The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-7ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by タクトMr.Takuto, 2019-12-08 02:25:43

บทที่-7ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

บทที่-7ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

บทที่ 7
ควำมรเู้ บือ้ งต้นเกี่ยวกบั ทรัพย์สินทำงปญั ญำ

หัวขอ้ นำเสนอ

1. ควำมรเู้ บ้อื งต้นเก่ยี วกบั ทรพั ย์สินทำงปัญญำ
2. ประเภททรพั ย์สินทำงปัญญำ
3. ควำมหมำยของทรัพย์สินทำงปญั ญำ
4. กำรละเมิดลิขสิทธ์ิ
5. ขอ้ ยกเวน้ กำรละเมิดลิขสิทธิ์
6. ขอ้ ยกเว้นสำหรับกำรอ้ำงอิง
7. ข้อยกเว้นสำหรบั สำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

1.ควำมร้เู บือ้ งต้นเกีย่ วกับทรพั ย์สินทำงปัญญำ

ทรัพย์สินทำงปัญญำ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา หมายถงึ ผลงานอนั
เกิดจากความคิดสรา้ งสรรคข์ องมนุษย์ ทรัพย์สินทางปัญญาเปน็
ทรัพย์สินอกี ชนดิ หนึง่ นอกเหนือจาก
สงั หำริมทรัพย์ คือ ทรพั ย์สินทีส่ ามารถเคลือ่ นย้ายได้ เช่น นาฬิกา
รถยนต์ โตะ๊ เปน็ ต้น และ
อสงั หำริมทรพั ย์ คือ ทรพั ย์สินทีไ่ มส่ ามารถเคลือ่ นย้ายได้ เช่น
บา้ น ทีด่ ิน เป็นต้น

2.ประเภททรพั ยส์ ินทำงปัญญำ

ประเภทของทรพั ย์สนิ ทำงปัญญำ โดยทวั่ ๆ ไป คนไทยสว่ นมำกจะคุ้นเคยกบั
คำว่ำ “ลิขสิทธิ”์ ซึ่งใช้เรยี กทรพั ยส์ ินทำงปญั ญำทกุ ประเภท โดยที่ถกู ต้องแลว้
ทรพั ย์สนิ ทำงปญั ญำ
• แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ที่เรียกวำ่

1. ทรัพย์สนิ ทำงอุตสำหกรรม (Industrial property) ทรพั ย์สินทางอตุ สาหกรรม
ไม่ใช่สงั หาริมทรพั ย์และอสงั หาริมทรพั ย์ทใี่ ช้ในการผลิตสินค้าหรือผลติ ภัณฑ์
ทางอตุ สาหกรรม แท้ทีจ่ ริงแล้ว ทรัพย์สินทางอตุ สาหกรรมนี้ เปน็ ความคดิ
สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกย่ี วกบั สินค้าอุตสาหกรรม

2. ลิขสิทธิ์ (Copyright)

3.ควำมหมำยของทรัพยส์ ินทำงปญั ญำ

1. ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคดิ สร้างสรรค์ในสาขา
วรรณกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรกี รรม งานภาพยนต์ หรืองานอืน่ ใด
ในแผนกวิทยาศาสตร์ ลิขสิทธิ์เป็นทรัพยส์ ินทส่ี ามารถซื้อ ขาย หรือ
โอนสิทธิกนั ได้ ทั้งทางมรดกหรือโดยวิธอี ืน่ ๆ การโอนสทิ ธิควรจะทา
เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร หรือทาเป็นสญั ญาให้ชัดเจน ซึ่งจะโอนสิทธิ
ทงั้ หมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้ อายกุ ารคมุ้ ครองลิขสิทธโ์ิ ดยทั่วไปจะ
มีตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และจะคมุ้ ครองต่อไปอกี 50 ปี นบั
จากผู้สรา้ งสรรคเ์ สียชวี ิต

3.ควำมหมำยของทรัพย์สินทำงปญั ญำ

2.สิทธิข้ำงเคียง (Neighbouring Right) คือ การนาเอางานด้าน
ลิขสิทธิอ์ อกแสดง เช่น นักแสดง ผู้บนั ทึกเสียงวิทยุและโทรทศั นใ์ น
การบันทกึ หรือถ่ายทอดเสียงหรือภาพ

3.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programe หรือ Computer
Software) คือ ชดุ คาสัง่ ท่ใี ชก้ ับคอมพวิ เตอร์ เพื่อกาหนดให้เครือ่ ง
คอมพิวเตอรท์ างาน
4. งำนฐำนข้อมลู (Data Base) คือ ข้อมูลทไ่ี ด้เก็บรวบรวมขนึ้ เพือ่ ใช้
ประโยชน์ด้านต่างๆ

3.ควำมหมำยของทรพั ย์สินทำงปัญญำ

5. สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสาคญั ทีร่ ฐั ออกให้เพือ่ คุ้มครองการ
ประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบ หรือการออกแบบผลิตภณั ฑ์
(Industrial Design) ทม่ี ีลกั ษณะตามทีก่ ฎหมายกาหนด ได้แก่
สิทธิบตั รการประดิษฐ์ สิทธบิ ตั รการ ออกแบบผลิตภณั ฑ์
อนสุ ิทธบิ ตรั

6. ผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภณั ฑ์อรรถประโยชน์
(Utility Model) ท่มี ีลกั ษณะตามทีก่ ฎหมายกาหนด

7. กำรประดิษฐ์ คือ ความคิดสรา้ งสรรคเ์ กี่ยวกบั ลกั ษณะ
องค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธี
ในการผลิต การรกั ษาหรือปรับปรงุ คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์

3.ควำมหมำยของทรัพย์สินทำงปญั ญำ

8. กำรออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ การคดิ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
เกีย่ วกับการทาให้รปู รา่ งลกั ษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความ
สวยงาม และแตกตา่ งกันไปจากเดิม

9. ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือทีเ่ รียกอีกอย่างหนึ่งว่า
อนสุ ิทธิบัตร (Petty Patent) จะมลี กั ษณะคลา้ ยกับ กำรประดิษฐ์
แต่เป็นความคดิ สร้างสรรคท์ ่มี ีระดบั เทคโนโลยไี ม่สูงมาก หรือเป็น
การประดิษฐ์คิดคน้ เพียงเล็กน้อย

3.ควำมหมำยของทรพั ยส์ ินทำงปญั ญำ

10. แบบผงั ภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังปรือแบบทท่ี าขึ้น เพื่อ
เสดงถึงการจดั วางและการเชื่อมต่อวงจร ไฟฟ้า เช่น ตวั นาไฟฟ้า หรือ
ตัวต้านทาน

11. เครอ่ื งหมำยบริกำร (Service Mark) คือ เพื่อแสดงว่าบริการท่ี
ใชเ้ ครือ่ งหมายน้ัแตกตา่ งกบั ริการท่ใี ชเ้ ครื่องหมายบริการของบคุคล
อื่น เช่น การบนิ ไทย ธนาคารกรุงไทย โรงแรม เปน็ ต้น

3.ควำมหมำยของทรัพยส์ ินทำงปัญญำ

12. เคร่อื งหมำยกำรค้ำ หมายถงึ เครือ่ งหมายหรือสญั ลกั ษณ์
หรือตราทีใ่ ช้กบั สินค้า หรือบรกิ าร ได้แก่
เคร่อื งหมำยกำรค้ำ (Trade Mark) คือเครือ่ งหมายท่ใี ชเ้ ปน็ ท่ี
หมายเกย่ี วข้องกับสินค้า เพือ่ แสดงว่าสนิ คา้ ทีใ่ ช้เครือ่ งหมาย
แตกต่างกับสินคา้ ทีใ่ ช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก
เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เปน็ ต้น

13.เคร่อื งหมำยรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมาย
การคา้ ทีเ่ จา้ ของเครือ่ งหมายรับรองใช้เป็นเครือ่ งหมาย หรือ
เกีย่ วข้องกับสินค้าหรือบริการของบคุ คลอื่น เพื่อเป็นการรับรอง
สินคา้ หรือบรกิ ารนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ชอ้ ยนางรา เป็นตน้

3.ควำมหมำยของทรพั ยส์ ินทำงปญั ญำ

14.ควำมลับทำงกำรค้ำ หมายถึง ขอ้ มูลทางคา้ ที่ยงั ไม่เปน็ ทีร่ ู้จัก
โดยท่ัวไป และมีมลู คา่ ในเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อมูลน้ันเปน็ ความลบั
และมีการดาเนินการตามสมควรเพือ่ รกั ษาข้อมลู น้ันไวเ้ ปน็ ความลับ

15. ชื่อทำงกำรค้ำ หมายถึง ชื่อทีใ่ ช้ในการประกอบกจิ การ เช่น โกดัก ฟู
จิ เป็นตน้

16. สิ่งบ่งช้ที ำงภมู ิศำสตร์ หมายถึง ชื่อ สัญลกั ษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้
เรยี กหรือใช้ แทนแหล่งภมู ิศาสตร์ และสามารถบ่งบอกวา่ สินคา้ ที่เกดิ
จากแหล่งภูมิศาสตรน์ ้ันเป็นสินค้าคณุ ภาพ ชื่อเสียง หรือคณุ ลกั ษณะ
เฉพาะของแหล่งภมู ิศาสตร์นน้ั เช่น มดี อรญั ญิก ส้มบางมด ผ้าไหมไทย
แชมเปญ คอนนคั เปน็ ตน้

4.กำรละเมิดลิขสิทธิ์

กำรละเมิดลิขสิทธโ์ิ ดยท่ัวไปแยกไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ
1. การละเมิดลิขสิทธ์โิ ดยตรงหรือขั้นต้น (primary infringement)
2. การละเมิดลิขสิทธโ์ิ ดยอ้อมหรือข้ันรอง (secondary infringement)

1.กำรละเมิดลิขสิทธโ์ิ ดยตรง หมายถงึ การกระทาตอ่ งานอนั มลี ิขสิทธ์ิ
โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจา้ ของลิขสิทธด์ิ ้วยการกระทาโดยหลักดังนี้ –
- ทาซ้าหรือดัดแปลง
*กำรละเมิดลิขสิทธใ์ิ นงำนโสตทัศนวสั ดุ ภาพยนตร์ และสิง่
บันทึกเสียงหมายถึงการกระทาดงั ต่อไปน้ี ทาซ้าหรือดัดแปลง
เผยแพรต่ ่อสาธารณชนให้เช่าต้นฉบบั หรือสาเนางานดังกล่าว

4.กำรละเมิดลิขสิทธิ์(ต่อ)

กำรละเมิดลิขสิทธิ์ในงำนบำงประเภท (ตอ่ )
* กำรละเมิดลิขสิทธิ์ในงำนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง

การกระทา ดงั ต่อไปนี้
- ทาซ้าหรือดดั แปลง
- เผยแพร่ต่อสาธารณชน
- ให้เช่าต้นฉบบั หรือสาเนางานดงั กล่าว

4.กำรละเมิดลิขสิทธิ์(ต่อ)

2. กำรละเมิดลิขสิทธโ์ิ ดยออ้ มหรือขนั้ รอง หมายถงึ การกระทาตอ่ งานซ่งึ
ทาขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ในลกั ษณะเปน็ การส่งเสริมให้งานท่ที าขึ้นโดยละเมิด
ลิขสิทธิ์นน้ั แพร่หลาย ได้แกก่ ารกระทาดังต่อไปน้ี

ขาย มีไวเ้ พื่อขาย เสนอขาย ให้เชา่ เสนอให้เช่า ให้เช่าซื้อ หรือเสนอให้เช่าซื้อ
- เผยแพรต่ ่อสาธารณชน แจกจา่ ยในลักษณะท่อี าจก่อให้เกดิ ความเสียหาย

แก่เจา้ ของลิขสิทธ์ิ
- นาหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจกั ร
- ผู้กระทารู้อยแู่ ล้วหรือมีเหตอุ นั ควรรวู้ ่างานน้ันได้ทาขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์
- เปน็ การกระทาเพือ่ หากาไร

5.ขอ้ ยกเวน้ กำรละเมิดลิขสิทธิ์

เงอ่ื นไขทว่ั ไปของขอ้ ยกเว้น มีหลกั เกณฑ์ ๒ ประการ

1. การกระทาตอ้ งไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลขิ สิทธ์ิ
ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์ และการกระทานั้นตอ้ งไม่กระทบ
กระทบกระเทือนถึงสิทธอิ นั ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธเ์ิ กินสมควร

ขอ้ ยกเว้นทว่ั ไป

ต้องอยภู่ ายใตเ้ งือ่ นไขตามวรรคหนึ่ง โดยกฎหมาย
บัญญตั ิถงึ การกระทาดังต่อไปน้ี

5.ขอ้ ยกเวน้ กำรละเมิดลิขสิทธิ์ (ต่อ)

1. วิจัยหรือศึกษางานน้ัน อันมิใชก่ ารกระทาเพือ่ หากาไร

2. ใชเ้ พื่อประโยชนข์ องตนเอง หรือบุคคลอื่นในครอบครัวหรือญาตสิ นิท

3. ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรบั รู้ถึงความเปน็ เจ้าของ
ลิขสิทธิน์ น้ั

4. ทาซ้า ดดั แปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏโดยผู้สอน เพือ่
ประโยชน์ในการสอนของตน อันมิใช่เพือ่ หากาไร

5.ขอ้ ยกเว้นกำรละเมิดลิขสิทธิ์ (ต่อ)

5. ทาซ้า ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทาบทสรุปโดย
ผู้สอนหรือสถาบันการศึกษา เพื่อแจกจ่ายหรือจาหน่ายแก่ผู้เรียนในช้ัน
เรยี นหรือในสถานบนั ศกึ ษา ทง้ั นี้ ตอ้ งไม่เป็นการกระทาเพือ่ หากาไร

6. นางานนน้ั มาใช้เปน็ ส่วนหนึง่ ในการถามและตอบในการสอบ

7. การทาซ้าเพื่อใชใ้ นห้องสมดุ หรือให้แก่ห้องสมุดอื่น
8.การทาซา้ บางตอนตามสมควรใหแ้ ก่บุคคลอื่นเพือ่ ประโยชน์ในการ

วิจยั หรือการศึกษา

6. ขอ้ ยกเว้นสำหรับกำรอำ้ งอิง

มีองคป์ ระกอบ ๓ ประกำร
1. การกล่าว คดั ลอก เลียน หรืออ้างอิงงานอนั มลี ิขสิทธ์นิ ั้น เปน็

เพียงการกระทาตอ่ งานตามสมควร
2. มีการรบั รู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิใ์ นงานนน้ั
3. อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ ๒ ประการ วรรคหนึ่ง คือ กำรกระทำ
ต้องไม่ขัดต่อกำรแสวงหำประโยชน์จำกงำนอันมีลิขสิทธ์ิ
ตำมปกติของเจ้ำของลิขสิทธ์ิ และกำรกระทำน้ันต้องไม่
กระทบกระทำเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมำยของเจ้ำของ
ลิขสิทธ์เิ กนิ

7. ขอ้ ยกเว้นสำหรบั สำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

1. วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. ใชเ้ พือ่ ประโยชนข์ องเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ ั้น
3. ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมกี ารรับรู้ถึงความเปน็

เจ้าของลิขสิทธิ์
4. เสนอรายงานข่าวทางสือ่ สารมวลชนโดยมีการรบั รถู้ งึ ความเปน็

เจ้าของลิขสิทธิ์
5. ทาสาเนาในจานวนท่สี มควรโดยบุคคลซึง่ ได้ซื้อหรือได้รับ

โปรแกรมมาจากบุคคลอืน่ โดยถูกต้อง เพือ่ เก็บไวใ้ ชป้ ระโยชน์
ในการบารงุ รกั ษาหรือป้องกนั การสูญหาย
6. ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพือ่ ประโยชน์
ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานท่มี ีอานาจตาม
กฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดงั กล่าว

7.ขอ้ ยกเวน้ สำหรบั สำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

7. นาโปรแกรมมาใชเ้ ป็นส่วนหน่งึ ในการถามและตอบขอ้ สอบ
8. ดัดแปลงโปรแกรมในกรณีทีจ่ าเป็นแก่การใช้
9. จัดทาสาเนาเพือ่ เก็บรักษาไว้สาหรบั การอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อ

ประโยชน์ของสาธารณชน


Click to View FlipBook Version