The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่-6-กฎหมายจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by タクトMr.Takuto, 2019-12-08 02:24:19

บทที่-6-กฎหมายจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง

บทที่-6-กฎหมายจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 6
กฎหมายจริยธรรมที่เกี่ยวขอ้ ง

ธรุ กรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์

เน้อื หาในบทเรยี น
1. ความเป็นมาของกฎหมายการพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
2. พรบ.วา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์
3. พรบ.ว่าด้วยทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
4. จริยธรรมธุรกิจและประเด็นทเี่ กีย่ วข้อง

กฎหมายวา่ ด้วยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

• พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 Electronic
Transactions Act B.E. 2544 (A.D. 2001)

• ผลบงั คบั ใช้ 3 เมษายน 2545
• เจตนารมณ์ เพือ่ รองรบั ผลทางกฎหมายของข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์และลายมือชือ่

อิเล็กทรอนิกส์
• ขอบเขตการบังคับใช้

1. ภาคเอกชน ใชท้ งั้ หมด (B2B, B2C และ C2C)
ยกเวน้นติกริ รมเฉพาะตัว (ครอบครัว และ มรดก)

2. ภาครฐั ใชบ้ ังคบั แก่กจิ กรรมภาครัฐ (G2B และ G2G

1. ความเปน็ มาของกฎหมาย
การพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์

กฎหมายการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ กาหนดขึน้ เพื่อ

1 กาหนดขึ้นมาใหท้ กุ ฝา่ ยทีเ่ ก่ยี วข้องกับการทาธุรกรรมปฏบิ ตั ติ าม

2.เพื่อให้เกิดความเรยี บร้อยในการดาเนินธุรกจิ

3. ประเทศไทยในปี พ.ศ.2541 การจดั ทาโครงการพฒั นากฎหมายเทคโนโลยี
สารสนเทศโดยมกี ารจดั ตั้งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ โดย
กฎหมายทค่ี ณะกรรมการเสนอขึ้นมาท้ัง 6 ฉบบั

1. ความเป็นมาของกฎหมาย
การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์

กฎหมายที่คณะกรรมการเสนอขึ้นมาทงั้ 6 ฉบับ มีดงั น้ี

1.กฎหมายวา่ ด้วยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (เดิมเรียกวา่ “กฎหมาย
แลกเปลีย่ นข้อมลู ทางอิเล็กทรอนกิ ส์”)

2. กฎหมายวา่ ด้วยลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์

3.กฎหมายว่าดว้ ยการโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
4.กฎหมายวา่ ด้วยการกระทาความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (เดิมเรียกวา่

“กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์”)
5.กฎหมายวา่ ด้วยค้มุ ครองข้อมลู สว่ นบคุ คล
6.กฎหมายวา่ ด้วยพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานสารสนเทศ

1. ความเป็นมาของกฎหมาย
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

กฎหมาย 3 ฉบับแรก เป็นกฎหมายที่สนบั สนนุ การประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในเชิงสรา้ งสรรค์ อนั เอื้อต่อการทาธรุ กรรมทาง

เทคโนโลยีสารสนเทศหรือการพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์

ส่วนกฎหมายฉบบั ที่ 4 และ 5 เปน็ มาตรการคมุ้ ครองสงั คมจากการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศท่ไี ม่เหมาะสม

กฎหมายฉบับท่6ี เป็นมาตรการลดความเหลือ่ มล้าของ
สังคมสารสนเทศ

1. ความเป็นมาของกฎหมาย
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

• ประกาศบังคับใช้แล้ว เช่น “พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยธรุ กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544”

• กฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั การพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีการบงั คับใช้อยู่
ในปัจจุบนั 2 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์
และกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

2. พรบ.ว่าดว้ ยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

• พระราชบัญญัติว่าด้วยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544 แต่เดิม
ชือ่ ว่า “กฎหมายแลกเปลี่ยนขอ้ มูลทางอิเล็กทรอนิกส์”

• ประกาศใช้เป็นกฎหมายทีช่ ือ่ วา่ “พระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544” ในวันที่ 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2544”
ซึง่ มีผลบงั คบั ใช้ต้งั แต่วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545

2. พรบ.วา่ ด้วยธุรกรรม
ทางอิเลก็ ทรอนิกส์

วิธตี ิดต่อสื่อสารเพือ่ การทาธรุ กรรมในปจั จบุ นั มีแนวโนม้ เปลยี่ นแปลงไป

สาเหตุทีต่ ้องมกี าร การนาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้งานแทน
ตราพระราชบญั ญตั ิ
การทาธรุ กรรมวิธีน้ีจะแตกต่างจากการทาธรุ กรรมทีม่ ี
กฎหมายรองรบั อยู่ในปัจจบุ นั เปน็ อย่างมาก

เพือ่ รองรบั สถานะทางกฎหมายของขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์
ให้เหมือนกับหลักฐานที่เปน็ หนงั สือ

2. พรบ.วา่ ด้วยธรุ กรรม
ทางอิเลก็ ทรอนิกส์

มาตรา 1 พ.ร.บ.นี้ ว่าดว้ ยธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544

มาตรา 2 พ.ร.บ.นใี้ ห้ใชบ้ ังคับเมือ่ พ้นกาหนดหนึ่งร้อยยีส่ ิบวัน(120
วนั ) นับแต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป
มาตรา 3 พ.ร.บ. นใี้ ชบ้ งั คบั แก่ธรุ กรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ที่
ดาเนินการใชข้ ้อมูลอิเลก็ ทรอนิกส์

2. พรบ.ว่าดว้ ยธรุ กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์

ลายมือชื่ออเิ ล็กทรอนิกส์

ลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ลายมือชือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์มผี ลทางกฎหมาย
(ตามมาตรา 9)

“ลายมอื ชอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์” (มาตรา 4) หมายถึง อักขระ ตัวเลข เสียง หรือสัญลกั ษณ์อืน่ ใดที่
สร้างขนึ้ ให้อยู่ในรปู แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ซึ่งนามาใช้ประกอบกบั ขอ้ มลู เล็กทรอนิกส์ เพื่อแสดง
ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ระบตุ วั บคุ คลผู้เป็น
เจ้าของลายมือชือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์น้ัน ตัวอย่างลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น

2. พรบ.ว่าดว้ ยธรุ กรรมทาง
อิเลก็ ทรอนิกส์

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

- การใชอ้ ีเมล์ (E-Mail) เพือ่ รับส่งข้อมลู ทีอ่ าจก่อให้เกิดผลผกู พนั ทาง
กฎหมายหรือไม่ก็ตาม แต่เมื่อเปน็ อีเมล์ทีแ่ ต่ละฝ่ายร้จู กั เคยใช้ หรือเชื่อว่าเป็น
ของอีกฝ่ายหนึง่ ก็ถือว่าเปน็ การเพียงพอในการอ้างอิงตัวตนของแต่ละฝ่าย
- การใชล้ ายเซน็ ดิจิตอล (Digital Signature) สาหรบั กรณีที่การทา
ธรุ กรรมมีความสาคัญหรือมือมูลค่าสงู เพือ่ ให้ทั้งสองฝ่ายเกิดความมั่นใจใน
การทาธุรกรรมมากขึ้น อาจนาเทคนิคลายเซน็ ดิจิตอล ซึง่ เปน็ การใช้วิธีเข้า
และถอดรหสั เพื่อพิสูจน์ตวั ตนของบคุ ลทีท่ าธรุ กรรมด้วยกนั

2. พรบ.วา่ ด้วยธรุ กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

 หากเอกสารอิเลก็ ทรอนิกสม์ ีการลงนามโดยใชล้ ายเซ็นดิจิตอล จะ
ถือวา่ เอกสารดังกล่าวเปน็ ตน้ ฉบับ (Original) หรือสาเนา (Copy)
• พิจารณาหลักกฎหมายทัว่ ไปแล้ว “เอกสารต้นฉบับ” จะหมายถึง
• เอกสารทีท่ าเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และลงนามโดยผู้มีอานาจที่จะลงนาม

- เอกสารต้นฉบบั จะมีเพียง 1 ฉบับเท่านั้น
- หากมีการทาสาเนา เอกสารดงั กล่าวจึงจะเรียกว่า “สาเนาเอกสาร”

2. พรบ.ว่าดว้ ยธรุ กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์

ลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์

• แต่สาหรับเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ อาจจดั อยู่ในสื่อหลายลกั ษณะ เช่น
แผ่นซีดีรอม (CD-ROM) แผ่นดีวดี ี (DVD) หรือข้อมูลทีป่ รากฏเปน็
แผ่นกระดาษเมื่อพิมพอ์ อกมา เป็นต้น จะเห็นว่าการระบวุ า่ เอกสารใดเปน็
ต้นฉบับ หรือสาเนาเอกสารจึงทาได้ยาก ซึง่ ต้องขึน้ อยู่กบั กลไกหรือเงอื่ นไขท่ี
แต่ละประเทศกาหนดไว้ เพื่อยืนยันความถกู ต้องของ

• ข้อสงั เกตอย่างหน่งึ คือ ต้นฉบับของเอกสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ จะอยใู่ นรปู
ของสือ่ (Medium) ซึ่งเปน็ หน่วยความจาดิจติ อลที่ต้องใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์
ช่วยอ่านเพื่อแสดงผล ซึง่ แตกต่างกับข้อมลู แบบทั่วไปที่ตน้ ฉบับจะอยู่ในรปู
ของสื่อทเ่ี ป็นกระดาษ

3. พรบ. ว่าด้วยทรพั ยส์ ินทางปญั ญา

1. สิทธิบัตร (Patent) และ 6. การผลิตผลิตภัณฑซ์ ีดี
อนสุ ิทธิบตั ร (Petty patent) (Optical Disc Production)

2. เครื่องหมายการค้า 7.แบบผังภูมขิ องวงจรรวม
(Trademark) (Integrated Circuit)

3. ลิขสิทธ์ิ (Copyright) 8.ความลบั ทางการค้า
(Trade Secret)
4. สิง่ บ่งชี้ทางภมู ิศาสตร์
(Geographical indications) 9. การระงบั ข้อพพิ าท
(Arbitration Mediation)
5. ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ไทย
(Traditional Knowledge)

3. พรบ. วา่ ดว้ ยทรพั ย์สินทางปัญญา

1. สิทธบิ ัตร (Patent) และอนุสิทธิบัตร (Petty patent) หมายถึง หนังสือสาคญั ท่รี ฐั
ออกให้เพือ่ คุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้น หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ทม่ี ีลกั ษณะ
ตามที่กาหนดไว้ใน “พระราชบัญญตั ิสิทธิบตั รพ.ศ. 2522”

3. พรบ. วา่ ด้วยทรัพย์สินทางปญั ญา

2. เครื่องหมายการค้า (Trademark) ” เปน็ ทรัพย์สินทางปญั ญาประเภทหนง่ึ ทไี่ ด้รบั ความ
คุ้มครองตามพระราชบญั ญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิ
เครื่องหมายการค้า (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ซึ่ง หรือสิ่งอืน่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะตามที่กาหนดไว้ใน
“พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าพ.ศ. 2534

2.1 ลกั ษณะของ “เครือ่ งหมาย” ซึ่งได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คา
ข้อความ ตวั หนงั สือ ตัวเลข ลายมือชือ่ กลุ่มของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวตั ถุ

2.2 ประเภทของเครือ่ งหมาย กฎหมายให้ความคุ้มครองเครื่องหมายทั้งหมด 4 ประเภท คือ
1. เครือ่ งหมายการค้า หมายถงึ เครื่องหมาย หรือยีห่ ้อ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพือ่ แสดงว่า

สินค้าทีใ่ ช้เครื่องหมายการค้าน้ันแตกต่างไปจาสินค้าของบุคคลอืน่ ตัวอย่างเช่น
สินค้าบะหมก่ี ง่ึ สาเรจ็ รปู

สินค้ายานพาหนะ

3. พรบ. วา่ ด้วยทรพั ย์สินทางปญั ญา
เครอ่ื งหมายการคา้ 4 ประเภท

1. เครื่องหมาย 3. เคร่ืองหมาย 3. เคร่ืองหมาย
รับรอง รับรอง
การคา้ 2.เคร่ืองหมาย
บริการ

3. พรบ. ว่าดสว้ิสนยินคทาค้ ยรา้ ายพั นายนพส์พาหินาหนทนะาะงปญั ญา

1. เครื่องหมายการคา้ หมายถงึ เครือ่ งหมาย หรือยี่หอ้ หรือตราท่ใี ชก้ ับสินค้าเพือ่
แสดงว่าสินค้าทใ่ี ชเ้ ครือ่ งหมายการค้าน้ันแตกตา่ งไปจาสินคา้ ของบคุ คลอืน่
ตวั อย่างเช่น สินค้าบะหมี่กึ่งสาเรจ็ รูป สินคา้ ยานพาหนะ

3. พรบ. ว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญา

• 2. เครื่องหมายบริการ หมายถงึ เคร่ืองหมาย หรือย่ีห้อ หรือตราที่ใช้กบั
บริการเพื่อแสดงวา่ ริการท่ีที่ใช้เคร่ืองหมายบริการนนั้ แตกตา่ งไปจาก
บริการของบคุ คลอื่น ตวั อยา่ งเชน่

3. พรบ. ว่าดว้ ยทรัพย์สินทางปญั ญา

• 2.3 เครื่องหมายรับรอง หมายถงึ เคร่ืองหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรอง
ใช้รับรองเก่ียวกบั แหลง่ กาเนิด สว่ นประกอบ วธิ ีการผลติ คณุ ภาพ หรือ
คณุ ลกั ษณะอื่นใดของสนิ ค้าของบคุ คลอ่ืน หรือใช้รับรองเก่ียวกบั สภาพ
คณุ ภาพ ชนดิ หรือคณุ ลกั ษณะของบริการของบคุ คลอื่น ตวั อยา่ งเชน่

เครื่องหมายรับรองเก่ียวกบั คณุ ภาพอาหาร

3. พรบ. วา่ ดว้ ยทรพั ยส์ ินทางปัญญา

4. เครื่องหมายรว่ ม หมายถึง เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการท่ใี ชใ้ น
บริษทั เดียวกนั หรือใชใ้ นองคก์ ารเดียวกัน ตวั อยา่ งเชน่ กลุ่มบริษัทในเครือซีเมนต์ไทย



3. พรบ. ว่าดว้ ยทรพั ยส์ ินทางปัญญา

สิทธิเจ้าของเครือ่ งหมายการค้า
แบ่งได้เปน็ 2 กรณี คือ

1. เคร่อื งหมายการคา้ ทีย่ งั ไมไ่ ด้จดทะเบียน เจ้าของเครือ่ งหมายการค้ามีสิทธทิ ่ี
จะใช้เครือ่ งหมายการคา้ ที่ยังไมไ่ ด้จดทะเบยี นนน้ั แต่จะฟ้องคดีเพื่อปอ้ งกันการ
ละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า หรือเรียกคา่ เสียหายตามพระราชบญั ญตั ิ
เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั เิ ครื่องหมาย
การค้า (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2543 ไม่ได้ เว้นแต่จะเปน็ กรณีลวงขาย

ต่อ

3. พรบ. วา่ ดว้ ยทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิเจ้าของเครือ่ งหมายการค้า
แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กรณี คือ

2. เครอ่ื งหมายการค้าที่จดทะเบยี นแล้ว เจ้าของเครือ่ งหมายการค้า เปน็ ผู้มี
สิทธแิ ต่เพียงผเู้ ดียวทจ่ี ะใช้เครื่องหมายการคา้ ของตนกับสินค้าท่ไี ด้จดทะเบยี นไว้
และกรณีทีม่ บี คุ คลอืน่ ละเมิดสิทธใิ นเครื่องหมายการค้าของเครือ่ งหมายการค้าท่ี
จดทะเบียนแล้วมีสทิ ธิทีจ่ ะฟ้องรอ้ งเรียกคา้ เสียหาย หรือฟ้องเพิกถอนการจด
ทะเบียนเครือ่ งหมายการค้าทเ่ี หมือนหรือคล้ายกบั เครือ่ งหมายการค้าของตนได้
นอกจากนั้นเจา้ ของเครือ่ งหมายการค้าทจ่ี ดทะเบียนแล้วยงั สามารถโอนสิทธิหรือ
รบั มรดกหรืออนญุ าตให้บุคคลอืน่ ใช้เครื่องหมายการค้าท่ีจดทะเบียนแล้วได้เช่นกัน

3. พรบ. วา่ ดว้ ยทรัพย์สินทางปญั ญา

3. ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง สทิ ธิแต่เพียงผู้เดียวทจ่ี ะกระทา การใดๆ เกีย่ วกับ
งานทผ่ี ู้สรา้ งสรรคไ์ ด้รเิ ริม่ โดยการใชส้ ติปัญญา ความรู้ และความสามารถในการ
สรา้ งสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น และงานสรา้ งสรรค์ ดังกล่าวจะตอ้ งเปน็
งานทม่ี ีลกั ษณะตามทีก่ าหนดไว้ใน “พระราชบัญญัตลิ ิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537”

4. สิ่งบง่ ชีท้ างภมู ศิ าสตร์ (Geographical indications) หมายถึง ช่ือ
สญั ลกั ษณ์ หรือสง่ิ อื่นใดท่ีบอกถงึ แหลง่ ผลติ ของสนิ ค้า และสามารถสื่อให้ผ้บู ริโภคเข้าใจ
ได้วา่ สนิ ค้านนั้ มีคณุ ภาพ หรือคณุ ลกั ษณะพิเศษแตกตา่ งจากสนิ ค้าที่ผลติ ในแหลง่ ผลิต
อ่ืน ซงึ่ สามารถนามาขนึ ้ ทะเบยี นได้ตาม “พระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองสงิ่ บง่ ชีท้ างภมู สิ าสตร์
พ.ศ. 2546”

3. พรบ. ว่าด้วยทรัพยส์ ินทางปญั ญา

สิง่ บ่งชท้ี างภมู ิศาสตรน์ ี้ อาจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลักษณะคอื

1. สิ่งบง่ ชที้ างภมู ิศาสตรโ์ ดยตรง (Direct Geographical
Indication) กล่าวคือ เป็นชือ่ ทางภูมิศาสตรท์ ่เี กี่ยวข้องกับ
สินคา้ นนั้ ๆโดยตรง เชน่ ไชยา เพชรบูรณ์ เปน็ ต้น

2. สิง่ บง่ ชที้ างภมู ิศาสตร์โดยออ้ ม (Indirect Geographical
Indication) กล่าวคือ เป็นสญั ลักษณ์ หรือสิ่งอืน่ ใดทีไ่ ม่ใชช่ ื่อทาง
ภูมิศาสตร์ ซึ่งใชเ้ พือ่ บ่งบอกแหล่งภูมิศาสตรอ์ ันเป็น
แหล่งกาเนิดหรือแหล่งผลิตของสินคา้ เชน่ สัญลักษณ์ประจา
อาเภอ หรือจังหวดั รูปย่าโม รปู หอไอเฟลเปน็ ต้น

5. ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นไทย (Traditional Knowledge) หมายถงึ องคค์ วามรขู้ อง
กลุ่มบคุ คลทอ้ งถิ่น (เช่น การผลิตอาหารและเครือ่ งดืม่ จากสมนุ ไพร) และรวมถึงงาน
ศิลปวัฒนธรรมพืน้ บา้ นท่มี ีอยใู่ นประเทศไทย (เช่น เพลง ดนตรี เรื่องเล่า ละคร หรือ
การฟอ้ นราพื้นบา้ น เปน็ ตน้ ) ซึ่งปัจจบุ ัน กาลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติ

6. การผลิต ผลิตภัณฑ์ซีดี (Optical Disc Production) หมายถงึ การผลติ แผ่น
บนั ทึกข้อมูลสาหรบั ใชบ้ นั ทึกข้อมูลโดยกวิธกี ารใด ๆ ที่สามารถถา่ ยทอดออกมาเปน็
ข้อมูลภาพ เสียง หรือท้ังภาพและเสียงในลกั ษณะตอ่ เนื่องกนั นอกจากนยี้ ัง
หมายความรวมถึงผลิตภณั ฑท์ ม่ี ีลกั ษณะตามที่กาหนดไว้ใน “พระราชบัญญัติการผลิต
ผลิตภัณฑ์ซดี ี พ.ศ. 2548”

7.แบบผังภมู ขิ องวงจรรวม (Integrated Circuit) หมายถงึ แบบ แผนผงั หรือภาพที่
ทาขึ้น ไม่ว่าจะปรากฏในรปู แบบหรือวิธใี ด เพือ่ ให้เห็นถึงการจดั วางให้เป็นวงจรรวม
รวมถงึ แผนผงั อื่นท่มี ีลักษณะตามที่กาหนดไว้ใน “พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแบบผังภมู ิ
ของวงจรรวม พ.ศ. 2543”

8.ความลบั ทางการค้า (Trade Secret) หมายถงึ ข้อมลู การค้า ซึ่งยงั ไม่รจู้ ักกนั โดยทวั่ ไป หรือยงั
เข้าไมไ่ ด้ในหมบู่ ุคคล ซึ่งโดยปกติแล้วต้องเกี่ยวข้องกับขอ้ มลู ดังกล่าว โดยเป็นขอ้ มูลทีน่ าไปใช้
ประโยชน์ในทางการค้า เนื่องจากการเปน็ ความลบั และเปน็ ข้อมลู ที่เจ้าของหรือผู้มหี นา้ ทคี่ วบคุม
ความลับทางการค้า ได้ใช้วิธีการที่เหมาะสมรกั ษา ไว้เป็นความลบั โดยมกี ารตราเป็น
“พระราชบญั ญตั ิความลบั ทางการค้า พ.ศ. 2545” เอาไว้





9. การระงับข้อพิพาท (Arbitration Mediation) โดยการจัดต้ัง “สานักงาน
ป้องกันและระงบั ข้อพิพาทด้านทรัพย์สินทางปัญญา” ซึ่งจะใช้กระบวนการ
อนุญาตตุลาการ สาหรับไกล่เกลี่ยข้อพิพาททั้งสองฝ่าย อันจะช่วย
ยุติปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ประหยุด และเป็นธรรม สาหรับยกระ
บวนการอนุญาโตตุลาการจะกาหนดไว้ใน “พระราชบญั ญัติพ.ศ. 2522”

ปัจจุบัน การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญายังถือเป็นปัญหาสาคัญของ
สังคมไทย เนื่องจากเทคโนโลยีท่ีทันสมัยทาให้ง่ายต่อการกระทาความผิด
นอกจากนี้ การตรวจสอบและจับกุมผู้กระทาความผิดยังคงทาได้ยาก อีกท้ังจิต
สานักของผู้ใช้ส่วนมากยังไม่เห็นว่าการกระทาดังกล่าวเป็นความผิด ดังนั้น
ถงึ แม้วา่ รฐั บาลและหน่วยงานที่เกย่ี วข้องจะมีมาตรการป้องกันหรือปราบปรามโดย
การออกกฎหมายข้างต้น แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมปัญหาท่ีเกิดขึ้นได้อย่าง
สมบูรณ์ การละเมิดลิขสิทธ์ิยังคงมีให้เห็นอยู่ท่ัวไป เช่น การดาวน์โหลดเพลง
ภาพยนตร์ หรือซอฟแวร์ทล่ี ะเมิดลิขสิทธ์ผิ ่านระบบออนไลน์ เปน็ ต้น

นอกจากบงั คบั ใช้กฎหมายเพื่อควบคุมการทาธุรกิจของผ้เู กี่ยวข้องทุก
ฝ่ายแล้ว ยังมีประเด็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การทาธรุ กิจ E-Commerce
ดังต่อไปนี้

1.จริยธรรม (Ethics) หมายถึง หลักเกณฑ์ทีส่ ังคมใช้เปน็ แนวทางใน
การปฏิบัติร่วมกัน ซึง่ บอกให้สมาชิกทราบว่า สิง่ ใดควรหรือไม่ควรทา
ตวั อย่างเกณฑ์ที่ใช่เป็นแนวทางปฏบิ ัติ เช่น ธรรมเนียม ประเพณี หรือ
ศีลธรรม เปน็ ต้น

4.จริยธรรม และประเดน็ ที่เกี่ยวข้อง

ข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายและจริยธรรม

รายละเอียด กฎหมาย จริยธรรม

การควบคุมพฤติกรรม ควบคมุ พฤตกรรมจากภายนอก ควบคุมพฤติกรรมภายใน หรือ

จิตใจ

ก า ร บั ญ ญั ติ เ ป็ น ล า ย มีการบัญญัติข้ึนอย่างเป็นทางการ ไม่มีการบญั ญัติไว้

ลกั ษณอ์ กั ษร โดยภาครฐั

การบงั คบั ใช้ ทุกคนต้องปฏิบตั ิตาม ผู้ใดจะปฏิบัติตามหรือไม่กไ็ ด้

การลงโทษ มี บ ท ล ง โ ท ษ ผู้ ก ร ะ ท า ผิ ด โ ด ย ไม่มีบทลงโทษที่ชัดเจน ส่วนมาก

บญั ญตั ิไว้อย่างชัดเจน เป็นการลงโทษจากสังคม (Social

Sanction)

4.จริยธรรม และประเด็นที่เกีย่ วขอ้ ง

 จริยธรรมทางธรุ กิจ (Business Ethics)
หมายถึง มาตรฐานการผลิตสินค้าและบริการ เพือ่ ให้ได้ผลตอบแทน

ตามคณุ ค่าของการลงทุนโดยเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย กล่าวคือ ท้ังเจ้าของ
กิจการ ผ้บู ริการ พนักงาน ผ้บู ริโภค เจ้าหน้ี ผ้ขู ายปัจจยั การผลิต ค่แู ข่ง
รบั บาล สิ่งแวดล้อม และสังคม ซึง่ มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับองค์กร
[ไชย ณ พล, 1993]

• ตัวอย่างจริยธรรมทางธุรกิจ E-Commerce เช่น

• ดาเนินธรุ กิจด้วยความสจุ ริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้

• ไม่หลบเลี่ยงการเสียภาษีต่อรัฐ หรือผลกั ภาระค่าธรรมเนียมในการทา
ธรุ กรรมให้กบั ผ้บู ริโภค

• ไม่เปิดเผยหรือนาข้อมลู สาคัญส่วนบุคคลของลูกค้าไปใช้ โดยไม่ไดรับอนุญาต

• ใช้วิธีการเก็บข้อมลู ลกู ค้าอย่างถูกต้อง และไม่ละเมิดสิทธิส่วนบคุ คล

• ผลิตสินค้าและปรบั ปรุงการให้บริการอย่เู สมอ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับ
ลกู ค้า อันจะทาให้ธรุ กิจมีผลประกอบการเพิ่มขึ้น ซึ่งนับเป็นการรบั ผิดชอบต่อ
ผ้ถู ือห้นุ ขององค์กรอีกทางหนึ่งด้วย

4.จริยธรรม และประเดน็ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

2. จรรยาบรรณ (Codes of Ethics) หมายถึง ประมวลความพฤติทีผ่ ู้
ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกาหนดขึ้น เพื่อรักษาและเสริมเกียรติติ
คุณ ชือ่ เสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อกั ษรหรือไม่ก็
ได้ [พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถานสถานพ.ศ. 2525, 1988]

• ตัวอย่างจรรยาบรรณทางธุรกิจ E-Commerce เช่น

- มีความซื่อสตั ย์ ไม่รับสินบน หรือทุจริตต่อวิชาชีพ

- ไม่ส่งเสริมหรือเผยแพร่ภาพ ข่าวสาร สินค้าหรือบริการทีเ่ ปน็ ภัยต่อ
สังคม หรือทาลายวฒั นธรรมที่ดีของประเทศชาติ

- เคารพสิทธิส่วนบุคคล โดยไม่ละเมิด เข้าถึง หรือนาข้อมูลของบุคคล
อืน่ ไปเดปิดเผยโดยไม่ได้รบั อนุญาต

- ไม่ปฏิบตั ิงานอืน่ ทีส่ ่งผลกระทบต่องานในหน้าทีข่ องตน หรือสร้าง
ความเสื่อมเสียต่อชือ่ เสียงขององค์กร

• ประเด็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ไ ด้แก่ การละเมิดสิทธิส่วนบคุ คลการเกบ็
ข้อมลู การหมิน่ ประมาท มาตรการค้มุ ครองผ้บู ริโภค และมาตรการ
ค้มุ ครองผ้ปู ระกอบการ

1. การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในการเก็บขอ้ มลู
การเก็บข้อมูลส่วนบคุ คลบางวิธีทีอ่ าจทาให้เกิดปัญหาการละเมิดสิทธิ
ส่วนบคุ คล และยงั ผิดต่อจรรยาบรรณทางธรุ กิจด้วย เพราะเป็นการเก็บ
ข้อมูลโดยที่ผ้ใู ช้ไม่รู้ตัว เช่น การใช้ Spyware หรือ Web Bugs เปน็ ต้น

• รวมถงึ ในบางองคก์ รทต่ี ิดตามพฤตกิ รรมการใช้อนิ เตอร์เน็ตของพนกั งานใน
ระหว่างปฏบิ ัตงิ านโดยที่ไมแ่ จ้งเตือนให้ทราบกอ่ น ก็ ถือเปน็ การละเมิดสิทธิส่วน
บุคคลเชน่ กัน อนั จะนาไปสกู่ ารฟอ้ งรอ้ งดาเนินคดีได้ องคก์ รจงึ จาเปน็ ต้องมี
แนวทางปอ้ งกนั ดังนี้

- แจ้งเงื่อนไขการนาข้อมูลไปใช้ให้ทราบ เช่น ใช่สาหรับทาธุรกรรมระหว่างผู้ใช้
กับองคก์ รเท่าน้ัน หรือองคก์ รสามารถนาไปใช้เพื่อวัตถปุ ระสงค์เชิงพาณิชย์อื่นๆ ได้
เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้จะต้องอา่ นและพิจารณาเงือ่ นไขดงั กล่าวให้รอบคอบด้วย

- ประกาศระเบียบวิธีการใชอ้ ินเตอร์เนต็ หากติดตามพฤตกิ รรมการใช้อนิ เตอร์เน็ต
ของพนกั งาน จาเป็นต้องประกาให้พนักงานทราบก่อน ไม่วา่ จะเปน็ ระเบยี บวธิ กี ารใช้
การตรวจสอบ และบทลงโทษผฝู้ ่าฝืน

- เลือกทาธุรกรรมกับเว็บไซต์ท่ีน่าเชื่อถือ เพราะองค์กรเหล่านี้จะมีจรรยาบรรณทาง
ธุรกิจท่ีน่าเชื่อถือ เพื่อไม่ให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ดังนั้น ผู้ใช้จึงสามารถม่ันใจว่า ข้อมูล
ของตนจะถูกเกบ็ ไว้เปน็ ความลับอย่างแน่นอน

2. การหมิ่นประมาท อินเตอร์เน็ตทาให้เกิดสงั คมเพื่อการตดิ ต่อสือ่ สาร ท่ผี ู้ใชส้ ามารถ
แสดงความคดิ เห็น หรือเผยแพร่ขอ้ มูลได้อย่างเสรี แต่ก็ตอ้ งระวังปัญหาการหมิน่
ประมาท (Defamation) หรือการใชถ้ อ้ ยคาท่พี าดพิงผู้อืน่ ให้เกดิ ความเสียหายด้วย ซึ่งผู้
ถูกพาดพิงสามารถฟอ้ งรอ้ งในศาลไดเ้ ช่นเดียวกบั การเผยแพรผ่ ่านสื่อทวั่ ไป ผู้ใช้จึงควร
ใชง้ านด้วยความระมดั ระวัง ดงั นี้

-ใชเ้ หตผุ ลและถอ้ ยคาทส่ี ภุ าพในการแสดงความคดิ เห็น

-พึงระลึกให้ดีก่อนการส่งอเี มล์ หรือการเผยแพร่ขอ้ มลู ใดทีอ่ าจทาให้บคุ คลอื่นได้รบั
ความเสียหาย

-จัดอบรมให้ความร้กู บั พนักงาน เพือ่ ให้ทราบถึงความผิดที่จะได้รับทาง
กฎหมายหากกระทาการดังกล่าว

-สาหรบั เวบ็ ไซต์ทีใ่ ห้แสดงความคิดเห็น ควรมีเครือ่ งมือทีผ่ ู้ใช้สามารถ
แจ้งเตือน หรือลบข้อความที่ไม่สภุ าพได้

3. มาตรการคุ้มครองผ้บู ริโภค

การซื้อ-ขายสินคา้ และบริการในธรุ กจิ E-Commerce สร้างความเสี่ยงกับผบู้ ริโภค
เพราะไมส่ ามารถจบั ตอ้ งสินคา้ จริงได้ ดังนั้น จงึ ต้องมีมาตรการคมุ้ ครองผู้บริโภค ซึง่
นอกจากการออกพระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผู้บรโิ ภค และการใช้ระบบความปลอดภัย
ของข้อมูล เช่น ลายเซนดิจติ อล (Digital Signatures) แล้ว ผู้บริโภคควรมีแนวทางใน
การปอ้ งกนั ตนเอง ดงั นี้

- เข้าถึงชื่อโดเมนของเว็บไซต์น้ันโดยตรง (เชน่ www.amazon.com) แทนการเข้าถงึ ผา่ น
ทางเว็บไซต์อื่น

- ตรวจสอบข้อมลู เบื้องต้นของผขู้ าย เชน่ ที่อยู่ เบอร์ไทรศัพท์ และหมายเลขแฟกซ์

- ตรวจสอบกับสมาคมหอการค้า หรือบริษัทที่ผขู้ ายอ้างถึง

- ตรวจสอบเงือ่ นไขการซื้อ เชน่ กระรับประกัน การชาระเงนิ และการสง่ คืนสนิ คา้

- เปรียบเทียบราคาสินค้าเมือ่ ซื้อผา่ นระบบออนไลน์กับราคราสนิ ค้าเมือ่ ซื้อผา่ นรา้ นค้า
ทั่วไป

- ตรวจสอบเครือ่ งหมายการค้า การรบั ประกันความปลอดภัย หรือรางวัลที่ผู้ขายไดร้ บั

- เลือกซือ้ สินค้าผา่ นทางเว็บไซต์ทม่ี ผี ใู้ ช้บริการจานวนมาก มเี พือ่ น หรือคนรู้จกั ใช้บริการมา

กอ่ น

• มาตรการคุ้มครองผปู้ ระกอบการ
ปญั หาทีผ่ ู้ประกอบการต้องเผชิญในการทาธุรกิจ E-Commerce มีหลาย

ประการ เช่น
- การปฏิเสธรายการสัง่ ซื้อ และการชาระเงินของผ้ซู ้อื
- การละเมิดลิขสิทธิ์ โดยดาวน์โหลดซอฟแวร์ที่องค์กรจัดเตรียมไว้ให้ แล้ว

นาไปจาหน่ายให้ผู้กบั ผ้อู ื่นต่อ
- การพาดพิงถึงตราสินค้า และเครื่องหมายการค้าขององค์กร
- การปลอมแปลง หรือลักลอบนาข้อมูลสาคญั ของผ้อู ื่นมาใช้

สาหรับแนวทางในการป้องกันตนเองของผปู้ ระกอบการ มีดังน้ี

- ใชบ้ ริการของเวบ็ ไซต์ทีม่ รี ะบบตรวจสอบการชาระเงินโดยเฉพาะ เช่น
Paypal.com เป็นต้น

- ตรวจสอบท่ีอยู่ของลูกค้าจากใบสั่งซื้อ ท่ีอยู่จริง และท่ีอยู่สาหรับจัดส่งสินค้า
หากพบว่ามีสิง่ ผิดปกติให้สอบถามกบั ธนาคารผู้อนมุ ตั ิบตั รเครดิตทันที

- นาซอฟต์แวร์ตัวแทนปัญญามาใช้ตรวจสอบรายการธุรกรรมท่ีตรงกับเงื่อนไขหรือ
เข้าข่ายความผิดปกติ เพือ่ ใหร้ ะบบสามารถยุตกิ ารทาธรุ กรรมได้ทันที

จบการนาเสนอ


Click to View FlipBook Version