The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hasanbasre, 2021-09-11 03:13:49

ตัวชี้วัดที่ 2

ตัวชี้วัดที่ 2

แผนในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กศน.ตําบลเอราวัณ

ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕64

ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอแวง
สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั นราธิวาส

สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สํานกั ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

คํานาํ

พระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๒๐ สวนท่ี๑
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ขอ๑๔ (๘) ที่กําหนดใหสถานศึกษาตองจัดแผนปฏิบัติการประจําป ของสถานศึกษาท่ีมุงคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กศน.ตําบลเอราวัณ ซึ่งเปนสถานศึกษาในสังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอแวง มีหนาท่ีในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีพันธกิจใน
การจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและสรางระบบการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพ
ใหแกป ระชาชน

ดวยเหตุน้ี กศน.ตําบลเอราวัณ จึงไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยนํา
ยุทธศาสตรและจดุ เนนการดาํ เนินงานของสํานกั งาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณพ.ศ.๒๕๖๔ ไดนําผลจากสภาพแวดลอม
และศักยภาพ (SWOT Analysis) มารวมกันวิเคราะห เพ่ือกําหนดเปน ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ อัตลักษณ
เอกลักษณ เปาประสงคและกลยุทธของสถานศึกษาอันนําไปสูแนวทางในการจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยระหวางสถานศึกษากับชุมชนโดยคณะกรรมการสถานศึกษาใหการบันทึกความเห็นชอบ
แผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ ไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาสถานศึกษาจะ
ดําเนินงานจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีคุณภาพตามเปาประสงคของ
สถานศึกษา

ในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๔ ของกศน.ตําบลเอราวัณ เลมนี้สําเร็จลุลวงดวยดี
จากความรวมมือของผูมีสวนเก่ียวของทุกทานสามารถใชเปนกรอบและแนวทางในการจัดและสงเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพ กศน.ตําบลเอราวัณ จึงขอขอบคุณผูเกี่ยวของทุกทานที่ใหการ
สนับสนุนความรวมมือมา ณ โอกาสนี้

กศน.ตาํ บลเอราวัณ

ชื่อ – สกุล นายสุไลมาน เจะ หลง
ตําแหนง ครอู าสาฯประจํา.ตาํ บลเอราวณั
สถานท่ีทาํ งาน ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอแวง
วันเดอื นปเ กดิ วันท่ี 2๕ เดอื นมีนาคม พ.ศ.๒524
ภูมลิ ําเนา
๓๑๘/๓ ถนนประชาวิวฒั น ซอย๑๗/๕ ตําบลสไุ หงโกลก อาํ เภอสไุ หงโกลก
โทรศพั ท จังหวดั นราธวิ าส
วฒุ ิการศึกษา ๐๘๗-2484926
สถานศึกษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบ ณั ฑิต วิชาเอกพัฒนาชมุ ชน
สถาบนั ราชภัฎยะลา



คํารับรองการปฏบิ ัติราชการ
ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอแวง

ประจาํ ปงบประมาณ ๒๕๖๔
-----------------------------------------------------

๑.) คาํ รับรองระหวา ง ผูอํานวยการ กศน.อําเภอแวง
ผรู ับคํารับรอง นางธนณภทั ร ศรีระนํา ครผู ชู ว ย
ผทู าํ คํารบั รอง นายอัสรอฟ อาแว ครอาสาฯประจาํ ตําบล
ผูทาํ คํารับรอง นายสุไลมาน เจะ หลง ครู กศน.ตําบล
ผูท าํ คาํ รับรอง นางสาวซไู ฮลา สะมะแอ

๒.) คํารับรองนีเ้ ปน คํารบั รองฝา ยเดียว มิใชส ญั ญาและใชส ําหรบั ระยะเวลา ๑ ป
เริม่ ตัง้ แตวนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ ถงึ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔
๓.) รายละเอยี ดของคาํ รับรองฉบับน้ี ไดแ ก แผนปฏบิ ัติการของสถานศึกษา ตามทป่ี รากฎอยใู นเอกสารประกอบทาย
คาํ รับรองนี้
๔.) ขา พเจา นางธนณภัทร ศรีระนํา ตาํ แหนงผูอํานวยการ กศน.อําเภอแวง ไดพจิ ารณาเห็นชอบตอ
รายละเอียดของคํารับรองฉบับน้ีแลว และขา พเจายินดจี ะใหคาํ แนะนํา กาํ กบั และตรวจสอบผลการปฏิบัตริ าชการ
ของนายสุไลมาน เจะหลง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ใหเปนไปตามคํารับรองที่จดั ทําขน้ึ
๕.) ขา พเจา นายอสั รอฟ อาแว ตําแหนงครผู ูชวย นายสุไลมาน เจะ หลง ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น
นางสาวซูไฮลา สะมะแอ ตาํ แหนงครู กศน.ตําบลเอราวณั ไดท าํ ความเขาใจตามขอ ๓ แลว ขอใหคาํ รบั รองกบั
ผอู าํ นวยการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอแวง วาจะมุง เนนปฏิบตั ิราชการ ใหเกิดผลงานท่ี
ดตี ามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมายทีก่ ําหนดไวใ นระดับสูงสดุ เพ่ือใหเ กดิ ประโยชนส ุขแกป ระชาชน ตามทใ่ี หคาํ รับรอง
ไว

๖.) ผรู บั คํารบั รองและผูทาํ คาํ รบั รองไดเขาใจคาํ รับรองการปฏิบัตริ าชการและเห็นพองตองกันแลว จงึ ลงลายมือชอ่ื
ไวเปน สาํ คญั

................................................ ................................................
(นายสไุ ลมาน เจะหลง ) (นางสาวซไู ฮลา สะมะแอ)
ครอู าสาฯ
ครู กศน.ตาํ บล
วันที่ ๑ เดอื นตุลาคมพ.ศ.๒๕๖๓ วนั ท่ี ๑ เดือนตุลาคมพ.ศ.๒๕๖๓

…….……………………………………. .............. ..................................
(นายอัสรอฟ อาแว ) (นางธนณภัทร ศรรี ะนาํ )
ครผู ชู วย ผูอ ํานวยการ กศน.อาํ เภอแวง
วนั ท่ี ๑ เดือนตลุ าคมพ.ศ.๒๕๖๓
วันที่ ๑ เดอื นตุลาคมพ.ศ.๒๕๖๓



การทาํ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาํ บล

กศน.ตําบลเอราวัณ มีการรวบรวมขอมูลของพื้นท่ีพรอมวิเคราะหขอมูลบริบท สภาพปญหาของชุมชนและ
ความตอ งการของชุมชนเพอื่ ประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติการใหเปนปจจุบัน กศน.ตําบลเอราวัณ ไดมีการรวบรวม
ศึกษาขอมูลพื้นฐานของชุมชนในพื้นที่ พรอมทั้งวิเคราะหขอมูล บริบทสภาพปญหาความตองการท่ีเกี่ยวของเพื่อ
ประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติการใหเปนปจจุบัน และไดนําขอมูลที่ศึกษารวบรวมไว มาจัดทําโครงการที่สามารถ
แกปญหาตามบริบท โดยจะทําแผนปฏิบัติท่ีสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนไดสําเร็จตามกําหนดเวลา มีการนํา
แผนไปสูการปฏบิ ตั แิ ละดําเนินการตามกําหนดโดยใชกระบวนการมีสวนรวมของชุมชน มีรายงานผลการดําเนินงาน
ตามแผนปฏบิ ตั ิงานและจดั ทําแผนในระบบ DMIS เปน ปจจบุ นั

วิเคราะหข์ อ้ มลู บรบิ ทสภาพปัญหาความตอ้ งการ ความจาํ เป็นทีเ่ ก่ียวขอ้ งเพอื่ ประกอบการจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการ

แผน มีการปฏิบตั งิ านตามแผนรอยละ ๖๐
กศน.ตําบลเอราวัณ ไดจัดโครงการที่สามารถแกปญหาตามบริบทและความจําเปน การเรียนรูตลอดชีวิต
และการพัฒนาทักษะเพือ่ การสอดคลองกับศตวรรษท่ี ๒๑ การทํางานและใชชีวิตท่ีใหแกผูเรียนและประชาชนทั่วไป
ใหมีสมรรถนะที่พรอมเขาสูอาชีพหรือมีทักษะดานนวัตกรรมที่สามารถตอยอดสูการศึกษาระดับสูง โครงการพัฒนา
คุณภาพชีวิตแกป ระชาชนในพื้นที่ เชน การศึกษาตอเน่ือง งานการศึกษาพัฒนาสังคมและชุมชน งานการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ไดจดั กิจกรรมพัฒนาตนเอง ครอบครัว การรวมกิจกรรมวันสําคัญตางๆ เชน วัฒนธรรมประเพณี จิตอาสา
บริจาคโลหติ กิจกรรมอาสาสมคั ร กศน. สงเสริมการอาน กิจกรรมคายประวัติศาสตร และกิจกรรมกีฬา กศน.เกมส
เปนตน

มกี ารปฏิบตั ิงานตามแผนรอ ยละ ๗๐

กศน.ตําบลเอราวัณ และจุดเนนเสร็จตามที่กําหนด กศน.ตําบลเอราวัณไดจัดทําแผนปฏิบัติ จัดทํา
ฐานขอมูลชุมชน ท่ีสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนเสร็จตามกําหนด โดยใชกระบวนการ PDCA การดําเนินงานท่ี
สอดคลองกับแผนเปนเสนทางที่นําไปสูความสําเร็จและพรอมรายงานระบบฐานขอมูลเพ่ือการบริหารจัดการของ
กศน. (DMIS)

๔. การปฏิบตั ิงานตามแผนและตรงตามระยะเวลาท่ีกําหนดอยา งนอย รอ ยละ ๖๐ เบิกจา ยไมนอ ยกวา รอยละ ๗๐
กศน.ตําบลเอราวัณ มีการนําแผนปฏิบัติมาดําเนินงานตามที่กําหนดโดยใชกระบวนการมีสวนรวม บุรณา

การของชุมชน และเครือขายเขามามีสวนรวมจัดทําแผนปฏิบัติงานท่ีผานการอนุมัติจากคณะกรรมการ แผนปฏิบัติ
งานของชุมชนดําเนินงานโดยชุมชนและเพ่ือประโยชนของชุมชน รายงานความสําเร็จระบบฐานขอมูลเพื่อการ
บริหารจัดการ (DMIS)

๕.มกี ารปฏบิ ัตงิ านตามแผนและตรงตามระยะเวลาท่ีกาํ หนดอยา งนอ ย รอยละ ๗๐
เบกิ จา ยไมนอยกวา รอยละ ๘๐

กศน.ตําบลเอราวัณ รายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการและจัดทําแผนในระดับ DMIS
จากการนําแผนปฏิบัติที่ผานการอนุมัติจากคณะกรรมการ นําไปดําเนินงานตามแผน มีการติดตามประเมิน โดย
คณะกรรมการนเิ ทศ และจัดทาํ รายงานแผนในระดับ DMIS

สว นที่ ๑ บทนํา
ขอ มูลพนื้ ฐาน ศูนยกศน.ตําบลเอราวณั

ประวตั คิ วามเปนมา และสถานท่ีตง้ั

๑. ขอมูลสถานทต่ี ้งั และลักษณะพื้นทีต่ งั้
กศน.ตําบลเอราวัณ สถานทต่ี ั้ง ตง้ั อยูบานหนิ สงู หมูที 5 ตําบลเอราวัณ อําเภอแวง จังหวัดนราธิวาส
รหสั ไปรษณีย ๙๖๑60
เบอรโทรศพั ท : ๐984518590 E-mail : nfe_arawan@hotmail. com
Website: http://narathiwat.nfe.go.th/arawan/
Facebook : https://www.facebook.com/profile.php?id=100032362400726
๑.๑ บทขอ มูลพืน้ ฐาน เพอื่ การวางแผน

๑) สภาพพื้นท่ี ขนาดพ้นื ท่ี ท่ีต้งั และอาณาเขตติดตอ ลกั ษณะทางกายภาพ โครงสรางพ้ืนฐานการคมนาคม
ติดตอ สารสื่อสาร

ขนาดพืน้ ท่ี
ขนาดพ้นื ท่ี ตําบลเอราวัณ จํานวน 35,010 ไร (46.63 ตารางกิโลเมตร)

ท่ีตง้ั
ตาํ บลเอราวัณเปนตําบล 1 ใน 6 ตาํ บลของอําเภอแวง ต้งั อยูหา งจากตัวอาํ เภอแวง

ทางทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือประมาณ 7.0 กิโลเมตร มอี าณาเขตติดตอกบั ตําบลตา งๆ

ทต่ี ้ังและอาณาเขต

ตาํ บลเอราวัณ มีอาณาเขตติดตอกับเขตการปกครองขา งเคียงดังตอ ไปนี้
ทิศเหนอื ตดิ ตอ กับ ตาํ บลสากอ อาํ เภอสุไหงปาดี จงั หวัดนราธิวาส

ทศิ ใต ติดตอกับ ตําบลแวง อําเภอแวง จังหวดั นราธิวาส

ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกับ ตาํ บลกายูคละ อาํ เภอแวง จงั หวดั นราธิวาส

ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอกับ ตําบลเกียร อาํ เภอสุคริ นิ จังหวดั นราธวิ าส

วสิ ยั ทัศน

มงุ มนั่ สงเสรมิ และพฒั นาประชาชนในพืน้ ทต่ี ําบลแวง ใหเ กิดการเรยี นรู ใฝศึกษา สรา งชมุ ชนแหง
การเรยี นรู มุงสูความพอเพียง

พันธกิจ

1. จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา งมีคุณภาพและสอดคลองกับหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

2. พัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษาอยางเปนระบบและตอเนือ่ ง
3. ประสานความรวมมือ ระหวา งชมุ ชน สงั คม และภาคเี ครอื ขา ยใหมีสวนรว มในการสนับสนนุ การจัด

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรูต ลอดชวี ิต
4. พัฒนาระบบการบริหารจดั การและการเขาถึงเพ่ือการบริหารและการบริการท่ีดี บนหลกั ธรรมาภบิ าล

อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. จัดและสง เสรมิ การศกึ ษาและเพอ่ื พฒั นาอาชพี และการมีงานทําอยา งมคี ุณภาพ สามารถสรางรายไดท่ี

มัน่ คง สอดรับกบั ความตอ งการของชมุ ชนสงั คม
6. จัดและสงเสริม กศน.ตําบลใหเปน แหลง เรียนรู เพ่อื ใหประชาชนไดมโี อกาสเขา ถึงองคความรไู ดอยา ง

ตอ เนอ่ื งและตลอดชีวติ
7. จัดและสงเสริมการศึกษาตอเนอื่ งที่สอดคลอ งกบั ความตองการความสนใจ เพ่ือพฒั นาศักยภาพของ

ประชาชนอยางมีคณุ ภาพ
8. สงเสริมสนับสนุนครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหมคี วามรูทักษะและประสบการณอยางมีคุณภาพ

เปาประสงค
1. ผเู รียนและประชาชนไดรับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบนอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน การศึกษา
ตอ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ ีคณุ ภาพอยา งเทาเทียมและท่วั ถึง
2. ชุมชนและภาคีเครอื ขายมสี วนรว มในการจัดสง เสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไดร บั การพฒั นา เพิม่ ทักษะและสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านอยางมีประสทิ ธิภาพ
4. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผูเรียน ประชาชน สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษาและเทคโนโลยีดจิ ิทลั มา
พฒั นาเพอื่ เพิม่ ชองทางการเรียนรู
5. ผูเรยี นและประชาชนไดรับการสง เสริมและปลูกฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หนาท่ีความเปน พลเมืองท่ีดี ภายใต
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ นาํ ไปสกู ารยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ
และสง เสรมิ ความเขมแข็งใหก ับชุมชน
6. มกี ารบรหิ ารจัดการท่ีทนั สมยั มปี ระสิทธิภาพเปน ไปตามหลักธรรมาภิบาล

อัตลกั ษณ
มีความรู คุณธรรมนาํ ชวี ีต

เอกลักษณ
พัฒนาผูเรียน เคียงคูคณุ ธรรม

ปรัชญา
เปด ประตูการศึกษา พฒั นาแหลง เรียนรู สูป ระชาคมอาเซียน ดว ยหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

บทบาทหนาท่ี
๑. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๒. สงเสริม สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครือขาย เพ่ือการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๓. ดําเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สรา งความมน่ั คงของชาติ

๔. จดั สงเสรมิ สนบั สนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ รใิ นพ้ืนท่ี
๕. จัด สงเสรมิ สนบั สนนุ พัฒนาแหลง เรยี นรแู ละภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่
๖. วจิ ัยและพฒั นาคุณภาพหลกั สูตร ส่อื กระบวนการเรียนรู และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
๗. ดาํ เนนิ การเทียบโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรูและประสบการณ
๘. กํากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ตดิ ตามประเมินผลและรายงานผลการดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๙. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๑๐. ระดมทรัพยากรเพ่ือใชใ นการจดั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
๑๑.ดําเนินการประกนั คุณภาพภายในใหส อดคลองกับระบบหลักเกณฑและวิธกี ารทกี่ ําหนด
๑๒.ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ตามทีไ่ ดรับมอบหมาย

โครงสรา งสถานศึกษา
ผูบริหาร

คณะกรรมการ

กลุมงาน กลุมงานจดั การศึกษานอกระบบ กลมุ งานภาคเี ครือขาย
อาํ นวยการ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และกจิ การพิเศษ

-งานธุรการและสารบรรณ -งานสง เสรมิ การเรียนรูหนงั สือ -งานสงเสริมสนบั สนนุ ภาคีเครอื ขา ย
-งานการเงินและบญั ชี -งานการศึกษาพ้นื บานนอกระบบ -งานกิจการพิเศษ
-งานงบประมาณและระดม -งานการศึกษาตอเนือ่ ง
ระดมทรพั ยากร -งานการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ -งานปองกนั แกไ ขปญหายาเสพติดและ
-งานพัสดุ -งานการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวิต และโรคเอดส
-งานบุคลากร -งานการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน -งานสงเสรมิ กจิ กรรประชาธปิ ไตย
-งานอาคารสถานท่ีและ -งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย -งานสนับสนุนสง เสริมนโยบาย
ยานพาหนะ -งานหองสมดุ ประชาชน จงั หวดั และอําเภอ
-งานแผนงานและโครงการ -งานจดั และพัฒนาแหลงเรยี นรูแ ละ -งานกิจการลกู เสือ/ยวุ กาชาด
-งานประชาสัมพนั ธ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถิน่
-งานสวัสดกิ าร -งานการศึกษาทางส่อื สารมวลชน
-งานขอ มลู สารสนเทศและ -งานพฒั นาหลักสตู รส่อื นวัตกรรมและ
การรายงาน เทคโนโลยีการศกึ ษา
-ศูนยราชการใสสะอาด -งานทะเบียนและวดั ผล
-งานควบคมุ ภายใน -งานศนู ยบริการใหค าํ ปรกึ ษาแนะแนว
-งานนเิ ทศ ติดตามและ -งานกจิ การนักศึกษาประเมนิ ผล
-งานประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา

ผูบรหิ าร กศน.อาํ เภอแวง

นางธนณภัทร ศรีระนาํ
ผอ.กศน.อาํ เภอแวง

ขาราชการ

นายอัสรอฟ อาแว
ครูผชู ว ย

พนักงานราชการ

นายสไุ ลมาน เจะ หลง นางสาวซไู ฮลา สะมะแอ
ครูอาสาฯประจาํ ตาํ บล ครกู ศน.ตาํ บล

 กศน.ตาํ บล ทตี่ ้ัง ผปู ระสานงาน/ผูรับผดิ ชอบ
กศน.ตําบล/แขวง บา นหนิ สูงม ม.5 ต.เอราวัณ อ.แวง จ.นราธิวาส นายอัสรอฟ อาแว
นายสุไลมาน เจะหลง
กศน. ตําบลเอราวัณ นางสาวซูไฮลา สะมะแอ

ภาพภายในอาคาร ภาพภายนอกอาคาร

บุคลากรผรู บั ผดิ ชอบ

นายอัสรอฟ อาแว นายสุไลมาน เจะ หลง นางสาวซไู ฮลา สะมะแอ
ครผู ชู วย ครอู าสาฯ ครูกศน.ตาํ บล

จาํ นวนบคุ ลากร ต่ํากวา ป.ตรี ป.ตรี จํานวน รวมจํานวน
- ๑ ป.โท ป.เอก ๑
ประเภท/ตาํ แหนง - ๒ ๒
ขา ราชการครู - 3 -- 3
พนักงานราชการ --
รวมจาํ นวน --

บุคลากร กศน. ตําบลเอราวัณ ตําแหนง /หนาท่งี าน วุฒกิ ารศึกษา/วชิ าเอก

ชื่อ – สกุล

นางธนณภทั ร ศรรี ะนํา ผอู ํานวยการ ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
นายอสั รอฟ อาแว ครูผูชวย ครุ ุศาสตรบณั ฑติ (คณติ ศาตร)
นายสไลมาน เจะ หลง ครูอาสาฯ ศิลปศาสตรบณั ฑติ (พัณนาชมุ ชน)
นางสาวซูไฮลา สะมะแอ ครกู ศน.ตําบล ศิลปศาสตรบณั ฑติ (รฐั ศาสตร)

คณะกรรมการสถานศกึ ษา ตาํ แหนง หมายเหตุ
ท่ี ช่ือ-สกุล ประธาน
๑ นายมฮํามดั นอร ดือเระ รองประธาน
๒ นายอนั วา มะลี กรรมการ
๓ นางธนณภทั ร ศรีระนาํ กรรมการ
๔ นายอับดลุ มาเละ เลาะ กรรมการ
๕ นายฮาเรส นาวะ กรรมการ
๖ นางสาวฮาซกี ิม เจะ โนะ กรรมการ
๗ นายอสั รอฟ อาแว กรรมการ
๘ นายสไุ ลมาน เจะหลง กรรมการและเลขา
๙ นางสาววูไฮลา สะมะแอ

องคก รนกั ศึกษา กศน.ตําบลเอราวัณ ตาํ แหนง หมายเหตุ
ท่ี ชื่อ-สกลุ ประธาน
๑ นายมะฮาฟซี เจะ ลาเตะ รองประธาน
๒ นายซาฟต ลอแม เลขานกุ าร
๓ นางสาวนรู ฟาตีฮะ เจะเลาะ ผชู วยเลขานกุ าร
๔ นายศักดา บือราเฮง กิจกรรมนักศกึ ษา
๕ นางสาวซาฟร า มาหะ

๖ นายอาลิฟ เจะโวะ กจิ กรรมนักศกึ ษา
๗ นายฟะหมนี อมู า การเงนิ และบัญชี
๘ นายสาหรี วงศวานโตะขุน ประชาสมั พันธ
๙ นางสาวลักดาวลั สขุ เอียด
ปฏคิ ม

ผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis)
ของกศน.ตาํ บลเอราวณั

1. จุดแข็งของ กศน.ตําบลเอารวัณ (Strengths - S)
จดุ แข็ง เหตุผลประกอบ/ขอมูลสนับสนนุ /หลักฐาน/ตวั ชวี้ ดั

๑. ใหบ รกิ ารการศึกษาหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ๑. มมี าตรฐานและตวั บงช้กี ิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน การศึกษาตอเนื่องและ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือใหส ถานศึกษาและ
การศึกษาตามอัธยาศัย แกป ระชาชนอยางท่ัวถึง ผจู ดั การศกึ ษานาํ ไปใชเปนกรอบในการดําเนินงานอนั
สอดคลอ งกบั ความตอ งการของประชาชนในพื้นท่ี นําไปสทู ิศทางคุณภาพอยางเปนเอกภาพ

๒. มีการประสานงานเพอื่ สงเสริมการมสี วนรว มของภาคี 1. คําสัง่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา

เครอื ขายในการดําเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและ 2. บันทกึ ขอตกลงความรวมมือกับหนวยงานตา งๆ
การศึกษาตามอธั ยาศัย

๓. มีแหลง เรยี นรู เชน หองสมุดประชาชน บานหนงั สอื 1. จัดกิจกรรมสง เสริมการอา น เพื่อสงเสรมิ นิสยั รักการ
ชุมชน ท่ีชวยสงเสรมิ การ จัดกจิ กรรมการศึกษาและการ อา นใหป ระชาชนในพ้นื ที่ โดยหองสมุดประชาชนอําเภอ
เรยี นรูอยูท่วั พื้นท่ี แวง บานหนังสอื ชุมชน

๕. หลักสูตร สอ่ื การเรียนการสอน และเทคโนโลยี ดิจทิ ลั 1. โครงการสรางเครือขายดจิ ิทัลชุมชนระดบั ตําบล
เพอ่ื การศึกษาในการจดั การเรียนการสอน และจดั
กิจกรรมตาง ๆ เพ่ือสรา งโอกาสในการ เรยี นรู สนองตอบ 2. การใหบ รกิ ารเทคโนโลยที างการศึกษา โดยมี
ตอความตองการของผเู รยี น และตอบโจทยการพัฒนา ผูร บั บรกิ าร
ประเทศ

๖. มีโครงสรางการบริหารที่ชัดเจนและมีการมอบหมาย ๑. คําสง่ั แตงต้ังการปฏิบตั งิ านประจําป
งานตามความถนัดและความสามารถ

๗. มอี งคก รนักศึกษาท่ีเขมแข็ง ๑. คาํ ส่ังแตง ตง้ั องคก ารนกั ศึกษาระดบั อําเภอและตําบล

๒. โครงการ/กิจกรรมทจ่ี ดั โดยองคกรนักศึกษา

๒. จุดออ นของ กศน.ตาํ บลเอราวณั (Weaknesses - W) เหตผุ ลประกอบ/ขอมูลสนับสนนุ /หลักฐาน/
จดุ ออน ตัวชวี้ ัด

1. บุคลากรสว นหนง่ึ เปนพนักงานราชการ ขาดความม่ันคงเร่อื ง ๑. อัตราสวนพนักงานราชการมากกวา

รายไดแ ละสวสั ดกิ าร ขาราชการ

๒. งบประมาณตอหวั ในการจัดการศึกษาสาํ หรบั ผรู บั บริการ ๑. คาใชจ า ยตอหัวที่ไดรบั ในปจจบุ นั 3
การศึกษานอกระบบและระดับ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานที่ไดร ับไม ระดับ
เพียงพอตอการ บริหารจดั การเรียนการสอน
- ระดบั ประถมศึกษา 1,900 บาท

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 2,300 บาท

- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2,300 บาท

๓. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยภาพรวมยงั ตา่ํ 1. สถิตผิ ลสอบ N-net

2. สถติ ผิ ลสอบปลายภาค

๓. โอกาส (Opportunities - O) เหตุผลประกอบ/ขอมูลสนบั สนุน/หลักฐาน/
โอกาส ตัวชว้ี ัด

1. แผน ยุทธศาสตรต ําบลเอราวณั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ 1. แผนยทุ ธศาสตรป ระเทศ

สังคม ใหค วามสําคญั กับการศึกษาตลอดชีวิต เนน การศกึ ษา การ 2. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ 3.
สรางงาน สรางอาชพี แผนยุทธศาสตรอําเซยี น

4. แผนการศึกษาแหงชาติ

5. แผนยุทธศาสตรการศกึ ษาเขตพัฒนาพเิ ศษ

๒. จาํ นวนกลุมเปาหมายผสู ูงอายเุ พิ่มมากข้ึน เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต 20 ป (พ.ศ.
2560-2579)
๓. เพมิ่ ชองทางการพฒั นา ระบบการบรหิ ารจัดการองคก รและ
การ ใหบรกิ ารแกเ ปา หมายไดอยา งหลากหลายและ มปี ระสิทธิ ๑. แนวโนม ประชํากรของประเทศจาก
ภายิ่งข้ึน สํานกั งานสถิติจังหวดั นราธวิ าส
๔. ภาคีเครือขา ยมีความหลากหลาย สามารถจดั กิจกรรมได
หลากหลายรปู แบบ 1. ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ครอบคลุมทว่ั
ทุกตําบล
๕. แหลง เรียนรดู านภูมปิ ญ ญาทองถิน่ หลากหลาย
ความรว มมอื ในการจัดกิจกรรมกับหนวยงาน
ตา งๆในพื้นที่ ทําใหการจัดกจิ กรรมดําเนินไป
ดว ยความเรียบรอ ย

๑. แหลงเรยี นรใู นพน้ื ทีอ่ าํ เภอแวง

๔. อุปสรรคของสถานศึกษา เหตผุ ลประกอบ/ขอมูลสนบั สนนุ /
อุปสรรค หลักฐาน/ตวั ชี้วัด

1. สถานการณความไมสงบในพ้นื ที่ชายแดนภาคใต 1. เหตุการณความไมสงบในพนื้ ที่
๒. สถานการณโรคระบาดจากเช้อื ไวรสั โคโรนา (Covid-19) ๒. การตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา (Covid-19)

จุดเนน การดําเนินงานของงาน/โครงการ ในปงบประมาณ 256๔
1. โครงการสนับสนุนคาใชจา ยในการจัดการศกึ ษาตง้ั แตร ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
2. โครงการสง เสรมิ การรูหนงั สอื
3. โครงการการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ
4. โครงการการศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน
5. โครงการการเรียนรูหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
6. โครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน
7. โครงการการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั
8. โครงการสง เสรมิ ภาษาเพื่อการเรยี นรูแ ละการสือ่ สาร
9. โครงการจดั การศึกษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ
10. โครงการกีฬา กศน.สายสมั พนั ธชายแดนใต

11. โครงการลกู เสือ กศน.ชายแดนใต
12. โครงการศนู ยดิจิทัลชุมชน
13. โครงการภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ
14. โครงการพัฒนาศกั ภาพผูสงู อายทุ างกายจิตและสมอง
ปญหาและความตอ งการทางการศกึ ษาของประชาชน

ดานการรหู นงั สอื
- การจัดการเรียนการสอนไมตอเนื่อง เนื่องจากผูเรียนติดภารกิจการทํางานหารายไดเลี้ยง

ครอบครัว
ดานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

- นกั ศึกษามาพบกลมุ ไมต อเนื่อง ทาํ ใหการจดั กระบวนการเรยี นรูไมต อเนือ่ ง
- นกั ศกึ ษาขาดความกระตือรอื รน ในการเรียน ใฝห าความรเู พ่ิมเติม
- นักศึกษาขาดความรบั ผิดชอบ ในการสง งาน และตดิ ตามกิจกรรมของตนเอง
ดานการศกึ ษาตอ เนอ่ื ง
- กลมุ เปาหมายมาฝกอบรมไมต อเนอ่ื ง ทาํ ใหก ารจดั กระบวนการเรยี นรไู มตอเนือ่ ง
- กลมุ เปา หมายมาฝกอบรมไมตอเน่อื ง ไมบรรลุผล ไมเกิดอาชพี ไมจบตามหลักสูตร
ดานการศึกษาตามอธั ยาศัย
- หนงั สือขาดความหลากหลาย ไมทันสมัย

ยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน.
ประจาํ ปงบประมาณ ๒๕๖๔

วสิ ยั ทัศน

คนไทยทุกชวงวัยไดรับโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจําเปน และ
สมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกิจ

๑. จัดและสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี คี ุณภาพ สอดคลอง กับหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง และความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดบั การศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ
ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุมเปาหมายใหเหมาะสมในแตละชวงวยั ใหพ รอมรับ การเปลีย่ นแปลงและการ
ปรับตัวในการดาํ รงชวี ิตไดอยางเหมาะสม กาวสูการเปนสังคมแหงการเรียนรูต ลอดชวี ิต อยา งย่งั ยืน

๒. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด
และประเมินผลในทุกรูปแบบใหมีคุณภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรียนรูและบริบท ใน
ปจจบุ นั

๓. สงเสรมิ และพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาํ เทคโนโลยมี าพัฒนาเพื่อเพ่ิมชองทางและโอกาส การ
เรียนรู รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหกับ
ประชาชนกลุมเปาหมายอยางท่ัวถงึ

๔. สง เสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความรวมมือเชิงรกุ กบั ภาคีเครือขา ย ใหเขา มามสี ว นรว ม ในการ
สนับสนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับ
ประชาชน

๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการท่ีดี บนหลัก
ของธรรมาภิบาล มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคลอ งตัวมากยิ่งขน้ึ

๖.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ
จรยิ ธรรมท่ีดี เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพของการใหบ ริการทางการศึกษาและการเรยี นรูทม่ี ีคุณภาพมากยิง่ ข้ึน

เปา ประสงค

1. ประชาชนผดู อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนทั่วไปไดรบั โอกาส ทางการศกึ ษา
ในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาตอเน่อื ง และการศึกษา ตามอัธยาศยั ทีม่ ี
คุณภาพอยา งเทาเทยี มและท่ัวถงึ เปน ไปตามบริบท สภาพปญ หาและความตอ งการของแตล ะ กลุม เปาหมาย

2. ประชาชนไดร ับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม หนาทค่ี วามเปน
พลเมืองที่ดีภายใตการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยเ ปนประมุข ที่สอดคลองกับหลัก
ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง อนั นาํ ไปสูการยกระดับคุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรา งความเขม แข็งใหช ุมชน เพื่อพัฒนา
ไปสคู วามมน่ั คงและยงั่ ยืนทางดานเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และส่ิงแวดลอม

3. ประชาชนไดร ับการพัฒนาทกั ษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผานแหลงเรียนรู ชอ งทางการ
เรยี นรู และกจิ กรรมการเรยี นรูรปู แบบตาง ๆ รวมทงั้ มีเจตคติทางสงั คม การเมือง วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห แยกแยะอยางมเี หตผุ ล และนาํ ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวนั รวมถงึ การแกป ญหา
และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ไดอ ยางสรางสรรค

4. หนว ยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลกั สตู ร ส่อื นวตั กรรม ชองทางการเรยี นรู และกระบวนการ เรยี นรู
ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ทนั สมยั และรองรับกับสภาวะการเรียนรใู นสถานการณต า ง ๆ เพอ่ื แกป ญ หา และพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบริบท ดานเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสง่ิ แวดลอ ม

5. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาพฒั นา
เพอ่ื เพิม่ ชองทางการเรียนรู และนาํ มาใชใ นการยกระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นรูและโอกาสการเรยี นรู ใหกับ
ประชาชน

6. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน มีสวนรว มในการจัด สงเสริม และสนับสนนุ การศกึ ษา นอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทงั้ การขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรขู องชุมชน

7. หนว ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการองคกรทที่ ันสมยั มีประสทิ ธภิ าพ และเปน ไป ตาม
หลกั ธรรมาภบิ าล

8. บุคลากร กศน. ทกุ ประเภททุกระดบั ไดรับการพฒั นาเพื่อเพิ่มทกั ษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
และการใหบริการทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอยางมี
ประสิทธิภาพ

จุดเนนการดําเนินงานประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 25๖4

1. นอมนําพระบรมราโชบายดา นการศกึ ษาสกู ารปฏิบัติ
1.1 สืบสานศาสตรพ ระราชา โดยการสรางและพัฒนาศูนยสาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อ

เปนแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตาง ๆ ท้ังดิน นํ้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุตาง ๆ และสงเสริม
การใชพลังงานทดแทนอยา งมีประสิทธภิ าพ

1.2 จัดใหมี “หนงึ่ ชมุ ชน หนึง่ นวตั กรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพื่อความกินดี อยูดี มีงานทาํ
1.3 การสรา งกลุม จิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทง้ั ปลูกฝงผูเรียนใหม ีหลกั คิดท่ีถูกตองดานคุณธรรม จริยธรรม
มีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง และเปนผูมีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผานกิจกรรมการพัฒนา ผูเรียน
โดยการใชกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด
2. สง เสริมการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรตู ลอดชีวติ สาํ หรบั ประชาชนท่ีเหมาะสมกับทกุ ชวงวยั
2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง
นวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน
ผรู บั บรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพอ่ื นําไปใชใ นการพฒั นาอาชีพได
2.2 สงเสริมและยกระดับทกั ษะภาษาองั กฤษใหก บั ประชาชน (English for ALL)

2.3 สง เสริมการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมสาํ หรับผูท่ีเขาสูสังคมสูงวัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสม
รองรับสงั คมสงู วัย หลักสูตรการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและสง เสรมิ สมรรถนะผูสงู วัย และหลกั สตู ร การดูแลผูสูงวัย โดย
เนนการมสี ว นรวมกับภาคเี ครอื ขายทุกภาคสว นในการเตรียมความพรอมเขา สูสังคมสงู วัย
3. พฒั นาหลกั สูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษา แหลงเรยี นรู และรูปแบบ การจัดการศึกษาและ
การเรยี นรู ในทุกระดบั ทุกประเภท เพือ่ ประโยชนตอการจดั การศกึ ษาทเี่ หมาะสม กับทุกกลมุ เปา หมาย มีความ
ทนั สมยั สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบนั ความตอ งการ ของผูเรียน และสภาวะการ
เรียนรูในสถานการณต าง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคต

3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู ONIE Digital Learning Platform ที่รองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ
และชองทางเรยี นรูรูปแบบอนื่ ๆ ท้งั Online On-site และ On-air

3.2 พัฒนาแหลงเรียนรูประเภทตางๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนยการเรยี นรทู กุ ชว งวยั และศนู ยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ
“เรยี นรไู ดอยางท่ัวถงึ ทุกท่ี ทกุ เวลา”

3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝกอบรมแบบออนไลน มีระบบการเทียบโอนความรู ระบบ
สะสมหนวยการเรียนรู (Credit Bank System) และพฒั นา/ขยายการใหบริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนกิ ส
(E-exam)
4. บรู ณาการความรว มมือในการสง เสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหกับ ประชาชนอยางมี
คณุ ภาพ

4.1 รวมมือกับภาคีเครือขายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมท้ัง
สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของชุมชน
สง เสริมการตลาดและขยายชองทางการจําหนา ยเพ่ือยกระดบั ผลิตภัณฑ/ สินคา กศน.

4.2 บรู ณาการความรว มมอื กับหนว ยงานตาง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ทงั้ ในสว นกลาง และภมู ิภาค
5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทํางานของบุคลากร กศน.

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)
ใหกบั บคุ ลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนาครูใหมีทักษะ
ความรู และความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะ
การคิดวิเคราะหอยา งเปน ระบบและมีเหตุผล เปนขั้นตอน

5.2 จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทํางาน
รวมกนั ในรปู แบบตา ง ๆ อาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาประสิทธภิ าพ ในการทํางาน
6. ปรบั ปรุงและพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารจัดการองคก ร ปจ จัยพน้ื ฐานในการจดั การศกึ ษา และการ
ประชาสมั พนั ธส รางการรบั รูตอ สาธารณะชน

6.1 เรงผลักดันรางพระราชบัญญัติสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. ... ใหสําเร็จ และปรับโครงสราง การบริหาร
และอัตรากาํ ลงั ใหส อดคลอ งกับบรบิ ทการเปลีย่ นแปลง เรงการสรรหา บรรจุ แตง ตง้ั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ

6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและขอมูล
สารสนเทศดานการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใชงานทันที โดยจัดต้ังศูนยขอมูลกลาง กศน. เพ่ือจัดทํา
ขอ มลู กศน. ทั้งระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวยงาน
สถานศึกษา และแหลงเรียนรทู ุกแหง ใหส ะอาด ปลอดภัย พรอมใหบรกิ าร

6.4 ประชาสัมพันธ/สรางการรับรูใหกับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ดาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสรางชองทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการ ของ

หนวยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานสื่อรูปแบบตาง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม
วชิ าการ กศน.
การจดั การศึกษาและการเรยี นรใู นสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19) ของสํานักงาน กศน.

จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562
สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ไดออก
ประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ กําหนดใหมี การเวน
ระยะหา งทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท
เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ที่มีผูเขารวมเปนจํานวนมาก การปด
สถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกําหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการเรียนรู แบบ
ออนไลน การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ตาง ๆ รวมถึง การ
สอ่ื สารแบบทางไกลหรือดวยวธิ อี เิ ล็กทรอนกิ ส

ในสวนของสํานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานในภารกิจ
ตอเน่อื งตา ง ๆ ในสถานการณการใชชวี ิตประจําวนั และการจัดการเรยี นรูเพือ่ รองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม (New
Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการปองกัน การแพร
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภท หากมีความ
จาํ เปนตองมาพบกลุม หรอื อบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมมี าตรการปองกนั ท่เี ขมงวด มีเจล แอลกอฮอลลางมือ
ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคล เนนการใชสื่อดิจิทัลและ
เทคโนโลยีออนไลนในการจดั การเรียนการสอน
ภารกจิ ตอเนอื่ ง

๑. ดานการจดั การศึกษาและการเรียนรู
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

1) สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยดําเนินการ ใหผูเรียน
ไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการเรียน การสอนอยาง
ทั่วถึงและเพียงพอเพอ่ื เพ่ิมโอกาสในการเขาถงึ บริการทางการศึกษาทมี่ ีคุณภาพโดยไมเสยี คา ใชจาย

2) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานใหก บั กลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง
การศกึ ษา ผา นการเรยี นแบบเรยี นรดู ว ยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชนั้ เรยี น และการจัด การศกึ ษาทางไกล

3) พัฒนาประสทิ ธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ท้ัง
ดานหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และ
ระบบการใหบ รกิ ารนักศกึ ษาในรปู แบบอ่ืน ๆ

4) จัดใหมีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ที่มีความ
โปรง ใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได มมี าตรฐานตามท่กี ําหนด และสามารถตอบสนองความตอ งการ ของกลุมเปาหมายได
อยางมีประสทิ ธิภาพ

5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีมีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือ
เปนสวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการปองกัน และแกไข
ปญหายาเสพติดการแขงขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา
และการจัดตั้งชมรม/ชมุ นุม พรอมท้งั เปดโอกาสใหผ ูเ รยี นนาํ กิจกรรมการบําเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นอกหลักสูตรมาใช
เพ่มิ ชว่ั โมงกจิ กรรมใหผ เู รียนจบตามหลกั สตู รได
1.2 การสงเสริมการรูหนงั สือ

1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบเดียวกัน ท้ัง
สวนกลางและสวนภูมภิ าค

2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ส่ือ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดําเนินงานการ สงเสริม
การรหู นงั สือท่ีสอดคลองกับสภาพและบรบิ ทของแตล ะกลุมเปา หมาย

3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายที่รวมจัดการศึกษา ใหมีความรูความสามารถ และทักษะการ จัด
กระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรหู นงั สืออยางมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรูหนังสือใน พื้นท่ี
ทมี่ ีความตองการจําเปน เปนพเิ ศษ

4) สงเสรมิ สนับสนนุ ใหส ถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนา
ทกั ษะการรูหนงั สือใหก บั ประชาชนเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการศึกษาและเรยี นรูอยางตอเนอ่ื งตลอดชวี ิต ของประชาชน
1.3 การศกึ ษาตอเนื่อง

1) จัดการศกึ ษาอาชีพเพอื่ การมีงานทําอยางย่ังยืน โดยใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมี
งานทาํ ในกลมุ อาชพี เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึง
การเนน อาชีพชางพืน้ ฐาน ที่สอดคลอ งกบั ศักยภาพของผเู รยี น ความตอ งการและศักยภาพของแตละพื้นที่ มีคุณภาพ
ไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ สอดรบั กบั ความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สรางความ
เขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หน่ึงตําบลหน่ึง
อาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเม่ียม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและจัดหาชองทางการ
จําหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทํา
อยางเปนระบบและตอ เน่ือง

2) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหก บั ทกุ กลุมเปา หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ท่ีสอดคลองกับ
ความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิตตลอดจน สามารถ
ประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองไดมีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคม ไดอยางมี
ความสุขสามารถเผชิญสถานการณต าง ๆ ที่เกิดขน้ึ ในชวี ิตประจําวันไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และเตรียมพรอมสําหรับ
การปรบั ตัวใหท ันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหา
สําคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพ่ือการปองการการแพรระบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปองกันภัยยา
เสพติด เพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคานิยมท่ีพึงประสงค ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ผานการ
อบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรมสงเสริมความสามารถ
พิเศษตาง ๆ เปนตน

3) จดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบบูรณาการ
ในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสราง
ชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชน แตละพ้ืนที่ เคารพความคิด
ของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัด
กระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพอื่ แลกเปลี่ยนเรียนรูรว มกันสรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสํานึกความ
เปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปนพลเมือง ที่ดีภายใตการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเปนจิตอาสา
การบําเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการนํ้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษพลังงาน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม การชวยเหลอื ซึ่งกนั และกันในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยา งยงั่ ยืน

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใน
รูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการบริหารจัดการ
ความเส่ียงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสูความสมดลุ และยั่งยืน
1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศยั

1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการอานและพัฒนาศักยภาพ การ
เรียนรใู หเกิดข้ึนในสงั คมไทย ใหเ กิดขน้ึ อยา งกวางขวางและท่ัวถึง เชน การพัฒนา กศน. ตําบล หองสมุด ประชาชน
ทกุ แหง ใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการ
อาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคล่ือนท่ี หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการ
อานและการเรียนรูท่ีหลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นท่ีตาง ๆ อยางท่ัวถึง สม่ําเสมอ รวมทั้ง เสริมสราง
ความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการอาน อยาง
หลากหลายรูปแบบ

2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอดชีวิต ของ
ประชาชน เปน แหลง สรางนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรและเปน แหลง ทองเทีย่ วเชิงศิลปะวทิ ยาการประจําทองถิ่น โดย
จัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาลใจ ดาน
วิทยาศาสตรสอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติทางวิทยาศาสตร ผานการ
กระบวนการเรียนรูที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิตศาสตร
รวมท้ังสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาค และ
ระดับโลกเพ่ือใหประชาชนมีความรูและสามารถนําความรูและทักษะไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต การพัฒนา
อาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว
รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนไปอยางรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Changes) ไดอยาง มี
ประสิทธภิ าพ

3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตาง ๆ ที่มีแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เพ่ือสงเสริม การ
จัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพิธภัณฑ
ศูนยเ รยี นรู แหลง โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมุด รวมถึงภมู ิปญญาทอ งถิ่น เปนตน
2. ดา นหลกั สตู ร สือ่ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพื่อสงเสริม การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ
หลักสตู รทอ งถิ่นทีส่ อดคลองกบั สภาพบริบทของพ้ืนท่ีและความตองการของกลุม เปา หมายและชมุ ชน

2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน
กลุมเปา หมายทว่ั ไปและกลุมเปา หมายพเิ ศษ เพ่อื ใหผูเรยี นสามารถเรียนรไู ดท ุกที่ ทุกเวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย หลากหลายชองทางการเรียนรู ดวยระบบ
หอ งเรียนและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน

2.4 พฒั นาระบบการประเมนิ เพ่อื เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรแู ละประสบการณ เพ่ือให
มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มีการ
ประชาสัมพันธใหสาธารณชนไดรับรแู ละสามารถเขาถึงระบบการประเมินได

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานใหไ ดมาตรฐานโดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส
(e-Exam) มาใชอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การ วัด
และประเมนิ ผล และเผยแพรร ปู แบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศยั รวมทงั้ ใหม ีการนาํ ไปสูการปฏิบตั อิ ยา งกวา งขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกบั บริบทอยา งตอเน่ือง
2.7 พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาใหไดม าตรฐาน มกี ารพฒั นาระบบการประกัน คุณภาพภายในท่ี
สอดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากข้ึน เพ่ือพรอมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากร
ใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดําเนินการประกัน

คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอยา งตอเนือ่ งโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจัดใหมี ระบบสถานศึกษา
พ่ีเลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไมไดเขารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพัฒนา
คุณภาพการจัดการศกึ ษาใหไ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาํ หนด
3. ดานเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา

3.1 ผลิตและพัฒนารายการวทิ ยุและรายการโทรทศั นเพื่อการศึกษาเพ่ือใหเชื่อมโยงและตอบสนอง ตอการ
จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา
สําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทา
ทัน สอ่ื และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา รายการติวเขมเติมเต็ม
ความรู รายการ รายการทาํ กินก็ได ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ นต็

3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผานระบบ เทคโนโลยี
ดิจิทัล และชองทางออนไลนตาง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือสงเสริม ใหครู กศน.
นาํ เทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใ นการสรางกระบวนการเรียนรูด ว ยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย
เครือขายการรบั ฟง ใหสามารถรับฟงไดทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีท่ัวประเทศและเพ่ิมชองทาง ใหสามารถรับชม
รายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมท่ีจะ รองรับการพัฒนา
เปนสถานวี ิทยุโทรทัศนเ พอ่ื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพ่ือใหไดหลายชองทางทั้งทาง อินเทอรเน็ต
และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเคล่ือนท่ี และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบ ตาง ๆ
เพือ่ ใหก ลุมเปาหมายสามารถเลอื กใชบ รกิ ารเพื่อเขา ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรไู ดตามความตอ งการ

3.5 สาํ รวจ วจิ ัย ติดตามประเมินผลดา นการใชส อื่ เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาอยางตอเนอื่ งเพ่ือนําผล มาใชใน
การพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ของประชาชนได
อยา งแทจริง
4. ดานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ

4.1 สงเสรมิ และสนับสนนุ การดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อันเก่ียวเน่ือง
จากราชวงศ

4.2 จัดทาํ ฐานขอ มูลโครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทสี่ นองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริหรือ
โครงการอนั เกี่ยวเนอื่ งจากราชวงศเพื่อนําไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

4.3 สงเสริมการสรางเครือขายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ เพ่ือให
เกดิ ความเขม แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

4.4 พฒั นาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”เพ่ือใหมีความพรอมในการจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนาทที่ ่กี าํ หนดไวอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ

4.5 จัดและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถิ่นทุรกันดาร
และพน้ื ทช่ี ายขอบ
5. ดา นการศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกิจพเิ ศษและพน้ื ท่ีบริเวณ ชายแดน

5.1 พฒั นาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต
1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูท่ีตอบสนองปญหา และความ
ตอ งการของกลุมเปาหมายรวมทงั้ อัตลกั ษณและความเปนพหุวฒั นธรรมของพนื้ ที่

2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางเขมขนและตอเนื่องเพื่อให ผูเรียน
สามารถนําความรทู ีไ่ ดรบั ไปใชป ระโยชนไดจ รงิ

3) ใหห นวยงานและสถานศกึ ษาจัดใหม มี าตรการดแู ลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและ นักศึกษา กศน.
ตลอดจนผมู าใชบ ริการอยางทั่วถงึ
5.2 พัฒนาการจดั การศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ

1) ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร และบริบท
ของแตล ะจงั หวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเนนสาขาท่ีเปนความตองการของตลาด ใหเกิดการ
พัฒนาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพ้ืนท่ี
5.3 จัดการศึกษาเพอ่ื ความม่ันคงของศนู ยฝกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)

1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและสาธิต การประกอบ
อาชพี ดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดนดวยวธิ ีการเรยี นรูทหี่ ลากหลาย

2) มงุ จดั และพฒั นาการศกึ ษาอาชีพโดยใชว ธิ กี ารหลากหลายใชร ูปแบบเชิงรุกเพ่ือการเขาถึง กลุมเปาหมาย
เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรว มมือกบั เครือขา ย การจัดอบรมแกนนําดานอาชีพ ท่ีเนนเร่ืองเกษตร
ธรรมชาติท่สี อดคลอ งกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแ กป ระชาชนตามแนวชายแดน
6. ดานบุคลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน
6.1 การพฒั นาบุคลากร

1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ท้ังกอนและระหวาง การดํารง
ตําแหนงเพอื่ ใหมีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับสายงาน ความ
ชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของหนวยงานและ
สถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตําแหนง หรือเล่ือน
วิทยฐานะโดยเนน การประเมนิ วิทยฐานะเชิงประจักษ

2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ
นิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพื่อรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยใน
สถานศึกษา

3) พฒั นาหัวหนา กศน.ตาํ บล/แขวงใหมีสมรรถนะสงู ข้ึน เพ่ือการบริหารจดั การ กศน.ตําบล/แขวง และการ
ปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอํานวย ความสะดวกใน
การเรยี นรูเ พอื่ ใหผ ูเรยี นเกดิ การเรียนรูที่มปี ระสิทธิภาพอยา งแทจ รงิ

4) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรที่เก่ียวของกบั การจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรู ไดอยางมี
คุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และ
ประเมินผล และการวจิ ัยเบอ้ื งตน

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถ
และมีความเปน มืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสง เสรมิ การเรียนรตู ลอดชีวิตของประชาชน

6) สง เสรมิ ใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการ บริหารการ
ดาํ เนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมีประสทิ ธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม
อธั ยาศยั ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือขายท้ังใน และ
ตา งประเทศในทุกระดับ โดยจดั ใหมีกจิ กรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน รวมกัน

ในรูปแบบที่หลากหลายอยางตอเน่ืองอาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ
ทํางาน
6.2 การพัฒนาโครงสรางพ้นื ฐานและอตั รากําลงั

1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานท่ีและวัสดุอุปกรณ ใหมี ความ
พรอมในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู

2) สรรหา บรรจุ แตงตั้ง และบริหารอัตรากําลังท่ีมีอยูท้ังในสวนท่ีเปนขาราชการ พนักงานราชการ และ
ลูกจาง ใหเปนไปตามโครงสรางการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่กําหนดไว
ใหเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบัตงิ าน

3) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช ในการปรับปรุง
โครงสรา งพืน้ ฐานใหมีความพรอมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการ
สง เสรมิ การเรียนรูสําหรบั ประชาชน
6.3 การพฒั นาระบบบริหารจัดการ

1) พฒั นาระบบฐานขอ มูลใหม คี วามครบถวน ถกู ตอ ง ทนั สมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อยางเปนระบบ
เพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การ
ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยางมี
ประสิทธภิ าพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเรงรัด การ
เบิกจา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปาหมายท่กี ําหนดไว

3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกัน
ท่วั ประเทศ สามารถสืบคน และสอบทานไดท นั ความตอ งการเพ่อื ประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับ ผูเรียนและการ
บริหารจัดการอยางมีประสทิ ธภิ าพ

4) สงเสรมิ ใหมกี ารจัดการความรูใ นหนวยงานและสถานศกึ ษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถ
นํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชน และชุมชนพรอมท้ัง
พัฒนาขดี ความสามารถเชงิ การแขง ขันของหนวยงานและสถานศึกษา

5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และ
ตา งประเทศ รวมทัง้ สง เสรมิ และสนบั สนนุ การมีสว นรว มของชมุ ชนเพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือ ใน
การสงเสรมิ สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู หก ับประชาชนอยางมคี ุณภาพ

6) สงเสรมิ การใชระบบสํานกั งานอิเลก็ ทรอนกิ ส (e-office) ในการบรหิ ารจดั การ เชน ระบบการ ลา ระบบ
สารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชห อ งประชมุ เปนตน

7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิ
ชอบ บริหารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มุงผลสัมฤทธม์ิ ีความโปรง ใส
6.4 การกํากับ นเิ ทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล

1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเชอื่ มโยงกบั หนว ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายท้งั ระบบ

2) ใหหนว ยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผล
การนาํ นโยบายสกู ารปฏิบตั ิ ใหส ามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตล ะเรือ่ งไดอยางมี ประสิทธภิ าพ

3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการกํากับ นิเทศ
ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา งมีประสิทธิภาพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ของ
หนว ยงาน สถานศกึ ษา เพ่อื การรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ของสํานักงาน กศน.
ใหดําเนนิ ไปอยา งมปี ระสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาที่กาํ หนด

5) ใหมกี ารเช่ือมโยงระบบการนเิ ทศในทกุ ระดบั ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ต้ังแต สวนกลาง
ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชขอมูล และการพัฒนา
งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั


Click to View FlipBook Version