นั้นเนิ�นนานแลว ความนิยมนี้ทําใหเคร่�องสังคโลกถูกนําออกไปจาก
พ�้นที่เร่�อยๆ จนกระท่ังมีจํานวนนอยลง ขณะท่ีชื่อเสียงและความนิยม
กําลังเพ�่มข้�นเร่�อยๆ ทําใหกลายเปนของหายาก มีการลักลอบข�ดคน
เคร�่องสังคโลกออกจําหนายอยางไมเกรงกลัวกฎหมาย ดังปรากฏ
หลกั ฐานเปน เอกสารจากประชาชนและหนว ยงานในพน�้ ทเ่ี มอื งโบราณ
รายงานปญหาการลักลอบข�ดคนโบราณวัตถุ โดยเฉพาะเคร�่อง
สังคโลก บร�เวณเตาทุเร�ยง และมีเอกสารตอบจากหนวยงานที่
เกี่ยวของ อาทิ ราชบัณฑิตยสภา กระทรวงธรรมการและกระทรวง
มหาดไทยหลายฉบับในปพ.ศ.2471สะทอนใหเห็นถึงความพยายาม
ในการแก ไขปญหาเพ่�อรักษาสมบัติของชาติเอาไว

การขด� คนเคร�่องสังคโลกโดย 1.เคร�่องถว ยแบบเซลาดอน (Celadon Wares)
กรมศลิ ปากร เร�่มตน ข�น้ เมื่อประมาณ 2.เครอ่� งถวยแบบเข�ยนลายสดี าํ หร�อสีน้าํ ตาลใตเ คลือบ (Black/Brown Painting
พ.ศ.2503 และเรม�่ มีการศกึ ษาอยางจร�งจัง Underglaze Wares)
โดยความรว มมอื กับนกั ว�ชาการชาวตางชาติ 3.เครอ่� งถว ยแบบสองสี (สขี าวและสีนา้ํ ตาล) (Incised Brown and Pearl Wares)
4.เครอ�่ งถวยสนี า้ํ ตาลหรอ� สดี ํา (Brown/ Black Monochrome Wares)
มีข�น้ ในชวง พ.ศ.2525 – 2526 5.เครอ่� งถวยสขี าวขน� (White Monochrome Wares)
เราสามารถจาํ แนกประเภทของสงั คโลก 6.เครอ�่ งถว ยแบบไมเคลือบ (Unglazed Wares)
ตามลกั ษณะออกเปน 6 ประเภท คอื

ในป พ.ศ. 2559 อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ไดดําเนินงาน โครงการอนุรักษ
และพัฒนาแหลงเตาทุเร�ยง เมืองเกาสุโขทัย โดยไดข�ดคน ข�ดแตง หมูเตาทุเร�ยงประมาณ
50 เตาร�มคูแมโจน ดานทิศเหนือของวัดพระพายหลวง นอกกําแพงเมืองโบราณสุโขทัย
พบโบราณวตั ถนุ า สนใจจาํ นวนหนงึ่ โดยเฉพาะภาชนะเขย� นลายใตเคลอื บ มีทั้งหลายพนั ธุ
พฤกษา ลายปลาเด่ียว และลายปลาสี่ตวั ซง่ึ พบเปนคร้งั แรก จากนั้นไดสง ตวั อยา งถาน
จากหลุมข�ดคนจํานวน 2 แหงในชั้นวัฒนธรรมลางสุดท่ีเคยมีมนุษยเขามาทํากิจกรรม
โดยไมมีการปนเปอน และผานการข�ดคนอยางถูกตองตามหลักการทางโบราณคดี เพ�่อ
ตรวจหาคาอายุเฉล่ียดวยว�ธีว�ทยาศาสตร โดยใชว�ธีการหาคาคารบอน-14 ดวยว�ธี
AMS Dating (Accelerator mass spectromtry) ท่ีหองปฏิบัติการของมหาว�ทยาลัย
ไวกาโต (The University of Waikato Radiocarbon Dating Laboratory)
ประเทศนวิ ซีแลนด

ผลการตรวจสอบปรากฏวาถานจากหลุมข�ดคนท่ีสงไปนั้น มีอายุประมาณ 629
และ 640 ปตามลําดับ ซ่ึงเทากับยอนหลังลงไปในราวป พ.ศ. 1864 – 1853 ตรงกับ
รัชกาลพญาเลอไท พระมหากษัตร�ยพระองคที่ 4 แหงราชวงศพระรวง การใชถาน
จากพ�้นท่ีหางกันจํานวนมากกวา 1 แหลงเชนนี้ ทําใหการคํานวณคาเฉล่ียของอายุ
มีความแมน ยํามากข�้นอีกดวย

หลังจากน้ัน ในป 2560 อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ไดดําเนินโครงการตอเปน
ระยะที่ 2 โดยไดข�ดสํารวจเตาทุเร�ยง และไดพบเตาทุเร�ยงเพ่�มข�้นอีกหลายเตา ซึ่งบางเตา
ยังไมถูกรบกวนจากการข�ดคนหร�อการโจรกรรม เปนโอกาสดีท่ีจะไดศึกษาในประเด็นตางๆ
เพ�่มเติม

8

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

สิ�งท่ีนาสนใจซึ่งเราจะไดรับจากโครงการสําคัญครั้งนี้ คือขอสันนิษฐานที่มีน้ําหนักวา ในราวรัชกาลพญาเลอไท หร�อชวงปลาย
พ�ทธศตวรรษท่ี 19 – ตนพ�ทธศตวรรษท่ี 20 แหลงเตาทุเร�ยงที่เมืองสุโขทัยเร�่มผลิตชิ�นงานออกมาแลว และเปนงานฝมือท่ีมีเอกลักษณ และ
มีคุณภาพในระดับหน่ึง จํานวนเตาทุเร�ยงท่ีมีมากและอยูในระดับความลึกที่ไมเทากันยอมสะทอนระยะเวลาการใชงานท่ีตอเน่ืองกัน
ท้ังน้ีนักว�ชาการของอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ไดใหขอสรุปอยางไมเปนทางการของการข�ดคนในเบื้องตนวา “นาจะเร�่มมีการเขามาใช
พ้�นที่บร�เวณแหลงเตาทุเร�ยงเมืองเกาสุโขทัย เพ่�อผลิตเคร�่องปนดินเผาสังคโลก ในชวงรัชสมัยของพญาเลอไทย หร�อประมาณกลางพ�ทธ
ศตวรรษท่ี 19 เปน ช้นั วฒั นธรรมสมัยแรก ตอ มาในชั้นวัฒนธรรมสมัยหลัง เร่ม� เขา มาปรบั ถมพ�้นท่ี และต้งั เตาอฐิ บนดินผลติ สังคโลกจํานวนมาก
นาจะตั้งแตสมัยพระยาลิไทเร�่อยมาจนสิ�นสุดการผลิตราวพ�ทธศตวรรษท่ี 22-23 ในสมัยที่สุโขทัยอยูภายใตอํานาจของอยุธยาแลว”

สวนในภาคประชาชนน้ัน ราว พ.ศ.2521 นายสมเดช พวงแผน ผูมีโอกาสไดเห็นเสนหของเคร�่องสังคโลกและเห็นการนําเคร�่อง
สังคโลกโบราณออกนอกพ�้นท่ีมาตั้งแตเด็ก จึงเกิดหวงใยในมรดกแผนดินและปรารถนาจะใหอนุชนรุนหลังมีโอกาสศึกษาเคร�่องสังคโลก
จึงร�เร�่มศึกษากรรมว�ธีการสรางสรรคผลิตภัณฑสังคโลกข้�น ตั้งแตเร่�องดิน น้ําเคลือบ การเผา รูปแบบของผลิตภัณฑ ลวดลาย จนกระทั่ง
มีความชํานาญ และตัดสินใจสราง “อาณาจักรพอกู สังคโลก” ข้�นเพ�่อเปนศูนยกลางในการศึกษาเคร�่องสังคโลกครบวงจร สืบทอดและ
ตอยอดสรางสรรคผลิตภัณฑสังคโลกข�้นมาอีกคร้ัง

ดวยเจตจํานงจะประกาศความเกร�ยงไกรของภูมิปญญาสุโขทัยใหเปนที่ประจักษไปทั่วทุกทิศ สังคโลกจึงเปนมรดกล้ําคาจากบรรพชน
ท่ีไมใชเพ�ยงแคในสถานะของสิ�งของ แตยังหมายรวมถึงภูมิปญญาและประวัติศาสตรท่ีซอนอยูภายใตเน้ือดินและน้ําเคลือบอันเงางาม
แหงดินแดนพระรวง

นารู

จากสวรรคโลก (เกา) ถึงสวรรคโลก (ใหม)

ประเด็นท่ีทําใหผูคนสับสนท่ีสุดประเด็นหนึ่งเกี่ยวกับประวัติศาสตรสุโขทัยก็คือ ชื่อของเมือง “สวรรคโลก” ดวยช่ือน้ีเปนชื่อของเมืองโบราณท่ีเร�ยกกันมาจนถึงราวรัชกาลท่ี 7
แหงพระบรมราชจักร�วงศ แตในปจจ�บัน “สวรรคโลก” เปนช่ืออําเภอหน่ึงใน 9 อําเภอของจังหวัดสุโขทัย ทวาสองชื่อนี้กลับหมายถึงสถานที่คนละแหงกัน

บร�เวณที่เปนอุทยานประวัติศาสตรศร�สัชนาลัย อําเภอศร�สัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยในปจจ�บันนี้เปนท่ีตั้งของเมืองโบราณตั้งแตสมัยกอนกรุงสุโขทัยเปนราชธานี และ
ดํารงความสําคัญเร่�อยมาโดยมีชื่อเร�ยกที่หลากหลาย นักว�ชาการสันนิษฐานวา เดิมเมืองนี้ชื่อเมือง “เชลียง” (ซ่ึงจดหมายเหตุจีนเร�ยกวา เฉิง-เหลียง) ตอมาจึงเปลี่ยนช่ือเปน
“ศร�สัชนาลัย” เมื่อเมืองน้ีตกอยูภายใตอํานาจลานนาจึงเปลี่ยนชื่อเปนเมือง “เชียงช่ืน”และในท่ีสุดสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงชิงเมืองนี้มาได โปรดฯใหเปลี่ยนชื่อเมือง
เปน “สวรรคโลก” ในปพ.ศ. 2017 และเร�ยกกันดังน้ีเร่�อยมา

เมื่อเมืองสวรรคโลกถูกทิ�งรางไปดวยเหตุผลหลายประการ ชาวเมืองจําตองยายถิ�นฐานตามลํานํ้ายมลงมาทางใต ต้ังบานเร�อนบร�เวณบานวังไมขอน พากันเร�ยก
เมืองใหมน้ีวา “สวรรคโลก” ตามถิ�นเดิม มีความรุงเร�องเฟองฟ�จนกลายเปนจังหวัดสวรรคโลกและถูกผนวกรวมกับจังหวัดสุโขทัย มีสถานะเปนอําเภอในสมัยตอมา
สวนเมืองสวรรคโลกเดิมรกรางไปและถูกแบงเขตแดนเขาไปอยูในอําเภอศร�สัชนาลัยและตั้งเปนอุทยานประวัติศาสตรศร�สัชนาลัยในที่สุด

ดังน้ัน หากอานเอกสารโบราณกอนสมัยรัชกาลท่ี 5 แลวปรากฏชื่อเมืองสวรรคโลก จึงตองทําความเขาใจวาไมใชอําเภอสวรรคโลกในปจจ�บัน แตหมายถึงเมือง
สวรรคโลกเกาท่ีมีศูนยกลางอยูในบร�เวณอุทยานประวัติศาสตรศร�สัชนาลัย อําเภอศร�สัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย และเมืองสวรรคโลกที่กลาวถึงในหนังสือเลมน้ี จึงหมายถึง
เมืองสวรรคโลกเกาน่ันเอง

9

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทที่ 1

รูดิน :
ฉลาดใช ดินเขา ดินน้ำ ดินนา

ดังที่ไดกลาวแลววาแมจะเปนเคร่�องสังคโลกเหมือนกัน แตคุณภาพของสังคโลกจากเมืองสวรรคโลกและเมืองสุโขทัย
ก็มีขอแตกตางกัน ความลับสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหผลลัพธของผลิตภัณฑตางกันอาจอยูท่ีเนื้อดินและสูตรการผสมดิน
รวมถึงความสามารถเชิงชางในกระบวนการสรางสรรคเคร่�องสังคโลกเหลานั้นก็เปนได

ภูมิปญญาท่ีส่ังสมมานานทําใหชางสังคโลกทราบวาการใชดินเหนียว (Clay) แตอยางเดียวเปนวัตถุดิบในการปน
สังคโลกน้ันเม่ือเขาสูกระบวนการเผาดินเหนียวจะหดตัวมากทําใหภาชนะบิดเบี้ยวเสียรูปทรงชางจึงตองใชสวนประกอบ
อ่ืนมาผสมดวย

สวนประกอบที่สําคัญประการแรกคือ ดินขาวหร�อดินเคาลิน สันนิษฐานวามาจากภาษาจีน มีความหมายวา
“ภูเขาสูง” อาจมาจากแหลงที่มักพบดินชนิดนี้คือบร�เวณเขาสูงซ่ึงมีหินฟนมา (Feldspa) อยูมาก เม่ือหินฟนมาผุพังลง
จะกลายเปนดินขาวลักษณะเน้ือดินมีสีจางไปจนถึงสีขาวเพราะมีสวนผสมของซิลิกาอยู บางครั้งดินขาวถูกชะลางไปจากหนาดิน
แลวไหลตามน้ําลงไปรวมกันอยูในแถบที่ลุม เราจึงพบแหลงดินขาวอยูตามท่ีราบลุมบางแหงดวยคุณสมบัติสําคัญของ
ดินชนิดน้ีคือความละเอียด เหนียว และมีสีขาว เมื่อนํามาเผาดวยอุณหภูมิท่ีพอเหมาะจะไดเคร�่องปนดินเผาท่ีมีสีออน
เน้ือแกรง สวยงาม แตมีขอดอยคือมีอัตราการหดตัวสูง จึงตองนําดินชนิดน้ีไปผสมกับดินชนิดอื่นๆ เพ่�อลดการหดตัว

10

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ดินเชื้อ เว็บไซตอภิธานศัพทประวัติศาสตร ศิลปะ และโบราณคดี ใหความหมายไววา “เปนสวนท่ีใชผสมกับดินเหนียว

ในการปนภาชนะดินเผา ทําจากดินเผาไฟหร�อเศษภาชนะดินเผาท่ีแตกหักแลวนํามาบดผสมกับวัสดุอ่ืนๆ เชน แกลบ ฟางขาว
ทราย เปนตน จากนั้นนํามาปนเปนกอน ตากใหแหง เผาไฟใหสุก แลวนํามาบดใหละเอียดกอนจะนําไปผสมกับดินเหนียวข้�นรูป
ภาชนะ เวลาเผาไฟจะชวยใหดินไมหดตัวมากเกินไปจนบิดเบ้ียวผ�ดรูปราง”

ชางสังคโลกทราบดีวาการสรางสรรคผลิตภัณฑนั้น
จำเปนตองใชวัตถุดิบซึ่งไดจากสวนผสมอยางนอย 3 แหลง

ประกอบดวย
ดินเขา คือ ดินเคาลิน

ดินน้าํ หมายถึง ดินโคลนร�มตลิ�งหร�อดินโคลนในท่ีชุมน้ํา ซ่ึงณรงคชัย โตอินทร ชางพระพ�มพดินเผา ปราชญชาวบานแหง

เมืองสุโขทัย ระบุวาแหลงดินท่ีคนสุโขทัยแตโบราณนํามาใชเปนวัตถุดิบในการทําเคร�่องถวยและพระพ�มพ อยูบร�เวณคูแมโจนดาน

ทิศเหนือ และพ�้นที่ชุมนํ้าดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแหลงเตาทุเร�ยงสุโขทัยซึ่งเร�ยกกันตอๆ มาวา “หลุมปลาไหล” เพราะเปน

พ�้นท่ีลุม ติดคลองใหญมีนํ้าขังเกือบตลอดป มีปลาไหลชุกชุม ดินสองแหลงนี้จะมีลักษณะพ�เศษคือ เปนดินสีดํา เน้ือเนียน เม่ือนํามา
ผสมกับหินฟนมาและทรายแลวเผาจะมีสีขาวอมชมพ� ทนความรอนไดดีและทําใหเนื้อของเคร�่องถวยมีความเนียนละเอียดสวยงาม

11

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

เม่ือสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยานร�ศรานุวัดติวงศ
เสด็จประพาสหัวเมืองเหนือในป พ.ศ.2444 และพระราชนิพนธ
หนังสือช่ือ “จดหมายระยะทางไปพ�ษณุโลก” น้ัน ทรงเลาถึงขอมูลที่มี
ผูกราบทูลถึงแหลงดินสําหรับทําเคร่�องสังคโลกที่เมืองสวรรคโลกวา
“ดินซ่ึงเอามาปนถวยชามนั้น เอามาแตหนองพังงา ซึ่งเดี๋ยวนี้ชาว
บานเร�ยกวาทุงพงา”

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระยานร�ศรานุวัดติวงศ

นายเกศ พ�ลดี ชางผลิตสังคโลก ปราชญทองถิ�นแหงเมืองศร�สัชนาลัยใหทัศนะวา สาเหตุที่เคร่�องสังคโลกจาก
เมืองนี้มีช่ือเสียงไปท่ัวเพราะมีวัตถุดิบที่ดีโดยเฉพาะดินจากเขาสี่ลานไมไกลจากแกงหลวงดานหนาเมืองศร�สัชนาลัย
ซ่ึงมีแหลงดินท่ีมีปร�มาณแรเหล็กและหินฟนมาท่ีเหมาะแกการนํามาทําเคร่�องปนดินเผา มีสีขาวอมชมพ� ซึ่งทําให
ผลิตภัณฑมีเนื้อเนียนเร�ยบ สามารถเผาในอุณหภูมิท่ีสูงจึงมีเน้ือแกรง (Stone Ware) แตตองผสมกับดินเหนียวใน
ปร�มาณที่พอเหมาะจึงจะสามารถปนข้�นรูปไดงาย นอกจากน้ีชางเมืองศร�สัชนาลัยยังใชดินจากร�มตลิ�งแมนํ้ายม
ไมไกลจากแหลงเตา มาใชเปนวัตถุดิบอีกดวย

ดินนาหร�อดินหนานา คือ ดินโคลนในผ�นนาซึ่งตองข�ด

ลึกลงไปประมาณสามเมตรเน้ือดินจะมีสีมวงอมเหลืองหร�อสีเทา
อมเหลือง เมื่อกรองทรายและสิ�งเจือปนออกแลวจะใชปนข้�นรูป
ไดดี ดินทั้งสามชนิดนี้เม่ือผสมตามสัดสวนท่ีพอดี ผานการลาง
กรอง และหมักไวประมาณ 3 วัน จากนั้นคอยๆ ชอนตักเน้ือดิน
ละเอียดข�้นมาตากใหแหง เติมน้ําแลวนวดใหสวนผสมกลมกลืน
เปนเนื้อเดียวกัน พยายามไลอากาศออกจากเน้ือดินใหมากที่สุด
เพ�่อใหไดผลิตภัณฑสังคโลกท่ีสวยสมบูรณ

12

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ดงั นนั้ ภมู ปิ ญ ญาสําคญั ประการหนง่ึ ของการทําสงั คโลก ลักษณะพ�เศษอยางหน่ึงของเคร่�องสังคโลกแบบเคลือบ
คือภูมิปญญาเร่�องดินตั้งแตการทําความเขาใจลักษณะของดิน ก็คือรอยแตกรานหร�อแตกลายงา ซึ่งทําใหเคร่�องถวยชนิดนี้
เฟนหาแหลงดิน การผสม และกรองเน้ือดิน ภาชนะแต โดดเดน ดังที่สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงอธิบาย
ละชนิดจะใชวัตถุดิบไมเหมือนกัน ภูมิปญญาท่ีส่ังสมกันมา ลักษณะของเคร�่องสังคโลกไวในหนังสือ “ตํานานเคร�่องโตะและ
สอนใหชางรูจักเลือกใชดินที่มีลักษณะตรงกับรูปแบบและ ถวยปน” ความวา

ลักษณะใชสอยของภาชนะแตละชนิด อาทิ การใชดินเหลือง “สังกโลก จีนเร�ยกวา “หลกฮุนเผ�่อน” เน้ือดินที่ปนมักหยาบ
หร�อดินใตลูกรัง ซึ่งเปนชั้นดินที่อยูใตชั้นดินลูกรัง มีสีเหลือง ว�ธีทําใหเปนสังกโลกน้ันอยูที่ยาเคลือบ เม่ือทายาเคลือบเอา
เขาเตาเผา พอยาเคลือบแข็ง เอาออกจากเตาเร็วหนอย
จนถงึ สนี ํ้าตาลเขม และดําเพราะมแี รเ หลก็ ปนอยูม ากมคี วาม ไมคอยๆ ผอนใหเย็นอยูในเตา อยางเคลือบสามัญนํ้าเคลือบ
เหนียวสามารถปนข�้นรูปไดงาย ทนความรอนไดคอนขางสูง อยูในท่ีรอนจัดมาถูกเย็นเร็ว จึงแตกรานเปนรอยสังคโลกเม่ือ
ชางจึงนํามาใชเปนวัตถุดิบสําหรับเคร�่องถวยมอญ เคร่�อง เย็นแลวจึงเอายาขัดใหแทรกลงไปตามรอยใหเปนสีข�้นตาม
ถวยเชลียงและเคร�่องถวยชนิดไมเคลือบ ซ่ึงตองการความ เสนแตกอีกช้ันหนึ่ง” (สะกดตามตนฉบับเดิม)
แข็งแรงทนทาน และอาจนํามาใชผสมกับหินฟนมาหร�อดิน
จากแหลงอื่น เพ่�อชวยใหสามารถปนข�้นรูปไดงายและอยูตัว
ไดดีข้�น

จากการศึกษาของผูเชี่ยวชาญเคร�่องถวยในสมัยปจจ�บัน ทำใหทราบวารอยแตกรานหร�อแตกลายงานี้เกิดข�้นจากการหดตัวของ
เนื้อดินและน้ำเคลือบที่ไมเทากัน สงผลใหเกิดลวดลายที่สวยงามนี้ข�้นบนผ�วเคร�่อง สังคโลก นอกจากนี้ลักษณะของดินจากตาง
แหลงกันก็สงผลตอรอยแตกรานที่ตางกันอีกดวย

13

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทที่ 2

รูดิน รูน้ำ :
รังสรรคดวงดาราจากกอนดิน

สฤษฎ ซาซุม รวบรวมเทคนิคการผลิตเคร�่องปนดินเผาแบบดั้งเดิมเอาไวใน
“การว�เคราะหหลักฐานและการกำหนดอายุขอมูลทางโบราณคดี” ได 5 ว�ธีการ คือ

1. การข�้นรูปดว ยมอื และน�ิว การใชแ ปน หมุน
การใชแ มพ �มพ
โดยเร่�มข้�นรูปจากปากภาชนะกอนแลวจึงโคงดินเหนียวมาปด
บร�เวณกนของภาชนะโดยใชเคร�่องมือชวย ประกอบดวยแผนไม
และหินดุ สําหรับตี ตบดินใหไดรูปทรงที่ตองการ

2. การข�้นรูปโดยใชขดดนิ ยาว

คือคลึงดินเหนียวที่จะใชปนใหเปนเสนยาวดวยมือแลวจึงขดให
เปนรูปรางภาชนะท่ีตองการจากกนจนถึงปากภาชนะ จากนั้นใช
แผนไมและหินดุตีตะลอมเสนดินเหนียวใหเชื่อมเปนเนื้อเดียวกัน

3. การขน้� รูปโดยใชแปน หมนุ
4. การตอแผน

คือการนําดินเหนียวมาแผเปนแผนตอกันจนเปนรูปราง
ภาชนะจากน้ันจึงประสานเนื้อดินใหเช่ือมกันสนิท

5. การใชแ มพ �มพ

14

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

เม่ือไดวัตถุดิบคือดินท่ีมีคุณภาพแลว ชางสังคโลก เมื่อกระบวนการสรางสรรคสังคโลกกาวเขาสูยุค
สรางสรรคผลงานโดยเลือกใชว�ธีการใหเหมาะกับชิ�นงานที่ ของการผลิตเพ่�อจําหนาย ความรวดเร็วในการผลิตและ
ตอ งการอาศยั ภมู ปิ ญ ญาสําคญั ในการประสานเนอ้ื ดนิ ใหเ ขา กนั ความเสถียรของขนาด และรูปแบบยอมตองมีความสําคัญ
และคงทนดวยการใชน้ําดินขนหร�อนํ้าสลิป (Slip) เปนตัว แมพ�มพจึงนาจะเกิดข้�นดวยเหตุน้ี โดยเฉพาะผลิตภัณฑ
ประสาน ซ่ึงไดจากการนําดินเหนียวไปผสมกับนํ้าแลวคน ประเภทประติมากรรม กระเบ้ืองมุงหลังคา สวนประกอบ
จนละลาย จากน้ันจึงกรองดวยตะแกรงละเอียด ปลอยใหตก สถาปตยกรรมเปนตนตัวอยางท่ีนาสนใจที่สุดถูกจัดแสดงอยู
ตะกอน แยกตะกอนสวนท่ีขนไดที่เอามาใชเปนตัวประสานรอย ในพ�พ�ธภัณฑสถานแหงชาติกําแพงเพชร จังหวัดกําแพงเพชร
ตอของชิ�นงานใหมีความแข็งแรงทนทานและสวยงามมากข�้น เปนประติมากรรมยักษซึ่งชํารุดเหลือแตเพ�ยงศีรษะทําจาก
สงผลใหการสรางสรรคชิ�นงานมีความหลากหลายและ ปูนปน มีใบหนาทําจากดินเผาสันนิษฐานวาไดมาจากการกด
มีประสิทธิภาพในการใชงาน เชน ใชยารอยตอระหวางพวย แมพ�มพ เผาแลวจึงนํามาติดกับสวนท่ีเปนปูนปน การผลิต
หร�อหู กับลําตัวของภาชนะประเภทคณฑี (หมายถึงหมอน้ํา งานดวยแมพ�มพเชนน้ีชวยใหประหยัดเวลาในการทํางานและ
มีหู) คนโท (หมอนํ้ามีคอยาว) ใชยึดลายปนแปะใหติดกับ ชวยใหชิ�นงานไดผลออกมามีรูปแบบและขนาดที่เหมือนหร�อ
ภาชนะ หร�อบางครั้งใชรองพ้�นภาชนะกอนเข�ยนลาย เปนตน ใกลเคียงกัน อยางไรก็ตามยังไมเคยมีการคนพบหลักฐาน
ของแมพ�มพเหลาน้ีเลย
แมจะยังไมสามารถพบหลักฐานที่ยืนยันแนนอนถึง
การมอี ยูข องเครอ�่ งมอื อํานวยความสะดวกในการปน สงั คโลก ผลิตภัณฑสังคโลกที่พบมีทั้งท่ีเปนภาชนะตางๆ อาทิ
อยางเชน แปนหมุน แตอนุมานเอาจากรูปทรงสมบูรณแบบ จาน ชาม ถวยมีเชิงหร�อพาน กระปุกและตลับขนาดตางๆ โถ
ของเคร่�องสังคโลกท่ีพบทําใหม่ันใจไดวาแปนหมุนนาจะถูก กระโถน ขวด ไห โอง ไปจนถึงเคร่�องประดับสถาปตยกรรม
ประดิษฐข้�นใชแลวในเวลาน้ัน โดยอาจสรางจากไมจึงไมเหลือ เชน กระเบื้องมุงหลังคา กระเบื้องปูพ�้น ปนลม กระเบื้องครอบ
รองรอยมาจนถึงปจจ�บันนอกจากนี้การพบเคร�่องมือสําหรับ หัวแป บราลี ลูกรง ประติมากรรมรูปมกรสําหรับประดับ
ตะลอมรูปทรงของหมอดินใหเขาท่ี ซึ่งเร�ยกวา “หินดุ” เคร�่องลํายองและราวบันได เปนตน
ในหลุมข�ดคนทางโบราณคดีทั้งสมัยกอนประวัติศาสตรและ
สมัยประวัติศาสตรหลายแหงในจังหวัดสุโขทัย อาจจะชวย
ยืนยันวาภูมิปญญาดานการใชเคร�่องมือสําหรับการข�้นรูป
ภาชนะน้ันมีมากอนการสรางสรรคเคร�่องสังคโลกในพ้�นท่ีน้ี
นานแลวเปนไปไดมากท่ีภูมิปญญานี้จะยังสืบทอดตอๆ
กันมาจนถึงยุคท่ีอุตสาหกรรมสังคโลกของอาณาจักร
สุโขทัยเฟองฟ�

อยางไรก็ตาม การปนข�้นรูปอยางอิสระดวยมือก็ยังใช
อยูในการปนสังคโลกประเภทประติมากรรมขนาดเล็ก ซึ่งยัง
เปนที่ถกเถียงกันวาถูกสรางข�้นเพ�่ออะไร ประติกรรมสังคโลก
ขนาดเล็กท่ีคนพบนั้น นิยมเร�ยกกันวา “ตุกตาสังคโลก”
สวนใหญพบบร�เวณใกลโบราณสถาน มีบางสวนท่ีอาจไดรับ
ความเสียหายระหวางกระบวนการเผาถูกทิ�งท่ีใกลๆ เตาบาน
ปายางกลุมที่ไดรับฉายาวา “เตาตุกตา”

15

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

พันตํารวจโทสฤษดิ์ สืบพงษสิร� ศึกษาลักษณะของประติมากรรมสังคโลกสุโขทัยแลวสรุปไวใน “การศึกษา
เปร�ยบเทียบประติมากรรมตุกตาดินเผาในสมัยสุโขทัยกับอยุธยา” วา “สวนใหญใชการปนข�้นรูปดวยมือแลวเผาเปนเน้ือ
เคร�่องหินรองลงมาเปนเนื้อหินก่ึงเคร�่องเคลือบนําไปจ�มเคลือบเฉพาะสวนบน โดยมีทั้งการเคลือบสีเดียว ไดแก ประเภท
เคลือบเข�ยว เคลือบสีขาว เคลือบสีนํ้าตาล ประเภทเข�ยนลายสีดําใตเคลือบ และประเภทเคลือบสองสี แลวใชเทคนิคการ
ตกแตง ท้ังการข�ดข�ดการสลัก การเซาะรอง การปนติดและการเข�ยนลายสีดําใตเคลือบ

สวนชวงอายุสมัยการผลิตประติมากรรมตุกตาดินเผาในสมัยสุโขทัย สวนใหญนาจะผลิตข�้นมาในชวงของเคร�่อง
ถวยสุโขทัยยุคปลาย (Late Sukhothai Wares) ในราวพ�ทธศตวรรษท่ี 21– ตนพ�ทธศตวรรษท่ี 22”

ประติมากรรมสังคโลกเหลานี้มีทั้งรูปเทพเจา เชน พระเมตไตรยโพธิสัตวแบบจีน เทพเจาแหงโอสถแบบจีน
รูปบุคคลและว�ถีชีว�ต อาทิ แมอุมลูก ครอบครัว คนหลังคอม ผูหญิง คนอุมไก มวยปลํ้า สัตว เชน เตา กบ ชาง มา วัว
ตลบั รูปทรงผลไม เชน มังคุด พลับ ลูกจัน และสม ประติมากรรมเลาเร่�อง เชน ชางศึกพรอมทหาร จตุรงคเสนา ครุฑยุดนาค
ไปจนถึงเคร�่องใชไมสอยหร�ออุปกรณการละเลน เชน ตัวหมากรุก เปนตน

16

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ตกุ ตาสงั คโลกรปู บคุ คลสว นใหญท คี่ น พบ
ปรากฏวา สว นศรี ษะมกั หกั หลดุ ออกจากลําตวั
ทําใหมีผูสันนิษฐานวาตุกตาเหลาน้ีอาจเปน
เคร่�องใชในพ�ธีกรรม “เสียกบาล” ซึ่งเปนพ�ธี
เซนสรวงสะเดาะเคราะหอยางหนึ่งโดยปนรูป
เหมอื นของผมู เี คราะหแลว ใสล งในกระทงพรอ ม
เคร่�องเซน จากนั้นนําไปไวท่ีทางสามแพรง
ลอยนํ้าหร�อทิ�งไวในวัดโดยหักสวนศีรษะของ
ตุกตาออก เพ่�อหลอกภูตผ�ปศาจวาบุคคลนี้
ไดตายไปแลวจะไดไมมารบกวน

อยางไรก็ตามมีผูรูและปราชญดาน
ความเชอ่ื ทอ งถิน� หลายทา นคดั คา นความเหน็ นี้
เพราะพ�ธีเสียกบาลท่ีกระทําอยูจนถึงปจจ�บัน
ไมมีการหักคอตุกตา ท้ังยังเปนเร�่องไมสมเหตุ
สมผลเมอื่ ตกุ ตาทใี่ ชท ําพธ� ที ตี่ อ งทําลายทงิ� เชน
นี้กลบั สรา งขน�้ จากเครอ่� งสงั คโลกเคลอื บอยา งดี
ซงึ่ หมายถงึ เปน ผลติ ภณั ฑท ม่ี ตี น ทนุ การผลติ
ทั้งๆ ท่ีไมม ีการระบุไวในความเชือ่ หร�อพธ� ีกรรม
วาตองใชตุกตาช้ันดีมาประกอบพ�ธี

ตรงกบั ผลการศกึ ษาจากนกั วช� าการหลายทา นซง่ึ เสนอแนวทาง
สันนิษฐานใหมวาตุกตาสังคโลกเหลานี้อาจสรางข้�นเพ่�อกิจกรรมอ่ืน
เชน เปนของเลนหร�อของประดับตกแตง เปนตน แตเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
ทําใหต กุ ตาแตกหกั เจา ของอาจนําไปทงิ� ไวต ามทางสามแพรง หรอ� วดั วา
อารามตามความเชื่อเร�่องไมเก็บของแตกหักไวในที่พักอาศัย เราจึง
พบตุกตาเหลาน้ีในบร�เวณดังกลาว ทั้งน้ีตุกตาสังคโลกท่ีสมบูรณ
สว นศรี ษะไมห กั ออกจากตวั กม็ กี ารคน พบอยบู า งเชน กนั แตม จี ํานวนนอ ย

แมจะยังเปนท่ีถกเถียงเร่�องประโยชนใชสอยแตตุกตาสังคโลก
ก็คงความสําคัญยิ�งตอการศึกษาดานประวัติศาสตรและโบราณคดี
เพราะลกั ษณะทป่ี รากฏอยทู ตี่ กุ ตานนั้ อาจจะเปน เครอ�่ งสะทอ นสภาพชวี ต�
สงั คมและความอดุ มสมบรู ณข องอาณาจกั รสโุ ขทยั ไดอ กี ทางหนง่ึ ดว ย

17

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทที่ 3

รูเข�ยน :
สงจินตนาการไหลร�นสูดินปน

นอกจากประวัติศาสตรอันยาวนานท่ีแฝงอยูเบ้ืองหลังเคร่�องสังคโลกแลว ลวดลายของเคร่�องถวยชนิดนี้มีสวนสําคัญ
ทําใหไดรับความสนใจและเปนท่ีรูจัก แมวาสังคโลกชนิดเข�ยนลายจะเปนเพ�ยงรูปแบบหนึ่งของผลิตภัณฑนี้เทาน้ันก็ตาม

การเข�ยนลายเคร่�องสังคโลกตองอาศัยชางท่ีมีความชํานาญและมี “อารมณศิลปน” อยางแทจร�งเพราะมักใชเทคนิค
การเข�ยนลายแบบ Freedom in Brushworks คือการวาดลายแบบอิสระท้ังรูปพันธุพฤกษา รูปสัตว รูปคน และรูปเลาเร่�อง
ว�ถีชีว�ตซ่ึงพบอยูบางแตมีจํานวนไมมาก ลวดลายเหลาน้ีลวนมีชีว�ตชีวา งดงาม และหลายคร้ังยังสามารถช้ีใหเห็นสภาพ
สังคมในอดีตรวมถึงเคาเง่�อนของสัมพันธภาพระหวางดินแดนน้ีกับดินแดนอ่ืนๆ เชน ลานนาและจีน ไดอีกดวย ลายสังคโลก
จึงชวยเติมเต็มประวัติศาสตรสวนที่ขาดหายไปใหสมบูรณมากยิ�งข�้น

18

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

การเข�ยนลายสังคโลกนั้น ชางจะเข�ยนลายลงบนเน้ือภาชนะ
แบบ Biscuit Firing ซ่ึงหมายถึงภาชนะดินที่ผานการเผามาแลว
คร้ังหน่ึงดวยความรอนที่ไมสูงนักในเตาเผาท่ีเร�ยกวา “เตาตะกรับ”
แลวจึงเข�ยนสีโดยใชแรธาตุที่มีอยูรอบตัว เชน สีดําท่ีไดจาก
ดินแดงหร�อดินลูกรัง เปนตน โดยรองพ้�นดวยนํ้าสลิปกอนเพ่�อ
ความสวยงามบางครั้งมีการจ�มน้ําสลิปหนามากเพ่�อปกปดความ
หยาบและรูพรุนของเน้ือดิน จากน้ันจึงนําไปชุบนํ้ายาเคลือบ
กอนเผาอีกคร้ังดวยอุณหภูมิสูงข�้น

นอกจากการสรางลวดลายดวยว�ธีการเข�ยนแลว
ชางสังคโลกยังสรางลวดลายที่สวยงามดวยว�ธีการท่ีหลากหลาย อาทิ

การขด� ข�ด (Engraving)
เปนว�ธีการทาํ ลวดลายตกแตงเคร่�องถวยมาตั้งแตสมัยกอนอาณาจักรสุโขทัย
เปนราชธานี โดยใชว สั ดแุ ข็ง ปลายแหลม ข�ดข�ดใหเปนร้�วรอ งลงบนผว� ภาชนะ

การข�ดใหเ ปนรองลึก (Excising)

แมจะสามารถแยกลวดลายท่ีเกิดข้�นจากการข�ดข�ดและการข�ดออกจากกันดวย
ตาเปลา ไมไดงา ยนกั แตก รรมว�ธกี ารสรางลวดลายทั้งสองอยา งนี้ก็แตกตา งกนั กลา ว
คือ การข�ดเปนการใชเคร่�องมือปลายมนตัดเนื้อดินออกจากพ้�นผ�วภาชนะ ดังนั้น
เมือ่ สองกลองดภู าพตดั ของลวดลายจงึ จะพบวา รองของลวดลายท่เี กดิ จากการขด�
จะเปน รปู ตวั ยู (U) ในขณะทลี่ ายข�ดข�ดเกดิ ข�้นจากการใชเ ครอ่� งมือปลายแหลม รอ งของ
ลวดลายจึงเปนรปู ตัวว� (V)

19

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

การกดประทับ (Stamping)
การตกแตงลวดลายเคร�่องถวยดวยว�ธีการกดพ�มพเปนกรรมว�ธี
สรางลวดลายท่ีมีมาต้ังแตกอนสมัยสุโขทัยเปนราชธานี อาจนับยอนไปถึง
สมัยกอนประวัติศาสตรเสียอีก มีการข�ดพบแทนประทับสําหรับประทับ
ลวดลายลงบนเคร่�องถวยตามแหลงโบราณคดีมากมาย นอกจากน้ียังพบ
เคร�่องสังคโลกท่ีมีลวดลายซึ่งไดมาจากการกดประทับ ทั้งลายจ�ดไขปลา
ลายเชือกทาบลายคลื่น เปนตน

20

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ลวดลายของเครอ�่ งสงั คโลกนอกจากจะเปน
เอกลกั ษณแ ลว ยงั สะทอ นสภาพชวี ต� ความเปน อยู
ตลอดจนความเชอ่ื และสภาพแวดลอ มของอาณาจกั ร
สุโขทัยไดอยางนาสนใจ อาทิ ภาwสัตวน้ําซึ่ง
ดร.ปร�วรรต ธรรมาปร�ชากร หัวหนาแผนกว�จัย
และสง เสรม� การศกึ ษาพพ� ธ� ภณั ฑส ถานเครอ่� งถว ย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาว�ทยาลัยกรุงเทพ
ไดนําเสนอในงานว�จัยเร�่อ “แรงบันดาลใจสําหรับ
การสรางสรรคเคร�่องปนดินเผาสุโขทัย” วามี
หลากหลายพันธุ ไดแก ปลากาดํา ปลาสรอยขาว
ปลากราย ปลาตะเพ�ยนขาว ปลากดคัง ปลาสวาย
ปลาเทโพ ปลาชะโด รวมทั้งเตาปูลู ซึ่งนํามาเข�ยน
ลงบนภาชนะพรอมกับลายพันธุพฤกษาที่อาจ
พัฒนามาจากไมน้ํา เชน สาหราย สะทอนใหเห็น
ความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าและอาจสามารถ
ใชเปนแหลงขอมูลเพ�่อศึกษาสภาพนิเวศว�ทยา
ของแหลงนํ้าในเวลานั้นไดอยางนาสนใจอีกดวย

21

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทที่ 4

รูเคลือบ :
กลั่นกรองแรธาตุฉาบงานศิลป

ถงึ แมว า สงั คโลกจะมที งั้ แบบเคลอื บและไมเ คลอื บ
แตก็ตองยอมรับวาผลิตภัณฑสังคโลกแบบเคลือบ
ทั้งเคลือบสี และเคลือบใสซ่ึงมักมีการเข�ยนลวดลาย
ไวดวยน้ัน เปนกลุมผลิตภัณฑท่ีมีความสวยงาม
จนไดรับการยอมรับในวงกวางต้ังแตสมัยโบราณ
น้ําเคลือบเหลาน้ีเกิดข้�นไดดวยภูมิปญญาและความ
พยายามในการลองผด� ลองถกู ตลอดจนการถา ยโอน
องคค วามรูจ ากแหลง วฒั นธรรมทมี่ คี วามเจรญ�
อยูกอนแลวดวยอีกทางหน่ึง

22

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

การเคลือบ (Glazing) คือการชุบภาชนะดวยน้ํายา
ท่ีมีสวนประกอบของซิลิกา (Silica) ซึ่งไดจากดินขาวหร�อ
หินฟนมาผสมกับแรธาตุที่ไดจากธรรมชาติ โดยภาชนะที่นํามา
ชุบนํ้าเคลือบน้ันตองเผากอนคร้ังหนึ่งดวยความรอนไมสูงนัก
ราวๆ 900 องศาเซลเซียสเพ�่อใหอยูตัว เม่ือชุบนํ้ายาเคลือบแลว
จึงนําไปเผาอีกครั้งดวยอุณหภูมิสูง น้ําเคลือบแบบนี้จะเปน
นํ้าเคลือบใส (Transparent Glaze) แตหากตองการ
น้ําเคลือบสีข�น (Opaque Glaze) ก็จะเติมสนิม (ออกไซต)
ของโลหะบางชนิดลงไป ซ่ึงใหสีที่ตางกัน
ภูมิปญญาท่ีส่ังสมกันมาทําใหชางสุโขทัยรูวาการนําไมบางชนิดไปเผาไฟจนเปนเถาน้ัน เมื่อนําข้�เถามาผสม
กับนํ้า และสวนผสมของดินแดง จะทําใหไดนําเคลือบเคร�่องถวยที่มีสีสันสวยงาม ข้�เถาของพ�ชตางชนิดกันก็ยอมใหผลลัพธ
ของสีนํ้าเคลือบท่ีแตกตางกัน เชน ข้�เถาของไมจามจ�ร�ใหสีเข�ยว ข้�เถาของไมมะขามใหสีขาว ดินแดงใหสีน้ําตาล หร�อดํา
เปนตน เฉดสีของนํ้าเคลือบจะข้�นอยูกับอัตราสวนของสวนผสมท่ีกล่ันกรองจากภูมิปญญาของชางแตละคนอีกและ
อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเผาดวย

23

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

การตกแตงสังคโลกเปนลวดลายน้ัน ใชทั้ง
ว�ธีเข�ยนลายแลวเคลือบ (Painted Underglazed)
หร�อว�ธีการข�ดข�ด ข�ด พ้�นผ�วผลิตภัณฑใหเปน
ลวดลายกอนเคลือบ (Incised Underglazed
เม่ือชุบน้ํายาเคลือบแลว นํ้ายาจะไหลลงไปอัดกันบน
รองลายเหลาน้ันมากกวาบร�เวณอื่น เม่ือเผาแลว
จึงเปนร�้วลายที่มีสีเขมสวยงาม หร�อบางแบบใช
กรรมว�ธีแกะพ้�นลายใหลึก ตัวลายนูนข้�น (Relief)
และเข�ยนสีพ้�นกับลายใหมีสีแตกตางกัน ชวยให
ไดผลิตภัณฑที่สวยงามแปลกตา

24

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

นา รู

เซลาดอน

ดร.คชินท สายอินทวงศ ผูเชี่ยวชาญดานเคร�่องเคลือบของไทย ใหความหมายของคําวา “เซลาดอน”
ซึ่งใชช่ือภาษาไทยวา “ศิลาดล” ไววา “ คําวาศิลาดลหมายถึงผลิตภัณฑเซรามิกท่ีมีสีเข�ยวหยกมี สีเข�ยวไขกา

มาจากคําวา "ศิลา" และ "ดล" เปนคําภาษาสันสกฤต แปลวาเคลือบบนหิน หร�อเคลือบหิน แตสําหรับคําท่ัวไป
ท่ีใชเร�ยกผลิตภัณฑชนิดน้ีคือ "เซลาดอน" ซึ่งมีท่ีมาหลายอยาง อาจจะหมายถึงผลิตภัณฑซ่ึงหุมดวยหยก
ภาษาฝรั่งเศส ใชเร�ยก เคลือบสีเข�ยวของภาชนะดินเผาจากทางตะวันออกที่เคลือบบนเน้ือดินปนชนิดเนื้อสโตนแวร
และพอซสเลน ทางตะวันตกเช่ือกันวาคําน้ีมาจากชื่อของคนเลี้ยงแกะท่ีช่ือ เซลาดอน (Celadon) ซึ่งสวมเส้ือคลุม
สีเข�ยวอมเทาในละครที่ไดรับความนิยมมากในคร�สตศตวรรษที่ 17 คือ Les Amour d’Atrée ซ่ึงเปนชวงเดียวกับ
เคลือบเข�ยวที่ดูสวยงามและมีคุณคาของจีน กําลังไดรับความนิยมเปนอยางมากในยุโรป”

25

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทที่ 5

รูเร�ยง รูเผา :
บันดาลกอนดินเปนผลิตภัณฑ

หัวใจสำคัญประการหนึ่งของการผลิตเคร�่องถวยทั้งหลายก็คือภูมิปญญาในการสรางและใชงานเตาเผา
เปนที่ทราบกันโดยทั่วไปวาเตาที่ใชเผาเคร�่องสังคโลกนั้น เร�ยกวา “เตาทุเร�ยง” ซึ่งยังไมมีใครสามารถ

ชี้ชัดลงไปไดวาคำนี้มีความหมาย และที่มาที่ไปอยางไร
ทั้งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร
(พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว) และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยานร�ศรานุวัดติวงศ ซึ่งเสด็จฯ
มาทอดพระเนตรสภาพเมืองโบราณสุโขทัยและสวรรคโลกนั้น ไดทรงฟ�งปราชญชาวบานกราบทูลวา

คำนี้เปนชื่อคนในภาษาจีน ซึ่งทั้งสองพระองคก็ไมทรงเชื่อ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงบันทึกไวหนังสือพระราชนิพนธเที่ยวเมืองพระรวงวา

“…จีนชื่อทุเร�ยงก็ยังไมเคยไดยินเลย…”

26

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

ที่จร�งไมใชมีแตเตาทุเร�ยงเทานั้น
เตาเผาที่ใชเผาเคร�่องสังคโลกมีอยู 2 แบบ คือ

1. เตาตะกรับ (Updraft Kiln) เปนเตาชนิดท่ีให 2. เตาทุเร�ยงหร�อเตาประทุน (Crossdraft

ความรอ นในแนวตง้ั สรา งดว ยดนิ เหนยี วหรอ� อฐิ ดา นลา งสดุ Kiln) เปนเตาชนิดที่ใหความรอนผานในแนวนอน ในระยะ
ใชเ ปน ทบี่ รรจเ� ชื้อเพลงิ คือถานหรอ� ฟนเหนอื ข้น� มามีแผน แรกใชว�ธีข�ดเขาไปในเนินดินเปนอุโมงค มีผนังโคงบรรจบกัน
กวางประมาณ 3-4 เมตร ยาว 3-4 เมตร แตประสบปญหา
ดินเหนียวเจาะรูคลายรังผ�้ง เร�ยกวา “ตะกรับ” พ�้นท่ี เก่ียวกับความแข็งแรงจึงแกไขปญหาดวยการทาดินเหนียว
ที่ผนังเพ�่อเสร�มความม่ันคง แตก็ประสบปญหาใหมคือ
เหนือตะกรับใชเร�ยงภาชนะท่ีตองการเผา โดยเม่ือเร�ยง น้ําหนักของดินเหนียวทําใหผนังพังลงมาไดงาย ประกอบ
ภาชนะเรย� บรอ ยแลว ตอ งสมุ ดว ยเศษภาชนะหรอ� กระเบอ้ื ง กับการดูแลรักษาเตาแบบน้ีเปนไปไดยากเพราะอยูใตดิน
เพ�่อเก็บความรอน ความรอนจากดานลางจะพ�งผานรู
ที่ตะกรับข้�นมาสูดานบน ไดอุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 900
องศาเซลเซียส เตาชนิดนี้ใชเผาภาชนะไมเคลือบเน้ือไม
แกรง (Earthenware) และใชเผาภาชนะดินดิบที่ปนเสร็จ
แลวเพ�่อใหอยูตัว เร�ยกวา Biscuit Firing จากน้ันจึงไป
เข�ยนลายหร�อชุบน้ํายาเคลือบแลวจึงนําไปเผาอีกครั้ง
ในเตาทุเร�ยง

ดังนั้น ชางสังคโลกจึงหันมาสรางเตาบนดิน โดยเร่�มจากการใชไมไผสานเปนโครงเตาแลวใชดินเหนียวพอก
เมื่อเผาใหดินสุกจึงกลายเปนเตาท่ีแข็งแรง และสามารถควบคุมความช้ืนรอบๆ เตาไดดีข�้น ตอมาเปล่ียนวัสดุเปน
อิฐเพ�่อความแข็งแรง สะดวกในการซอมแซม และงายตอการควบคุมความช้ืนรอบเตา

27

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

เตาทุเร�ยงหร�อเตาประทุนแบงออกเปนสามสวนคือ สวนหนา
ใชเปนท่ีสุมเช้ือเพลิง ตรงกลางซึ่งมีพ�้นที่มากที่สุดใชเร�ยงภาชนะ

โดยถมทรายไวบนพ�้น ฝง กี๋ทอ ลงไปแลวเร�ยงภาชนะบนกี๋ชนิดกลม

และสวนทายสุดเปนปลองระบายควัน เผาดวยความรอนสูงประมาณ
1,150 – 1,250 องศาเซลเซียส ดวยฟนไมไผ ซึ่งมีคุณสมบัติเดน
คือ ใหความรอนสูงไฟแรง สามารถสุมไฟใหไดอุณหภูมิสูงและคงท่ีได
ท่ีสําคัญคือเปนไมที่ข้�นงาย โตเร็ว หางาย อาศัยความชํานาญในการ
สงั เกตสขี องเปลวไฟเพอ�่ กะระยะเวลาและอณุ หภมู ทิ เี่ หมาะสมในการเผา

นอกเหนือจากคุณภาพของเตาแลว จํานวนการผลิตในแตละคร้ังก็มีความสําคัญเพ่�อใหไดผลิตภัณฑท่ีมีจํานวน
เพ�ยงพอและคุมคาตอการลงทุน กรรมว�ธีการเร�ยงภาชนะในเตาจึงเปนเร�่องสําคัญ ในระยะตนที่แหลงเตาบานเกาะนอย
ซึ่งพบจานกนลึกเคลือบสีทั้งใบยกเวนที่ปากจาน ทําใหทราบวามีการปาดน้ําเคลือบออกเพ�่อวางจานสองใบหงาย-ควํ่าประกบกัน
ท้ังน้ีเพ่�อปองกันน้ําเคลือบเยิ�มมาติดกันกอใหเกิดความเสียหาย พ�้นท่ีวางภายในวางกี๋งบน้ําออยแลวเร�ยงจาน กระปุกหร�อ
ขวดขนาดเล็กไว ว�ธีนี้ชวยประหยัดพ�้นท่ีในการเร�ยงภาชนะทําใหไดผลิตภัณฑจํานวนมากในการเผาแตละครั้ง ตอมาเปลี่ยน
จากว�ธีการวางจานประกบกันเปนการเร�ยงจานซอนๆ กันโดยคั่นดวยกี๋งบนํ้าออยดานบนสุดอาจวางถวย กระปุกหร�อขวด
ภาชนะทั้งหมดน้ีจะเร�ยงกันบนกี๋ทอที่ฝงลงไปในพ�้นทรายกนเตา เฉพาะที่เตาเกาะนอยเทานั้นท่ีพบการวางภาชนะเพ�ยง
ชิ�นเดียวลงบนกี๋ทอ เขาใจวาเพ่�อความสวยงามของผลิตภัณฑที่ได เพราะการวางกี๋งบน้ําออยคั่นภาชนะบางครั้งทําใหเกิด
รอยบุมของขากี๋ที่กนของภาชนะ โดยเฉพาะสังคโลกจากเตาสุโขทัยน้ัน พบวามีรอยกี๋มากจนถือเปนสัญลักษณหน่ึงของสังคโลก
สุโขทัย ทวา จ�ดสังเกตนี้ก็ไมใชเร่�องแนนอนเสมอไป เพราะบางคร้ังก็พบรอยของกี๋ในเคร่�องสังคโลกจากสวรรคโลกดวยเชนกัน

28

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

นารู

กี๋

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ใหความหมายของคําวา
“ก๋ี” ไววา “ฐานสําหรับรองสิ�งของหร�อสําหรับนั่งทําดวยวัตถุตางๆ มีรูปตางๆ กัน
เชน ก๋ีรองแจกัน กี๋รองกระถางตนไม” ในแวดวงผูนิยม และศึกษาเคร่�องสังคโลก ก๋ี
จึงหมายถึงภาชนะดินเผาที่ใชสําหรับรองกนผลิตภัณฑในเตาเผา มีสองรูปแบบ คือ

1.กี๋งวงชางหร�อกี๋ทอ เปนทอยาว ใชสําหรับฝงลงในพ�้นทรายท่ีกนเตาทุเร�ยง
แลววาภาชนะท่ีจะเผาไวที่ปลายอีกดานหน่ึง ปองกันภาชนะเปรอะเม็ดทราย

2.กี๋งบน้ําออยหร�อกี๋จาน เปนแผนแบน มีทั้งรูปกลมและเหล่ียม ใชสําหรับ
ค่ันภาชนะใบตอใบเพ่�อกันน้ําเคลือบเยิ�มมาติดกัน ก๋ีงบนํ้าออยนี้มักมีปุม 5-6 ปุม
อยูที่กน เม่ือใชงานทําใหสังคโลกท่ีเผาออกมามีรอยปุมอยูท่ีกนดวย พบมากที่แหลง
เตาสุโขทัย ก๋ีงบนํ้าออยบางชิ�นมีการสลักรูปไวดวย นักว�ชาการยังพยายามหาคํา
ตอบอยูวารูปเหลานี้มีไวเพ่�ออะไรกันแน

คําวากี๋น้ีสันนิษฐานวามาจากภาษาจีนและเร่�มใชเร�ยกภาชนะรองผลิตภัณฑ
เหลานี้ในสมัยหลัง เพราะในพระนิพนธ “จดหมายระยะทางไปพ�ษณุโลก” เมื่อ พ.ศ. 2444
น้ันสมเด็จกรมพระยานร�ศรานุวัดติวงศ ทรงเร�ยกภาชนะเหลานี้เหมือนกันทุกแบบ
วา “ดาก”

เร่�องเลาในเตาเผาเคร�่องสังคโลก

ขอความในศิลาจาร�กหลักที่ 2 ซ่ึงพบท่ีวัดศร�ชุม เมืองโบราณสุโขทัยน้ัน
เลาถึงเร�่องราวของพระเถระสําคัญองคหน่ึงคือ “สมเด็จพระมหาเถรศร�สัทธาราช
จ�ฬามุนี ศร�รัตนลงกาทีป มหาสวามีเปนเจา” ซ่ึงเปนท่ีเคารพศรัทธาของผูคน
มากมาย ตอนหน่ึงซ่ึงเลาถึงปาฏิหาร�ยแหงพระบรมสาร�ร�กธาตุของพระพ�ทธเจา
ท่ีสําแดงใหประจักษนั้น จาร�กไวโดยเปร�ยบเทียบกับแสงของการเผาเคร�่องถวย
ความวา“.ออกเข�ยวดังสุงเผาหมอเผาไห”แสดงใหเห็นวาผูคนในสมัยน้ันรูจักการ
สงั เกตสขี องเปลวไฟในเตาเผาเครอ�่ งถว ยแลว พอเปน เครอ�่ งยนื ยนั ถงึ ความสามารถ
ในการกะเกณฑอุณหภูมิของเตาผานการสังเกตสีของเปลวไฟ ไดเปนอยางดี

อนึ่ง สังเกตไดวาในศิลาจาร�กยุคตนๆ ของอาณาจักรสุโขทัยไมใชคําวา
“สังคโลก” เปนคําเร�ยกเคร�่องถวยท่ีถูกผลิตข�้น ตรงกับคําสันนิษฐานวาช่ือนี้เร�่มตน
เร�ยกกันหลังจากมีการเปลี่ยนช่ือเมืองท่ีเปนแหลงผลิตใหญ วา “สวรรคโลก”
ใน พ.ศ.2017

“ปลาสังคโลกของแผนดินพระรวง”
งานชุมชนอุทยานตำนานศิลป วันสังคโลก ครั้งที่ 1

นั้น ไดสรางการมีสวนรวมจากประชาชนในทองถิ�นและ
นักทองเที่ยวทั้งจากจังหวัดสุโขทัยและกำแพงเพชร ได
รวมกันรังสรรคเกล็ดปลาจำนวน 989 ชิ�น เพ�่อนำมา
ประกอบเปนงานศิลปะขนาดใหญกวา 2.7 เมตร

สงตอศาสตรและศิลปสูผลิตภัณฑรวมสมัย ภายใต

“แบรนดมรดกพระรวง” ที่สรางสรรคจากมรดก

วัฒนธรรมทองถิ�น

29

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

บทสง ทาย

จากการว�จัยของ ดร.ธันยกานต วงษออน ผูอํานวยการศูนยอนุรักษเคร�่องปนดินเผาโรงเร�ยนถนอมบุตร
เร�่อง “การใชงานของเคร่�องปนดินเผาสุโขทัยจากหลักฐานท่ีปรากฏทางโบราณคดี”
สรุปวัตถุประสงคในการใชงานเคร่�องสังคโลกในสมัยโบราณไว 7 ประการ คือ

1. เปนภาชนะบรรจ�อัฐิผูตาย
พบภาชนะสังคโลกบรรจ�อัฐิแลวฝงอยูในเขตศาสนสถานทั้งในพ้�นท่ีแหลง

อารยธรรมสุโขทัย เชนที่เมืองบางขลัง ซ่ึงระยะแรกบรรจ�อยูในภาชนะประเภทไห
กอ นจะเปลย่ี นเปน ตลบั หรอ� ขวดในระยะตอ มารปู แบบและความสวยงามของภาชนะ
เหลานี้ข�้นอยูกับสถานะของผูตาย มีทั้งแบบไมเคลือบ เคลือบสี และเข�ยนลาย
ใตเคลือบ นอกจากนี้ยังพบเคร�่องสังคโลกท่ีใชในพ�ธีกรรมฝงศพท่ีคาลาตากัน
ในฟลิปปนสอีกดวย

2. ใชเปนภาชนะเก็บใบชาในพ�ธีชงชา
ดังไดกลาวไวแลววาภาชนะสังคโลกไดรับความนิยมมากในญ่ีปุนโดย

เชื่อวา เปน ภาชนะทส่ี ามารถถนอมคณุ ภาพและกลิน� หอมของใบชาไดอ ยา งดี
ดังท่ีศาสตราจารยสุกิจ นิมมานเหมินทร อดีตราชบัณฑิต เลาไวในหนังสือ
“ผานพ�ภพลีลาและอื่นๆ” ความวา “…ในพ�ธีชงชาซึ่งญ่ีปุนถือเปนหลักหน่ึง
ของวัฒนธรรมญี่ปุน คนญ่ีปุนเองไดบอกกับขาพเจาวา กาหร�อปานท่ีจะใช
นั้นหากผูใดมีปานหร�อกาเคลือบสีมอๆของสมัยกรุงสุโขทัยของไทยเราแลว
เจา ของบา นนน้ั จะมคี วามภาคภมู ใิ จยิง� นกั ทตี่ นมวี ตั ถอุ นั หาคา มไิ ดท ใ่ี ชในงาน
พ�ธีท่ีมีเกียรติน้ีเปนอยางยิ�ง”

3. ใชเปนเคร�่องอุทิศไวในพระศาสนา
หลกั ฐานจากศลิ าจารก� หลายหลกั กลา วถงึ การอทุ ศิ เครอ่� งมอื เครอ�่ งใชท ี่

ทําจากเคร�่องปนดินเผาไวในพระพ�ทธศาสนา อาทิ ศิลาจาร�กวัดชางลอม
(พ.ศ.1927) ซ่ึงกลาวถึงการออกบวชของพนมไสดําและการโอยทานของ
พระยาศร�เทพหูราชซึ่งระบุวาถวาย “ไหดินใสดอกไม” ไวในพระพ�ทธศาสนาดวย

4. ใชเปนภาชนะบรรจ�สิ�งของไวในเจดียหร�อกรุ
พบหลักฐานอยูเสมอวาภายในกรุของเจดียตางๆ นอกจากมีการบรรจ�

พระธาตุแลว มีการบรรจ�เคร่�องมหัคภัณฑ พระพ�มพและพระพ�ทธรูปไวเปนพ�ทธ
บูชามากมาย ขาวของเหลาน้ีมักถูกบรรจ�อยูในภาชนะสังคโลกอีกชั้นหน่ึงเพ�่อ
ความคงทน โดยมีภาชนะท้ังสังคโลกและเคร�่องถวยจากแหลงอื่น เชน เคร�่อง
ถวยจีน มาครอบท่ีปากภาชนะเพ�่อเปนฝาปด

30

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

5. ใชเปนของอุทิศเพ�่อถวายแกสิ�งศักดิ์สิทธิ์
จากรายงานการสํารวจโบราณสถานนอกกําแพงแกว ใกลกับพระอุโบสถวัดเจดียเจ็ดแถว อุทยานประวัติศาสตร

ศร�สัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย โดยนายประโชติ สังขนุกิจ กลาววามีการคนพบไหบรรจ�ตุกตาดินเผารูปชางมาและสัตวอื่นๆ อีก
แตไมพบประติมากรรมทางพระพ�ทธศาสนาในบร�เวณนั้นเลย เปนไปไดวาตุกตารูปสัตวเหลานี้อาจทําข�้นเพ่�อถวายแด
สิ�งศักดิ์สิทธ์ิตามความเชื่อถือศรัทธาของคนในสมัยน้ัน

6. ประติมากรรมเพ่�อใชเปนรูปเคารพทางศาสนา ความเชื่อ และเพ่�อ
พ�ทักษศาสนสถาน

แมว า ประตมิ ากรรมผูพ ท� กั ษศ าสนาสถานหรอ� “ทวารบาล”จะมกี ารคน
พบอยูบางจากการข�ดคนทางโบราณคดีแตก็มีจํานวนไมมากนัก ทวาก็ยัง
พบมากกวารูปเคารพทางศาสนาแบบอื่นๆ เชนพระพ�ทธรูป เทวรูป ซ่ึงแมวา
จะมีการคนพบอยูบาง แตนอยเต็มทีและมักไมสมบูรณ

7. พระพ�มพดินเผา
สามารถกลา วไดว า พระพม� พเ ปน โบราณวตั ถปุ ระเภทเครอ่� งปน ดนิ เผาทพี่ บ

เปนจํานวนมากที่สุดในเขตเมืองโบราณสุโขทัย ศร�สัชนาลัย และกําแพงเพชร
พระพ�มพเหลานี้ถูกทําข้�นเปนจํานวนนับพันนับหม่ืนเพ่�อบรรจ�ใสกรุไวเปนการ
สืบอายุพระพ�ทธศาสนาและเสร�มดวงบารมีแกผูสราง ยังไมมีใครทราบไดอยาง
แนชัดวาพระพ�มพดินเผาเหลาน้ีผลิตข้�นจากแหลงใด มีการผลิตเปนอุตสาหกรรม
หร�อไม แตท่ีแนๆคือสามารถสะทอนแนวคิด ความเช่ือของผูคน รวมถึงเทคโนโลยี
ในการผลิตเคร่�องปนดินเผาจํานวนมากๆไดเปนอยางดี

ประเด็นที่ ดร.ธันยกานต วงษออน สรุปไวนี้นาสนใจเปนอยางยิ�ง และอาจชวยไขขอของใจของหลายๆคนวาสังคโลก
ที่ข�ดพบเปนจํานวนมากเหลาน้ีถูกสรางข้�นเพ่�อจ�ดประสงคใดกันแน ดวยรูปแบบและกรรมว�ธีในการผลิตที่หลากหลายทําให
สังคโลกเปนที่นิยม คนแตละชนชั้นคงจะเลือกแบบที่เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจความสามารถในการซ้ือหาและประโยชน
ใชสอยที่เหมาะสมกับตนเองได

การใชประโยชนจากสังคโลกอีกประการหน่ึงซึ่งแพรหลายเปนอยางมากจนตองมีแหลงเตาสําหรับผลิตเคร่�อง
สังคโลกประเภทนี้โดยเฉพาะ คือสวนประกอบของสถาปตยกรรม นักโบราณคดีพบโบราณวัตถุเหลาน้ีจํานวนมาก
โดยเฉพาะในเขตใกลซากอาคารโบราณ อาทิ บราลี กระเบื้องมุงหลังคา กระเบ้ืองครอบหัวแป กระเบื้องปูพ้�น ราวลูกกรง
มกรสําหรับประดับตกแตงหลังคาและราวบันได เปนตน

31

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

อยางไรก็ตาม สังคโลกจํานวนมากยอมถูกผลิตข้�นสําหรับการคาขาย บทบาทท่ีสําคัญประการหนึ่งของสังคโลก
คือบทบาทในภาคเศรษฐกิจ ซ่ึงกลายเปนกําลังสําคัญที่อาณาจักรสุโขทัยและอยุธยานํามาใชในการขับเคลื่อนและ
พัฒนาอาณาจักร ดังไดกลาวมาแลววา ดวยเหตุดังนี้เมืองสุโขทัยและเมืองสวรรคโลกจึงกลายเปนเมืองสําคัญ

เหนือสิ�งอื่นใด สังคโลกเปนประจักษพยานถึงภูมิปญญาและความสามารถเชิงชางของชาวสุโขทัยสะทอนความสัมพันธ
อันแนบแนนระหวางคนกับธรรมชาติและความอุดมสมบูรณของพ้�นที่ที่เปนถิ�นฐานบานชองเบื้องหลังความงดงาม
แข็งแกรงของเน้ือดิน ความละเอียดงดงามของศิลปกรรม จึงมีความองอาจแกรงกลาของภูมิปญญาและความ
ชาญฉลาดของผูคนซอนอยู ภูมิปญญาลํ้าคาเหลานี้ถูกถายทอดสงตอเปนมรดกจากรุนสูรุน มิไดจํากัดอยูในรูป
ของสิ�งของทวาลํ้าลึกไปถึงระดับพ�ทธิปญญา

เมอ่ื สงั คโลกไดร บั การพฒั นาใหฟ น คนื ขน้� มาอกี ครง้ั โดยความทมุ เทและเสยี สละของคนในพน้� ทก่ี ม็ กี ารออกแบบ
และพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑใหมีความหลากหลายเพ�่อตอบสนองความตองการของคนในยุคปจจ�บัน ควบคู
ไปกับการพัฒนาองคความรูเพ่�อตอยอดผลิตภัณฑบนพ�้นฐานของภูมิปญญาและรูปแบบด้ังเดิม โดยอาศัยการ
สนับสนุนจากหนวยงานตางๆ ซ่ึงนํานักว�ชาการหลากสาขาจากหลายสถาบันเขามาพัฒนาการผลิตเคร�่องสังคโลก
สุโขทัยอยางสมํ่าเสมอ ความตื่นตัวเหลาน้ีไมเพ�ยงแตเปนการตอลมหายใจใหกับเคร่�องสังคโลก อันเปน “มรดกพระรวง”
มรดกทางวัฒนธรรมจากบรรพบุรุษเทานั้น แตยังเปนกลไกสําคัญท่ีกอใหเกิดความภาคภูมิใจในทองถิ�น เปนเคร่�อง
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจในทองถิ�น ตลอดจนเปนเคร�่องบงบอกอัตลักษณของทองถิ�นใหมีช่ือเสียงเปนท่ีประจักษอีกครั้ง
ดุจในอดีตกาล

32

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

อยางไรก็ตาม เอกลักษณของผลิตภัณฑและ
ความโดดเดน ของภมู ปิ ญ ญาในการสรา งสรรคส งั คโลกนน้ั
ในทส่ี ดุ แลว ยงั สามารถตอ ยอดออกไปเปน ผลติ ภณั ฑ
ใหมๆ ที่ไมไดจํากัดอยูในรูปแบบเดิมๆ แสดงใหเห็นถึง
ความชาญฉลาดเชงิ ชา งของชาวแผน ดนิ พระรว งและ
ความลมุ ลกึ ของมรดกทางวฒั นธรรมทส่ี ง่ั สมซมึ ซาบ
อยูในทุกอณูสํานึก ลวดลายสังคโลกจึงมิไดปรากฏ
อยูบนภาชนะดินเผาเพ�ยงอยางเดียว แตไปงอกงาม
แหวกหวายอยูบน ผลิตภัณฑอ่ืนซ่ึงเพ่�มสุนทร�ยศาสตร
และมลู คา ดงั เชน การออกแบบสง�ิ ทอทอ่ี าศยั แรงบนั ดาลใจ
มาจากลวดลายสงั คโลกในโครงการจดั ทําผา ลายอยา ง
สุโขทยพัสตร รุนท่ี 2 ซ่ึงทําใหผูคนไดประจักษวา
คณุ คา ของสงั คโลกนนั้ กวา งไกลเกนิ กวา ขอบเขตของ
เครอ�่ งปน ดนิ เผาและสามารถเชอ่ื มโยงเขา กบั ภมู ปิ ญ ญา
แขนงอื่นไดอยางแนบสนิท เปนมรดกพระรวงที่ควร
สืบสาน และมีคานาภาคภูมิใจ

33

SANGKHALOK SUKHOTHAI CERAMIC WARES
THE ARTISTIC HERITAGE FROM THE CLAY TO AFAR

อางอิง

ธันยกานต วงษออน ดร.,ปร�วัตร ธรรมาปร�ชากร ดร., (2558).เคร�่องปนดินเผาสุโขทัยและศร�สัชนาลัย.
S.P.M. การพ�มพ

สงวน รอดบุญ.(2533).พ�ทธศิลปสุโขทัย.โอ.เอส.พร�้นติ�ง เฮาส.สํานักพ�มพ�โอเดียนสโตร
นร�ศรานุวัดติวงศ, สมเด็จเจาฟากรมพระยา.(2506).จดหมายระยะทางไปพ�ษณุโลก.พ�มพเปนอนุสรณใน

การฉลองวันประสูติครบ 100 ป.โรงพ�มพพระจันทร
อุทยานประวัติศาสตรศร�สัชนาลัย, (2533).จดหมายเหตุการอนุรักษเมืองโบราณศร�สัชนาลัย.กอง

โบราณคดี กรมศิลปากร
กรมว�ชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(2539).สุโขทัย รุงอรุณแหงความสุข.โรงพ�มพคุรุสภาลาดพราว
พ�เศษ เจียจันทรพงษ. (2538).สุโขทัย มรดกโลกทางวัฒนธรรม. โรงพ�มพคุรุสภาลาดพราว
มงกุฎเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. เที่ยวเมืองพระรวง. พ�มพครั้งที่ 10. [2521]: โรงพ�มพบํารุง

นุกูลกิจ.อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พระสุทธิอรรถนฤมนตร ณ เมรุหนาพลับ
พลาอิศร�ยาภรณ วัดเทพศิร�นทราวาส วันที่ 18 มีนาคม พ�ทธศักราช 2521
สันติ เล็กสุข�ม, ศ.ดร. (2555).ศิลปะสุโขทัย.พ�มพครั้งท่ี ๓.เมืองโบราณ
พ�พ�ธภัณฑสถานแหงชาติ กําแพงเพชร. (2557). นําชมพ�พ�ธภัณฑสถานแหงชาติ กําแพงเพชร.กรม
ศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
สฤษด์ิ สืบพงษศิร�,พันตํารวจโท.(2555).การศึกษาเปร�ยบเทียบประติมากรรมตุกตาดินเผาในสมัยสุโขทัย
กับสมัยอยุธยา.บัณฑิตว�ทยาลัย มหาว�ทยาลัยศิลปากร
ปร�วรรต ธรรมปร�ชากร.สังคโลกสุโขทัย: พัฒนาการ การกําหนดอายุและแรงบันดาลใจในการผลิต
เคร�่องสังคโลก.เอกสารประกอบโครงการสัมมนาก่ึงศตวรรษความกาวหนาการศึกษาทาง
โบราณคดีและประวัติศาสตรสุโขทัย.สํานักศิลปากรที่ 6 สุโขทัย. 10-12 ธันวาคม 2559
ณ โรงแรมสุโขทัยเทรเชอร ร�สอรท แอนด สปา
ราชบัณฑิตยสถาน.(2554).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554.
www.thaiceramicsociety.com/pd_art_celadon.php
www.sac.or.th/databases/inscriptions/index.php
www.silpathai.net
www.facebook.com/skt.his.park/

ขอขอบพระคุณ

คุณสมเดช พวงแผน
คุณณรงคชัย โตอินทร
คุณเกศ พ�ลดี
คุณมิตรชัย กุลแสงเจร�ญ
คุณวัลลภ รุจิรขจร



องคการบร�หารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน)


Click to View FlipBook Version