The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-1-จริยธรรมทางธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by タクトMr.Takuto, 2019-11-28 02:03:54

บทที่-1-จริยธรรมทางธุรกิจ

บทที่-1-จริยธรรมทางธุรกิจ

วิชา จริยธรรมทางคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
รหสั วิชา 36021002

สอนโดย
อาจารย์สภุ าพร พรมโส

สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ คณะวทิ ยาการจดั การ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

ความหมายและความสาคญั ของจรยิ ธรรมใน
ชีวิตประจาวัน

มนษุ ย์เป็นสตั ว์สงั คมซึ่งจะอย่เู พียงคนเดียวไม่ได้ จำเป็นที่
จะต้องอย่รู วมกนั เปน็ พวก เปน็ หมู่ เปน็ เหล่ำ เพื่อต้อง
พึง่ พำอำศัยซึ่งกันและกัน เพรำะมนษุ ย์เรำมีควำมสำมำรถที่
แตกต่ำงกันต่ำงเพศ ต่ำงวยั ผ้รู ้หู ลำยท่ำนได้ให้คำจำกดั ควำม

คำว่ำ“มนษุ ย”์ ไว้มำกมำยหลำยหลำยควำมเห็น

ความหมายและความสาคญั ของจรยิ ธรรมใน
ชวี ติ ประจาวนั

พจนานุกกรมฉบบั มนษุ ยเ์ ป็นสัตว์ท่รี จู้ ักใช้เหตุผล เปน็ สัตว์ทม่ี ีจติ ใจสงู
ราชบณั ฑิตยสถาน

อริสโตเติล “มนุษย์ คือ สัตว์สังคม และเป็นสัตว์กำรเมือง”

ท่านพุทธทาส กลา่ วว่า มนุษยเ์ กดิ มาสาหรบั
ภกิ ขุ เอาชนะความทุกข์

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมใน
ชวี ติ ประจาวัน

สรปุ ไดว้ า่ มุนษยเ์ ป็นสตั วส์ ังคมและเปน็ สตั วก์ ารเมือง ร้จู ักใช้เหตผุ ลและ
เปน็ ผทู้ ี่มจี ติ ใจสงู มนษุ ยม์ กี ายและจิตสูงกวา่ สัตว์

1.ธรรมชาติ ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมใน
ของมนุษย์ ชีวติ ประจาวนั

มนุษยต์ ามธรรมชาติ มีความโหดร้าย ทารณุ ป่าเถ่อื น มี
ความเห็นแก่ตวั ชอบเอาเปรียบผู้ท่ดี อ้ ยกว่าตน ชอบอสิ ระ

ไมช่ อบการควบคมุ บงั คบั และชอบทาตามใจตนเอง

แต่เมอ่ื มนุษยไ์ ดร้ ับการศึกษา การอบรมพฒั นา ระบบ
จรยิ ธรรม การเมอื ง มนษุ ยก์ ็เปลยี่ นไปเปน็ ผูม้ จี ิตใจสูงข้ึน

รจู้ ักใชส้ ติปัญญาและเหตผุ ล ในการแก้ปัญหาชีวติ

มนษุ ยม์ ีควำมอยำก อยำกมี อยำกเป็น
ในสิ่งที่ไมจ่ ำเปน็ แกช่ วี ิต

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมในชวี ติ ประจาวนั

ธรรมชาติของ 1. มนษุ ยม์ กี ิเลส ธรรมชำติมนษุ ย์มกี เิ ลสโดยสันดำน กเิ ลสทำ
มนุษย์ แบ่งออก ให้มนษุ ย์เศร้ำหมอง มคี วำมเห็นผิด เข้ำใจผิด และทำผิด ทำให้
7 ประเภทดังน้ี เกิดควำมโลภ โกรธ หลง มคี วำมมัวเมำ หลงใหล มคี วำมอยำก
ไม่มีที่สนิ้ สดุ กเิ ลสทำให้เกิดควำมทกุ ข์ แกบ่ ุคคลและสงั คม

2. มนษุ ยม์ ตี ัณหา ตัณหำเป็นต้นเหตขุ องปญั หำ เช่น กำร
เบียดเบียน กำรพยำบำท กำรอำฆำต กำรจองเวร ควำม
ขัดแย้ง ตณั หำเปน็ ต้นเหตุของควำมทกุ ข์

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมในชวี ติ ประจาวัน

เพลโต ศตั รทู ี่แทจ้ ริง ของมนุษย์ คือ ตัณหาของมนษุ ย์
กล่าวว่า ซึ่งแบง่ ออกได้ 3 ประเภทใหญ่

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมในชวี ิตประจาวัน

3. มนุษยม์ คี วามชัว่ มนุษย์เกิดมำครั้งแรก ไม่มีควำมชวั่ ควำมช่วั
เกิดมำภำยหลงั ถำ้ มนษุ ย์ขำดสติ ประมำท และด้วยคุณธรรม
ควำมชั่วของมนษุ ย์เกิดข้ึนได้ดงั นี้

3.1 ความโลภ ได้แก่ ควำมอยำก อยำกไดข้ องผอู้ ื่นมำเป็นของตัวเอง เมือ่ เกิดควำมอยำก
พฤติกรรมก็เปล่ยี นไป รักมำก ควำมตระหนี่ ควำมหลอกลวง ฉอ้ โกง กำรลกั ขโมย และกำรปลน้

3.2 โทสะ หมำยถึง กำรคิดประทุษร้ำยผู้อืน่ เพรำะขำดเมตตำ เมื่อควำมโกรธขึน้ ย่อมลำ้ งผลำญ
ทำรำ้ ย กล่ำวคำหยำบ ว่ำร้ำย เข่นฆ่ำ และทำลำย

3.3 โมหะ หมำยถึง ควำมหลง เมือ่ ควำมหลงเกิดขึ้น เกิดกำรลบหลคู่ ณุ ท่ำน กำรตีตนเสมอท่ำน
ควำมอจิ ฉำรษิ ยำ ถือดี หวั ดื้อวำ่

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมในชวี ิตประจาวนั

4. มนษุ ยม์ ี 4.1 อโลภะ คอื ความไมอ่ ยากไดส้ ่งิ ใดๆของผ้อู ่นื
ความดี ต้นเหตุ
ของความดคี ือ 4.2 อโทสะ คือ ความไมค่ ดิ ประทษุ รา้ ย ไม่โกรธ ไม่อาฆาต ไม่
พยาบาท
กลุ ศลกรรมที่
เป็นต้นเหตุทาให้ 4.3 อโมหะ คือ ความไม่หลง ไม่อจิ ฉารษิ ยา ไม่
กระด้าง
เกิดความดี
1. ควำมเสียสละ รู้จกั แบ่งปนั เปน็ ต้นเหตไุ ม่อยำกได้ของผู้อื่น

2. เมตตำ กรุณำ อภัย เปน็ ต้นเหตุ ทำให้ไมค่ ิดประทษุ ร้ำย
ผูกโกรธ

3. มคี วำมเห็นชอบ และมสี ติปัญญำ มเี หตุ มผี ล เปน็ ต้นเหตุ
ไม่หลงงมงำย

ความหมายและความสาคญั ของจรยิ ธรรมในชีวติ ประจาวนั

ความโลภ ,ความโกรธ, ความหลง ความช่วั ของ
มนษุ ย์

ไม่โลภ ,ไมโ่ กรธ, ไมห่ ลงงมงาย ความดีของมนุษย์

ความหมายและความสาคญั ของจริยธรรมในชวี ิตประจาวัน

5. มนษุ ย์มีคุณธรรม เดวดิ 5.1 คณุ ธรรมทางธรรมชาติ คือ ควำมเอื้อเฟื้อ
ฮิวส์ กล่ำววำ่ มนษุ ยโ์ ดยพื้นฐำน เผื่อแผ่ ควำมรู้จกั ประมำณ ควำมอดทน
คิดถึงประโยชน์ของตัวเอง มี
5.2 คุณธรรมทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึน้ คือควำม
ควำมเหน็ อกเหน็ ใจ คิดถึง ยุติธรรม เพื่อให้เกิดประโยชน์แกส่ ังคม ส่วนรวม
ประเพณแี ละคณุ ธรรม ซึ่งมี 2

ประเภท คือ

ความหมายและความสาคญั ของจรยิ ธรรมในชวี ติ ประจาวนั

6. มนุษย์มปี ัญหาชีวติ หรือมคี วามทกุ ข์ ซึง่ เปน็ ลักษณะ
ทางธรรมชาติ ทีเ่ หมือนกันหมด เชน่ การเกิด การแก่
การเจบ็ การตาย เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้แล้ว
เป็นทกุ ข์ เป็นต้น

7. มนษุ ยม์ ีการเรียนรู้ เพรำะว่ำมนษุ ย์เปน็ สตั ว์ทีม่ ีสติปญั ญำและมี
เหตผุ ล สำมำรถเรียนรู้และปรับตัวเข้ำกับสงิ่ แวดล้อมได้อย่ำง
เหมำะสม
- ควำมชว่ั ร้ำยไม่ได้เปน็ สิ่งที่ฝงั ติดอยู่ในธรรมชำติของมนษุ ย์ แต่
มนุษย์ได้มำด้วยกำรเรียนรู้จำกสิ่งแวดลอ้ ม ควำมก้ำวรำ้ ว ควำม
ทำรณุ ควำมโหดร้ำย ถูกเสีย้ มสอนให้มนุษย์ต้องทำ

- ความหมายของจรยิ ธรรม พฤตกิ รรม
และมโนธรรม-

ธรรมทีเ่ ปน็ ข้อประพฤติปฏบิ ตั ิ ศลี ธรรม กฏศลี ธรรม

จรยิ ธรรม กฏเกณฑ์ความประพฤติของมนษุ ยม์ ีมโนธรรมและร้จู กั
หมายถงึ ไตร่ตรองแยกแยะความดี – ความช่ัว,ถกู -ผิด,ควร-ไม่ควร

,
เปน็ การควบคุมตัวเองและเป็นการควบคุมกันเองใน

- ความหมายของจริยธรรม พฤตกิ รรม
และมโนธรรม-

พฤติกรรม ไดแ้ กก่ ารกระทาทกุ อยา่ งของมนษุ ย์ ถ้ามีมโน
(behavior) ธรรมเข้ามาแทรกในจิตใจจะทาให้มพี ฤติกรรมทีด่ ี
หากไมม่ ีมโนธรรมในจิตใจ เรยี กวา่ พฤติกรรมอ

ศลี ธรรม

มโนธรรม ความสานึกช่ัวดี ที่จติ ใจสานึกได้

- ทีม่ าของจริยธรรม -

จริยธรรมเกิดข้ึนจากการอยู่ร่วมกันในสังคมของบุคคลที่มีความแตกต่างกัน
ทางดา้ นจติ ใจ อารมณ์ การกระทา ทาใหม้ ีการกระทาทีเ่ กดิ ปัญหาในการอยู่รว่ มกนั

สรุป คือ จริยธรรมเกิดข้ึนมาเพ่ือเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ และ เป็นหลักใน
การดารงชวี ิต ดังแนวทางตอ่ ไปนี้

1 จริยธรรมเกิดจากการยดึ ประเพณี

2 จริยธรรมเกดิ จากการยึดตามกฎหมาย

3 จรยิ ธรรมเกดิ จากศาสนา

- ทมี่ าของจรยิ ธรรม – (ต่อ)

1. จริยธรรมเกิดจากการยึดประเพณี หมายถงึ ประเพณเี ป็นเคร่อื งยึด
เหนยี่ วจิตใจของหมูค่ ณะทาใหค้ ณะอยรู่ อดได้ เพราะทุกคนรปู้ ระเพณี
แสดงถึงวถิ ชี วี ติ ของคนในแต่ละสถานที่ แตล่ ะเผ่าพนั ธ์ุ ทาให้อยรู่ ว่ มกันเปน็

หม่คู ณะ เชน่ ประเพณีแต่งงาน ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี
แห่เทยี นพรรษา ประเพณกี ารบวช ประเพณที อดกฐนิ ฯลฯ

2. จรยิ ธรรมเกิดจากการยดึ ตามกฎหมาย หมายถึง การมกี ฎหมายออกมา
กาหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทาผิดจรยิ ธรรมทาร้ายสังคมเปน็ โทษแกบ่ คุ คล
หรือสงั คม ทาให้บุคคลไดร้ บั ความเสียหายแตก่ ฎหมายไมใ่ ชจ่ ริยธรรม
กฎหมายเปน็ เพียงจรยิ ธรรมขนั้ ต่าทใี่ ชค้ วบคุมความประพฤตทิ ไี่ มด่ ี มี

บทลงโทษกาหนดไว้

- ทมี่ าของจรยิ ธรรม – (ตอ่ )

3. จริยธรรมเกิดจากศาสนา มนษุ ยม์ ีความเชือ่ ถอื ในลัทธิต่างๆมีการ
ออ้ นวอนบชู าสิ่งศักดิส์ ิทธิเ์ พือ่ ขอพร ขอความคุ้มครองในเรื่องต่างๆ

ให้ปลอดภัยจากเรื่องตา่ ง

- ความแตกตา่ งระหวา่ งจริยธรรมกบั กฎหมาย -

กฏหมาย จริยธรรม

1. เป็นการควบคมุ การกระทาของร่างกายและจิตใจอัน 1. จริยธรรมเปน็ สานึกแห่งความรู้สกึ ผิดชอบช่วั ดี
ทาใหผ้ ้อู น่ื ได้รับความเสยี หายเดือดรอ้ นโดยมี
บทลงโทษบญั ญตั ิไว้

2. เป็นการควบคมุ จากหนว่ ยงานของรฐั 2. เป็นความสมคั รใจในการกระทาสิ่งทถ่ี กู ตอ้ ง

3. เป็นข้อบงั คับขน้ั ต่าของ 3. จริยธรรมเป็นส่งิ ทีม่ ีคุณค่าทางจติ ใจ

- องคป์ ระกอบของจริยธรรม -

สว่ นประกอบ
3 ประการ

1. องค์ประกอบทางด้านความรู้เหตุรผู้ ล หมำยถงึ ควำมเขำ้ ใจควำม
ถกู ตอ้ งตัดสินแยกแยะควำมถูกตอ้ งออกจำกควำมไมถ่ ูกตอ้ ง

2. องค์ประกอบทางด้านอารมณ์ ควำมรู้สึกสำนึกผิดชอบชัว่ ดี ควำมเชื่อ
คือ ควำมพงึ พอใจ ศรัทธำ ควำมเลือ่ มใส ควำมนิยมที่รบั มำเปน็ แนวปฏิบัติ

3. องค์ประกอบทางดา้ นพฤติกรรมการแสดงออก หมำยถึง
พฤติกรรมที่บคุ คล ตดั สินใจได้ว่ำกระทำถกู หรือผิดในสถำนกำรณ์
แวดล้อมตำ่ ง ๆ

ความหมายคุณธรรม

คณุ ธรรม หมายถงึ
คุณงามความดีของบคุ คลทีม่ ี
จริยธรรมในจิตใจมีความเคยชินใน
ซึ่งเกิดจากการกระทา ดว้ ยตนเอง
การประพฤติดีอย่างใดอย่างหนึง่

ตรงกนั ขา้ มกับกเิ ลส

- การแบง่ ระดับของจริยธรรม 3 ขน้ั -

1. จริยธรรมข้ันพื้นฐาน หมายถึง หลักศีลธรรมอันเป็นศีลระดับต้น
ไดแ้ ก่ ศีลหา้ หรือ ธรรมะ 5 ประการ

2. จริยธรรมข้ันกลาง หมายถึง หลักศีลธรรมอันเป็นแม่แบบ
จริยธรรม ได้แก่ กุศลกรรมบถ 10

3. จริยธรรมขัน้ สงู หมายถึง หลักศีลธรรมท่ีเป็นแนวทางปฏิบัตเิ พือ่ ให้ ถึง
ทางดับทุกข์ เรียกว่า อริยมรรค คือ มรรค 8 มีองค์ 8 ประการ เรียกว่า
มัชฌมิ าปฏปิ ทา

- การแบง่ ระดบั ของจริยธรรม 3 ขน้ั -(ตอ่ )

1. เวน้ จากการฆา่ สตั ว์

1. จริยธรรมขั้น 2. เวน้ จากการลกั ขโมย
พน้ื ฐาน ศลี 5 3. เว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม
ประกอบดว้ ย 4. เว้นจากการพูดเทจ็

5. เว้นจากการด่มื สุราเมรัย

- การแบ่งระดับของจรยิ ธรรม 3 ข้นั -(ตอ่ )

2. จรยิ ธรรมข้นั กลาง แม่แบบจรยิ ธรรม ได้แก่ กุศลกรรมบถ 10 ประการ

กายกรรม 1. เวน้ จากการฆ่าสัตว์
2. เวน้ จากการลักขโมย
3. เวน้ จากการประพฤตผิ ิดในกาม

วจีกรรม 1. เวน้ จากการพูดเท็จ
2. เว้นจากการพูดสอ่ เสยี ด

3. เว้นจากการพดู หยาบคาย

เว้นจากการพดู เพ้อเจ้อ

3. จรยิ ธรรมขนั้ สูง หมายถงึ หลกั ศลี ธรรมท่ีเป็นแนวทาง
ปฏบิ ตั เิ พื่อให้ ถึงทางดบั ทกุ ข์ เรยี กว่า อรยิ มรรค คือ มรรค

8 มี องค์ 8 ประการ เรียกวา่ มชั ฌิมาปฏปิ ทา

มรรค 8 เรยี กว่า มชั ฌมิ าปฏปิ ทา เปรียบเสมือนทางสายกลางในการดาเนินชีวิต เพื่อให้พน้
ทุกขท์ ่ีเกดิ จากการเกิด แก่ เจ็บ ตาย สภาพของชีวิตมนุษย์ ความเศร้าโศก คร่าครวญ ความ
ทุกข์ ทางกาย ความทกุ ขท์ างใจ การต้องเจอกับปัญหาท่ีเราไม่ชอบ ไมป่ รารถนาแต่ต้องจายอม
การพลดั พรากจากส่งิ ท่รี ัก การปรารถนาสงิ่ ใดไม่ได้ กอ่ นใหเ้ กิดทุกข์ ได้แก่ ความรกั ความโลภ

ความโกรธ ความหลง ต้องมีสตไิ ตร่ตรองด้วยปัญญา ท่เี ขา้ ถึงหนทางดบั ทกุ ข์ ทเ่ี รยี กวา่
“มชั ฌิมาปฏิปทา”

- มัชฌิมาปฏิปทา หรือ มรรค 8 -

1. สัมมาทิฎฐิ 8. สมั มาสมาธิ

2. สมั มาสังกปั ปะ มรรค 8 7. สัมมาสติ
3. สมั มาวาจา
4. สมั มากมั มันตะ 6. สมั มาวายามะ
5. สมั มาอาชีวะ

- มชั ฌิมาปฏิปทา หรือ มรรค 8 -

- การแบ่งระดับของจรยิ ธรรม 3 ข้นั -(ตอ่ )

1. สัมมาทิฏฐิ ปัญญำอันเหน็ ชอบ มีควำมเชื่อในสิง่ ท่จี ริง
2. สัมมาสงั กปั ปะ และถูกต้อง ไม่หลงเชื่อในสิง่ ทีผ่ ดิ
3. สมั มาวาจา
กำรดำรชิ อบ คือกำรคดิ ท่ถี กู ต้อง

การพดู ดีมวี าจาดี ไมก่ ลา่ วเท็จ ไมส่ อ่ เสียด ไมย่ ุ
ยงให้แตกแยก วาจาถกู ตอ้ งตามกาลเทศะ กลา่ ว
วาจาท่อี อ่ นหวาน กลา่ ววาจาทีเ่ ป็นจรงิ

- มชั ฌิมาปฏิปทา หรือ มรรค 8 -

- การแบง่ ระดับของจรยิ ธรรม 3 ขัน้ -(ตอ่ )

5. สมั มาอาชวี ะ การประกอบอาชพี ชอบ อาชพี สุจรติ หาเล้ยี ง
ชีพโดยชอบไมท่ าให้ผ้อู ่ืนเดือดร้อน ไม่
เบียดเบยี นผ้อู ืน่

6. สมั มาวายามะ ความเพียรชอบ มือความเพยี รพยายาม ความ
ขยนั หมัน่ เพยี ร

7. สัมมาสติ การระลึกได้ ความมสี ตกิ ารกระทา ท่ีรตู้ วั อยู่
เสมอวา่ กาลังทาอะไรอยู่

8. สมั มาสมาธิ การรวบรวมจิตใจ ให้เป็นหนง่ึ มีสมาธิแน่ว
แนห่ ลกั ศีลธรรมทงั้ 8 ประการ

จรยิ ธรรมกับศาสนา ค่านยิ ม ประเพณี และ วฒั นธรรม

-

คา่ นิยม ประเพณี วฒั นธรรม เป็นที่มาของจริยธรรม หากสงั คมมีคา่ นิยม ที่ไมด่ ี
ไมเ่ หมาะสม และไมส่ มควรแกก่ ารนิยมชมชอบ จะทาให้สงั คมนนั้ ไมม่ ีจริยธรรม

คำ่ นยิ ม แนวความคิด ความประพฤตหิ รือการกระทาที่มี
(Value) คือ คณุ คา่ ควรแก่การปฏิบตั ิ เป็นเครื่องช่วยในการ

จรยิ ธรรมกับศาสนา คา่ นิยม ประเพณี และ วฒั นธรรม
-

จริยธรรมในสังคมไทยที่ดี และ แนวทางปฏิบัติคณุ ธรรม

1. ความรบั ผดิ ชอบ ความมงุ่ มน่ั ตงั้ ใจปฏิบตั ิหน้าที่ รับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ ที่
2. ความซอ่ื สัตย์ ได้รับมอบหมาย เต็มศกั ยภาพและความสามารถ

การประพฤตติ นอยา่ งเหมาะสมและซ่ือตรงตอ่ ตนเอง
และผ้อู ื่น

3. ความมีเหตุผล ความสามารถในการใช้ปัญญาในการรู้จกั ไตร่ตรอง

4. ความกตัญญู ความรู้สกึ ถึงบญุ คณุ การแสดงออกและการตอบแทน
กตเวที บญุ คณุ

จริยธรรมในสังคมไทยทีด่ ี และ แนวทางปฏิบัติคุณธรรม

5.การรกั ษา การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ วั ให้เหมาะสมกบั สถานที่และ
ระเบียบวนิ ัย สงั คม

6.ความเสียสละ การสละเพื่อละความเหน็ แกต่ วั การแบง่ ปันแก่ผ้อู ่ืน

7. ความสามัคคี ความพร้อมเพรียงเป็นนา้ หนง่ึ ใจเดียวกนั

8. การประหยัด การใช้สง่ิ ของเงินทองอยา่ งเหมาะสมแกอ่ ตั ภาพ

จริยธรรมในสงั คมไทยที่ดี และ แนวทางปฏิบัติคณุ ธรรม

9. ความยตุ ิธรรม การปฏิบตั ดิ ้วยความเที่ยงตรงเป็นธรรม

10 ความเมตตา มีจิตใจดีตอ่ ผ้อู ื่น ปรารถนาดีตอ่ ผ้อู ื่น มีความคิด
กรณุ า ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู

11.ความอุตสาหะ ความพยายาม อดทนพากเพียรไมท่ ้อถอยแม้มี
อปุ สรรค
12.มรรยาท
ทางกาย วาจา มรรยาทงาม มีสมั มาคาระตอ่ ผ้อู าวโุ สกวา่ พดู จา
สภุ าพ ออ่ นโยนถกู กาละเทศะ มีความนอบน้อม

หนา้ ที่ความเป็นพลเมืองดีตามหลักจริยธรรมของไทย

หน้ำที่ลกู หน้าที่ หน้ำที่ภริยำ
พลเมืองดี

หน้ำที่ประชำชน

หน้าที่ความเปน็ พลเมืองดีตามหลกั จริยธรรมของไทย
(ต่อ)

หน้าทีข่ องพอ่ แม่ ต้องเลยี ้ งดลู กู อยา่ งดี ให้การดแู ล ให้การศกึ ษาคอยอบรมบม่
นิสยั ให้เป็นคนดี มีมรรยาท ไมป่ ลอ่ ยปละละเลยตอ่ ลกู ต้องเป็นความหวงั ของลกู

หนา้ ทีข่ องลูก ต้องระลกึ ถึงพระคณุ อนั ย่งิ ใหญ่ของพอ่ แม่ มีความกตญั ญกู ตเวทีไม่
ปลอ่ ยให้ทา่ นทงั้ สองต้องเดียวดายอยกู่ บั ความเหงา

หนา้ ทีข่ องเพือ่ น ต้องมีความหวงั ดีซง่ึ กนั และกนั ไมด่ ถู กู ไมเ่ กลียด ไมอ่ าฆาต
แค้น ไมท่ บั ถมหรือทาลายใคร

หน้าที่ของสามี สามีต้องรับผดิ ชอบในด้านการปกครองครอบครัวและการหา
รายได้เลยี ้ งดคู รอบครัว

หน้าที่ความเปน็ พลเมืองดีตามหลักจริยธรรมของไทย
(ตอ่ )

หน้าทีข่ องภริยา เป็นกาลงั ใจให้สามี ให้ความสขุ แกส่ ามีและต้องต้อนรับแขกของ
สามีด้วยความยมิ ้ แย้มแจม่ ใสและด้วยความจริงใจ ไมน่ ินทาหรือบน่ สามีลบั หลงั

หน้าที่ของผนู้ า ปฏิบตั ิตนด้วยความเมตตาและด้วยความนอบน้อม ไมถ่ ือตวั
พดู จาสภุ าพออ่ นโยน เม่ือจะใช้อานาจก็ใช้ด้วยความยตุ ธิ รรม

หนา้ ทีข่ องประชาชน ปฏบิ ตั ิตามกฎตา่ ง ๆ ด้วยความเคร่งครัด ให้ความ
ร่วมมือในกิจกรรมที่ดี รักษาและปกปอ้ งเกียรตยิ ศของผ้นู าท่ีมีคณุ ธรรม

มารยาทการใช้อินเทอร์เนต็ กำรโพสต์ข้อควำมบนโลกอินเทอรเ์ น็ต
มรรยาทการใชศ้ ัพท์ ในสถำนทส่ี ำรธำรณะ กำรพูด พดู ให้เหมำะสม กำลเทศะ
มรรยาทการแต่งกาย กำรแต่งกำยให้เหมำะสมกับสถำนท่ี กำลเวลำ
มรรยาทการแสดงความเคารพ กำรแสดงควำมเคำพรตอ่ ผู้อำวุโสกว่ำตำม
ประเพณขี องคนไทย
มรรยาทการเป็นผ้ฟู งั ทด่ี ี ในขณะที่มกี ำรพูดคยุ กนั ระหว่ำงคู่สนทนำ ควรมี
มรรยำทในกำรเปน็ ผู้ฟงั ทด่ี ี ไม่ขัดแย้ง สนใจ ให้เกียรติคู่สนทนำ
มรรยาทในการรับประทานอาหารรว่ มกบั ผูอ้ น่ื

มวี ิชาอย่างเดียวไมพ่ อ ต้องมีจรรยาดว้ ย *ถงึ สงู ศกั ดิ์ อคั รฐาน
สกั ปานใด ถึงวิไล เลิศฟา้ สง่าศรี
*มวี ิชาเหมือนมที รัพยอ์ ยูน่ ับแสน ถึงฉลาด กาจกล้า ปัญญาดี
จะตกถิน่ ฐานใดก็ไมแ่ คลน ถา้ ไม่มี คณุ ธรรม กต็ า่ คน
แมย้ ากแค้นก็พอยังประทงั ตน
ถา้ ยง่ิ มจี รรยามารยาท สมบตั ิผดู้ ี
ยิง่ องอาจงามเลิศประเสรฐิ ผล อนั สาวแส้แรร่ วยสวยสะอาด
เพราะจรรยาราศีที่ชูตน แตถ่ า้ ไร้มารยาทอนั งามสม
ทาใหค้ นรกั ใคร่ร่วมไมต่ ร*ี (สุนทรภู่)
คงไม่มชี ายดีมาอบรม
มแี ตช่ มเพอ่ื พลางแลว้ ร้างไป

จบการนาเสนอ


Click to View FlipBook Version