The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

04 smart devices

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong nong, 2022-04-27 03:39:58

aa

04 smart devices

Keywords: aa

1

วิชาท่ี 4: การใชง้ านอุปกรณ์เคลือ่ นที่
โดยอาจารยอ์ รรณพ สมั พนั ธวรบตุ ร

หนว่ ยท่ี 1 เร่อื ง ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับอปุ กรณ์เคลื่อนที่

อุปกรณ์เคลื่อนท่ี คือ“อุปกรณ์ ท่ีใช้ในการพกพา ทางานได้เหมือนกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์”
เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่พกพาได้ จึงมีคุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็ก (พอจะถือไปในสถานท่ีต่าง ๆ ได้) น้าหนักเบา,
ใช้พลังงานค่อนข้างน้อย, มักใช้ท้าหน้าที่ได้หลายอย่าง, ติดตอ่ แลกเปล่ียนข่าวสารกับคอมพิวเตอร์ได้ และที่ส้าคัญ
คือ สามารถเพม่ิ หน้าทก่ี ารท้างานได้ โดยอาศัย Mobile Application ซ่ึงจะกลา่ วอยา่ งละเอียดในหน่วยที่ 3

ปัจจุบัน อุปกรณ์เคล่ือนท่ีที่หลายคนมักเข้าใจว่ามีเพียงแค่โทรศัพท์มือถือเพียงเดียวเท่านัน แต่
ข้อเท็จจริงแล้ว ยังมีอุปกรณ์เคล่ือนท่ีประเภทอื่น ที่หลายคนมักหลงลืมไป ซ่ึงก็คือ “PDA” หรือ เครื่องช่วยงาน
สว่ นบุคคลแบบดิจทิ ัล (องั กฤษ: PDA ยอ่ มาจาก Personal digital assistants) เป็นอุปกรณท์ ่ีสามารถพกพานา้ ติด
ตัวได้ เร่ิมพัฒนามาจากเครื่องออกาไนเซอรม์ าก่อน ซง่ึ พีดีเอท่ใี ชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารวินโดวส์โมบายมักถกู เรียกวา่ พอ็ ค
เกตพีซี แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม คอื

1. ปาล์ม (Palm) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิดตลาดมาก่อน แต่ก่อนนันใช้งานส้าหรับเป็น
เครื่องบันทึกช่วยจ้าต่างๆ เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ โดยจะใช้ระบบปฏิบัติการท่ีเป็นของตัวเอง
เรยี กวา่ Palm OS

2. พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อ้านวยความสะดวกได้ดีเช่นเดียวกับปาล์ม
โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะผลิตจากบริษัทท่ีมีช่ือเสียงด้านคอมพิวเตอร์ แตกต่างจากเคร่ืองปาล์มในเรื่องของ
ระบบปฏิบัติการท่ีใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็นหลัก ผู้ใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชินกับระบบปฏิบัติการของ
ไมโครซอฟท์มาก่อน สามารถใชง้ านได้งา่ ยมาก แต่จะกินกา้ ลังของเคร่ืองมากกว่าเครื่องปาลม์

2

แต่ในท่ีนี จะขอกล่าวถึงเพียงอุปกรณ์เคลื่อนที่ประเภท สมาร์ทโฟน (Smart Phone) หรือ
โทรศัพท์เคล่ือนท่ีเท่านัน เน่ืองจากกลุ่มของโทรศัพท์เคล่ือนท่ีได้พัฒนาขีดความสามารถให้มีการท้างานได้สูงกวา่ พี
ดเี อ (PDA) ในยคุ อดีตเปน็ อย่างมาก ถึงแม้คุณสมบตั โิ ดยรวมจะคล้าย ๆ กับพีดีเอ แต่ดว้ ยยุคสมัยท่ีเปล่ียนแปลงไป
ประกอบกับค่าความนิยมของโทรศัพท์เคล่ือนท่ีในปัจจุบันที่สูงขึน ท้าให้คุณสมบัติโดยรวมของอุปกรณ์ดังกล่าวมี
การพัฒนาไปมาก และแตกตา่ งจากในอดตี ทังรปู ลักษณท์ ่ีสวยงาม และขนาดที่เล็กลง ทนั สมยั ไม่เพยี งแต่สามารถ
ใชเ้ ป็นโทรศัพท์ ยังรวมถึงสามารถใช้เป็นกลอ้ งถ่ายรูป การใช้งานอินเตอร์เนต็ และยังใชเ้ ป็นเครอ่ื งบันทกึ ช่วยจดจ้า
ส่ิงต่าง ๆ ที่เกิดขึนในแต่ละวัน เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ ท้าให้อุปกรณ์เคลื่อนที่อย่าง “PDA”
ลดบทบาทและหมดความสา้ คัญลงไป

3

หนว่ ยท่ี 2 เรอื่ ง การจัดหาซอฟตแ์ วรแ์ ละระบบปฏบิ ตั กิ าร (OS) บนอุปกรณ์เคลอ่ื นที่

2.1 การจัดหาซอฟต์แวร์

แนวทางการจดั หาซอฟต์แวร์ สามารถด้าเนินการได้ 5 วิธี ดังนี

1. รูปแบบส้าเร็จ (packaged or ready-made software) เปน็ วิธที ่ีผใู้ ช้งานซือได้จากตัวแทน
จ้าหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตังจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซ่ึงมักมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการ
ใช้งานไวอ้ ยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถเลือกซือผ่านรา้ นตวั แทนจ้าหน่าย เม่ือรายละเอียดเกย่ี วข้องกับการจ่ายช้าระเงนิ ของ
ผซู้ ือไดร้ บั การอนมุ ัติแลว้ ก็สามารถ ดาวนโ์ หลด เอาซอฟตแ์ วร์มาใชง้ านได้ทันที

2. แบบว่าจ้างท้างาน (customized or tailor-made software) เหมาะส้าหรับองกรค์ท่ีมี
ลักษณะงานเฉพาะตนเองและไม่สามารถน้าโปรแกรมมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนัน จึงต้องผลิตซอฟต์แวร์ขึนมาเอง
โดยให้บุคคลภายนอกท่มี ีความเชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นผลิตท่ตี รงกับความตอ้ งการ

3. แบบทดลองใช้ (shareware) เป็นวิธกี ารท่ีบริษัทผู้ผลิตซอฟตแ์ วร์ได้ผลิตโปรแกรมที่ปรับลด
คุณสมบัติบางอย่างลงไป เพื่อให้ลูกค้าทดลองการใช้งานก่อน โดยมีการก้าหนดระยะเวลาทดลองการใช้งาน เช่น
ภายใน 30 วัน 60 วัน 90 วนั เป็นต้น

4. แบบใช้งานฟรี (freeware) เป็นโปรแกรมแจกฟรี เพื่อตอบสนองกับการท้างาน
ท่ีหลากหลาย ซึ่งผู้ใชไ้ ม่จ้าเปน็ ตอ้ งจ่ายเงนิ ใหก้ บั บริษทั ผู้ผลิต เปา้ หมาย คอื เผยแพร่ผลงานของตนเองให้เป็นทีร่ จู้ ัก
มากย่ิงขึนและทดสอบระบบท่ีพัฒนาขึน ซอฟต์แวร์ประเภทนียังมีลิขสิทธ์ิเป็นของผู้ผลิตอยู่ผู้อื่นไม่สามารถพัฒนา
หรือแกไ้ ขได้

5. แบบโอเพนซอร์ซ ( open source ) เป็นวิธีการขององค์กรท่ีมีกลุ่มบุคคลผู้มีความรู้และ
ความเชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาขึน เพื่อนให้ผู้ใช้น้าไปใช้ได้ฟรี รวมทังสามารถแก้ไข หรือพัฒนาโปแกรมต่างๆ
ให้เหมาะสมกับงานของตนเอง

ผู้ใช้สามารถติดตังโปรแกรมเพ่ิมเติม เพื่อเพ่ิมความสามารถให้กับอุปกรณ์เคลื่อนท่ีของตนเอง
โดยรูปแบบนันขึนอยู่กับแพลตฟอร์มของโทรศัพท์และระบบปฏิบัติการ โดย“ระบบปฏิบัติการ” (Operating
System หรือ OS) หมายถึง โปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ระบบท่ีท้าหน้าที่ควบคุมการท้างานของอุปกรณ์และ
โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ที่อยู่ภายในอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตังโต๊ะมีการใช้ระบบปฏิบัติการ (OS) คือ
Windows 10pro และมีการลงโปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเปน็ โปรแกรมประยกุ ต์เพอื่ ใช้งาน เป็นต้น ปจั จบุ ัน
ระบบปฏบิ ัติการ (OS) นอกเหนือจากท่ีมีการน้าไปใช้ในคอมพิวเตอรแ์ ลว้ ยังมีการน้าไปใชใ้ นโทรศัพท์มือถอื อีกดว้ ย
ทังนีก็เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพให้โทรศัพท์มือถือสามารถท้างานได้มากกว่าโทรศัพท์มือถือซ่ึงเรียกว่า Smartphone
โดยมรี ะบบปฏิบัตกิ าร (OS) บรรจุไวภ้ ายในโทรศพั ท์มือถอื

4

2.2 ระบบปฏิบัติการ (OS) บนอุปกรณเ์ คลอ่ื นท่ี แบง่ ออกเปน็ 6 ประเภท ดังนี

โดยระบบปฏิบัติการ (OS) ที่มีการใช้งานบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ หรือในโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน
มีหลายประเภทด้วยกัน เม่ือแบ่งตามบริษัทผู้ผลิตและอุปกรณ์ โดยระบบปฏิบัติการในแต่ละประเภทต่างมีข้อดี
ทีแ่ ตกต่างกนั ดังนี

1. Bada OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึนโดยบริษัทซัมซุง ซ่ึงมีความสามารถ
เช่นเดียวกับระบบปฏิบัติการ (OS) อื่นๆ โดยวัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบปฏิบัติการนีก็เพ่ือใช้งานกับ
โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ของซัมซุง ในตระกลู Wave นั่นเอง

2. Android เป็นระบบปฏิบัติการท่ีถูกพัฒนาขึนโดยบริษัท Google ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการ
แบบ Open Source ซ่ึงเป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดหรือแบบฟรี ดังนันผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ จึงนิยมน้า
ระบบปฏิบัติการประเภทนีไปใช้เป็นระบบปฏิบัติการในเครื่อง เช่น HTC, Samsung โดยเฉพาะในตระกูลของ
Galaxy ส้าหรับขอ้ ดขี องระบบนี คอื เป็นมาตรฐานเปดิ ทา้ ให้เกดิ ความหลากหลายและมี Application ให้เลือกใช้
มากมาย และสามารถเชื่อมต่อกับบริการต่างๆ ของ Google ได้สะดวก ไม่ว่าจะเป็น Gmail, Google Talk หรือ
Google Maps

3. Symbian OS เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึนโดยบริษัท Symbian โดยออกแบบมาเพื่อ
การท้างานในโทรศพั ท์มือถือย่ีห้อ Nokia

4. iOS เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนาขึนโดยบริษัท Apple ซึ่งใช้ในผลิตภัณฑ์ท่ีบริษัท Apple
เป็นผู้ผลิต ได้แก่ iPod, iPad และ iPhoneส้าหรับข้อดีของระบบนีคือ การมี Application (แอพลิเคช่ัน)
ที่หลากหลาย มีบริการ App Store และโปรแกรม iTunes ในการสนับสนุนการจัดการอุปกรณ์ มีเมนูการใช้งานที่
รวดเรว็ และเข้าใจงา่ ย และโปรแกรมสามารถตอบสนองไดอ้ ย่างรวดเร็ว

5. Black Berry เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนาขึนโดยบริษัท RIM ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์
ส่ือสารภายใตแ้ บรนด์ Black Berry ส้าหรับข้อดีของระบบนีคือ เปน็ ระบบปฏบิ ัติการที่มีความปลอดภัยสูงด้วยการ
เข้ารหัสข้อมูล ส่วนจุดเด่นส้าคัญอีกอย่างหนึ่งคือระบบการสนทนาผ่านแบล็คเบอร์ร่ี แมสเซนเจอร์ ซึ่งจะท้าให้
สามารถพิมพ์ข้อความสนทนากับเพ่ือนๆ ที่มีแบล็คเบอร์รี่เช่นกันเป็นแบบเรียลไทม์ ส่วนใหญ่นิยมน้ามาใช้งานใน
เชิงธุรกิจเป็นหลกั และสามารถบริหารจัดการพลงั งานแบตเตอร์ร่ีได้เป็นอยา่ งดี

6. Windows Mobile เป็นระบบท่ีพัฒนาขึนโดยบริษัท Microsoft ซ่ึงพัฒนาขึนมาเพื่อเป็น
ทางเลือกให้กับผู้ผลิตเพ่ือน้าไปใช้ในอุปกรณ์ของโทรศัพท์มือถือ เช่น HTC และ Samsung ในบางรุ่น ส้าหรับข้อดี
ของระบบนีคือ เป็นระบบที่สามารถท้างานร่วมกับ Application ของ Microsoft ได้เป็นอย่างดี เช่น Microsoft
Exchange, Microsoft Office เปน็ ตน้

5

โทรศัพท์เคล่ือนท่ีในแต่ละยี่ห้อหรือแตล่ ะค่าย ต่างมีระบบปฏิบตั ิการ (OS) ที่แตกตา่ งกันออกไป ทังนีเพื่อ
ความเขา้ ใจทีถ่ ูกต้องและตรงตามวตั ถุประสงค์ของการใชง้ าน ผทู้ ี่จะซือโทรศัพทเ์ คลอ่ื นทีค่ วรตรวจสอบรายละเอยี ด
ของระบบปฏิบัติการในข้อมูลเฉพาะของโทรศัพท์เคลื่อนท่ีแต่ละรุ่นให้ละเอียด เพราะโทรศัพท์เคลื่อนท่ีในปัจจุบัน
นอกจากจากความสามารถพืนฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพืนฐานของโทรศัพท์เคล่ือนที่เพ่ิมขึนมา เช่น
การส่งข้อความสัน SMS ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกมส์ การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด
กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส ทังนีก็เพ่ือการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงน้อย
คนนักท่ีจะเข้าใจถึงความหมายและประเภทของระบบปฏิบัติการ ซึ่งการท้าความเข้าใจในระบบปฏิบัติการแต่ละ
ประเภทจะช่วยให้เราสามารถเลือกซือโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ สมาร์ทโฟนได้อย่างมืออาชีพ และสามารถเลือกซือ
โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใชง้ าน

6

หนว่ ยที่ 3 เรอ่ื ง โปรแกรมประยกุ ต์สาหรับอุปกรณ์เคลอ่ื นที่ (Mobile Application) และการประยุกตใ์ ช้

3.1 โปรแกรมประยกุ ต์สาหรบั อุปกรณ์เคลือ่ นที่ (Mobile Application)

Mobile Application ประกอบขนึ ดว้ ยค้าสองค้า คือ Mobile กับ Application มคี วามหมาย ดงั นี

• Mobile คือ อุปกรณ์ส่ือสารท่ีใช้ในการพกพา ซึ่งนอกจากจะใช้งานได้ตามพืนฐานของโทรศัพท์
แล้ว ยังท้างานได้เหมือนกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่พกพาได้จึงมีคุณสมบัติเด่น คือ ขนาดเล็ก
น้าหนักเบาใช้พลังงานค่อนข้างน้อย ปัจจุบันมักใช้ท้าหน้าท่ีได้หลายอย่างในการติดต่อแลกเปล่ียนข่าวสารกับ
คอมพวิ เตอร์

• Application คือ ซอฟต์แวร์ท่ีใช้เพ่ือช่วยการท้างานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมี
สิ่งทเี่ รยี กวา่ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพอ่ื เป็นตัวกลางการใช้งานตา่ ง ๆ

Mobile Application เป็นการพัฒนาโปรแกรมประยกุ ต์ส้าหรับอุปกรณ์เคลอื่ นที่ เชน่ โทรศพั ทม์ อื ถือ
แท็บเล็ต โดยโปรแกรมจะช่วยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค อีกทังยังสนับสนุน ให้ผู้ใช้โทรศัพท์ได้ใช้ง่าย
ยงิ่ ขึน ในปัจจุบันโทรศัพท์มือ หรอื สมารท์ โฟน มีหลายระบบปฏิบัติการที่พฒั นาออกมาให้ผู้บริโภคใช้ ส่วนท่ีมีคน
ใช้และเป็นท่ีนิยมมาก คือ ios และ Android จึงท้าให้เกิดการเขียนหรือพัฒ นา Application ลงบน
สมาร์ทโฟนเป็นอย่างมาก อย่างเช่น โปรแกรมแผนที่ เกมส์ โปรแกรมคุยต่าง ๆ และหลายธุรกิจก็เข้าไปเน้นในการ
พัฒนา Mobile Application เพ่ือเพิ่มช่องทางในการสื่อสารกับลูกค้ามากขึน ส้าหรับการประยุกต์ใช้ Mobile
Application นันจะมีการประยุกต์ เพ่ือให้เข้าธุรกิจและองค์กรทังหลายที่เกิดขึนในปัจจุบันนี อีกทังเพ่ือเป็นการ
ตอบสนองความต้องการของผ้ใู ช้งานให้มีความสะดวกในการใชง้ านผ่านสมารท์ โฟนมากทสี่ ุด

3.2 การประยุกต์ใช้ Mobile Application
• Mobile Application for Real Estate : เก่ยี วกับอสังหาริมทรัพย์ ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู ลูกค้าการ

จอง การขาย เป็นต้น
• Mobile Application for Tourism : เกี่ยวกับการท่องเที่ยว โรงแรม บริษัททัวร์ สามารถดู

ข้อมลู การจองทพ่ี ัก รวมไปการจัดทา้ ระบบการลงทะเบยี น การชา้ ระเงิน ขอ้ มูลการประชุม สัมมนา นทิ รรศการ
• Mobile Application for Restaurant : เกี่ยวกับภัตตาคาร ร้านอาหาร เป็นการน้าเสนอ

เมนูอาหารในรปู แบบท่ที ันสมยั เข้ากบั เทคโนโลยที ่กี ้าวหน้า
• Mobile Application for Retail or Wholesale : เก่ียวกับการขายสินค้า บริการ ในรูปแบบ

ขายปลีกและสง่ หรือการขายผา่ นตัวแทน พนกั งานขาย เป็นตน้
• Mobile Application for Education : เกี่ยวกับการศึกษา สถาบันการศึกษา หอสมุด ศูนย์

ฝกึ อบรม การจดั ท้าสื่อการสอน เปน็ ตน้
• Learning Management System Mobile Application for Healthcare : เกี่ ย ว กั บ ท า ง

การแพทย์ สาธารณสขุ การให้คา้ ปรกึ ษาทางไกล

7

• Mobile Application for Logistics, Mobile Application for Government : เกี่ยวกับการ
น้าเสนอหน่วยงาน ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรมของหน่วยงานต่างๆ ให้มีรูปแบบท่ีทันสมัยและน่าติดตามมากขึน โดย
ขอยกตัวอย่าง Application ของกรุงเทพมหาครท่ีมีช่ือว่า “BKK Connect” ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่
ประชาสัมพนั ธ์ข่าวสารของกรุงเทพมหานครให้ประชาชนได้รับทราบปจั จบุ นั

ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Application ของกรุงเทพมหาคร ซ่ึงจัดอยู่ในประเภท Mobile
Application for Government ซึ่งเปน็ Application ท่ีจดั เตรียมไวใ้ ห้กับคนทอ่ี ย่อู าศยั ในกรุงเทพมหานคร จะได้
สามารถติดตามข่าวสารจากผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานคร และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ รวมถึงได้รับทราบถงึ กจิ กรรมต่างๆ
ท่ีทางกรุงเทพมหานครจัดเตรียมให้กับคนกรุงเทพมหานคร โดยประชาชนสามารถ Download Application
“BKK Connect” ไดแ้ ลว้ ผา่ นทาง Google Play และ App Store

8

หน่วยที่ 4 เร่ือง การเพม่ิ ความสามารถใหก้ ับอปุ กรณเ์ คล่ือนท่ี

4.1 วิธีการเข้าดาวนโ์ หลด Application Software บน Google Play Store

ส้าหรับผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ สมาร์ทโฟนท่ีเพ่ิงใช้งานอุปกรณ์ประเภทนีเป็นครังแรก
โดยเลือกใช้อุปกรณ์ฯ ที่มีระบบปฏิบัติการประเภท แอนดรอยด์ (Android) และยังไม่รู้ว่าจะเพิ่มความสามารถ
ให้กับอุปกรณ์เคล่ือนท่ีได้อย่างไร และไม่รู้จะต้องดาวน์โหลดแอพฯ ต่าง ๆ ได้จากที่ไหน ดังนัน จะขอแนะน้า
วธิ กี ารดาวนโ์ หลด Application Software ต่าง ๆ จาก Google Play Store ที่สามารถดาวนโ์ หลดไดง้ ่าย ๆ ผ่าน
แอพฯ Play Store บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ แต่ก่อนดาวน์โหลดแอพฯ จ้าเป็นจะต้องมีการส้ารวจโทรศัพท์เคล่ือนท่ี
ก่อน คือ โทรศัพท์เคลื่อนท่ีของคุณต้องสามารถเข้าถึงสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้ และคุณจะต้องมีบัญชีอีเมล
กูเกิลเมลก่อน (Gmail) (ไม่สามารถใช้งานอีเมลจากยี่ห้ออ่ืน ๆ ได้) หลังจากนัน ก็สามารถดาวน์โหลด
Application Software เพ่อื เพิม่ ความสามารถของอุปกรณ์ได้ ส่วนผู้ท่ีใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีประเภท iPhone iPod
และ iPad ท่านก็สามารถดาวน์โหลด Application Software เพื่อเพิ่มความสามารถให้กับอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้
เช่นกัน แต่ต้องด้าเนินการผ่านทาง App Store แทน เพียงเท่านี โทรศัพท์เคล่ือนท่ีของคุณก็จะมีความสามารถ
เพ่ิมขึน โดยขันตอนการเข้าดาวน์โหลด Application Software บน Google Play Store และ App Store มี
ดงั นี

ขน้ั ตอนการเขา้ ดาวนโ์ หลด Application Software บน Google Play Store

1. แตะเลือกแอพฯ Play Store เฉพาะกรณีหากรู้ช่ือแอพฯ ท่ีต้องการดาวน์โหลดสามารถพิมพ์
ในชอ่ งคน้ หาไดท้ ันที

9

2. สามารถแตะเลื่อนหน้าจอไปทางด้านขวาเพื่อดูหมวดหมู่ของแอพฯ หรือแตะไปทาง
ด้านซ้ายเพื่อดูรายการแอพฯ ต่างๆ เช่น แอพฯ ฟรีที่ยอดดาวน์โหลดสูงสุด การจัดหมวดหมู่ของแอพฯ
เพือ่ ประหยัดเวลาในการค้นหา แอพฯ ใหม่ๆ ที่เปิดใหท้ ดลองใช้ เป็นต้น

3. พมิ พ์ชอ่ื แอพฯ ทตี่ ้องการดาวน์โหลด ระบบจะแสดงช่อื แอพฯ ใกล้เคียงแบบอตั โนมัตมิ าให้

10

4. หากเจอแอพฯ ที่ต้องการให้แตะเลือก จากนันจะเข้าไปยังหน้าติดตังแอพฯ ให้แตะปุ่ม “ติดตัง”
(Install)

5. แตะปุ่ม “ยอมรับ” และดาวน์โหลด จากนันแอพฯ ก็จะท้าการดาวน์โหลดและติดตังให้อัตโนมัติ
โดยมีแถบสถานะการดาวนโ์ หลดแสดงให้ทราบ

11

6. หนา้ แอพฯ ทีต่ ิดตงั เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ สามารถแตะปุม่ เปดิ เพือ่ ใชง้ านแอพฯ นนั ได้

ส่วนผู้ท่ีใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีประเภท iPhone iPod และ iPad ท่านก็สามารถดาวน์โหลด
Application Software เพ่ือเพิ่มความสามารถให้กับอุปกรณ์เคล่ือนที่ ไดเ้ ช่นกัน แต่ต้องด้าเนินการผ่านทาง App
Store แทน เพียงเท่านี โทรศัพท์เคล่ือนที่ของคุณก็จะมีความสามารถเพิ่มขึน ดังนัน เม่ือมีความเข้าใจกับข้อมูล
พืนฐานด้านการใช้งานอุปกรณ์เคล่ือนท่ีแล้ว ล้าดับต่อไปจะเป็นการกล่าวถึงการท่องโลกอินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถ
ด้าเนนิ การโดยผา่ นเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ หรอื อุปกรณ์เคล่อื นท่ี

12

4.2 วธิ กี ารเข้าดาวน์โหลด Application Software บน App Store
1. เปดิ โปรแกรม App Store ที่หนา้ โทรศพั ท์เคลือ่ นที่ iPhone

2. เม่ือเข้ามาแล้วจะมีเมนูต่าง ๆ ให้เลือก เช่น Featured, Categories, Top 25, Search และ
Update ซึง่ ทีเ่ มนู Feature จะเป็นสว่ นท่ีแสดงโปรแกรม เช่น โปรแกรมใหม่ท่ีเพงิ่ ออกหรือวา่ โปรแกรมท่นี ิยม โดย
แทบเมนู มีความหมาย ดงั นี

• Categories จะแบ่งโปรแกรมออกเปน็ หมวดหมู่ให้เราเลอื กดาวน์โหลดไดต้ ามใจ
• Top 25 เปน็ ส่วนท่แี สดงว่า มีโปรแกรมไหนบา้ งทีถ่ กู ดาวน์โหลดไปมากท่ีสดุ 25 อันดบั
• Search เป็นเมนูส้าหรับการค้นหาโปรแกรม ในกรณีท่ีเราทราบช่อื โปรแกรมาหรือว่าต้องการ

หาโปรแกรมตามลักษณะการใชง้ าน เช่น Facebook, YouTube เปน็ ตน้
• Update เป็นส่วนที่แสดงว่ามีการอัปเดตของโปรแกรมท่ีเราเคยโหลดติดตังลงเคร่ืองไอโฟน

ของเราแล้ว
ล้าดับต่อไปเป็นการทดลองเลือกโปรแกรมท่ีจะมาติดตัง ตัวอย่างเช่น การเข้าไปท่ี Categories
แล้วเขา้ ไปทหี่ มวด Game แลว้ เลอื ก Top Free (หมายถึงเกมส์ท่มี ยี อด Download จ้านวนมาก)

13

3. เลือกเกมส์หรือโปรแกรมที่ต้องการติดตัง ตัวอย่างเช่น เลือก Slingshot Cowboy หลังจากนัน
กดเข้าไปตรงป่มุ คา้ ว่า “Free” เพอ่ื เรมิ่ การติดตงั

4. หลังจากนันเราจะต้องใส่ Password ของ iTune account ที่ได้ท้าการสมัครเอาไว้ เพ่ือโหลด
โปรแกรมจาก App Store

14

5. โปรแกรมจะถูกโหลดและตดิ ตังลงไป IPhone และจะมี Icon ปรากฏบนหน้าโทรศัพท์เคล่ือนท่ี

iPhone

เม่ือผู้ใช้งานมีความเข้าใจกับข้อมูลพืนฐานด้านการใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนท่ีแล้ว ล้าดับต่อไปจะเป็น
การกล่าวถึงการทอ่ งโลกอินเตอรเ์ น็ต ซง่ึ สามารถด้าเนนิ การโดยผ่านเคร่อื งคอมพิวเตอร์ หรอื อปุ กรณเ์ คลือ่ นที่

15

หนว่ ยท่ี 5 เรอื่ ง การท่องโลกอนิ เตอร์เน็ต

5.1 ความหมายของอินเตอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากค้าว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ท่ีเชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม
ท่ีครอบคลุม ท่ัวโลก ในแต่ละจุดที่เช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตนัน สามารถส่ือสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่ก้าหนด
ตายตัว และไม่จ้าเปน็ ต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผา่ นจุดอื่น ๆ หรือ เลอื กไปเส้นทางอืน่ ไดห้ ลาย ๆ เส้นทาง
อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของประเทศ
สหรฐั อเมริกา คือAdvanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนเี ป็นการวจิ ยั เครือข่าย
เพ่ือ การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสันๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ค.ศ. 1970 ARPA
Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึนโดยการเช่ือมโยงเครอื ข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยชนั น้าของอเมริกา คือ มหาวิทยาลัย
ยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวทิ ยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจยั ของ
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และหลังจากนนั เปน็ ต้นมากม็ กี ารใช้ อนิ เทอร์เนต็ กันอย่างแพร่หลายมากขึน

5.2 การค้นหาข้อมูลบนอนิ เทอร์เนต็ (Search Engine)

ปัจจุบันโลกของอินเทอร์เน็ตมีข้อมูลให้เราได้ค้นหาอย่างมากมาย ซึ่งจะมีเว็บไซต์ท่ีบรรจุข้อมูลไว้
เพ่ือให้เราเข้าไปค้นหา แต่ถ้าเราต้องการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์เหล่านัน เพ่ือเข้าไปค้นหาข้อมูลก็ท้าให้เราต้องรู้ให้เรา
ต้องรู้จัก URL ของเว็บไซต์ต่าง ๆ เหล่านัน ซ่ึง URL เรียกโดยย่อว่า "ยูอาร์แอล" ย่อมาจาก universal resource
locator หรือ uniform resource locator (อังกฤษ: URL) หมายถึงตัวระบุแหล่งในอินเตอร์เน็ต โดยให้ข้อมูล
เก่ียวกับต้าแหน่งและท่ีอยู่ของเว็บไซต์หน่ึง ๆ ท้าให้ผู้ใช้ไม่สะดวกในการใช้งาน จึงได้มีผู้สร้างโปรแกรมขึน โดย
รวบรวมเว็บไซต์ต่าง ๆ ไว้ โดยจัดไว้เป็นหมวดหมู่ของข้อมูลเหมือนกับห้องสมุดท่ีมีหนังสือมากมาย จึงจ้าเป็นต้อง
ตังหมวดหมู่หนังสือ เพ่ือจะได้จัดหนังสือให้เป็นระเบียบตามหมวดหมู่ ผู้ที่เข้ามาใช้งานก็สามารถหาหนังสือตาม
หมวดหมู่ที่ตนเองต้องการได้ทันที ซึ่งภายในหมวดหมู่นันก็จะมีหนังสือหลาย ๆ เล่มให้เราเลือกเช่นเดียวกับการจัด
หมวดหมู่ของเว็บไซต์ที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาได้ง่ายขึน โดยเลือกค้นหาตามหมวดหมู่ หรือหัวข้อ
เรื่องที่ตนเองสนใจได้โดยไม่ต้องรู้จัก URL ของเว็บไซต์นัน เพียงแต่เรากรอกค้าหรือหัวเรื่องที่เราต้องการค้นหา
เว็บไซต์ต่าง ๆ ท่ีมีเนือหาเก่ียวข้องในเร่ืองเดียวกันก็จะแสดงออกมาวิธีนีเป็นลักษณะของการใช้เคร่ืองมือช่วยใน
การค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า “เคร่ืองจักรค้นหา” (Search Engines) คือ เคร่ืองมือ หรือเว็บไซต์ท่ีช่วยอ้านวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลและข่าวสารในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ “Search
Engines” ทม่ี ีช่อื เสยี งสดุ และมผี ้คู นนยิ มใชง้ านมากท่ีสดุ คือ “Google”

16

5.3 โปรแกรมสาหรบั คน้ ดูเว็บไซตบ์ นอุปกรณเ์ คลื่อนที่
โลกทุกวันนีได้ถูกเชื่อมโยงเข้าถึงกันด้วยอินเตอร์เน็ต แต่การจะเข้าถึงอินเตอร์เน็ตโดยเฉพาะเว็บไซต์

เราทุกคนต้องใช้โปรแกรมในการเข้าชมเว็บเพจ ซึ่งโปรแกรมเหล่านีเราเรียกว่า Browser หรือเรียกว่า
“บราวเซอร์” โดยจะขอยกตวั อย่าง “Browser” บนอุปกรณเ์ คลอื่ นที่ ทไ่ี ด้รับความนยิ มมอี ะไรบ้าง

1. Google Chrome (Chorme) เป็นเว็บบราวเซอร์ที่มีความนิยมมาเป็นอันดับหนึ่ง ถูกพัฒนามา
จาก Google ซึ่งเป็น Search engine รายใหญ่ของโลก ข้อดีของ Browser นี คือเรื่องของความเร็วในการเข้าถึง
เวบ็ ไซตพ์ นื ทห่ี น้าจอในการใชง้ านใหญเ่ หมาะกบั การใชง้ าน

2. Safari หรือ Safari Browser คือ เว็บเบราว์เซอร์ (web browser )ที่พัฒนาโดยบริษัทแอปเปิล
คอมพิวเตอร์ สามารถใช้ได้ทังบน Windows และ Mac os นอกจากใช้บนคอมพิวเตอร์แล้ว ยังเป็น Browser
ทใี่ ชไ้ ดบ้ น iphone ดว้ ย

3. Microsoft Edge ถูกพฒั นาขึนภายใต้โค้ดเนม Project Spartan เปน็ เว็บเบราว์เซอรท์ ่ีพัฒนาโดย
ไมโครซอฟท์ ซึ่งมาแทนที่ตัว Internet Explorer ซึ่ง Internet Explorer (IE) เคยเป็นเว็บบราวเซอร์ที่ได้รับความ
นยิ มมากทีส่ ดุ ในตอนนไี ดย้ กเลิกและถกู พัฒนาใหม่ โดยใชช้ อื่ วา่ “Microsoft Edge” แทน

นอกจากโปรแกรมส้าหรับค้นดูเว็บไซต์ 3 รายที่ยกตัวอย่างมาข้างต้น ยังมีเว็บบราวเซอร์อีกมากท่ี
เป็นตัวเลือกให้กับผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต เช่น UC Browser, Samsung Internet, Opera, Android, QQ
Browser, Firefox เปน็ ต้น

ข้อมูลจากเว็บไซต์ http://gs.statcounter.com/browser-market-share/mobile/worldwide
แสดงให้เหน็ ถึงสถิติการท่องโลกอนิ เตอร์เน็ตดว้ ยอปุ กรณ์เคลื่อนท่ีในช่วงเดือน เมษายน 2561 – เมษายน 2562
พบว่าผู้คนท่ัวโลกนิยมใช้โปรแกรมส้าหรับค้นดูเว็บไซต์ หรือ บราวเซอร์ “Google Chrome” มาเป็นอันดับหน่ึง
หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 60

17

หนว่ ยท่ี 6 เร่ือง การใช้งานอินเตอร์เนต็ ให้ปลอดภัย

ผู้ใช้โดยทั่วไปยังไม่เห็นความส้าคัญของการใช้งานอินเทอร์เน็ตท่ีปลอดภัยเท่าท่ีควร เน่ืองจากยังขาด
ความรู้ในการใชง้ านและวิธีป้องกัน หรืออาจคิดว่าคงไม่มีปญั หาอะไรมากในการใช้งาน แตเ่ ม่ือเกิดปัญหาขึนกับตัว
องแล้ว ก็ทา้ ใหต้ นเองเดือดรอ้ น เราสามารถป้องกันปญั หาเหล่านีได้ ดงั นี

1. ไมค่ วรเปดิ เผยข้อมูลสว่ นตัว
2. ไม่ส่งหลักฐานส่วนตัวของตนเองและคนในครอบครัวให้ผู้อ่ืน เช่น ส้าเนาบัตรประชาชน เอกสาร
ต่าง ๆ รวมถึงรหัสบตั รต่าง ๆ เชน่ เอทีเอม็ บตั รเครดิต ฯลฯ
3. ไมค่ วรโอนเงินใหใ้ ครอย่างเด็ดขาด นอกจากจะเปน็ ญาตสิ นทิ ทเ่ี ชือ่ ใจได้จริงๆ
4. ไม่ออกไปพบเพ่ือนท่ีรู้จักทางอินเทอร์เน็ต เว้นเสียแต่ว่าได้รับอนุญาตจากพ่อแม่ผู้ปกครอง และ
ควรมผี ู้ใหญห่ รือเพือ่ นไปด้วยหลายๆ คน เพ่อื ปอ้ งกันการลักพาตวั หรอื การกระท้ามดิ ีมิร้ายตา่ งๆ
5. ระมัดระวังการซือสินค้าทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงค้าโฆษณาชวนเชื่ออื่นๆ เด็กต้องปรึกษาพ่อแม่
ผ้ปู กครอง โดยต้องใชว้ ิจารณญาณ พิจารณาความน่าเช่ือถอื ของผู้ขาย
6. สอนให้เด็กบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือคุณครู ถ้าถูกกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต (Internet
Bullying)
7. ไมเ่ ผลอบนั ทกึ ยูสเซอร์เนม (user name) และพาสเวิร์ด (password) ขณะใชเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์
สาธารณะ โดยอย่าบันทึกช่ือผู้ใช้และพาสเวิร์ดของคุณบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์สาธารณะในทุกกรณี เช่น โปรแกรม
ค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์ หรือ บราวเซอร์มักจะมีการสอบถามให้จดจ้าช่ือและผู้ใช้รหัส หรือการเข้าใช้งานโปรแกรม
จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นต้น เพราะผู้ทีม่ าใช้เครอ่ื งต่อจากคณุ สามารถลอ็ คอินเข้าไป จากช่ือของคุณท่ีถูกบันทึก
ไว้แล้วสวมรอยเปน็ คณุ
8. ไม่ควรบันทึกภาพวิดีโอ หรือเสียงท่ีไม่เหมาะสมบนคอมพิวเตอร์ หรือบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพราะภาพ เสียง หรือวีดีโอนัน ๆ อาจร่ัวไหลได้ เชน่ จากการแคร็ก ข้อมูล หรือถูกดาวน์โหลดผ่านโปรแกรม เพียร์
ทู เพียร์ (P2P) และถงึ แมว้ ่าคณุ จะลบไฟล์นนั ออกไปจากเครอ่ื งแลว้ ส่วนใดส่วนหน่ึงของไฟล์ยังตกค้างอยู่ แล้วอาจ
ถูกกู้กลับขึนมาได้ โดยชา่ งคอม ช่างมือถือ
9. จัดการกับ Junk Mail จังค์ เมล์ หรือ อีเมล์ขยะ เมื่อผู้ใช้งานมีการใช้อีเมล์ จะมีกล่องจดหมาย
ส่วนตวั หรือ Inbox กับ กล่องจดหมายขยะ Junk mail box หรอื Bulk Mail เพ่ือแยกแยะประเภทของอเี มล์ เรา
จึงต้องท้าความเข้าใจ และเรียนรู้ท่ีจะคัดกรองจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ด้วยตัวเอง เพื่อป้องกันไม่ให้มาปะปนกับ
จดหมายดี ๆ ซึ่งเราอาจเผลอไปเปิดอ่าน แล้วถูกสปายแวร์ แอดแวร์เกาะติดอยู่บนเคร่ือง หรือแม้แต่ถูกไวรัส
คอมพิวเตอรเ์ ล่นงาน
10. จัดการกับไวรัสคอมพิวเตอร์และมัลแวร์ (Malware) คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจ้าเป็นต้องมี
โปรแกรมสแกนดักจับและฆ่าไวรัส ซึ่งอันนีควรจะด้าเนินการทันทีเม่ือซือเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจากไวรัส
คอมพิวเตอร์และมัลแวร์มีการพัฒนาเร็วมาก มีไวรัสพันธุ์ใหม่เกิดขึนทุกวัน แม้จะติดตังโปรแกรมฆ่าไวรัสไว้แล้ว
ถ้าไม่ท้าการอัพเดทโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เวลาท่ีมีไวรัสตัวใหม่ ๆ แอบเข้ามากับอินเทอร์เน็ต เครื่องคุณก็
อาจจะโดนท้าลายได้

18

หน่วยท่ี 7 เร่อื ง การทางานพนื้ ฐานและววิ ฒั นาการเทคโนโลยเี ครอื ข่ายสื่อสารแบบไร้สาย
7.1 การทางานพ้ืนฐานการสอื่ สารแบบไร้สาย
ปัจจุบันระบบโทรศัพท์เคลื่อนท่ีได้รับการพัฒนาขึนมาให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ในปัจจุบัน สามารถ

ครอบคลุมพืนท่ีให้บริการได้กว้างมากขึน ขยายขอบเขตการให้การบริการได้ต่อเน่ืองตามความต้องการ โดย
หลักการท้างานพืนฐานของอุปกรณ์เคลื่อนที่ จะกล่าวเฉพาะหลักการท้างานพืนฐานทางดา้ นการติดต่อไร้สายผ่าน
อปุ กรณ์โทรศัพท์เคลื่อนท่ีเท่านัน ซ่ึงหลักการท้างานพืนฐานของโทรศัพท์เคล่ือนที่ ถือเป็นอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ที่
ใช้ในการส่ือสารสองทางผ่าน ซ่ึงการใช้คล่ืนวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ โดยผ่านสถานีฐาน
(Base Station : BS) ซ่ึงสถานีฐานเป็นจุดท่ีติดตังเครื่องรับส่งวิทยุ เอาไว้รับ – ส่งวิทยุ (Transceiver) โดยมีการ
ติดตังอุปกรณ์จ้านวนมากกระจายเป็นจุด ๆ ไปทั่วพืนที่ให้บริการ สถานีฐานมีช่ือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า
“ที่ต้ังเซลล์” (Cell Site) ซ่ึงท้าหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางเซลล์ โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะ
เช่ือมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอ่ืน ซึ่งถือเป็นชุมสาย
โทรศัพท์เคล่ือนที่ โดยในเขตพืนที่มีประชากรหนาแน่น และมีโอกาสตอ้ งการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จ้านวนมากก็ต้อง
ออกแบบให้มีจ้านวนเซลล์เป็นจ้านวนมากขึนเพ่ือรับรองอัตราใช้บริการแบบทราฟฟิก (Traffic) ท่ีเพ่ิมขึน ส่วนใน
เขตที่มีประชากรไม่หนาแน่นนันจะมีความต้องการใช้โทรศัพท์เคลื่อนท่ีมีจ้านวนน้อยกว่า ก็จะออกแบบให้เซลล์มี
ขนาดใหญ่ขึน แต่ละเซลล์ที่ติดกันจะใช้ย่านความถ่ีท่ีแตกต่างกันเพ่ือการน้าความถ่ีกลับมาใช้อีก (Frequency
Reuse) โดยไม่ให้เกิดสัญญาณรบกวนแทรกสอด (Interference) แต่หากต้องการใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีเพิ่มขึนก็จะ
แบ่งจ้านวนเซลล์ออกแบบเป็นเซลล์ยอ่ ย (Cell Splitting)

ตัวอยา่ งภาพถา่ ย สถานฐี าน (Base Station : BS)

จ้านวนของสถานีฐานเป็นปัจจัยท่ีจ้าเป็นมาก ส้าหรับการติดต่อส่ือสารแบบไร้สาย เพราะเซลล์แต่ะละ
เซลล์ บนเครอื ข่ายจะตอ้ งส่งผา่ นสถานีฐาน (Base Station : BS)

19

7.2 ววิ ฒั นาการเทคโนโลยเี ครือขา่ ยสอ่ื สารแบบไร้สาย

ค้าว่า G ย่อมาจากค้าว่า Generation ท่ีแปลว่า ยุค, สมัย, รุ่น ซ่ึงเมื่อเอาไปใช้รวมกับตัวเลข ใน
ภาษาอังกฤษจะออกเสียงว่า First Generation, Second Generation, Third Generation เป็นต้น และถูกย่อ
เป็นค้าว่า 1G, 2G, 3G ซ่ึงเป็นช่อื เรียกในแตล่ ะยุคของเทคโนโลยีการส่ือสารทางไกลผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile
Telecommunications Technology)

ยคุ 1G

ยุค 1G หรือ First Generation เป็นยุคที่ใช้ระบบ Analog คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคล่ืนเสียง
โดยไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใด ๆ ทังสินซ่ึงนั่นก็หมายความว่าสามารถใช้งาน ทางด้าน Voice ได้อย่างเดียว คือ
โทรออกรบั สาย เทา่ นัน ไม่มกี ารรองรบั การใช้งานด้าน Data ใด ๆ ทงั สิน แมแ้ ตก่ ารรับ-สง่ SMS ก็ยงั ทา้ ไมไ่ ดใ้ นยุค
1G โดยความเรว็ สูงสดุ ของเทคโนโลยี 1G คอื 2.4 Kpbs

ยคุ 2G

ยุค 2G หรือ Second Generation เปลี่ยนจากการส่งคลื่นทางคล่ืนวิทยุแบบ Analog มาเป็นการ
เข้ารหัส Digital ส่งทางคล่ืน Microwave ซ่ึงในยุคนีเอง เป็นยุคที่เร่ิมท้าให้เราเร่ิมท่ีจะสามารถใช้งานทางด้าน
Data ได้ นอกเหนือจากการใช้งาน Voice เพียงอย่างเดียว ในยุค 2G นี เร่ิมมีการก้าหนดเส้นทางการเช่ือมกับ
สถานีฐาน หรือที่เรียกวา่ cell site และมีการน้าเทคโนโลยี GPRS (General Packet Radio Service) มาใช้ เพื่อ
เพิ่มความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู ให้มกี ารรบั -สง่ ข้อมูลไดม้ ากขนึ ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเชน่ นอกจาก
ส่งข้อความ SMS แล้วยังสามารถส่ง MMS ได้อีกด้วย, เสียงเรียกเข้ามีการเพ่ิมเสียงเป็นแบบ Polyphonic และ
True tone รวมทังเร่ิมมีโทรศัพท์มือถือที่มีหนา้ จอสี นอกจากหน้าจอขาว-ดา้ ต่อมาได้มีการพัฒนาความเร็วในการ
ส่งข้อมูลเพิ่มสูงขึน โดยเรียกเทคโนโลยีนีว่า EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ซึ่งจะมี
ความเร็วมากกว่า GPRS ประมาณ 3 เท่า ท้าให้สามารถเข้าเว็บไซต์ เล่นอินเตอร์เน็ตได้ แต่ความเร็วยังมีจ้ากัด
และไม่สามารถรองรับไฟล์ท่ีมีขนาดใหญ่ได้ โดยเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ถูกน้ามาใช้ในระบบมาตรฐานคล่ืน
ความถี่ GSM (Global System for Mobile Communication) โดยความเร็วสูงสุด ภายใต้มาตรฐาน GPRS
ท่ีรองรบั ความเร็วสูงสุด 115 kpbs และ EDGE ท่รี องรบั ความเร็วสงู สุดทางทฤษฎีคอื 384 kpbs

ยุค 3G

ยคุ 3G หรือ Third Generation ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 ในยุคนีจะเน้นการสื่อสาร
ทังการพดู คุยแบบเสียงตามปกติ (Voice) และแบบรับส่งข้อมูล (Data) ซ่ึงในส่วนของการรับส่งข้อมูลนีเอง ที่ท้าให้
3G นันต่างจากระบบเก่า 2G ท่ีมีพืนฐานในการพูดคุยแบบเสียงตามปกติอยู่มาก เน่ืองจากเป็นระบบที่ท้าขึนมา
ใหม่เพื่อให้รองรับกับการรับสง่ ข้อมูลโดยตรง มีช่องความถีแ่ ละความจใุ นการรับส่งสญั ญาณที่มากกว่า ส่งผลให้การ
รับส่งข้อมูลหรือการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือนันเร็วมากขึนแบบก้าวกระโดด ประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน
มลั ตมิ ีเดียดีขนึ และยงั มีความเสถยี รกวา่ 2G ผลจากความเร็วที่เพ่ิมขึนนี ท้าให้เราสามารถท่จี ะทา้ อะไรบนมอื ถอื ได้

20

มากขึนจากแต่ก่อน เช่น โทรศัพท์ทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต (Voice Over IP) การคุยแบบเห็นหน้า (Video Call)
การประชุมทางไกล (Video Conference) การดูทีวีและดูวีดีโอออนไลน์ (Streaming) การเล่นเกมออนไลน์
(Online Gaming) เป็นต้น จะเห็นได้ว่าความสามารถท่ีเพ่ิมมาจะมารองรับกับสมาร์ทโฟนที่เป็นในปัจจุบันทังสิน
ไมว่ า่ จะเป็น iPhone, iPad, Android ล้วนแล้วแตอ่ อกแบบมาให้รองรบั กับความเร็วในระดบั 3G ทงั นนั อยา่ งไรก็
ตาม วิวัฒนาการของ 3G ที่กา้ วกระโดดจาก 2G มาแล้วนนั ท้าให้เราสามารถใช้งานโทรศัพท์มือถือได้โดยสามารถ
เช่อื มตอ่ สญั ญาณอินเทอรเ์ นต็ ตลอดเวลา (Always on) แตห่ ลายครังกต็ ้องประสบกับปัญหา สัญญาณข้ดข้อง ภาพ
กระตุกบ้าง ความเร็วในการรับส่งข้อมูลถูกจ้ากัดบ้าง ดงั นันจึงมีการพัฒนาตอ่ เข้าสู่ยุค 4G โดยความเร็วสูงสุดของ
3G อยทู่ ี่ 2 Mbps ถึง 42 Mbps

ยคุ 4G

ยุค 4G หรือ Fourth Generation นีไดร้ ับการพัฒนามาจากประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ ก่อนจะ
น้ามาใช้จริงท่ีสหรัฐอเมริกา เป็นการพัฒนาต่อยอดมาจากระบบไร้สายในอดีตทังหมด ทัง 1G, 2G และ 3G มา
รวมกันเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพขึน ส้าหรับความเร็วขนาดนีนัน ท้าให้สามารถใช้งานโทรศัพท์มือถือ หรือ
Tablet ของคุณได้หลากหลายยิ่งขึน ไม่ว่าจะเป็น การดูไฟล์วีดิโอออนไลน์ด้วยความคมชดั และไม่มีการกระตุการ
ติดต่อส่ือสารข้ามประเทศ อย่างโทรศัพท์แบบเห็นหน้ากันแบบโต้ตอบทันที (Video Call) หรือจะเป็นการประชุม
ผ่านโทรศัพท์ (Mobile teleconferencing) ก็เป็นเรื่องง่ายขึน แถมยังมีค่าใช้จ่ายน้อยลงอีกด้วย ส้าหรับ
เทคโนโลยีท่ีใช้ในยุค 4G นี สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ WiMAX (Worldwide Interoperability
of Microwave Access) และ LTE (Long Term Evolution) ซ่ึงทังสองระบบนี เป็นเทคโนโลยีไร้สายท่ีมาช่วยใน
เรื่องของการรับส่งข้อมูลให้เร็วขึนกว่าในยุคก่อน ๆ โดย WiMAX นันนิยมใช้แค่ในบางประเทศเช่น ญ่ีปุ่น, ไต้หวัน,
บังคลาเทศ ซ่ึง LTE นันเป็นท่ีนิยมใช้มากกว่ารวมถึงประเทศด้วยเช่นกัน ภายหลังได้มีการพัฒนาต่อยอด
เป็น 4.5G หรือเรียกว่า LTE-A หรือ LTE Advance โดยมีความสามารถสูงกว่า LTE เดิม ซ่ึงเกิดจากการน้า
ความถ่ีหลายย่านมาร่วม หรือเรียกว่า CA (Carrier Aggregation) ท้าให้มีความเร็วสูงขึนสูงสุดได้ถึง 1,000
Mbps หรือ 1 Gbps

ยุค 5G

ยุค 5G เป็นระบบสื่อสารไร้สายยุคถัดจากระบบ 4G เป็นระบบที่ก้าลังถูกพัฒนาโดยหลาย
ประเทศ อาทิ ประเทศในสหภาพยุโรป อังกฤษ จีน ญ่ีปุ่น เกาหลีใต้ โดยเทคโนโลยี 5G ยังถูกออกแบบมาเพ่ือ
รองรับการเช่ือมต่อจ้านวนมากๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต หรือท่ีเรียกกันว่า IoT (Internet of Things) อาทิ รถยนต์ไร้
คนขับ การผ่าตัดได้จากระยะไกล หุ่นยนต์ในโรงงาน สิ่งเหล่านีแสดงให้เห็นถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการท้างาน
รวมถึงช่วยให้เกิดการใช้งาน AR (Augmented Reality) และ VR (Virtual Reality) ในกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ
การส้ารวจภาคสนาม การสาธารณสุขทางไกล ความบันเทิง (โดยเรื่องของ IoT, AR และ VR จะขอกล่าวอย่าง
ละเอียดในหน่วยที่ 8) ซ่ึง 5G ชว่ ยพัฒนาศักยภาพของระบบค้าปลีก การซือของออนไลน์ รวมถึงการใช้งานตา่ ง ๆ
ของออฟฟิศอัจฉริยะ (Smart Office) และน้าไปสู่ระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities) ในอนาคต โดยมีการ
ก้าหนดมาตรฐานจาก ITU หรือสหภาพโทรคมนาคมนานาชาติ เป็นหน่วยงานที่มีอ้านาจก้าหนดมาตรฐานต่าง ๆ
เกย่ี วกบั โทรคมนาคม ว่า 5G ต้องสามารถรับส่งข้อมลู ไดเ้ รว็ ถงึ 20 Gbps หรอื มากกวา่ 4G ถงึ 20 เท่า

21

หนว่ ยท่ี 8 เรือ่ ง Internet of Things (IoT) และเทคโนโลยีโลกเสมอื นก้าวสู่โลกความเปน็ จรงิ

8.1 Internet of Things (IoT)

Internet of Things หรือ IoT เป็นแนวคิดการน้าอินเทอร์เน็ตไปเช่ือมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ให้
อปุ กรณ์นันสามารถรับ - ส่งข้อมูล เพื่อให้เราสามารถควบคุมหรือน้าข้อมูลจากอุปกรณ์นันมาใชง้ านได้ ปัจจุบันจะ
เห็นได้วา่ อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เริ่มเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตมากขึน โดยเฉพาะสมาร์ทโฟนที่พัฒนามา
ให้เป็นเหมือนศูนย์กลางการควบคุมหรือส่ังการอุปกรณ์อื่น ๆ ให้ท้างานได้ตามท่ีเราต้องการ เพียงแค่กดหรือแตะ
ดว้ ยปลายนวิ งา่ ย ๆ ตวั อยา่ งอปุ กรณท์ ่ีการน้าอินเตอรเ์ นต็ ไปเชอื่ ม

1. นาฬิกาเด็กอัจฉรยิ ะ (Kidz Watch) เปน็ นาฬิกาส้าหรบั เด็กทส่ี ามารถโทรได้ ถ่ายรูปได้ พร้อมระบุ
ต้าแหน่งที่ตัง โดยเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนส่งข้อมูลผ่านแอปพลิเคชัน ไม่ว่าบุตรหลานนของคุณจะเล่นอยู่ท่ีไหน ก็
สามารถติดตามได้ตลอดเวลา ปลอดภัย ไร้กังวล

2. ตู้เย็นอัจฉริยะ เป็นตู้เย็นท่ีสามารถตรวจจับจ้านวนสิ่งของต่าง ๆ ได้ และเมื่ออาหารในตู้เย็นใกล้
จะหมดอายุ ระบบจะมขี อ้ ความแจง้ เตือนไปยงั สมาร์ทโฟนใหเ้ ราวางแผนการซอื อาหารภายในตไู้ ด้ตลอดเวลา

3. เครื่องซักผ้าและราวตากผ้าอัจฉริยะ สามารถสั่งให้เคร่ืองซักผา้ เร่ิมซักและป่ันล่วงหน้าผ่านสมาร์ท
โฟน เม่ือซักผ้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว ระบบก็จะส่งข้อมูลรายงานเราอัตโนมัติ พร้อมกับส่งข้อมูลไปยังราวตากผ้าให้
เคล่ือนตวั ออกมากลางแดด เม่ือเรามาถึงบ้านก็น้าผ้าไปตากได้เลย ท้าให้ลดเวลาในการท้างานบ้านไดม้ ากขึน และ
ทีฉ่ ลาดย่ิงกวา่ หากราวตากผ้าได้รับพยากรณ์อากาศวา่ จะมีฝนตก ราวตากผ้าก็จะเคลอ่ื นตวั กลับเข้าสู่ที่ร่มอัตโนมัติ
ไม่ต้องกงั วลวา่ ผ้าที่ซกั แล้วจะเปยี กฝน

4. กล้องอัจฉริยะ Cloud CCTV สามารถติดในบ้านเพ่ือตรวจจับสิ่งผิดปกติท่ีอยู่ในบ้าน ถึงแม้ว่าใน
เวลากลางคืนจะมืดก็ตาม กล้องก็สามารถจับความผิดปกติและส่งข้อมูลไปยังสมาร์ทโฟนของเราได้ โดยผ่านการ
เช่ือมตอ่ กับซิมของโทรศัพท์มือถือที่ส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนียังท้าหน้าที่เป็นกล้องนิรภัยส้าหรับติดตาม
จุดเสย่ี งต่างๆ ในเมือง เม่ือเกิดเหตุการณ์ผดิ ปกตริ ะบบจะส่งขอ้ มูลภาพไปยังหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพือ่ แจ้งให้ทราบ
ถึงความไมป่ ลอดภยั

5. หุ่นยนต์จิ๋วอัจฉริยะ หรือ Robot MINI ท้าหน้าท่ีเป็นทังเพื่อนเล่น เพื่อนสนิท ท่ีช่วยสร้างทักษะ
และพัฒนาการในการเรียนรู้ของเด็กให้ดียิ่งขึน และยังมีหุ่นยนต์ท่ีมีความสามารถเคลื่อนไหวได้ใกล้เคียงกับมนุษย์,
เดินได,้ ยนื เองได,้ หยิบของวางของได,้ สามารถฟงั พูด และสอ่ื สารไดห้ ลายภาษา

22

NAO (นาโอะ) เป็นนวัตกรรมจาก True Robotic หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (รูปทรงเลียนแบบ
มนุษย์) มีความสามารถในการช่วยแนะนาสินค้าและบริการของบริษัท ได้ทั้งการมอง, จดจา, ประมวลผล,
สง่ ต่อขอ้ มลู ออนไลน์, ขยบั ตัวแสดงท่าทาง ฯลฯ

จากตวั อย่างดงั กล่าว จะท้าเห็นถึงเทคโนโลยี IoT ท่ีจะช่วยเปลี่ยนแปลงการใชช้ ีวติ ของเราและสังคม
รอบข้างในทางท่ีดีย่ิงขึน โดยเฉพาะความสะดวกสบายและความปลอดภัยในการใช้ชีวิตประจ้าวัน จริง ๆ แล้วยังมี
อุปกรณ์ อ่ืน ๆ อีกมากมายท่ีใช้เทคโนโลยี IoT เพ่ือสนับสนุนงานด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเกษตรกรรม
ด้านอุตสาหกรรม ด้านระบบคมนาคมและการจัดการโลจิสติกส์ ด้านการจัดการพลังงานและสาธารูป โภค
ดา้ นสาธารณสุข เปน็ ตน้

8.2 เทคโนโลยีโลกเสมือนกา้ วสโู่ ลกความเปน็ จริง

เทคโนโลยีโลกเสมือนก้าวสู่โลกความเป็นจริง แบ่งเป็น Virtual Reality (VR) & Augmented
Reality (AR)

8.2.1 Virtual reality

Virtual reality หรือ VR คือ การจ้าลองสภาพแวดล้อมจริงเข้าไปให้เสมือนจริง โดยผ่าน
การรับรู้จากการมองเหน็ เสียง สัมผสั แมก้ ระทังกลน่ิ โดยจะตัดขาดเราออกจากสภาพแวดลอ้ มปจั จุบันเพอ่ื เข้าไปสู่
ภาพทีจ่ า้ ลองขึนมา เชน่ การจ้าลองสถานท่ี google street view

ตวั อย่างการจา้ ลองสถานทจี่ รงิ ในรปู แบบทวั รเ์ สมือนจริง360° Virtual Tour

23

8.2.2 Augmented reality

Augmented reality หรือ AR คอื การรวม สภาพแวดล้อมจริง กับวัตถุเสมือนเขา้ ดว้ ยกันใน
เวลาเดียวกัน โดยวตั ถุเสมือนท่ีวา่ นนั อาจจะเป็น ภาพ, วดิ โิ อ, เสียง, ขอ้ มูลต่างๆที่ประมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์,
มอื ถือ, เทปเลต็ , หรืออุปกรณส์ วมใส่ขนาดเล็กต่าง ๆ และทา้ ใหเ้ ราสามารถตอบสนองกบั สง่ิ ท่จี า้ ลองนนั ได้

ตัวอย่างของการใช้งาน AR ก็คือ เกม Pokemon Go ถือเป็นปรากฎการณ์ครังส้าคัญของ
นกั เลน่ เกมทัว่ โลก


Click to View FlipBook Version