The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-2-จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by タクトMr.Takuto, 2019-11-28 02:15:12

บทที่-2-จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ

บทที่-2-จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ

บบทที่ 2 จริยธรรมจรรยาบรรณในวิชาชีพ

สอนโดย
อาจารย์สภุ าพร พรมโส
สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
คณะวิทยาการจดั การ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี

1.ความหมายของจรรณยาบรรณ

จริยธรรมวิชาชีพ หมายถึง อาชีพที่ต้องอาศัยความรู้
ความชานาญมาจากคาว่า จริยธรรม

จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้
ประกอบวิชาชีพแต่ละแขนงกาหนดข้ึนเพื่อรักษาและส่งเสริม
ปกป้องเกียรติคณุ ชื่อเสียงของสมาชิกในวงการวิชาชีพน้ัน ซึ่ง
อาจเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หรือไม่ก็ได้ ซึ่งมิได้ใช้สาหรับท่ัวไป
แต่จะใช้สาหรับควบคุมความประพฤติและเป็นแนวปฏิบัติ
สาหรบั เฉพาะกล่มุ คนในวิชาชีพนั้นๆ

1.ความหมายของจรรณยาบรรณ

ความหมายของวิชาชีพ

1. วิชาชีพ เปน็ อาชีพทีต่ ้องพึง่ พาความรู้โดยเฉพาะ
2. ผ้ปู ระกอบวิชาชีพ ต้องมีความร้คู วามเชีย่ วชาญ

เฉพาะในสาขาอาชีพนั้น ๆ
3. ต้องมีองค์กรวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ
4. ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (License)
5. มีความเป็นอิสระในการประกอบวิชาชีพ
6. มีกฎหมายรับรองว่าอาชีพน้ัน ๆ เป็นวิชาชีพ

2.ประโยชน์และความสาคญั ของจรรยาบรรณ

1. จรรยาบรรณช่วยควบคุมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพให้
อยู่ในคุณธรรมที่เหมาะสม

2. จรรยาบรรณเป็นเครือ่ งมือช่วยควบคมุ และส่งเสริมจรยิ ธรรมของ
ผู้ประกอบอาชีพได้ดี

3. จรรยาบรรณช่วยส่งเสรมิ ภาพพจน์ของผู้ประกอบวิชาชีพ
4. จรรยาบรรณช่วยลดปญั หาฉ้อราษฎรบ์ งั หลวง
5. จรรยาบรรณช่วยทาหน้าท่ีพิทักษส์ ิทธิตามกฎหมาย

ของผู้บรโิ ภค

3.องค์กรวิชาชีพ (Professional Organization)

องคก์ รวิชาชีพ (Professional Organization)
องค์กรวิชาชีพ อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท

1. องค์กรวิชาชีพท่ีเป็นทางการ หมายถึง องค์กรวิชาชีพท่ีจัดตั้งขึ้น
โดยกฎหมาย มีการกาหนดหน้าที่ขององคก์ รไว้ชดั เจน

2. องค์การวิชาชีพท่ีไม่เป็นทางการ หมายถึง องค์การวิชาชีพท่ี
บุคคลในอาชีพต่าง ๆ รวมกันจัดตั้งขึ้นเองเพื่อควบคุมดูแลแล
ส่งเสริมอาชีพของตน

4.บทบาทหน้าทีข่ ององค์การวิชาชีพ

บทบาทหนา้ ที่ขององค์การวิชาชีพ
1. กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ตรวจสอบและประกันคุณภาพวิชาชีพ
2. ออกใบประกอบวิชาชีพ และถอดถอน
3. ควบคุมดูแลกาประกอบวิชาชีพให้เกิดความเปน็ ธรรมแก่สังคม
4. กาหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ

4.บทบาทหนา้ ที่ขององคก์ ารวิชาชีพ (ตอ่ )

บทบาทหน้าทีข่ ององคก์ ารวิชาชีพ (ต่อ)

5. พัฒนาวิชาชีพ ทั้งด้านความร้แู ละบคุ ลากร
6. สร้างความศรทั ธาและความเชื่อถือในวิชาชีพ

ซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ
7. ส่งเสริมความสามคั คีและผดงุ เกียรติของสมาชิก

5.จุดมงุ่ หมายของการกาหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ

จดุ มุ่งหมายของการกาหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ

1.เพื่อรกั ษาชือ่ เสียง เกียรติคุณและศักดศ์ิ รขี องวิชาชีพนนั้ ๆ
2.เพือ่ ให้สมาชกิ ในวิชาชพี นั้น ๆ ทางานอยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. กอ่ ให้เกิดความเป็นธรรมแกผ่ ู้รบั บรกิ ารจากวิชาชพี น้ัน ๆ
4. เพื่อให้สังคมรับรแู้ ละเข้าใจ

6. ความแตกตา่ งระหว่างกฎหมายกับจรรยาบรรณ

ความแตกต่างระหวา่ งกฎหมายกบั จรรยาบรรณ

1. จรรยาบรรณเกดิ จากความต้องการของผู้ประกอบวิชาชพี ที่
รว่ มกนั กาหนดขึ้น เพือ่ ควบคุมกนั เอง

2. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณส่วนใหญเ่ กิดจากความสมคั รใจ
3. จรรยาบรรณเป็นอุดมคตทิ ส่ี งู กว่ากฎหมาย
4. จรรยาบรรณใช้ควบคมุ พฤติกรรมของกลุ่มคนเล็ก ๆ

7.ปญั หาเกี่ยวกบั จรรยาบรรณวิชาชีพ

ปญั หาเกี่ยวกบั จรรยาบรรณวชิ าชีพ

1. การผดิ จรรยาบรรณที่เกดิ เป็นประจาจนบางครั้งมีความรู้สกึ ว่าไมใ่ ช่ความผิด
2. การผิดจรรยาบรรณของพนกั งานมักถูกกดดันจากผู้บรหิ าร
3. การผิดจรรยาบรรณมีผลกระทบตอ่ ผลประโยชน์ขององค์กรและส่วนตวั
4. การระบวุ ่าผิดหรือจรรยาบรรณไม่มีเส้นขีดแบง่ หรือกาหนดไว้

อย่างชัดเจน

8.พฤติกรรมการละเมิดจรรยาบรรณ

พฤติกรรมการละเมิดจรรยาบรรณ

1. การประกอบธรุ กจิ ด้วยความโลภ มุ่งแต่กาไรเป็นสาคัญ
2. ปกปิดหรือรายงานการดาเนินงานทเ่ี ปน็ เท็จ
3. โฆษณาเป็นเท็จเกย่ี วกับคณุ ภาพสินค้าและบรกิ าร
4. ไม่ทาตามสญั ญาหรือข้อตกลงทไ่ี ด้เจรจากันไว้
5. ผลิตสินคา้ หรือบรกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพตา่ หรือต่าหรือมีผลกระทบต่อ

ผู้บริโภค

8.พฤติกรรมการละเมิดจรรยาบรรณ (ตอ่ )

พฤติกรรมการละเมิดจรรยาบรรณ (ต่อ)

6. บังคบั พนกั งานให้ปฏบิ ัตติ ามคาส่ังของผู้มีอานาจแม้คาสัง่ นั้นจะ
ผิดจรรยาบรรณหรือจรยิ ธรรม

7. กาหนดราคาหรือสินคา้ สูงเกินไปไมเ่ ปน็ ธรรม
8. กดขีไ่ ม่ให้สิทธพิ ื้นฐานแกพ่ นักงาน
9. เอารัดเอาเปรียบลูกจ้าง เอาเปรยี บแรงงาน
10. ไม่รับผิดชองต่อความเสียหายท่เี กดขึน้ ต่อลกู จา้ ง หรือบคุ คลอืน่

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

1. จรรยาบรรณของขา้ ราชการ

1.1 ไม่ควรประพฤตติ นฟุ่มเฟือย การจัดงานเลี้ยงงานสงั คมควร
จัดเท่าท่จี าเป็น

1.2 ไม่พึงรบั เงิน ของขวัญ หรือสิ่งตอบแทนราคาแพงจาก
ผู้ใต้บงั คับบัญชา หรือบุคคลทีม่ ใิ ชเ่ ป็นญาตสิ นิท

1.3 ข้าราชการฝา่ ยพลเรือน ตารวจ ทหาร ช้ันผู้ใหญ่ ควรปฏบิ ัติ
ให้เป็นตัวอย่างที่ดแี ก่ข้าราชการและประชาชน

1.4 ข้าราชการเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ควรถือหลักปฏบิ ัตริ าชการด้วย
ความเอื้อเฟื้อ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

1. จรรยาบรรณของข้าราชการ (ตอ่ )

1.5 ข้าราชการและเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ต้องอุทิศเวลาให้แก่
ราชการอย่างแท้จริง ไม่ควรใช้เวลาราชการไปหาความ
สาราญหรือประโยชน์ส่วนตัว

1.6 ข้าราชการและเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ควรให้ความร่วมมือร่วม
ใจกันทางาน ด้วยความสามัคคีอนั ดีต่อกัน โดยเหน็
ประโยชน์ของประเทศชาติ และคานึงถึงประโยชน์
ส่วนรวมเปน็ สาคญั

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

1. จรรยาบรรณของขา้ ราชการ (ต่อ)
1.7. ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ขี องรัฐควรเอาใจใส่และปฏบิ ัตหิ น้าที่

ได้รับมอบหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ ไม่ปลอ่ ยให้งาน
ไม่ปลอ่ ยให้งานในหน้าทีค่ ้างอยู่มาก ทาให้งานราชการดาเนินไป
ล่าช้า และควรให้ความสนใจศกึ ษาหาความรู้เก่ยี วกับงานในหน้าท่ี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

2. จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน

2.1 จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
2.1.1 พึงเปน็ ผู้มีศีลธรรมอนั ดี ประพฤตใิ ห้เหมาะสมกบั เปน็
ข้าราชการ
2.1.2 พึงใชว่ ิชาชพี ปฏิบตั ิหน้าทด่ี ้วยความซือ่ สัตย์
2.1.3 พึงมีทศั นคติทีด่ ี พัฒนาตนให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
รวมทงั้ เพิ่มพนู ความรู้ ความสามารถ ทักษะในงานท่ปี ฏิบตั ิหน้าท่ใี ห้
มีประสิทธภิ าพ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

2.2 จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน
2.2.1 พึงปฏบิ ัตริ าชการด้วยความสจุ รติ
2.2.2 พึงปฏบิ ัตริ าชการเตม็ ความสามารถ รอบรอบ รวดเรว็

ขยนั หมัน่ เพียร ถกู ตอ้ ง
2.2.3 พึงปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ตรงตอ่ เวลา ใชเ้ วลาราชการให้เกิด

ประโยชน์ อย่างเตม็ ที่
2.2.4 พึงดแู ลรักษาทรพั ย์สินของทางราชการอย่างประหยัด

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

3. จรรยาบรรณของนักธุรกิจ

3.1 พึงสจุ รติ ในการแจ้งคุณภาพสินค้าหรือบริการของตน
3.2 พึงเฉลี่ยผลกาไรอย่างทวั่ ถงึ แก่ผู้ร่วมงานทกุ คนตาม
อตั ราส่วนของความรบั ผดิ ชอบให้มคี วามเหมาะสมกับความเป็น
มนษุ ย์
3.3 พึงมีสว่ นรว่ มกบั นักบรกิ ารอื่นๆเพือ่ บริการสังคมอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพมากทีส่ ดุ สะดวก ปลอดภยั มากทีส่ ดุ
3.4 พึงให้เกียรติบคุ คลเหนือวัตถเุ สมอ
3.5 พึงถือว่าเกียรติสาคญั กวา่ ผลประโยชน์เสมอ
3.6 พึงมีเมตตาธรรมตอ่ บุคคลท่ดี ้อยกวา่ ไม่ว่าทางใด

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

3. จรรยาบรรณของนักธุรกิจ (ตอ่ )

3.7 พึงปฏบิ ัตติ ่อกรรมาชพี ในฐานะผู้ร่วมงาน ไม่ใชเ่ ครือ่ งจกั ร
3.8 พึงมีความรบั ผดิ ชอบผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาทุกคนดารงอาชพี ได้
อย่างเหมาะสมกับศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์
3.9 พึงส่งเสริมให้ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา มีความปลอดภยั ในการ
ทางาน ตามลักษณะของงาน มีเวลาพกั ผ่อนเพยี งพอ
3.10 พึงให้ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาแสดงความคิดเหน็ มีส่วนรว่ มในการ
ปรบั ปรุงกจิ การงาน
3.11 พึงส่งเสรมิ ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาเกบ็ หอมรอมริบ
3.12 พึงสนใจส่งเสรมิ การศึกษา และทายาทผู้ร่วมงาน

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

4. จรรยาบรรณของสื่อมวลชน

4.1 พึงตระหนักในความรบั ผิดชอบที่ออกทางสื่อมวลชนเสนอข่าว
อย่างถูกต้องเชือ่ ถือได้

4.2 เสนอข่าวตามทีม่ ีหลักฐาน หากมีการผิดพลาดควรแก้ข่าว
ด้วยความรบั ผิดชอบ

4.3 พึงเสนอความรู้ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อคนจานวนมาก
4.4 พึงเสนอความบนั เทิงท่ไี ม่เป็นพิษเปน็ ภัย
4.5 พึงสุจริตต่อหน้าทไ่ี ม่รบั อามิสสินจ้างให้บิดเบือนเจตนารมณ์
ของตน
4.6 ไม่พึงให้สือ่ มวลชนเปน็ เครื่องมือของผู้ใดผู้หนึ่ง
4.7 พึงถือว่าเกียรตแิ ละบคุ ลิกภาพของตนอยู่เหนือสิ่งอื่นใด

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

5. จรรยาบรรณของแพทย์

5.1 ปญั หาเก่ยี วกบั จรยิ ธรรมในวิชาชีพแพทยใ์ นปัจจบุ นั
5.1.1 ปญั หาเรื่องค่าตอบแทนสินบน
5.1.2 ปัญหาเก่ยี วกับผปู้ ว่ ยและการให้ความยนิ ยอม
5.1.3 ปญั หาการทดลองในมนษย์
5.1.4 ปัญหาเก่ยี วกบั โรคเอดส์
5.1.5 ปัญหาการปลูกถา่ ยอวยั วะ
5.1.6 ปัญหาเกย่ี วกับเทคโนโลยีช่วยเจริญพนั ธุ์

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

5. จรรยาบรรณของแพทย์

5.2 จรรยาบรรณวชิ าชีพแพทย์
5.2.1 พึงถือว่าการรักษาพยาบาลเปน็ อาชพี ไม่ใชธ่ รุ กจิ
5.2.2. พึงถือว่าการต่ออายุและให้สขุ ภาพเปน็ การให้ ทท่ี กุ

คนปรารถนาเหนือสิ่งใดท้ังหมด จะตรี าคาเปน็ ตวั เงินไม่ได้
5.2.3 พึงชว่ ยต่ออายุให้แม้ไมห่ วังได้อะไรตอบแทน แต่กม็ ี

สิทธิเรยี กร้องได้ตามสทิ ธิอันควร
5.2.4 พึงรักษาความลบั ของผู้ปว่ ยอยา่ งเตม็ ที่ ทร่ี ไู้ ด้จากการ

รักษาพยาบาล
5.2.5 พึงขวนขวายหาความรใู้ นภารกิจของตนให้ทนั สมัยเสมอ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

5. จรรยาบรรณของแพทย์

5.2 จรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์ (ต่อ)

5.2.5 พึงให้ยารักษาทเ่ี ป็นประโยชน์แกผ่ ู้ปว่ ยมิใชส่ ักแต่ว่าขาได้
5.2.6 ไม่พึงถือว่าผปู้ ว่ ยเปิดโอกาสให้ได้ทาการทดลอง
5.2.7 พึงถือว่าบุคคลมีคา่ เหนือวตั ถุ
5.2.8 พึงถือว่าเกยี รตอิ ยู่เหนือผลประโยชน์ใดๆ
5.2.9 พึงงดเว้นอบายมขุ ทุกอย่าง

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

แพทยสภาประกาศสิทธิของผ้ปู ่วยเมือ่ พ.ศ.2541 จานวน
10 ข้อ ดงั นี้

1. ผู้ปว่ ยทุกคนมีสิทธพิ ื้นฐานทีจ่ ะได้รับบริการด้านสขุ ภาพ
2. ผู้ป่วยมสี ิทธไิ ด้รบั บรกิ ารจากผู้ประกอบวิชาชพี ด้านสขุ ภาพโดยไม่มี
การเลือกปฏิบตั ิ
3. ผู้รับบรกิ ารทุกคนมีสิทธไิ ด้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ ชัดเจน
จากผู้ประกอบวิชาชพี ด้านสขุ ภาพ
4. ผู้ป่วยทีอ่ ยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายตอ่ ชวี ิตมสี ิทธไิ ด้รับการรกั ษา
รบี ด่วนตอ่ ผู้ประกอบวิชาชพี ด้านสขุ ภาพทันทตี ามความจาเป็น
5. ผู้ปว่ ยมีสิทธทิ จ่ี ะรับชื่อ สกลุ และประเภทของผู้ประกอบวิชาชพี ฯ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

แพทยสภาประกาศสิทธิของผู้ปว่ ยเมือ่ พ.ศ.2541 จานวน 10
ขอ้ ดงั นี้ (ต่อ)

6. ผู้ปว่ ยมีสิทธทิ ่จี ะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชพี ด้านสขุ ภาพอื่นที่
มิได้ให้บรกิ ารแก่ตนและมีสิทธขิ อเปลีย่ นผู้ให้บรกิ ารและสถานบริการได้

7. ผู้ปว่ ยมีสิทธไิ ด้รับการปกปิดข้อมลู เกี่ยวกับตนเองจากผู้ประกอบ
วิชาชพี ฯ

8. ผู้ป่วยมสี ิทธไิ ด้รับทราบข้อมลู อย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้ารว่ ม
หรือถอนตัวจากการเปน็ ผู้ถกู ทดลองในการทาวิจยั

9. ผู้ปว่ นมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลเฉพาะ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

แพทยสภาประกาศสิทธิของผ้ปู ว่ ยเมื่อ พ.ศ.2541 จานวน
10 ข้อ ดังนี้ (ตอ่ )

9. ผู้ปว่ ยมีสิทธทิ ่จี ะได้รบั ทราบข้อมูลเกีย่ วกบั การรักษาพยาบาลเฉพาะ
ของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมื่อรอ้ งขอ ทง้ั นี้ข้อมูลดงั กล่าวตอ้ งไม่
เป็นการละเมิดสิทธิส่วนบคุ คลอืน่
10. บดิ า มารดาหรือผู้แทนโดยชอบธรรมอาจใชส้ ิทธิแทนผปู้ ว่ ยทเ่ี ป็น
เด็กอายุยังไม่เกนิ สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพรอ่ งทางกาย หรือจิต ซึ่งไม่
สามารถใช้สทิ ธิดว้ ยตนเองได้

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6. จรรยาบรรณอาชีพคอมพิวเตอร์
6.1 ความหมายจริยธรรมคอมพิวเตอร์
เปน็ หลักเกณฑ์ที่ประชาชนตกลงรว่ มกนั เพื่อใช้

เป็นแนวทางในการปฏิบัติรว่ มกนั สาหรบั ตวั อยา่ งของ
การกระทาที่ยอมรบั กันโดยท่ัวไปว่าเปน็ การกระทาที่
ผิดจริยธรรม เชน่

1. การใชค้ อมพิวเตอรท์ าร้ายผู้อื่นให้เกิดความ
เสียหายหรือกอ่ ความราคาญ

ตอ่

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6. จรรยาบรรณอาชีพคอมพิวเตอร(์ ต่อ)
2. การใช้คอมพิวเตอรใ์ นการขโมยขอ้ มูล
3. การเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบคุ คลอืน่

โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
4. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแ์ วร์

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6. จรรยาบรรณอาชีพคอมพิวเตอร์ (ตอ่ )
โดยทั่วไปเมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกีย่ วกับการใช้
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึง
ใน 4 ประเดน็ ทีร่ จู้ กั กนั ในลักษณะตวั ยอ่ วา่ PAPA
ประกอบดว้ ย
1. ความเป็นสว่ นตัว (Information Privacy)
2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property)
4. การเขา้ ถึงขอ้ มลู (Data Accessibility)

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6.จรรยาบรรณอาชีพคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
6.2 ความหมายของอาชีพคอมพิวเตอร์

อาชีพคอมพิวเตอร์ หมายถึง ผู้ประกอบอาชีพหรือทางานที่เกย่ี วข้อง
กับคอมฯโดยเฉพาะมีรายไดไ้ ม่วา่ จะเป็นเงินเดือนคา่ จา้ งโดยตรงจาก
การทางานทางด้านคอมฯ ทั้งในอาชพี อิสระหรือเปน็ พนกั งานลกู จ้างใน
องค์กร“คอมพิวเตอร์ เปน็ อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์อยา่ งหนึง่ ทส่ี ามารถ
รบั โปรแกรมและขอ้ มลู ในรูปแบบท่สี ามารถรับได้ แล้วทาการคานวณ
เคลือ่ นย้ายข้อมลู ทาการเปรยี บเทยี บ จนกระทง่ั ได้ผลลัพธต์ ามท่ี
ต้องการ”

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

6.3 บทบาทความสาคัญอาชีพคอมพิวเตอร์

ในอดีตพนักงานท่ีทางานในสานักงานธุรกิจเอกชนหรือทาง
ราชการ จะมีพนักงานพิมพ์ดีดเสมียน พนักงานธุรการ เจ้าหน้าท่ี
เอกสารการพิมพ์ ซึ่งจะทาหน้าท่ีเก่ียวกับการพิมพ์เอกสารจดหมาย
พิมพ์บันทึกการประชุม การทารายงานต่างๆ ด้วยพิมพ์ดีดภาษาไทย
และพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษแบบธรรมดาหรือพิมพ์ดีดไฟฟ้า รวมท้ังการ
ทาหน้าท่ีถ่ายเอกสารอัดสาเนาเอกสารจานวนมากๆ ด้วยเครื่องอัด
สาเนา ซง่ึ เรียกกันว่า เครื่องโรเนียว เป็นงานทจ่ี ะตอ้ งทาเปน็ ประจาวัน

ตอ่

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6.3 บทบาทความสาคญั อาชีพคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันวิวัฒนาการได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย คอมพิวเตอร์
ได้เข้ามามีบทบาทอย่างกว้างขวางในทุกหน่วยงาน พนักงานต่าง ๆ ใน
หน่วยงานได้หนั มาใชค้ อมฯพิมพ์เอกสารหรือจดหมายแทนพิมพ์ดีดแล้ว
เพราะสามารถทางานได้รวดเร็วและเก็บข้อมูลต่าง ๆ ไว้ในเครื่องได้
ด้วย เมื่อต้องการจะใช้ข้อมูลเดิมก็สามารถเรียกออกมาใช้ได้ทันที

อาชีพคอมพิวเตอร์จึงเป็นอาชีพท่ีต้องใช้ความรู้ และสติปัญญามาก
ไม่แพ้อาชีพอื่นอีกท้ังยังเป็นอาชีพท่ีมีบทบาทและความสาคัญในการ
ช่วยพัฒนางานธุรกิจ งานอุตสาหกรรม และงานเกษตรกรรม ซึ่งเป็น
เส้นทางชวี ิตทางเศรษฐกิจที่สาคญั ของประเทศ

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6.4 จรรยาบรรณของอาชีพคอมพิวเตอร์

จรรยาบรรณของอาชีพคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยข้อพึงปฏิบตั ิ
และกฎข้อบงั คบั แต่กฎข้อบังคับน้นั ผูกมดั ผ้ทู ีเ่ ปน็ สมาชิกของ ACM
(Association of Computer Machinery) หลักการทวั่ ไปมีดงั นี้

1. สมาชิกจะต้องประพฤติตนอย่างซือ่ สัตย์ตรงไปตรงมา เช่น
จะต้องไม่นาข้อมลู ข่าวสารใดๆ ทีเ่ ปน็ ความลับของนายจ้างหรือลูกค้า
ไม่ว่าอดีตหรือปจั จุบันไปใช้โดยไม่ได้รับอนญุ าตล่วงหน้า

ผสู้ อน: อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

6.4 จรรยาบรรณของอาชพี คอมพิวเตอร์ (ตอ่ )
2. เพิม่ พูนความรู้ ความสามารถของตน และศักด์ิศรีของวิชาชีพ เช่น

สมาชิกพยายามออกแบบ และพัฒนาระบบที่ทางาน ตามที่ต้องการได้
อย่างเพียงพอ และตรงต่อความจาเปน็ ในเชิงปฏบิ ัติของนายจ้างหรือลูกค้า

3. ต้องรับผิดชอบในงานของตนเอง เช่น ต้องไม่พยายามที่จะ
ประกาศหรือจากัดตัวเอง ออกจากความรับผิดชอบ ต่อลูกค้าในความ
ผดิ พลาดทีต่ นได้กอ่ ขึ้น

4. ต้องปฏิบตั ิตัวด้วยความรบั ผิดชอบทางวิชาชีพ

ผูส้ อน: อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6.4 จรรยาบรรณของอาชีพคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

5. ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก
เจ้าของผลงาน

6. ไม่ประพฤติหรือกระทาการใดๆอันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ใน
วิชาชพี แห่งตน

7. ปฏิบัติหน้าท่ี ปฏิบัติตน ในวิชาชีพคอมพิวเตอร์ท่ีดี เป็นอย่างท่ีดี
8. ไม่เรียกรับสินบน เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง สาหรับตน หรือ

ผู้อื่นโดยมิ

ผู้สอน: อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพตา่ งๆ

6.4 จรรยาบรรณของอาชีพคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

9. ไม่ใช้ความรู้ความสามารถไปในทางล่อลวง หลอกลวง จนเป็นเหตุให้
เกิดผลเสียกับผู้อืน่

10. ไม่ตัดต่อภาพ เผยแพร่ แอบอ้าง บุคคลอื่นหรือกลุ่มอาชีพอื่น ให้ได้
รบั ความเสื่อมเสีย เสียหายต่อผอู้ ืน่ หรือองค์กร

11. ใช้ความรู้ในทางสร้างสรรค์ ไม่ใช้ในทางทาลายหรือกล่ันแกล้งให้ผู้อื่น
ได้รบั ความเสียหาย

ผูส้ อน: อาจารยส์ ุภาพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ

7. จรรยาบรรณของผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็

จรรยาบรรณของผ้ใู ช้อินเทอร์เน็ต ที่ควรปฏิบัติและถือเป็นมารยาท
ในการใช้อินเทอร์เน็ตมีอยู่ 10 ประการ ดังนี้
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผ้อู ื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดใู นไฟล์ของผ้อู ื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ การโจรกรรมข้อมลู ข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานทีเ่ ป็นเท็จ

ผ้สู อน: อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

9.จรรยาบรรณในวิชาชีพต่างๆ
7. จรรยาบรรณของผ้ใู ช้อินเทอร์เนต็ (ตอ่ )

6. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมผอู้ ื่นทีม่ ีลขิ สิทธิ์
7. ต้องไมล่ ะเมิดการใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอร์โดยทีต่ นเองไมม่ ีสทิ ธิ์
8. ต้องไม่นาเอาผลงานของผู้อ่นื มาเป็นของตน
9. ต้องคานึงถงึ สิ่งที่จะเกดิ ขึ้นกบั สงั คมอนั ติดตามมาจากการกระทา
10. ตอ้ งใช้คอมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท

ผู้สอน: อาจารยส์ ุภาพร พรมโส email : [email protected] สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี

จบการนาเสนอ


Click to View FlipBook Version