M O T O R W A Y S D I V I S I O N IN T E R - CIT Y 2565 กองทางหลวงพิเพิศษระหว่า ว่ งเมือมืง รายงานประจำ ปี 2022 กรมทางหลวง ANNUAL REPORT
MOTORWAY 2022 PERFORMANCE Intercity Motorway provides the important major roads as a controlled - access highway that join cities and towns together. According to the 20-year master plan, motorways increase opportunities for people to travel, trade or pleasure and also logistics for economic expansion, with a high road traffic safety. In 2022, we are focusing more on private - public partnership to approach the international standards highway.
บทนำ เป็นหน่วยงานที่ดูแลทางหลวงพิเศษ ซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อระหว่างเมือง ให้การเดินทางเป็นไปได้อย่างสะดวก ปลอดภัย มากยิ่งขึ้น เพิ่มโอกาสใน การท่องเที่ยว การขนส่ง และโลจิสติกส์ ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งส่วนสำ คัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ได้ริเริ่มการนำ ระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียม ผ่านทางอัตโนมัติ แบบไม่มีไม้กั้น หรือ M-Flow มาให้บริการบนทางหลวง พิเศษระหว่างเมืองหมายเลข9ได้แก่ ด่านฯ ธัญบุรี1 ด่านฯ ธัญบุรี2 ด่านฯ ทับช้าง1และด่านฯ ทับช้าง2รวมถึงได้พัฒนาช่องทางการสมัคร และการติดต่อเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ทางให้มีประสิทธิภาพ มากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ที่อยู่ระหว่าง การวางแผนดำ เนินการก่อสร้าง เพื่อกระจายรายได้สู่จังหวัดต่างๆ ได้มากยิ่งขึ้น ได้แก่ โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข6 (บางปะอิน - นครราชสีมา) โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข81(บางใหญ่ - กาญจนบุรี)รวมถึงโครงการสร้างและพัฒนา ที่พักริมทาง ในทางหลวงพิเศษรหว่างเมือง หมายเลข7(กรุงเทพฯ -ชลบุรี - พัทยา - มาบตาพุด) เพื่ออำ นวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทางได้รับ ความปลอดภัยขณะใช้เส้นทาง เพื่อให้มั่นใจว่าทุกการเดินทางจะได้รับ ความสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง จึงมุ่งมั่นในการบริหารจัดการระบบต่างๆเพืื่อดูแลผู้ใช้ทางตลอด 24ชั่วโมง ประกอบด้วย มาตรการดูแลความปลอดภัยตลอดเส้นทาง ทั้งงานกู้ภัย งานระบบกล้อง CCTV และระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการบำ รุงรักษาสายทาง รวมถึงมีการให้บริการจุดพักรถ (Rest Stop) สถานที่บริการทางหลวง (Service Area) ที่มีการอำ นวยความสะดวกอย่างครบครัน เพื่อให้ผู้ใช้ทาง มีพื้นที่ในการพักผ่อนจากการเดินทาง กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง "เรามุ่งมั่นพัฒนาการให้บริการเพื่อ อำ นวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ทางอยู่เสมอ" MOTORWAY - 004 - ANNUAL REPORT
028 041 043 053 058 072 079 สารบัญ 006 สารจากผู้บริหาร 009 คณะผู้บริหาร กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง 025 Route Map 028 วิสัยทัศน์ 036 สรุปข้อมูลทางการเงิน และผลดำ เนินงาน 2565 039 อัตรากำ ลัง 041 ผลการดำ เนินงานที่สำ คัญ ประจำ ปีงบประมาณ 2565 043 ที่พักริมทาง (Rest Area) 050 สรุปงานพัสดุและสัญญา 053 การให้บริการมอเตอร์เวย์ 058 ระบบจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมผ่านทาง 064 การพัฒนาบุคลากร 072 ภาพกิจกรรมสำ คัญ ในปีงบประมาณ 2565 CONTENTS 080 CSR กิจกรรมเพื่อสังคม 085 รายงานทางกาารเงิน 004 บทนำ MOTORWAY - 005 - ANNUAL REPORT
สารจากอธิบดีกรมทางหลวง การคมนาคมจัดเป็นปัจจัยสำคัญในปัจจุบันที่ช่วยเชื่อมโยงการเดินทาง ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ไปจนถึงระดับระหว่างประเทศ ซึ่งเกี่ยวเนื่องไปจนถึงการพัฒนา คุณภาพชีวิตผ่านเศรษฐกิจที่เติบโตผ่านการคมนาคม อย่างหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นขนส่งทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองถือเป็นเส้นทางสำคัญของการขนส่งทางบก เพราะ เป็นทางหลวงมาตรฐานสูง สามารถใช้ความเร็วในการเดินทาง พร้อมด้วยระบบ ด้านความปลอดภัยที่มีมาตรฐาน จึงทำให้สามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยว อุตสาหกรรม และอื่นๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยในปัจจุบัน กรมทางหลวง ได้ดำเนินโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง เพิ่มเติม ได้แก่ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 6 (บางปะอิน-นครราชสีมา) และทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 81 (บางใหญ่-กาญจนบุรี) ซึ่งในขณะนี้ อยู่ระหว่างการให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาการรูปแบบการร่วมลงทุนแบบ PPP รวมถึงการจัดทำแผนแม่บท การพัฒนาทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หรือ MR-Map เพื่อให้สอดรับกับพันธกิจในการพัฒนาระบบทางหลวง (Highway System) ให้เกิดความเชื่อมต่อ การเข้าถึง และความคล่องตัวที่สมบูรณ์ เพื่อการขับเคลื่อนประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นายสราวุธ ทรงศิวิไล อธิบดีกรมทางหลวง กรมทางหลวง ได้มอบหมายภารกิจสำ คัญให้แก่กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ในการดูแล ติดตาม พัฒนาและแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ประชาชนมีความคล่องตัวในการเดินทางช่วยอำ นวยความสะดวก รวดเร็ว และสามารถใช้เทคโนโลยีต่างๆเช่น ระบบจัดเก็บเงินค่าธรรมเนียมผ่านทางอัตโนมัติ แบบไม่มีไม้กั้น หรือ M-Flow และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการดำ เนิน โครงการก่อสร้าง ยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ในการจราจรของประชาชน และสามารถพัฒนาโครงสร้างเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรมได้ MOTORWAY - 006 - ANNUAL REPORT
กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง มุ่งมั่นพัฒนาและรักษาคุณภาพของการให้บริการ เพื่อให้ประชาชนเดินทางบนทางหลวงพิเศษ ได้อย่างสะดวก รวดเร็วและปลอดภัย พร้อมทั้งได้นำ เทคโนโลยีการเก็บเงินค่าธรรมเนียมผ่านทางอัตโนมัติแบบไม่มีไม้กั้น หรือ M-Flow มาใช้อย่างเป็นรูปธรรมบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข9 (บางปะอิน-บางพลี) ซึ่งสามารถช่วยลดอัตราการจราจรติดขัดสะสมได้เป็นอย่างดี ตลอดจนมีการแก้ไขปัญหา บำ รุงรักษา อย่างสม่ำ เสมอ รวมถึงโครงการทางหลวง พิเศษระหว่างเมืองหมายเลข6 สายบางปะอิน-นครราชสีมาและหมายเลข81 สายบางใหญ่ - กาญจนบุรี ซึ่งเร่งการดำ เนินงานอย่างเต็มที่เพื่อรองรับการใช้ สายทางของประชาชน พวกเราชาวมอเตอร์เวย์ ยังมีกิจกรรมทำ ความดีเพื่อสังคมอยู่เสมอ เพื่อมุ่งมั่น ให้เกิดการแบ่งปันให้สังคม รวมถึงสร้างความสัมพันธ์ ความรักในองค์กร ของชาวมอเตอร์เวย์ทุกคน ผมต้องขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านที่ตั้งใจทั้งทำ งานและทำ กิจกรรม อย่างเต็มที่เสมอ และขอขอบคุณผู้ใช้ทางทุกท่านที่มั่นใจในการให้บริการ ของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สารจากผู้อำ นวยการ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ดร. ธนศักดิ์ วงศ์ธนากิจเจริญ ผู้อำ นวยการกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ในปี 2565 นี้ หลังจากที่สถานการณ์โรคระบาดโควิด-19ได้มีความรุนแรงลดลง ทำ ให้ทั้งภาคประชาชน ภาคเอกชน รวมถึงภาครัฐบาลมีอัตราการฟื้นตัวที่ดีมากยิ่ง ขึ้นจากปี พ.ศ.2564เกิดการเดินทางท่องเที่ยวและขนส่งทางธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข7และหมายเลข9 ก็ถือเป็นเส้นทางสำ คัญ ในการคมนาคม MOTORWAY - 007 - ANNUAL REPORT
คณะกรรมการ บริหารเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กรมทางหลวง อธิบดีกรมทางหลวง (ประธานคณะกรรมการ) รองอธิบดีฝ่ายบริหาร กรมทางหลวง (รองประธาน) ผู้แทนกระทรวงการคลัง (กรรมการ) ผู้แทนสำ นักงบประมาณ (กรรมการ) นายกิตติพันธ์ ปานจันทร์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิศวกรรม (กรรมการ) นายศักดิ์ชัย ขำ เจริญ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย (กรรมการ) ผศ.ดร.อภิชาต ดะรุณเพรย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง (กรรมการ) ผู้อำ นวยการ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง (กรรมการและเลขานุการ) MOTORWAY - 008 - ANNUAL REPORT
BOARD OF DIRECTOR THE INTER-CITY MOTORWAYS DIVISION 2565 คณะผู้บริหาร กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง MOTORWAY - 009 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 010 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง รองผู้อำ นวยการ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ตำ แหน่งที่ 1 MOTORWAY - 011 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง รองผู้อำ นวยการ ตำ แหน่งที่ 2 กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ผู้อำ นวยการฝ่ายบำ รุงรักษาทรัพย์สิน MOTORWAY - 012 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 013 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 014 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายตรวจสอบรายได้ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 015 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายกำ หนดกลยุทธ์และแผนงาน กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 016 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 017 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารการร่วมลงทุน กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 018 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารการดำ เนินงาน กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 019 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารจัดเก็บเงินค่าธรรมเนียม กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 020 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 021 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการฝ่ายบริหารจัดการจราจร กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 022 - ANNUAL REPORT
MO TOR WAY กรมทางหลวง ผู้อำ นวยการแขวงทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 023 - ANNUAL REPORT
Route Map THE INTER-CITY MOTORWAYS DIVISION MOTORWAY - 024 - ANNUAL REPORT
แผนแม่บทการพัฒนาทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Intercity Motorways) ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) จำ นวน 21 สายทาง ระยะทางรวมทั้งสิ้น 6,612 กิโลเมตร ซึ่งในปัจจุบัน กรมทางหลวงได้ดำ เนินการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองตามแผนแม่บทนี้ โดยล่าสุดกรมทางหลวง อยู่ระหว่างการดำ เนินการศึกษาทบทวนเพื่อจัดทำ แผนบูรณาการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง และระบบราง (MR-MAP) ตามนโยบายของกระทรวงคมนาคม โครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ตามแผนแม่บททางหลวงพิเศษระหว่างเมือง พ.ศ. 2560-2579 Master Plan of The Intercity Motorways (2017-2036) MOTORWAY - 025 - ANNUAL REPORT
ทางหลวงพิพิเ พิ เ พิศษ หมายเลข 7 และ 9 รวม 245.202 กม. เส้ส้น ส้ น ส้ ทางที่ที่เ ที่ เ ที่ปิปิดปิปิ ให้ห้บ ห้ บ ห้ริริกริริาร MOTORWAY - 026 - ANNUAL REPORT
T H E INTER-CITY M OTORWAYS D IVISION กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง MOTORWAY - 027 - ANNUAL REPORT
VISION วิสัยทัศน์ MOTORWAY - 028 - ANNUAL REPORT
พัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงพิเศษและเชื่อมโยงระบบขนส่ง เพื่อสนับสนุนระบบโลจิสติกส์ภาคการขนส่ง และรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กำ กับ ดูแล ปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานทางด้านการก่อสร้างและบำ รุงรักษาทางหลวงพิเศษ เพื่อให้เกิดระบบขนส่งที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับระบบการบริหารจัดการและการให้บริการในทุกมิติ พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร การให้บริการที่มีประสิทธิภาพ รองรับการเปลี่ยนแปลงครอบคลุมในทุกมิติ MOTORWAY - 029 - ANNUAL REPORT
ตามพระราชบัญญัติกําหนดค่าธรรมเนียมการใช้ ยานยนต์บนทางหลวงและสะพาน พ.ศ. 2497 และที่แก้ไข เพิ่มเติม มาตรา 6 บัญญัติว่า เงินค่าธรรมเนียมการใช้ ยานยนต์บนทางหลวงและสะพานที่เก็บได้ และเงินค่าปรับเนื่องจากการกระทําผิดตามความใน พระราชบัญญัตินี้ จะนําไปใช้ได้เฉพาะ กับทางหลวง และสะพาน ที่ต้องเสียค่าธรรมเนียม ในกรณีดังต่อไปนี้ 1. ในการก่ก่ก่อก่ สร้ร้ร้าร้ง ขยาย บูบูบูรบูณะ และบํบํบําบํรุรุรุงรุรัรัรักรัษา ทางหลวงและสะพาน 2. การจัจัจัดจั ให้ห้ห้มีห้มีมีสิ่มีสิ่สิ่งสิ่อํอํอําอํนวยความสะดวกต่ต่ต่าต่ง ๆ ที่ที่ที่เที่กี่กี่กี่ยกี่วกักักับกัการใช้ช้ช้ทช้างหลวงและสะพาน 3. งานส่ส่ส่วส่นที่ที่ที่เที่กี่กี่กี่ยกี่วกักักับกัการจัจัจัดจัเก็ก็ก็บก็ค่ค่ค่าค่ธรรมเนีนีนียนีม 4. การชดใช้ช้ช้เช้งิงิงินงิกู้กู้กู้ใกู้นการก่ก่ก่อก่ สร้ร้ร้าร้งและขยายทางหลวงและสะพาน MOTORWAY - 030 - ANNUAL REPORT
เป้าหมายการให้บริการ MOTORWAY - 031 - ANNUAL REPORT
PERFORMANCE สมรรถนะหลักองค์กร มีความเชี่ยวชาญด้านการก่อสร้าง บำ รุงรักษาทางและสะพาน การซ่อมแซมอุปกรณ์ และเพิ่มประสิทธิภาพระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง ระบบควบคุมการจราจร ระบบตรวจสอบน้ำ หนัก ระบบไฟฟ้าฟ้และโครงข่ายสื่อสาร ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา พร้อมทั้งมีการบริหารจัดการเส้นทางการจราจร และการให้บริการทางหลวงพิเศษ MOTORWAY - 032 - ANNUAL REPORT
4G MOTORWAY - 033 - ANNUAL REPORT
CULTURE DOH วัฒนธรรมองค์กร D - DELIVER GOOD SERVICE มุ่งให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการ O - OBLIGATION TO GOVERNANCE ยึดหลักธรรมาภิบาลและความพอเพียง H - HIGH ACCOUNTABILITY มีความรับผิดชอบและเสียสละเพื่อ ประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน MOTORWAY - 034 - ANNUAL REPORT
แผนยุทธศาสตร์ เงินทุนค่าธรรมเนียม กองทางหลวงพิเพิศษระหว่าว่งเมือมืง กรมทางหลวง พ.ศ. 2563 - พ.ศ. 2567 1. มีระบบทางหลวงพิเศษที่ตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ทาง 2. มีระบบทางหลวงพิเศษที่คล่องตัวเพื่อสนับสนุน การขนส่งและระบบโลจิสติกส์ 3. พัฒนาระบบทางหลวงพิเศษที่ยั่งยืน ด้วยความเข้าใจ และความร่วมมือของภาคประชาชนและภาคเอกชน 4. พัฒนาประสิทธิภาพ การพัฒนาระบบทางหลวงพิเศษ ด้วยการวิจัยนวัตกรรม และเทคโนโลยี 1. มีระบบทางหลวงพิเศษที่รักษาระดับการให้บริการที่ดี ด้วยการบำ รุงรักษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน 2. อำ นวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมการรักษาระดับการให้บริการภูมิทัศน์ใหล่ทางของ ระบบทางหลวงพิเศษที่ยั่งยืน 4. พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาระดับการให้บริการ ที่ต่อเนื่อง ด้วยการวิจัยนวัตกรรม และเทคโนโลยี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษที่เชื่อม ต่อเข้าถึง และคล่องตัว อย่างมีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจต่อประชาชนผู้ใช้ทาง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับการให้บริการของระบบทางหลวงพิเศษ ให้มากกว่าการเป็นเส้นทางที่ไปสู่จุดหมายปลายทาง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง กับระบบทางหลวงพิเศษที่มีมาตรฐานและความ ปลอดภัยสูงอย่างยั่งยืน 1. มีระบบทางหลวงพิเศษที่ปลอดภัย ด้วยการแก้ไข และควบคุมตามมาตรฐาน 2. มีความปลอดภัยบนระบบทางหลวงพิเศษ ด้วยการพัฒนาระบบจราจร และระบบควบคุม 3. ส่งเสริมความปลอยภัยที่ยั่งยืน ด้วยการส่งเสริม ค่านิยม และความเข้าใจด้านความปลอดภัย 4. พัฒนาประสิทธิภาพความปลอดภัย ด้วยการวิจัย นวัตกรรม และเทศโนโลยี การยกระดับขีดความสามารถระบบการบริหารและ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อขับเคลื่อนสู่ การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงอย่างมีธรรมาภิบาล และยั่งยืน ครอบคลุมทุกมิติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. มีความรับผิดชอบต่อพันธกิจ ด้วยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ทรัพยากร การประชาสัมพันธ์ การจัดการสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีดิจิทัล 3. เป็นองค์กรที่ยั่งยืน ด้านการพัฒนาบุคลากร งานวิจัย นวัตกรรม กฎหมาย และแนวทางดำ เนินงาน 4. มีความรับผิดชอบต่อผลประโยชน์สาธารณะ บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์และธรรมมาภิบาล MOTORWAY - 035 - ANNUAL REPORT
สรุปข้อมูลทางการเงิน รายได้ค่าผ่านทางเฉลี่ยต่อวัน เปรียบเทียบกับปีงปีบประมาณเดิม (บาท : วัน) หมายเหตุ: - ปี 2563 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เปิดบริการส่วนต่อขยาย พัทยา - มาบตาพุด - สิ้นปี 2563 เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด 19 (COVID-19) 9,309,464 10,578,930 11,933,978 13,050,872 10,525,980 10,134,448 9,743,713 10,957,637 11,300,741 11,993,694 และผลการดำ เนินงาน ปี 2565 2561 2562 2563 2564 2565 MOTORWAY - 036 - ANNUAL REPORT ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ดำ เนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง วงแหวนด้านใต้ เมื่อ 20 พ.ค. 2562 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เปิดปิช่วงพัทยา - มาบตาพุด เมื่อ พ.ค. 2563 เปิดปิช่วงชลบุรี - พัทยา เมื่อ เม.ย. 2561 -[
ปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวัน เปรียบเทียบกับปีงปีบประมาณเดิม (คัน : วัน) หมายเหตุ: - ปี 2563 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เปิดบริการส่วนต่อขยาย พัทยา - มาบตาพุด - สิ้นปี 2563 เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด 19 (COVID-19) 221,529 308,264 247,515 436,184 225,048 397,497 356,608 209,063 230,630 380,023 สรุปข้อมูลทางการเงิน และผลการดำ เนินงาน ปี 2565 2561 2562 2563 2564 2565 MOTORWAY - 037 - ANNUAL REPORT ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ดำ เนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง วงแหวนด้านใต้ เมื่อ 20 พ.ค. 2562 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 เปิดปิช่วงพัทยา - มาบตาพุด เมื่อ พ.ค. 2563 เปิดปิช่วงชลบุรี - พัทยา เมื่อ เม.ย. 2561 -[
0 20000 40000 60000 80000 100000ลาดกระบัง บางบ่อ บางปะกง พนัสนิคม บ้านบึง บางพระ(คีรี) หนองขาม โป่งป่พัทยา ห้วยใหญ่ เขาชีโอน อู่ตะเภา ธัญบุรี 1 ธัญบุรี 2 ทับช้าง 1 ทับช้าง 2 ปริมาณจราจรเฉลี่ยต่อวัน (คัน : วัน) สรุปข้อมูลปริมาณจราจร ผ่านด่านจัดเก็บเงินค่าธรรมเนียม 49,375 16,780 19,606 31,411 18,411 15,900 27,760 19,562 19,306 4,538 3,988 3,295 67,216 69,921 86,992 87,240 ปีงบประมาณ 2565 MOTORWAY - 038 - ANNUAL REPORT
62 26 1 1,791 .318 23 PERSONAL อัตรากำ ลัง กองทางหลวงพิเพิศษระหว่าว่งเมือมืง งบประมาณปี 2565 เงินงบประมาณ ประกอบด้วด้ย ข้าข้ราชการ 62 ราย พนักนังานราชการ 26 ราย ลูกลูจ้าจ้งประจำ 1 ราย เงินทุนทุค่าธรรมเนียม ผ่า ผ่ นทาง ประกอบด้วด้ย ลูกลูจ้าจ้งประจำ เงินทุนทุฯ 23 ราย พนักนังานเงินทุนทุฯ 318 ราย ลูกลูจ้าจ้งชั่วชั่คราวเงินทุนทุฯ 1,791 ราย MOTORWAY - 039 - ANNUAL REPORT
MOTORWAY - 040 - ANNUAL REPORT
(กันยายน 2565) M6 M81 M82 MOTORWAY - 041 - ANNUAL REPORT
สถานะปัจจุบัน • การก่อสร้างงานโยธา (40 สัญญา) ความก้าวหน้ากว่าร้อยละ97(แล้วเสร็จ24 สัญญา) • กำ หนดเปิดให้บริการปี 2566เริ่มเก็บค่าผ่านทาง ปี 2567 • การก่อสร้างงานระบบ และ O&M ลงนามสัญญาแล้ว เมื่อ ก.ย.2564 อยู่ระหว่างก่อสร้าง • ที่พักริมทาง สคร. อนุมัติรูปแบบการดำ เนินโครงการแล้ว - คัดเลือกเอกชน ภายในต้นปี 2566 - แผนดำ เนินการก่อสร้าง ปี 2566-2567 - เปิดบริการสิ่งอำ นวยความสะดวกขั้นพื้นฐานภายในปี 2566 - เปิดบริการเต็มรูปแบบพร้อมสายทางหลักในปี 2568 โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน–สระบุรี-นครราชสีมา(M6) สถานะปัจจุบัน • การก่อสร้างงานโยธา (25 สัญญา) ความก้าวหน้ากว่าร้อยละ84(แล้วเสร็จ9 สัญญา) • กำ หนดเปิดให้บริการปี 2566เริ่มเก็บค่าผ่านทาง ปี 2567 • การก่อสร้างงานระบบ และ O&M ลงนามสัญญาแล้ว เมื่อ ก.ย.64 อยู่ระหว่างก่อสร้าง • ที่พักริมทาง สคร. อนุมัติรูปแบบการดำ เนินโครงการแล้ว - คัดเลือกเอกชน ภายในต้นปี 2566 - แผนดำ เนินการก่อสร้าง ปี 2566-2567 - เปิดบริการสิ่งอำ นวยความสะดวกขั้นพื้นฐานภายในปี 2566 - เปิดบริการเต็มรูปแบบพร้อมสายทางหลักในปี 2568 โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางใหญ่–กาญจนบุรี(M81) โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สถานะปัจจุบัน • งานโยธาช่วงบางขุนเทียน - เอกชัย อยู่ระหว่างก่อสร้าง โดยใช้งบประมาณแผ่นดิน • งานโยธาช่วงเอกชัย - บ้านแพ้ว ลงนามสัญญาก่อสร้างแล้ว โดยใช้เงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง อยู่ระหว่างเตรียมการก่อสร้าง • การก่อสร้างงานระบบ พร้อม O&M ทั้งโครงการ - ติดตั้งงานระบบ 2566 – 2568 - เปิดให้บริการภายในปี 2568 MOTORWAY - 042 - ANNUAL REPORT สายทางยกระดับช่วง บางขุนเทียน - เอกชัย - บ้านแพ้ว
REST AREA MOTORWAY - 043 - ANNUAL REPORT
เพื่อพัฒนาที่พักริมทางบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองให้เป็นไป ตามมาตรฐาน กรมทางหลวงจึงได้จัดทำ ข้อกำ หนดกรมทางหลวง เรื่องมาตรฐานและลักษณะที่พักริมทางในเขตทางหลวงพิเศษ และทางหลวงสัมปทาน พ.ศ.2560ซึ่งกำ หนดให้ที่พักริมทาง มีองค์ประกอบของสิ่งปลูกสร้างและสิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ ที่จำ เป็นต้องจัดให้มี โดยจำ แนกที่พักริมทางในเขตทางหลวงพิเศษ และทางหลวงสัมปทานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามขนาดของพื้นที่ รวมถึงการจัดให้มีสิ่งอำ นวยความสะดวกเพื่อให้บริการแตกต่างกันไป ตามความเหมาะสม ได้แก่ (1) ศูนย์บริการ ทางหลวง (Service Center) ที่พักริมทางหลวงขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 50ไร่ขึ้นไป โดยมีสิ่งอำ นวยความ สะดวกและบริการ ครบทุกประเภท จัดให้มีขึ้นเพื่อเป็นจุดแวะพักหลักสำ หรับผู้ใช้ทาง (2) สถานที่บริการทางหลวง (Service Area) ที่พักริมทางหลวงขนาดกลาง มีเนื้อที่ประมาณ 20ไร่ขึ้นไป โดยมีสิ่งอำ นวยความสะดวกและบริการ อย่างเพียงพอต่อการใช้งาน จัดให้มีขึ้นเพื่อเป็นจุดแวะพักหลักสำ หรับผู้ใช้ทาง (3)จุดพักรถ (Rest Stop) ที่พัก ริมทางหลวงขนาดเล็ก มีเนื้อที่ประมาณ 5ไร่ขึ้นไป โดยมีสิ่งอำ นวยความสะดวกและบริการอย่างเพียงพอ ต่อการใช้งาน จัดให้มีขึ้นเพื่อเป็นจุดแวะพักเพิ่มเติมสำ หรับผู้ใช้ทาง หรือ สำ หรับผู้ใช้ทางบางประเภทเป็นการเฉพาะ เช่น จุดพักสำ หรับผู้ขับขี่รถบรรทุก ถือเป็นองค์ประกอบของทางหลวง ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535(และที่แก้ไขเพิ่มเติม) มาตรา3โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นจุดแวะพักสำ หรับผู้ใช้เส้นทาง เพื่ออำ นวยความปลอดภัยในการเดินทางโดยมีสิ่งอำ นวยความสะดวก ต่างๆเช่น ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน ห้องน้ำ ร้านอาหารร้านขายของ สถานีบริการน้ำ มัน และการบริการอื่น ๆเป็นต้น รวมถึงเป็นสถานที่ เพื่อผ่อนคลายอิริยาบถจากการเดินทาง การทำ ธุระส่วนตัวรวมถึง การใช้บริการสิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ สามารถช่วยป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุ จากความเหนื่อยล้าหรือหลับในและช่วยรักษาสมาธิ ในการขับขี่ของผู้ใช้ทาง เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุและ ลดความ สูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนน ตลอดจนช่วยให้ผู้ใช้ทางประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้าและออก จากระบบทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองโดยไม่จำ เป็น รวมถึงสามารถดึงดูดให้มีผู้ใช้ทางหลวง พิเศษระหว่างเมืองมากขึ้น นอกจากนี้ที่พักริมทางยังมีวัตถุประสงค์ใน การส่งเสริมระบบโครงข่ายคมนาคมของประเทศไทยให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล รวมถึงส่งเสริมภาคเศรษฐกิจต่างๆในพื้นที่ข้างเคียง โดยรอบที่ตั้งที่พักริมทางให้เกิดการพัฒนา เติบโต ทั้งในด้านการจ้าง งาน การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม การบริการและการพัฒนาสังคม ที่พักริมทาง (Rest Area) MOTORWAY - 044 - ANNUAL REPORT
ที่พักริมทาง (Rest Area) เปิดให้บริการบนทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 และ หมายเลข 9 ที่พักริมทาง (Rest Area) เปิดให้บริการบนทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 และ หมายเลข 9 ปัปัปั จ ปั จจุจุ จุ บั จุ บั บั น บั นรวม 10 จุจุ จุ ด จุ ดบริริริกริาร MOTORWAY - 045 - ANNUAL REPORT
การพัฒนาที่พักริมทางบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 สายกรุงเทพฯ - บ้านฉาง (ช่วงกรุงเทพฯ - ชลบุรี - พัทยา - มาบตาพุด) พ.ศ. 2563 - 2567 ของกรมทางหลวง แผนปฏิบัติการ (Action Plan) การพัฒนาที่พักริมทางในอนาคต MOTORWAY - 046 - ANNUAL REPORT
เป็นโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่มีการควบคุมการสัญจรของยานพาหนะในการเข้าและออก อย่างสมบูรณ์ ตลอดเส้นทาง (Fully Controlled Access) และมีวัตถุประสงค์ในการรองรับการเดินทางระยะยาวระหว่างกรุงเทพมหานคร กับพื้นที่ภาคตะวันออก จึงจำ เป็นต้องจัดให้มีที่พักริมทางในตำ แหน่งที่เหมาะสมตลอดสายทาง เพื่ออำ นวยความสะดวก ให้แก่ผู้ใช้เส้นทางรวมถึงส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยและลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งที่ผ่านมา กรมทางหลวง ได้เปิดให้บริการที่พักริมทางแล้ว3แห่ง ได้แก่ (1)จุดพักรถ (Rest Stop) ลาดกระบัง บริเวณ กม.21+700 (2) สถานที่บริการทางหลวง (Service Area) บางปะกง บริเวณ กม.49+300 (3)จุดพักรถ (Rest Stop) หนองรีบริเวณ กม.72+500 ครอบคลุมการให้บริการช่วงกรุงเทพฯ -ชลบุรี ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานและลักษณะที่พักริมทางในเขตทางหลวงพิเศษและทางหลวงสัมปทาน พ.ศ.2560 กรมทางหลวงจึงมีแผน พัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์เพิ่มเติมบนที่พักริมทางเดิม และก่อสร้างพัฒนาที่พักริมทางแห่งใหม่ เพิ่มเติมอีก 4แห่ง ครอบคลุมการให้บริการช่วงกรุงเทพฯ -ชลบุรี- พัทยา - มาบตาพุด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โครงข่ายให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ได้แก่ (4) สถานที่บริการทางหลวง (Service Area) บางปะกง (ใหม่) บริเวณ กม.47+000 (5) ศูนย์บริการทางหลวง (Service Center) ศรีราชา บริเวณ กม.93+750 (6)จุดพักรถ (Rest Stop) มาบประชัน บริเวณ กม.119+200และ (7) สถานที่บริการทางหลวง (Service Area) บางละมุง บริเวณ กม.137+800 โดยสามารถสรุปแผนการพัฒนาที่พักริมทาง บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข7 ตลอดเส้นทางรวมทั้งหมด 7แห่ง ดังต่อไปนี้ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 สายกรุงเทพฯ - บ้านฉาง (ช่วงกรุงเทพฯ - ชลบุรี - พัทยา - มาบตาพุด) จุด จุ พัก พั รถ ลาดกระบัง บั เป็นที่พักริมทางขนาดเล็ก บริเวณ กม.21+700 ทางแยกต่างระดับลาดกระบังทั้ง 2 ฝั่ง บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ปัจจุบันเปิดให้บริการแล้ว ประกอบด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน ได้แก่ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน และห้องน้ำบริการประชาชน เปิดให้บริการแล้ว R E S T S T O P 1 MOTORWAY - 047 - ANNUAL REPORT
S e R V I C E A R E A R E S T S T O P สถานที่บ ที่ ริกริาร ทางหลวง บางปะกง S e R V I C E A R E A สถานที่บ ที่ ริกริาร ทางหลวง บางปะกง เป็นที่พักริมทางขนาดกลาง บริเวณ กม.49+300 สะพานข้ามแม่น้ำบางปะกง บนทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองหมายเลข 7 ปัจจุบันเปิดให้บริการแล้ว ประกอบด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ได้แก่ ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน ห้องน้ำบริการประชาชน ร้านอาหาร ร้านขายของ สถานีบริการน้ำมัน หน่วยกู้ภัยบางปะกง ศูนย์บริการระบบผ่านทาง อัตโนมัติ และการบริการอื่น ๆ เปิดให้บริการแล้ว จุด จุ พัก พั รถ หนองรี เป็นที่พักริมทางขนาดเล็ก บริเวณ กม.72+500 ทางแยกต่างระดับบ้านบึง ทั้ง 2 ฝั่ง บนทางหลวง พิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 ปัจจุบันเปิดให้ บริการแล้ว ประกอบด้วย สิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน และห้องน้ำบริการประชาชน 2 3 เป็นที่พักริมทางขนาดกลาง บริเวณ กม.47+000 ทางแยกต่างระดับบางปะกง บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข7 ซึ่งภายในสถานที่บริการทางหลวงดังกล่าว จะประกอบด้วย สิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ ครบถ้วน ได้แก่ ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน ห้องน้ำ บริการประชาชน ร้านอาหารร้านขายของ สถานีบริการน้ำ มัน หน่วยกู้ภัย ศูนย์บริการระบบผ่านทางอัตโนมัติ และการบริการอื่น ๆ 4 แห่งใหม่ MOTORWAY - 048 - ANNUAL REPORT
เป็นที่พักริมทางขนาดเล็ก บริเวณ กม.119+200 ทางแยกต่าง ระดับมาบประชัน บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข7 ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำ เนินการออกแบบรายละเอียด ซึ่งภายใน จะประกอบด้วย สิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ ได้แก่ ที่จอดรถ ศาลพักผ่อน ห้องน้ำ บริการประชาชน ร้านอาหารร้านขายของ ศูนย์บริการระบบผ่านทางอัตโนมัติ และการบริการอื่น ๆ โดยกรมทางหลวงจะดำ เนินการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และ ให้เอกชนร่วมลงทุนพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์และบริหารจัดการ จุดพักรถ (Operationand Maintenance: O&M) R E S T S T O P จุด จุ พักพัรถ มาบประชันชั ศูนศูย์บย์ริกริาร ทางหลวง ศรีรรีาชา เป็นที่พักริมทางขนาดใหญ่ บริเวณ กม.93+750 บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข7 ตั้งอยู่ระหว่าง ทางแยกต่างระดับบางพระ (คีรี) และทางแยกต่างระดับ หนองขาม ซึ่งภายในศูนย์บริการทางหลวงดังกล่าวจะ ประกอบด้วย สิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ ครบถ้วน ได้แก่ ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน ห้องน้ำ บริการประชาชน ร้านอาหารร้านขายของ สถานีบริการน้ำ มัน หน่วยกู้ภัย ศูนย์บริการระบบผ่านทางอัตโนมัติ และการบริการอื่น ๆ เปิดให้บริการ ปี 2568 S e R V I C E c e n t e r S e R V I C E A R E A เป็นที่พักริมทางขนาดกลาง บริเวณ กม.137+800 บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข7 ตั้งอยู่ระหว่าง ทางแยกต่างระดับห้วยใหญ่และทางแยกต่างระดับเขาชีโอน ซึ่งภายในสถานที่บริการทางหลวงดังกล่าวจะประกอบด้วย สิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ ครบถ้วน ได้แก่ ที่จอดรถ ศาลาพักผ่อน ห้องน้ำ บริการประชาชน ร้านอาหาร ร้านขายของ สถานีบริการน้ำ มัน หน่วยกู้ภัย ศูนย์บริการ ระบบผ่านทางอัตโนมัติ และการบริการอื่น ๆ สถานที่บ ที่ ริกริาร ทางหลวง บางละมุงมุ เปิดให้บริการ ปี 2568 5 6 7 MOTORWAY - 049 - ANNUAL REPORT