The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-5-พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by タクトMr.Takuto, 2019-11-28 02:27:39

บทที่-5-พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

บทที่-5-พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

บบทททท่ี 5ี่ 6พพาาณณิชิชยยอ์ อ์ิเลิเลก็ ก็ ททรรออนนิกิกสส์เบ์เบ้ือ้ืองงตตน้ น้

บทที่ 6 พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกสเ์ บือ้ งตน้

เนื้อในบทเรียน
1. ความหมายพาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์
2. ประวตั ิความเปน็ มา
3. คณุ สมบตั ิ 8 ประการของเทคโนโลยีอี คอมเมิร์ช
4. ประโยชน์ของอีคอมเมิรช์
5. ขอ้ จากัดอีคอมเมิรช์
6. กรอบการดาเนินงานของอคี อมเมิรช์
7. ประเภทของอีคอมเมิรช์
8. ปจั จยั ที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสรู่ ะบบอีคอมเมิร์ช
9. ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

1. ความหมายของพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์(ต่อ)

พาณิชย์ หมายถึง การทาธรุ กรรมผ่านสือ่
อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทาง
(E-Commerce) ที่เป็นอิเลก็ ทรอนิกส์เช่น การ
ซื้อขายสินคา้ และบรกิ าร การ
โฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ไม่ว่าจะเป็นโทรศพั ท์,โทรทศั น์,
วทิ ยุ, หรือแมแ้ ตอ่ ินเทอรเ์ น็ต

เป็นต้น

1. ความหมายของพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส(์ ตอ่ )

ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทา
ให้ลกู คา้ ท่อี ยู่ตา่ งประเทศ สามารถเข้ามาดตู ัวอยา่ งสนิ ค้า และตดิ ต่อซ้ือขายกนั
ได้ โดยผ่านทางส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์เทคโนโลยสี ารสนเทศทร่ี ดุ หนา้

- ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทาให้การ
สื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลายระดับ อีก
ทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีทาให้สามารถเสนอธุรกรรมท่ีหลากหลาย เช่น
การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินค้า การ
ขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมาย
ลายมือชอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ เข้ามาคมุ้ ครองเรอื่ งความปลอดภยั

2. ประวัติความเปน็ มา

- พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ (ElectronicCommerce)หรืออีคอมเมิร์ซ (E-
Commerce) เริ่มขึ้นเมื่อประมาณต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเริ่มจากการ
โอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ อานวยความสะดวกในเรื่องการโอนเงิน
ระหว่างธุรกิจด้วยกนั แต่การใช้งานยงั อย่ใู นแวดวงที่จากัด เนื่องจากมี
เฉพาะธุรกิจขนาดใหญ่เท่าน้ันที่ใช้บริการ และธุรกิจขนาดเล็กเพียง
ไม่กี่รายการทีเ่ ข้ามาใช้บริการ
- ต่อมาได้มีการพัฒนาเป็น การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Data Interchange) หรือ เรียกว่า ระบบ EDI

2. ประวัติความเปน็ มา (ต่อ)

- การแลกเปลี่ยนข้อมลู ทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Data Interchange) หรือ เรียกว่า ระบบ EDI เป็นเทคโนโลยี
แลกเปลี่ยนข้อมูลอิเลก็ ทรอนิกส์หรือเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ระหว่าง
องค์กร เพือ่ นามาประมวลผลธุรกรรมแบบอตั ิโนมตั ิ และได้ขยายวง
กว้างผู้ประกอบการรายต่างๆทีม่ ีส่วนร่วมกบั สถาบันการเงินในส่วนของ
ภาคการผลิต การค้าปลีก การบริการและธุรกจิ ประเภทอื่นๆ
- ต่อมาอินเตอร์เน็ตได้ถูกทดลองใช้โดยรฐั บาลของสหรัฐอเมริกาเมือ่
คศ. 1969เริม่ ใช้งานโดยบุคลากรทางเทคนิคภาครฐั นกั วิชาการ
นักวิจยั นักวิทยาศาสตร์ถอื เปน็ ก้าวสาคัญของการแนะนาของเครอื ข่าย
www.

2. ประวัติความเปน็ มา (ต่อ)

- ต่อมาอินเตอร์เน็ตได้ถูกทดลองใช้โดยรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา
เมื่อ คศ. 1969เริ่มใช้งานโดยบุคลากรทางเทคนิคภาครัฐ นักวิชาการ
นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ถือเป็นก้าวสาคัญของการแนะนาของ
เครือข่าย www.
ต้นปี คศ.1990รัฐบาลอนุญาตให้นาข่าวสารทางอินเตอร์เน็ตได้ท้ังแบบ
ขอ้ ความ รูปภาพได้ตั้งแต่นัน้ เป็นต้นมา อินเตอร์เน็ตจึงเป็นเทคโนโลยีที่นามา
ประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ผู้ใช้ได้รวมกลุ่มกันเข้ามามีส่วนร่วมในโลก www.
มากข้ึนตามลาดับ จาน้ัน“อีคอมเมิร์ช” จึงได้บัญญัติศัพท์ขึ้นต่อมาได้ขยาย
ตวั อยา่ งรวดเรว็ ไดไ้ ดค้ รอบคลุมธุรกรรมหลายประเภท เชน่ การโฆษณา การ
ซื้อขายสนิ คา้ การซ้ือหุน้ การทางาน การประมลู และการใหบ้ ริการลกู ค้า

3. คุณสมบัติสาคญั 8 ประการของเทคโนโลยีอีคอมเมิรช์

1. การมีอยูท่ กุ หนทกุ แหง่ (Ubiquity)
2. ขอบเขตครอบคลุมทวั่ โลก(Global Reach)
3. มาตรฐานระดบั สากลในดา้ นระบบสือ่ สาร(Universal Standards)
4. ความสมบูรณใ์ นขา่ วสาร(Richness)
5. ความสามารถในการโต้ตอบระหว่างกัน(Interactivity)
6. ความหนาแนน่ ของสารสนเทศ(Information Density)

7. ความเป็นเฉพาะตวั และการปรบั แตง่ ตามแตล่ ะบคุ คล
(Personalization/Customization)
8. ก่อเกดิ เทคโนโลยีทางสงั คม(Social Technology)

4.ประโยชน์อิคอมเมิรช์และข้อจากัด

4.1 ประโยชน์ต่อองค์กร

1) ขยายโอกาสจากธุรกจิ ซื้อขายสนิ คา้ ท่มี อี ยู่เดิมไปส่ตู ลาดระหว่าง
ประเทศด้วยการลงทนุ ต่า และยังไดล้ ูกคา้ ใหมต่ ามกล่มุ เปา้ หมายทมี่ ีอยู่
มากมาย

2) สามารถจดั หาวัตถุดบิ และบริการทัง้ ในและต่างประเทศไดอ้ ย่าง
รวดเร็ว

3) ลดตน้ ทนุ ได้กวา่ 90% ในดา้ นการสรา้ ง การประมวล การจดั จาหนา่ ย
การจดั เกบ็ และการเรียกใช้ โดยเฉพาะผลติ สินค้าแบบดจิ ติ อล เชน่
ซอฟตแ์ วร์ หรอื เพลง

4. ประโยชนอ์ ิคอมเมิรช์และข้อจากดั

4) ลดช่องทางการสื่อสารโทรคมนาคมได้เนื่องจากสือ่ สารทาง
อินเตอร์เน็ตสามารถดขู ่าวสาร ได้รวดเร็ว
5) ช่วยธุรกิจขนาดเล็กแข่งขนั กับธรุ กิจขนาดใหญ่ได้ เนื่องจากใช้
ช่องทางการสือ่ สารผ่านอินเตอร์เน็ต ซึง่ มีราคาถูกกว่ามาก
6) ส่งเสริมการตลาดทีม่ ุ่งไปยังลูกค้าเฉพาะกล่มุ

4. ประโยชน์อิคอมเมิรชแ์ ละข้อจากัด

2.ประโยชน์ต่อผูบ้ ริโภค

1) ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าหรือบรกิ ารด้วยราคาทีถ่ กู ทส่ี ุด โดยสามารถ
คน้ หาผ่านสือ่ ออนไลน์เพื่อเปรียบเทียบราคาสนิ คา้ จากเว็บไซต์อืน่ ๆ

2) ชว่ ยเพิม่ ทางเลือกให้แก่ผบู้ ริโภคในเลือกซื้อสินค้า และบรกิ ารจาก
ผู้ประกอบการทีม่ อี ยมู่ ากมาย

3) ลกู คา้ สามารถเลือกชมสินคา้ หรือบรกิ ารได้ตลอด 24 ชั่วโมง

4. ประโยชนอ์ ิคอมเมิรช์และขอ้ จากดั

2.ประโยชนต์ อ่ ผบู้ ริโภค

4) การเรียกดขู ่าวสาร สามารถดาเนนิ การใหส้ าเร็จภายในไม่กี่วัน

5) ผู้บริโภคโอกาสเข้ามามสี ่วนรว่ มในการตง้ั ราคาขายของตัวผลิตภณั ฑ์และการ
บริการได้

6) สามารถประมูลสินคา้ แบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประโยชนท์ งั้ ฝ่ายผู้ซื้อและผู้ขาย

7) เปิดโอกาสให้ผู้บรโิ ภคสามารถโต้ตอบ แลกเปลี่ยนข่าสารและประสบการณ์
ในรูปแบบของชมุ ชนออนไลน์

4. ประโยชน์อิคอมเมิรชแ์ ละข้อจากัด
3. ประโยชนต์ ่อสังคม

1) มีส่วนช่วยใหค้ นบางกล่มุ สามารถทางานทีบ่ ้านได้ เพื่อลดคา่ ใชจ้ า่ ยด้านการเดินทางเนอ่ื งจาก
การจรจรติดขดั อีกท้งั ชว่ ยลดการใชพ้ ลังงานเช้อื เพลิง และลดมลภาวะทางอากาศ

2) สร้างโอกาสแก่ผคู้ นทีอ่ าศัยอยู่ตามชนบท ให้สามารถเขา้ ถึงแหล่งศกึ ษาหาความรู้ทาง
วิชาชีพ การเรียนการสอนทางไกล และการดแู ลรักษาสุขภาพทถี่ ูกตอ้ ง ถูกสุขลักษณะ

3) อานวยความสะดวกดา้ นการสง่ มอบงานบรกิ ารจากภาครฐั ไปสู่สาธารณชน เชน่ สิทธิ
ขน้ั พื้นฐานของประชาชนที่พงึ ไดร้ ับจากภาครฐั ชว่ ยลดตน้ ทนุ ดา้ นการเผยแพร่ความรู้

5. ขอ้ จากดั อีคอมเมิร์ซ

1.ด้านเทคโนโลยี

- ขาดมาตรฐานการยอมรับระดบั สากล เรือ่ งคุณภาพ ความนา่ เชื่อถือ
- ช่องสัญญาณหรอื แบนด์วดิ ธขิ์ องระบบสือ่ สารโทรคมนาคมมีไมเ่ พียงพอ
- เทคโนลยี ีซอฟต์แวร์เปลี่ยนแปลงเรว็
- ความสลบั ซับซอ้ นของระบบต่างๆยากตอ่ การนามาบรู ณาการเขา้ ด้วยกนั
- มรี าคาแพงและปัญหาจากการเข้าถึงพรอ้ มๆกนั จานวนมาก

5. ข้อจากดั อีคอมเมิร์ซ

2. ขอ้ จากัดที่ไมเ่ กีย่ วข้องกับเทคโนโลยี

- ปญั หาเร่ืองกฎหมายท่นี ามาบงั คับใช้ โดยเฉพาะเร่ืองการจัดเก็บภาษี ไมช่ ดั เจน
- ขาดข้อบังคับทางกฎหมายท้งั ภายในและตา่ งประเทศและมาตรฐานอตุ สาหกรรม

- ระบบอีคอมเมริ ช์ ยังไมเ่ สถยี ร
- ขาดความเชอ่ื มั่นตอ่ การซือ้ ขายสนิ ค้าท่มี ไิ ด้สมั ผสั กับตวั สินคา้ จรงิ ๆและ

มไิ ด้พบปะกับผู้ขาย

- บางกลมุ่ มีความเช่ือวา่ การขายผ่านระบบอคี อมเมริ ์ชมรี าคาแพงและไมป่ ลอดภัย

6. กรอบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ช

การประยุกตใ์ ชอ้ ิคอมเมริ ์ซประกอบด้วย

การตลาดแบบ การคน้ หา ธนาคาร รฐั บาล
ขายตรง ออนไลน์ อิเลก็ ทรอนิกส์

6. กรอบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ

โครงสร้างพื้นฐานและส่วนสนับสนุนอีกโดยสว่ นสนับสนุน
5 ประการประกอบด้วย

1. คน (Peple)ได้แก่ ผู้ซื้อ ผขู้ าย คนกลาง ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและ
ระบบสารสนเทศรวมถึงพนักงานภายในและบคุ คลอื่นๆทม่ี ีส่วนเก่ยี วข้อง

2. นโยบายสาธารณะ(Publi Policy) นโยบายเกีย่ วกบั บทกฎหมายและ
นโยบายรวมถงึ ข้อบังคับต่างๆ เช่น การกดี กนั และภาษที ่ถี กู กาหนดโดยรัฐบาล
ท่คี วรยอมรบั ในระดับสากล

3.การตลาดและการโฆษณา (Marketing and Advertising) อิคอมเมิรช์ เป็น
ธรุ กจิ คลา้ ยกบั ธุรกิจอื่นๆท่ตี ้องสบับสนุนจากตลาดและการโฆษณาการ
ประชาสมั พนั ธ์

6. กรอบการดาเนินงานของอีคอมเมิร์ซ

โครงสรา้ งพืน้ ฐานและส่วนสนับสนุนอีกโดยสว่ นสนับสนุน
5 ประการประกอบดว้ ย

4. งานบริการสนบั สนุน(Support Services) เพื่อสนบั สนุนระบบอคิ อมเมิร์ช การอานวย

ความสะดวก ตัง้ แตก่ ารจดั สร้างเนอ้ื หา จนกระทง่ั ถงึ ระบบการชาระเงนิ และการส่งมอบ

5. คคู่ ้าทางธุรกจิ (Business Partnerships) การร่วมลงทุน

การแลกเปล่ียนและการไดเ้ ป็นคู่ค้าทางธุรกจิ ร่วมกนั ถอื เปน็ เร่อื งราวปกตขิ องธุรกจิ อิคอมเมิร์ช

7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

ปจั จบุ ันไดม้ กี ารนาเทคโนโลยีอีคอมเมริ ์ชมาประยกุ ตใ์ ชง้ านหลายประเภทด้วยกนั
และสามารถเปน็ ไปได้ทง้ั ธรุ กิจอีคอมเมริ ช์ แบบหวังผลกาไรและไมห่ วงั ผลกาไล ซึ่ง
เปน็ ไปตามรายละเอียดต่อไปนี้

1. ภาคธรุ กิจกบั ผู้บริโภค (B2C = Business-to-Consumer) คือ การทา
ธรุ กจิ ผู้ประกอบการกับผบู้ ริโภค เช่น การสงั่ ซื้อสินคา้ ผ่านเวบ็ โดยมีแคตาล็อกให้
ลูกคา้ เลือกชม เลือกซื้อตามใจชอบ ผู้บริโภคสามารถติดต่อกบั ทางรา้ นได้โดยตรง
ไม่ผ่านคนกลาง เชน่ เว็บ shopat7.com

ตวั อย่าง B2C

ตัวอยา่ ง 7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

B2C

สอนโดย:อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ราภฏั กาญจนบุรี

7. ประเภทของอิคอมเมิร์ช

2. ภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจ((Business to Business:B2B) ทั้งสองฝ่าย
สามารถเป็นได้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตด้วยกันหรือว่าเป็น
ผูผ้ ลิตคา้ ส่งเป็นต้น B2B จะส่งผลให้คคู่ ้าทางธรุ กิจท่ีสามารถสร้างสัมพันธ์
อันดีร่วมกันได้เป็นอย่างดีเน่ืองจากธุรกิจในยุคปัจจุบันจะเติบโตได้ต่าง
ต้องพง่ึ พากนั และกนั เช่น tradett.com

7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

ตวั อยา่ ง ภาคธรุ กจิ กบั ภาคธุรกิจ((Business to Business:B2B)

ตวั อย่าง ภาคธรุ กิจกบั ภาคธุรกิจ
(Business to Business:B2B)

7. ประเภ7ท.ขปอรงะอเคิ ภอทมขเอมงิรอช์ ิคอมเมิร์ช

3. ผู้บริโภคกับผู้บริโภค(Consumer-to-Consumer:C2C) คือ ประเภทที่ผู้บริโภค
ประกาศขายสินค้าแล้วผู้บริโภคอีกรายหน่ึงก็ซื้อไป เช่น ที่ อีเบย์ดอทคอม
(Ebay.com) เป็นต้น ซึ่งผู้บริโภคสามารถจ่ายเงินให้กันทางบัตรเครดิตได้ หรือการ
ประกาศขายสินคา้ มือสอง การแลกเปลย่ี นสนิ ค้า ผู้ซ้ือและผขู้ ายพอใจท้ังสองฝ่าย เช่น
Pantipmaket.com,taladrod.com

ตวั อย่าง C2C

7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

ตัวอยา่ ง C2C

7. ประเภท7ข.อปงรอะคิ เอภมทเขมอิรงช์ อิคอมเมิรช์

4. ผู้บริโภคกบั ภาคธุรกจิ (Consumer-to-Business:C2B) เปน็ การดาเนินธรุ กจิ
ระหว่างผบู้ ริโภคกับผู้ประกอบการการทาธุรกจิ ในลักษณะนี้ลกู คา้ กับผูป้ ระกอบการจะ
มีบทบาทย้อนศรสลับกัน เช่น เว็บไซต์ Priceline.com เป็นธุรกจิ ในสโลแกน
- Name Your Own Price หมายความว่า ผูบ้ ริโภคสามารถตั้งราคาและบริการได้
ดว้ ยตนเองไมว่ ่าจะเป็นต๋ัวเครื่องบนิ ท่ีพกั โรงแรม การเชา่ รถตู้ รวมถงึ จัดหาสถาบนั
การเงิน

7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

7. ประเภทของอิคอมเมิรช์

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกสม์ รี ูปแบบบริการทีห่ ลากหลายเชน่
- ภาครฐั กบั ประชาชน(Goverment-to-Citizents:G2C)
- ภาครัฐกบั ภาคธรุ กจิ (Goverment-to-Business:G2B)
- ภาครฐั กับภาครัฐ (Goverment-to Goverment -:G2G)
- ภาครฐั กับพนักงานของรฐั (Government-toEmployee:G2E)

ตวั อย่างเวบ็ ไซต์ กรมสรรพากร(rd.go.th(G2C), ระบบการจดั ซือ้ จดั จา้ งภาครัฐ
(gprocurement.go.th(G2B)

สอนโดย:อาจารยส์ ภุ าพร พรมโส สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ราภฏั กาญจนบุรี

5. ภาคธุรกิจกับพนักงาน(Business-to-Employ:B2E) เป็นรูปแบบการดาเนินธุรกิจ
เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น โดยการแลกเปล่ียนข่าวสารและสารสนเทศภายใน
องค์กร พนักงานสามารถรับข่าวสารได้ทางอินทราเน็ต ช่วยลดงานด้านเอกสารใช้
อิเลก็ ทรอนิกส์เข้ามาแทนและลดคา่ ใชจ้ า่ ยในองคก์ ร

6. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(E-Goverment) เป็นการดาเนินธุรกิจภาครัฐนาสื่อ
อิเล็คทรอนิกส์มาบริการแก่ประชาชนเพื่อปรับปรุงการบริการแก่ประชาชนมีการ
จัดเตรียมรูปแบบการบริการต่างๆที่ประชาชนท่ัวไปสามารถมาใช้บริการได้เช่นการย่ืน
แบบเสยี ภาษผี า่ นระบบอินเทอร์เนต็ ช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทาง(ตอ่ )

G2C

G2B

8. ปัจจัยทีม่ ีต่อการขับเคลือ่ นไปสูร่ ะบบอีคอมเมิร์ช

ตัวขบั เคลื่อนหลักก็มักจะประกอบด้วยปจั จยั หลักต่างๆดังต่อไปน้ี
1. ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี

- โครงสร้างพืน้ ฐานและสถาปตั ยกรรมของเครือข่ายการสือ่ สาร
- การพฒั นาเพือ่ การเข้าถึงเทคโนโลยี
- การขยายแบนด์วดิ ช์
- ความเร็วของการพัฒนาและนาเทคโนโลยีใหม่ๆไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม
2. ปจั จัยทางการเมือง การสร้างตัวบทกฎหมาย ความคิดรเิ ริม่ การจดั สรร
งบประมาณ
- ภาครัฐสนบั สนนุ การการพฒั นาเทคโนโลยีใหม่ๆ

8. ปัจจัยที่มีตอ่ การขบั เคลือ่ นไปสรู่ ะบบอีคอมเมิร์ช

- ออกกฎหมายเพือ่ บงั คบั ใชก้ ับข้อมูลอีเลค็ ทรอนิกส์ การดาเนนิ ธุรกรรมเก่ยี วกับ
สญั ญา ลายเซน็ ดิจิตอล

- นโยบายในเรื่องการจัดเกบ็ ภาษีการค้าอีเล็คทรอนกิ สเ์ พื่อนามาเปน็ รายได้ของ
แผ่นดิน เพื่อพฒั นาประเทศในดา้ นการศึกษาของประชากรเปน็ ต้น

3. ปัจจยั ทางสังคม เกีย่ วข้องกับระดบั การศึกษา ความกา้ วหน้าด้านเทคโนโลยี
การฝึกอบรม ทาให้มีความเข้าใจด้านเทคโนโลยีใหมๆ่ กอ่ ให้เกิดประโยชน์ได้แก่
- ทกั ษะแรงงาน
- จานนวนผู้ใชง้ านออนไลน์
- ระดับการศกึ ษาความก้าวหนา้ การใชค้ อมพิวเตอร์ และทกั ษะดา้ นไอที
- วัฒนธรรมทีม่ ตี ่อเทคโนโลยีแต่ละประเทศ

8. ปัจจัยที่มีต่อการขับเคลื่อนไปสรู่ ะบบอีคอมเมิร์ซ

4. ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ เกี่ยวข้องกับความมน่ั คงและสภาพเศรษฐกิจของ
ประเทศ

ไดแ้ ก่
- การเติบโตของเศรษฐกิจ
- รายได้เฉลีย่ ของประเทศ
- ต้นทนุ เทคโนโลยี
- อัตราค่าใชจ้ า่ ยช่องทางการสือ่ สาร
- ความก้าวหน้าด้านโครงสรา้ งพื้นฐานการพาณิชย์ของภาคธนาคารและ
ระบบการชาระเงนิ

9. ข้อดีและขอ้ เสียของการพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์

ข้อดีด้านองคก์ ร

1. องค์กรสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นจานวนมากจากท่ัวทกุ มมุ โลก ทาให้
สามารถ กระจายสินค้าได้อย่างรวดเรว็ และประหยัดค่าใช้จ่ายการดาเนินงาน
2. องค์กรสามารถจัดหาสินค้าและบริการจากผู้จาหน่ายแหล่งอืน่ ๆได้โดยตรง
และรวดเรว็
3. องค์กรสามารถเจาะกลุ่มของลกู ค้าที่เปน็ เป้าหมายได้โดยง่าย สะดวก และ
รวดเร็วโดยมีค่าใช้จ่ายทีต่ ่าลง

9. ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

ขอ้ ดีด้านลกู คา้

1. ลกู คา้ สามารถส่ังซื้อสินค้าและบรกิ ารได้ทุกสถานท่ี ตลอดเวลาผ่าน
ทางเว็บไซต์บนเครือข่าย Internet

2. ลกู คา้ สามารถซื้อสินค้าและบริการในราคาท่ลี ดต่ากวา่ เดิม
3. ลกู คา้ สามารถได้รบั ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกบั สินคา้ และบรกิ ารท่ี

ทันสมัยได้อยา่ งรวดเรว็ และตลอดเวลาผ่านทาง E-Mail หรือเวบ็ ไซต์

9. ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์

ข้อดีดา้ นสงั คม

1. ผู้คนเดินทางออกไปข้างนอกลดลง ทาให้ลดปญั หาการจราจร และลดมลพิษ
2. ผู้คนมีมาตรฐานในการครองชีพที่ดขี ึ้น เนื่องจากสนิ คา้ และบรกิ ารมรี าคาท่ถี กู ลง
3. สนับสนุนและส่งเสริมด้านเศรษฐกจิ โดยรวม ทาให้การเจรญิ เติบโต ม่ังคงั่ และ

ย่งั ยืนต่อไป

9. ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์

 ข้อเสียด้านเทคนคิ
1. มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพ ความปลอดภยั และระดบั ความนา่ เชื่อถือยังไม่
มีความแน่นอน
2. โปรแกรม หรือซอฟต์แวรอ์ ีคอมเมริ ์ซ มีการพฒั นาและปรับเปลี่ยน
บ่อยครงั้ และรวดเรว็
3. การประยุกตใ์ ช้อีคอมเมิรซ์ มีความสลับซับซอ้ น จาเปน็ ตอ้ งอาศัย
ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นในการสร้างและพัฒนา

9. ข้อดีและขอ้ เสียของการพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์

ขอ้ เสียด้านอืน่ ๆ

1. ตวั บทกฎหมายในบางมาตรา และด้านภาษียงั ไม่ได้รับการปรบั ปรงุ ให้มี
ความเหมาะสม
2. ผู้ขายและผู้ซื้อยงั มีความกังวลด้านความปลอดภัย
3. E-Commerce ยังเป็นสิง่ ใหม่สาหรับบางองค์กร ทาให้เกิดความลังเลที่
จะนามาใช้งาน

แบบฝึ กหดั ทา้ ยบท

1. บอกความหมายอคี อมเมิรช์ หมายถงึ อะไร
2. คุณสมบตั ิ 8 ประการประกอบดว้ ยอะไรบา้ งอธิบายพอสงั เขป
3. บอกประโยชนอ์ คี อมเมิรช์ อะไรบา้ ง
4. บอกประเภทอคี อมเมิรช์ มีอะไรบา้ ง
5. บอกขอ้ ดขี อ้ เสยี อคี อมเมิรช์ อะไรบา้ ง


Click to View FlipBook Version