The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส3ปี2564ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anchana1330, 2021-10-29 04:58:38

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส3ปี2564ฉบับเต็ม

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส3ปี2564ฉบับเต็ม

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพทั ลงุ ปี 2564
ณ 30 กันยายน 2564

เศรษฐกจิ จงั หวดั พัทลงุ ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวท่ีรอ้ ยละ 2.5
และแนวโน้มปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 2.1

ภาคอุปทาน ขยายตัวรอ้ ยละ +3.4 ภาคอปุ สงค์ ขยายตวั ร้อยละ +1.7

ภาคบริการ ขยายตวั +4.2% การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัว +1.9%

ผลจากรัฐบาลออกมาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้น ผลจากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะมาตรการ
เศรษฐกิจและการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน เช่น ทางการเงินช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจท่ีได้รับ
การเพมิ่ วงเงนิ บตั รสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการเราชนะ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั COVID-19
และโครงการคนละครึง่ เปน็ ต้น

ภาคการเกษตร ขยายตวั +3.4% การใช้จา่ ยภาครฐั ขยายตัว +1.5%

ผลจากปริมาณผลผลิตยางพาราท่ีมีแนวโน้ม ผลจากมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณของ
เพิ่มขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ส่งผล จังหวัด หน่วยรับงบประมาณมีการเร่งเบิกจ่ายเพื่อให้
ใหป้ ริมาณยางออกสตู่ ลาดเพ่มิ ขึ้น เป็นไปตามเปา้ หมาย

ภาคอุตสาหกรรม หดตวั -0.7% การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัว+0.8%

ผลจากผูป้ ระกอบการลดการผลิตจากสถานการณ์ ผลจากประชาชนมีกาลังซื้อเพิ่มข้ึนจากรัฐบาลออก
การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ท่ยี งั คงระบาด มาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการจับจ่าย
ใช้สอยของประชาชน
รายไดเ้ กษตรกร ขยายตัว +8.1%
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
จากปัจจัยด้านราคาสินค้าเกษตรที่คาดว่ามี
เงนิ เฟอ้ อยู่ทรี่ อ้ ยละ +2.7%
แนวโน้มเพม่ิ ขนึ้ ดตัว
ตามราคานา้ มันเชือ้ เพลงิ ท่เี พมิ่ ขน้ึ
ปจั จัยเสยี่ งเศรษฐกจิ ในปี 2564
การจ้างงาน คาดว่าจะมีจานวน 305,925 คน
1. ความไมแ่ น่นอนและขีดความสามารถในการควบคุมสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ปรับเพ่ิมขึ้น จากโครงการการรับสมัครบุคคลจ้างเหมา
2. ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลกจากความยดื เยือ้ ของสถานการณ์ บริการเป็น “อาสาสมัครชุมชน” สู้ภัยโควิดภายใต้
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก
3. ความเส่ียงจากภัยธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตทาง สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
การเกษตรและรายไดเ้ กษตรกร 2019

เศรษฐกจิ พทั ลงุ infographic สานักงานคลังจังหวัดพทั ลงุ
http//www.cgd.go.th/ptl

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดพทั ลงุ

บทนำ

จากสภาพเศรษฐกจิ ในปัจจบุ ันทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงค่อนข้างรุนแรงและรวดเรว็ ทั้งด้านบวกและ
ด้านลบ มีผลกระทบโดยตรงต่อเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจภายในจังหวัด จึงต้องมีข้อมูล
ทิศทางและแนวโน้มของภาวะเศรษฐกิจที่จงั หวัดจะต้องเผชิญในอนาคต เพื่อนามาใชใ้ นการติดตามประเมินผล
การเปลี่ยนแปลงได้อย่างถูกต้อง แม่นยา เพ่อื ให้การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกจิ เป็นไปอย่างเหมาะสม ทันต่อ
เหตุการณ์และสามารถแก้ปัญหาหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา สามารถขับเคล่ือนเศรษฐกิจได้อย่าง
ตอ่ เนอ่ื งและมีเสถยี รภาพอย่างย่ังยืน

สานักงานคลังจังหวัดพัทลุง ได้จัดทาประมาณการเศรษฐกิจข้ึน โดยการสร้างแบบจาลอง
เศรษฐกิจจังหวัด (Provincia Macroeconomic Model) ด้วยวิธี Management Chart มาใช้พยากรณ์
(Forecast) และติดตาม (Monitoring) ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยข้อมูล
ทางเศรษฐกิจท่ีผ่านมาประกอบกับความคิดเห็นเก่ียวกับแนวโน้มของเศรษฐกิจในอนาคตจากผู้ท่ีมีความ
เช่ียวชาญด้านเศรษฐกิจในสาขาต่าง ๆ นามากาหนดและคาดคะเนทิศทางของเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับสภาพ
ความเป็นจริงเป็นสาคัญ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจของจังหวัด การวางแผนและ
กาหนดแนวทางการแก้ปัญหาอย่างมที ิศทางและมีเปา้ หมายที่ชัดเจน รวมท้ังการบริหารจัดการที่มีประสทิ ธิภาพ
มากย่งิ ข้ึน

สานกั งานคลังจังหวัดพัทลุง หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่ารายงานประมาณการเศรษฐกจิ ฉบับนี้ จะเป็น
ช่องทางหน่ึงที่ช่วยให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชน นกั ลงทุน ผปู้ ระกอบการ รวมทั้งประชาชนท่ัวไป
สามารถนาข้อมูลท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการวางแผ นการดาเนินงานทางเศรษฐกิจด้วยความ
ระมัดระวังและรอบคอบ อันจะก่อใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ

สานกั งานคลังจงั หวัดพัทลงุ
ตุลาคม 2564

สำรบญั 1
4
ประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั พทั ลงุ ปี 2564 5
ตารางสรปุ ภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโนม้ ของจงั หวัดพัทลุง 6
ตารางสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดพทั ลงุ 6
สมมติฐานหลกั ในการประมาณการเศรษฐกจิ 7
1.ดา้ นอุปทาน 11
2.ดา้ นอปุ สงค์ 11
12
ด้านรายไดเ้ กษตรกร 13
3.ดา้ นเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ

ดา้ นการจ้างงาน
Definition คานยิ ามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกจิ จังหวดั พทั ลงุ

ฉบับท่ี 3/2564 วันที่ 30 กนั ยำยน 2564

รำยงำนประมำณกำรเศรษฐกิจจงั หวดั พัทลงุ ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565
“เศรษฐกจิ จังหวัดพัทลุงปี 2564 คำดว่ำจะขยำยตัวทีร่ ้อยละ 2.5
และแนวโนม้ ปี 2565 คำดวำ่ จะขยำยตัวรอ้ ยละ 2.1”

เศรษฐกจิ จงั หวดั พทั ลงุ ในปี 2564
เศรษฐกิจจังหวัดพัทลงุ ปี 2564 มแี นวโน้มขยายตัวทอ่ี ตั รารอ้ ยละ 2.5 (ช่วงคาดการณท์ รี่ ้อยละ 2.4 – 2.6)

จากท่ขี ยายตวั ร้อยละ 0.7 ในปีท่ีผ่านมา โดยมีภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ การลงทนุ ภาคเอกชน การใชจ้ า่ ยภาครัฐ
และการบรโิ ภคภาคเอกชน เปน็ แรงขบั เคลอ่ื นทสี่ าคญั

ดำ้ นอปุ ทำน ปี 2564 คาดวา่ จะขยายตัวรอ้ ยละ 3.4 (ช่วงคาดการณ์ท่ีรอ้ ยละ 3.2 – 3.5) จากกำรผลิต
ภำคบริกำร ขยายตัวร้อยละ 4.2 (ช่วงคาดการณ์ทรี่ ้อยละ 4.1 – 4.3) เป็นผลจากรัฐบาลออกมาตรการต่างๆ
เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจและการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน เช่น การเพมิ่ วงเงินบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โครงการ
เราชนะ โครงการคนละคร่ึง และโครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ เป็นต้น กำรผลิตภำคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 3.4
(ชว่ งคาดการณท์ ่ีร้อยละ 3.3 – 3.5) เป็นผลจากปริมาณผลผลติ ยางพาราที่มแี นวโน้มเพมิ่ ขึ้น ประกอบกับสภาพ
อากาศท่ีเออ้ื อานวย ส่งผลให้ปริมาณยางออกสู่ตลาดเพ่ิมข้ึน ขณะที่กำรผลิตภำคอุตสำหกรรม หดตัวร้อยละ
-0.7 (ช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ -0.8 - -0.6) จากผู้ประกอบการลดการผลิตจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ไวรสั โคโรนา 2019 ทยี่ ังคงระบาด

ด้ำนอุปสงค์ ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัว 1.7 (ช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.6 – 1.8) จากกำรลงทุน
ภำคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 1.9 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7 – 2.0) เนื่องจากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะ
มาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟนื้ ฟูผู้ประกอบธรุ กิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
เพื่อช่วยเหลือระบบการเงินของภาคธุรกิจให้คงสภาพคล่องทางการเงินต่อไปได้ กำรใช้จ่ำยภำครัฐ ขยายตัว
รอ้ ยละ 1.5 (ชว่ งคาดการณท์ รี่ ้อยละ 1.4 – 1.6) จากมาตรการเร่งรัดการใชจ้ า่ ยงบประมาณของจงั หวัด หนว่ ยรบั
งบประมาณมีการเร่งเบิกจ่ายเงินงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายการเร่งรั ดการใช้จ่ายงบประมาณ
รายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำรบริโภคภำคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 0.8 (ชว่ งคาดการณ์ท่ีร้อยละ
0.7 – 1.0) ประชาชนมีกาลังซ้ือเพ่ิมขึ้นจากรัฐบาลออกมาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการจับจ่าย
ใชส้ อยของประชาชน

1

ดำ้ นเสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ
เสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพัทลุง อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2564 อยู่ทร่ี อ้ ยละ 2.7 (ชว่ งคาดการณ์ท่ี
รอ้ ยละ 2.5 – 2.8) ตามราคาน้ามันเชื้อเพลิงท่ีเพิ่มข้ึน ด้ำนกำรจ้ำงงำน จานวนผู้มีงานทา คาดว่าจะมจี านวน
305,925 คน ปรับเพม่ิ ขนึ้ จากโครงการการรับสมคั รบุคคลจา้ งเหมาบรกิ ารเป็น “อาสาสมคั รชมุ ชน” สภู้ ยั โควิด
ภายใต้โครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

เศรษฐกิจจงั หวัดพทั ลุงในปี 2565
เศรษฐกิจจังหวัดพัทลุง ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 (ชว่ งคาดการณ์ที่รอ้ ยละ 1.5 – 2.5) โดยมี

ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคบรกิ าร การลงทุนภาคเอกชน การบริโภคภาคเอกชนและการใชจ้ ่ายภาครัฐ
เป็นตัวขบั เคลอ่ื นท่ีสาคญั

ด้ำนอุปทำน ปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั รอ้ ยละ 2.3 (ชว่ งคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.8 – 2.8) จากกำรผลิต
ภำคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 3.3 (ชว่ งคาดการณ์ท่รี ้อยละ 2.8 – 3.8) ผลจากปริมาณผลผลิตยางพาราที่มี
แนวโน้มเพิ่มข้ึน กำรผลิตภำคบริกำร ขยายตัวร้อยละ 2.2 (ช่วงคาดการณ์ที่รอ้ ยละ 1.7 – 2.7) จากมาตรการ
ควบคุมการระบาดและสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เร่ิมคล่ีคลาย
กำรผลิตภำคอุตสำหกรรม ขยายตัวรอ้ ยละ 2.0 (ช่วงคาดการณท์ ี่ร้อยละ 1.5 – 2.5) นกั ลงทนุ มีความเช่อื มั่นใน
ทศิ ทางเศรษฐกิจท่ีมีแนวโนม้ ปรับตัวดีข้ึน จากมาตรการผ่อนคลายตา่ ง ๆ สอดคล้องกบั การเพ่ิมขึ้นของปริมาณ
การใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมและจานวนโรงงานอตุ สาหกรรม

ด้ำนอุปสงค์ ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.3 – 2.3) กำรลงทุน
ภำคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 1.9 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.4 – 2.4) ทางรัฐบาทมีการจัดหาวัคซีนได้มากข้ึน
และมีมาตรการในการช่วยเหลือผู้ประกอบการ เพื่อเพิ่มสภาพคล่องและการลงทุนในภาคธุรกิจ กำรใช้จ่ำย
ภำครัฐ ขยายตัวร้อยละ 1.8 (ช่วงคาดการณ์ที่รอ้ ยละ 1.3 – 2.3) และกำรบริโภคภำคเอกชน ขยายตัวร้อยละ
1.6 (ช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.1 – 2.1) เป็นผลมาจากมาตรการเยียวยาเพอื่ กระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐบาลผ่าน
นโยบายตา่ ง ๆ ของภาครัฐ ส่งผลให้ประชาชนมกี าลังซอ้ื เพิ่มมากขึน้

ดำ้ นเสถียรภำพทำงเศรษฐกจิ
เสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพัทลุง อตั ราเงนิ เฟ้อท่ัวไปในปี 2565 อยู่ท่ีรอ้ ยละ 1.6 (ช่วงคาดการณ์ที่
ร้อยละ 1.1 – 2.1) ตามราคาน้ามนั เช้ือเพลงิ ทีอ่ าจปรับเพิ่มขึ้น ดำ้ นกำรจ้ำงงำน จานวนผู้มีงานทา คาดว่าจะมี
จานวน 306,443 คน ปรับเพิ่มข้ึน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เร่ิม
คลค่ี ลายลง ผูป้ ระกอบการสามารถกลับมาดาเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ไดต้ ามปกติ

2

ปัจจยั เสย่ี งเศรษฐกจิ ในปี 2564 ของจังหวัดพทั ลุง ทีต่ ้องตดิ ตำมอยำ่ งต่อเน่อื ง
1. ความไม่แน่นอนและขีดความสามารถในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส

โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. ความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลกจากความยืดเยอ้ื ของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั

โคโรนา 2019 (COVID-19)
3. ความเสย่ี งจากภยั ธรรมชาติ ส่งผลกระทบตอ่ ปรมิ าณผลผลติ ทางการเกษตรและรายไดเ้ กษตรกร

3

ตำรำงสรปุ ภำพรวมเศรษฐกจิ และแนวโนม้ ของจังหวัดพทั ลงุ

เครื่องช้ีวัดเศรษฐกจิ หน่วย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564E(ณ กันยายน 2564) ปี 2565F(ณ กันยายน 2564)
Min Consensus Max
การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ Min Consensus Max
ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปปี ัจจุบนั 27,803.6 28,085.9 28,344.1
ลา้ นบาท 37,246.6 25,737.2 26,963.1 27,027.4 27,091.7 2.9 3.9 4.9
ประชากรในจังหวดั %yoy 3.6 -30.9 4.8 5.0 5.3
493,090 493,336 493,582
คน 491,859 492,351 492,597 492,843 493,089
0.05 0.10 0.15
ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ตอ่ หวั %yoy 0.01 0.10 0.05 0.10 0.15
56,386.4 56,930.6 57,425.3
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปีฐาน บาทตอ่ คนตอ่ ปี 75,726.2 52,274.1 54,736.5 54,839.8 54,942.9 2.8 3.8 4.7
(ปฐี าน 2531) %yoy 3.6 -31.0 4.7 4.9 5.1
GPP ดา้ นอปุ ทาน Supply Side : GPPS ล้านบาท 20,831.6 20,987.4 21,487.2 21,513.5 21,844.2 21,961.4 22,059.3
ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (API_Q) %yoy 1.9 0.7 2.4 2.5 21,539.7 1.5 2.1 2.5
ดชั นีราคาผลผลิตภาคเกษตร (API_P) %yoy -1.7 -1.6 3.2 3.4 2.6 1.8 2.3 2.8
ดชั นีภาคอตุ สาหกรรม (IPI) %yoy -5.3 -4.3 3.3 3.4 3.5 2.8 3.3 3.8
ดชั นีภาคบริการ (SI) %yoy 4.0 1.4 4.5 4.6 3.5 2.7 3.2 3.7
GPP ดา้ นอปุ สงค์ Demand Side : GPPD %yoy -7.3 2.6 -0.8 -0.7 4.7 1.5 2.0 2.5
ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน (CP) %yoy 0.5 -1.8 4.1 4.2 -0.6 1.7 2.2 2.7
ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน (IP) %yoy -0.7 3.5 1.6 1.7 4.3 1.3 1.8 2.3
ดชั นีการใชจ้ ่ายภาครัฐบาล (G) %yoy -8.4 -8.5 0.7 0.8 1.8 1.1 1.6 2.1
%yoy 2.1 1.4 1.7 1.9 1.0 1.4 1.9 2.4
%yoy -5.0 13.2 1.4 1.5 2.0 1.3 1.8 2.3
1.6

ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (Farm Income) %yoy -1.5 -2.9 7.9 8.1 8.4 5.6 6.6 7.6
43.5 43.5 44.8 45.0 45.3
ราคายางโดยเฉลยี่ (Avearage rubber price) บาทตอ่ กก. 41.0 40.9 43.4
2.7 2.8 1.1 1.6 2.1
เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ 27.3 28.3 27.8 28.8 27.8
2.5 2.6 1.3 1.8 2.3
อตั ราเงนิ เฟอ้ (Inflation rate) %p.a. -2.8 -1.3 2.5 305,925.0 305,956.0 306,307.5 306,443.0 306,556.3
622.4 653.4 382.5 518.0 631.3
ราคาน้ามนั ดเี ซลขายปลกี (Diesel Retail Price) บาท/ลติ ร 26.5 22.6 26.3

ระดบั ราคาเฉลีย่ ของ GPP (GPP Deflator) %yoy -1.7 -31.6 2.4

การจ้างงาน (Employment) คน 297,156.0 305,302.6 305,893.9

yoy -2,852.4 8,146.6 591.3

ทีม่ า : สานักงานคลังจังหวัดพทั ลงุ
ปรับปรงุ ล่าสดุ : 30 กันยายน 2564

4

ตำรำงสมมตฐิ ำนและผลกำรประมำณกำรเศรษฐกิจจังหวัดพทั ลุง

รายการ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564E (ณ กันยายน 2564) ปี 2565f (ณ กันยายน 2564)
เฉลย่ี ช่วง เฉลยี่ ช่วง
12,929.9
สมมตฐิ านหลัก 14,417.0 -10.3 13,827.2 13,811 - 13,843 14,311.1 14,242 - 14,380
-8.3 40.9 6.9 6.8 - 7.1 3.5 3.0 - 4.0
สมมตฐิ านภายนอก 41.0 -0.1 43.5 43.4 - 43.5 45.0 44.8 - 45.3
1) ปริมาณผลผลติ : ยางพารา (ตนั ) -3.9 558 6.3 6.2 - 6.4 3.6 3.1 - 4.1
549 1.6 552 551 - 553 555 553 - 558
(ร้อยละตอ่ ปี) 0.6 19.1 -1.0 -1.2 - -0.9 0.6 0.1 - 1.1
2) ราคาผลผลิต : ยางพารา (บาท/กก.) 19.4 -1.5 18.6 18.6 - 18.6 19.2 19.2 - 19.3
-1.4 228.9 -2.5 -2.6 - -2.4 3.5 3.0 - 4.0
(ร้อยละตอ่ ปี) 232.4 -1.5 247.6 252.5
3) จ้านวนโรงงานอตุ สาหกรรม (โรง) -1.4 2,750 8.2 247.4 - 247.9 2.0 251.3 - 253.8
3,101 -11.3 2,675 8.1 - 8.3 2,711 1.5 - 2.5
(ร้อยละตอ่ ปี) -11.7 9,627 -2.7 1.4
4) ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม (kwh) 9,711 -0.9 9,390 2,671 - 2,678 9,580 2,698 - 2,725
-0.6 -2.9 - -2.6 0.9 - 1.9
(ร้อยละตอ่ ปี) 15,419.4 -2.5 2.0
5) ยอดขายจากธรุ กจิ คา้ สง่ คา้ ปลกี (ล้านบาท) 15,334.6 0.6 9,378 - 9,402 9,533 - 9,627
0.5 15,857.3 16,123.7
(ร้อยละตอ่ ปี) 2,011.7 -2.6 - -2.3 1.5 - 2.5
7) จ้านวนรถยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ (คนั ) 1,660.7 21.1 2.8 1.7
10.1 15,838 - 15,877 16,044 - 16,203
(ร้อยละตอ่ ปี) 3,392.0
8) จ้านวนรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ (คนั ) 2,344.8 44.7 2.7 - 3.0 1.2 - 2.2
-27.6
(ร้อยละตอ่ ปี) 0.7 2,054.4 2,052 - 2,057 2,087.3 2,077 - 2,098
-1.3 -1.6 2.1 2.0 - 2.2 1.6 1.1 - 2.1
9) สินเชอื่ รวมเพอื่ การลงทุน (ล้านบาท) -1.7 -4.3
-5.3 2.6 3,477.8 3,474 - 3,482 3,558.8 3,541 - 3,576
(ร้อยละตอ่ ปี) -7.3 -1.8 2.5 2.4 - 2.7 2.3 1.8 - 2.8
0.5 3.5
สมมตฐิ านดา้ นนโยบาย -0.7 -8.5 2.5 2.4 - 2.6 2.1 1.5 - 2.5
-8.4 1.4 3.4 3.2 - 3.5 2.3 1.8 - 2.8
10) รายจ่ายเงนิ งบประจ้า (ลา้ นบาท) 2.1 13.2 3.4 3.3 - 3.5 3.3 2.8 - 3.8
-5.0 -2.9 -0.7 -0.8 - -0.6 2.0 1.5 - 2.5
(ร้อยละตอ่ ปี) -1.5 -1.3 4.2 4.1 - 4.3 2.2 1.7 - 2.7
-2.8 305,303 1.7 1.6 - 1.8 1.8 1.3 - 2.3
11) รายจ่ายเงนิ งบลงทุน (ลา้ นบาท) 297,156 8,147 0.8 0.7 - 1.0 1.6 1.1 - 2.1
-2,852 1.9 1.7 - 2.0 1.9 1.4 - 2.4
(ร้อยละตอ่ ปี) 1.5 1.4 - 1.6 1.8 1.3 - 2.3
8.1 7.9 - 8.4 6.6 5.6 - 7.6
ผลการประมาณการ 2.7 2.5 - 2.8 1.6 1.1 - 2.1
305,925 305,894 - 305,956 306,443 306,307 - 306,556
1) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละตอ่ ปี) 622 591 - 653 518 382 - 631

2) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน (ร้อยละตอ่ ปี)

3) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละตอ่ ปี)

4) อตั ราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี)

5) อตั ราการขยายตวั ของภาคบริการ (ร้อยละตอ่ ปี)

6) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ดา้ นอปุ สงค์ (ร้อยละ ตอ่ ปี)

7) อตั ราการขยายตวั ของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี)

8) อตั ราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี)

9) อตั ราการขยายตวั ของการใช้จ่ายภาครัฐ (ร้อยละตอ่ ปี)

10) อตั ราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตร (ร้อยละตอ่ ปี)

11) อตั ราเงนิ เฟอ้ (ร้อยละตอ่ ปี)

12) จ้านวนผูม้ งี านทา้ (คน)

เปลี่ยนแปลง (คน)

E = Estimate : การประมาณการ ทม่ี า: สานักงานคลังจังหวดั พัทลุง
F = Forecast : การพยากรณ์ ปรับปรงุ ลา่ สุด : 30 กันยายน 2564

5

สมมติฐำนหลกั ในกำรประมำณกำรเศรษฐกจิ จงั หวดั พทั ลงุ

1. ด้ำนอุปทำน ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.4 ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ที่หดตัว
รอ้ ยละ -1.6 เป็นผลมาจากการผลิตภาคการเกษตรและภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 3.4 และ 4.2 ตามลาดับ
สว่ นภาคอุตสาหกรรม หดตัวร้อยละ -0.7 โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้

1.1 ปริมำณผลผลิตยำงพำรำ ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.9 (ต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม
ณ เดือนมิถุนายน ทคี่ าดว่าจะขยายตัวร้อยละ 12.8) ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ท่ีหดตัวร้อยละ -10.3 เนื่องจาก
ปรมิ าณผลผลิตยางพาราที่มีแนวโน้มเพมิ่ ขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่เออ้ื อานวย ส่งผลใหป้ ริมาณยางออกสู่
ตลาดเพ่ิมขึ้น สาหรับปี 2565 คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 3.5

%yoy ปรมิ ำณผลผลิตยำงพำรำ

30 26.1

20 12.8
6.9
10 7.3 3.5
3.1

0

-10 -0.6 ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64
-8.3 -10.3

-20 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

1.2 ปริมำณกำรใช้ไฟฟำ้ ภำคอตุ สำหกรรม ในปี 2564 คาดว่าจะหดตัวรอ้ ยละ -2.5 (ต่ากว่า
ท่ีคาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนมิถุนายน ท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.2) หดตัวเพิ่มขึ้นจากปีท่ีผ่านมา ที่หดตัว
ร้อยละ -1.5 จากผู้ประกอบการลดการผลิตจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ท่ียังคง
ระบาด สาหรับปี 2565 คาดวา่ จะขยายตัวร้อยละ 3.5

%yoy ปรมิ ำณกำรใช้ไฟฟ้ำภำคอุตสำหกรรม
10
8 8.3 8.1 5.3

6 3.4 3.5
1.2
4
2

0

-2 -1.4 -1.5 -2.5
-4
ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

6

1.3 ยอดขำยจำกธรุ กจิ ค้ำส่งค้ำปลีก ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 8.2 (สูงกว่าท่ีคาดการณไ์ ว้
เดิม ณ เดือนมิถุนายน ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.7) ขยายตัวจากปีทีผ่ ่านมาท่ีหดตัวร้อยละ -1.5 เนือ่ งจาก
รัฐบาลออกมาตรการต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกจิ และการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน เช่น การเพิ่มวงเงินบัตร
สวัสดิการแห่งรัฐ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง และโครงการยิ่งใช้ย่งิ ได้ เป็นต้น สาหรบั ปี 2565 คาดว่า
จะขยายตัวรอ้ ยละ 2.0

%yoy ยอดขำยจำกธรุ กจิ กำรคำ้ สง่ คำ้ ปลกี

10 8.3 8.1 5.3 6.7 8.2
8 2.0
6
4 3.4
2
0
-2
-1.4 -1.5 ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

2. ดำ้ นอปุ สงค์ ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตวั ในอตั รารอ้ ยละ 1.7 ชะลอตวั จากปีทผ่ี า่ นมา ท่ีขยายตัว
ร้อยละ 3.5 เป็นผลมาจากการลงทุนภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ และการบรโิ ภคภาคเอกชน ขยายตวั รอ้ ยละ
1.9 1.5 และ 0.8 ตามลาดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้

2.1 จำนวนรถยนต์จดทะเบยี นใหม่ ในปี 2564 คาดว่าจะมีจานวน 2,675 คัน (สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้
เดมิ ณ เดือนมถิ ุนายน ทคี่ าดว่าจะมีจานวน 2,635 คนั ) ลดลงจากปีท่ผี ่านมา จานวน 75 คนั ประชาชนมีกาลัง
ซอ้ื ลดลงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 ท่ียังคงระบาดอยา่ งต่อเน่ือง สาหรับปี 2565
คาดวา่ จะมีรถยนต์จดทะเบยี นใหม่ จานวน 2,711 คนั

คนั จำนวนรถยนตจ์ ดทะเบียนใหม่

3,600 3,511

3,300 3,081 3,101

3,000 2,750 2,635.0 2,675 2,711
ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64
2,700 2,535 2,635

2,400

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

7

2.2 สินเช่ือรวมเพื่อกำรลงทุน ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 (ต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม
ณ เดือนมิถุนายน ทคี่ าดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1) ขยายตวั จากปีท่ีผา่ นมา ทข่ี ยายตัวร้อยละ 0.6 คาดวา่ มีแนวโน้ม
ขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะมาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟ้ืนฟู
ผู้ประกอบธุรกิจท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อช่วยเหลือระบบการเงินของ
ภาคธุรกจิ ให้สามารถหมนุ เวยี นสภาพคลอ่ งทางการเงินตอ่ ไปได้ สาหรบั ปี 2565 คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 1.7

%yoy สินเช่อื รวมเพ่ือกำรลงทนุ

12 11.4
10

8 4.1 2.3 1.7 0.5 0.6 4.1 2.8 1.7

6 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64
4
2
0

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

2.3 กำรใช้จ่ำยภำครฐั ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวรอ้ ยละ 1.5 (ต่ากว่าที่คาดการณ์ไวเ้ ดมิ ณ เดือน
มิถนุ ายน ท่ีคาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 4.9) ชะลอตัวจากปีทผ่ี า่ นมา ท่ีขยายตวั ร้อยละ 13.2 จากมาตรการเรง่ รัด
การใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัด หน่วยรับงบประมาณมีการเร่งเบิกจ่ายเงินงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตาม
เปา้ หมายการเรง่ รัดการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาหรบั ปี 2565 คาดว่าจะ
ขยายตวั รอ้ ยละ 1.8

%yoy กำรใช้จำ่ ยภำครัฐ

15 13.2

10 6.8 7.7 4.9
5 4.8 1.5 1.8

0

-5

-10 -5.1 -5.0
มิ.ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

8

%yoy รำยจำ่ ยเงินงบประจำ
10.1 21.1
30 1.4 2.1 1.6

15 1.4

0

-15 -13.9

-30 -22.9
-45

-60 -46.4 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

%yoy รำยจ่ำยเงนิ งบลงทนุ

50 44.7

40 33.1
30
20 18.3 2.5 2.3

10
0
-10 -0.9 -0.9
-20
-30 -18.1
-27.6 มิ.ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ 100.0 ของ
วงเงนิ งบประมาณในภาพรวมและเปา้ หมายการเบิกจา่ ยงบลงทุนไว้ที่ ร้อยละ 100.0 ของวงเงนิ งบประมาณลงทุน
และเป้าหมายการเบกิ จา่ ยรายไตรมาสประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564

เปำ้ หมำยกำรเบกิ จำ่ ย ภำพรวม งบลงทุน
(ร้อยละ) (รอ้ ยละ)

ไตรมาส 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 32 20

ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 54 45

ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 77 65

ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 100 100

สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รายจ่ายรัฐบาล คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้
ทั้งส้ิน 5,532.20 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.5 เม่ือเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายท่ี
รอ้ ยละ 79.08 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม ซง่ึ คาดว่าจะตา่ กวา่ เป้าหมายการเบิกจ่ายทก่ี าหนดไวท้ ่ีรอ้ ยละ
100.00 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม โดยรายจา่ ยประจาคาดวา่ จะสามารถเบกิ จ่ายได้ 2,054.40 ลา้ นบาท
เพิ่มข้ึนร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 96.58 ของวงเงิน

9

งบประมาณงบประจา สาหรับรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะสามารถเบิกจา่ ยได้ 3,477.80 ล้านบาท เพิม่ ข้ึนร้อยละ

2.5 เมื่อเทยี บกับชว่ งเดียวกันปีก่อน คิดเปน็ อตั ราการเบิกจ่ายที่รอ้ ยละ 70.99 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุน

ซ่ึงคาดว่าจะตา่ กว่าเป้าหมายการเบิกจ่ายท่กี าหนดไว้ทร่ี อ้ ยละ 100.00 ของวงเงนิ งบประมาณงบลงทนุ

งบประมาณท่ี ผลการเบกิ จา่ ย รอ้ ยละ ผลคาดการณ์ คาดการณ์ เปา้ หมาย สงู กว่า/ต่า

รายการ ได้รบั จดั สรร สะสมต้ังแต่ต้น การเบกิ จา่ ย เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ การเบกิ จา่ ย กว่าเปา้ หมาย
ปงี ปม. ปี งปม.2564 การเบกิ จา่ ย (รอ้ ยละ)

ถงึ กรกฏาคม64

1. รายจา่ ยจรงิ ปงี บประมาณปจั จบุ นั 5,714.90 4,966.20 86.9 5,532.20 79.08 100.00 ต่ากว่า

1.1 รายจ่ายประจ้า 1,938.00 1,645.20 84.9 2,054.40 96.58

1.2 รายจ่ายลงทุน 3,776.90 3,321.00 87.9 3,477.80 70.99 100.00 ต่ากวา่

2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอ่ื มปี 1,147.60 1,046.00 91.1

2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1,147.60 1,046.00 91.1

2.2 กอ่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 0.00 0.00 0.0

3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 6,862.50 6,012.20 87.6

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

10

ผลกำรดำเนนิ กำรจัดซอ้ื จดั จำ้ งรำยจำ่ ยลงทนุ สะสมตัง้ แตต่ ้นปงี บประมำณ พ.ศ 2564

1,327,516,063.98, ถงึ เดือนกรกฎำคม 2564
35.64%
2,305,198,736.30,
61.89%

2,855,700.00, 0.08% ก่อหนผี ้ กู พนั
อนมุ ัติสงั่ จ่าย
391,495.00, 0.01% 88,839,361.01, ประกาศเชิญชวน
2.39% รายงานขอซอื ้ ขอจ้าง
ไม่มีการดาเนินการใดๆ

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

3.ด้ำนรำยได้เกษตรกร ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวทีร่ ้อยละ 8.1 ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ที่หดตัว
ร้อยละ -2.9 เปน็ ผลมาจากปจั จัยด้านราคาสินคา้ เกษตรท่คี าดวา่ มีแนวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

3.1 รำคำผลผลิตยำงพำรำ ในปี 2564 คาดว่าราคายางพาราเฉล่ียจะอยู่ที่ 43.5 บาทต่อกิโลกรัม
(ตา่ กว่าท่ีคาดการณ์ไว้เดมิ ณ เดอื นมถิ นุ ายน ท่ีราคา 47.6 บาทต่อกิโลกรัม) เพม่ิ ขนึ้ จากปีที่ผ่านมา ซง่ึ อย่ทู รี่ าคา
40.9 บาทต่อกิโลกรัม เน่ืองจากมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางจากภาครัฐ ประกอบกับค่าเงินบาทที่
อ่อนลง สง่ ผลให้ราคายางพารามีแนวโน้มปรับตวั สงู ขน้ึ สาหรับปี 2565 คาดวา่ ราคาเฉลย่ี จะอยู่ท่ี 45.0 บาทต่อ
กิโลกรัม

60 บำท/กก. 54.4รำคำผลผลติ ยำงพำรำ

50 46.2 42.6 41.0 40.9 47.6 43.5 45.0
40
42.5

30

20

10

0

ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

4. ด้ำนเสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ ในปี 2564 คาดว่าอัตราเงนิ เฟ้อท่ัวไป อยู่ท่ีร้อยละ 2.7 (สูงกว่าที่
คาดการณ์ไว้เดมิ ณ เดือนมถิ นุ ายน ที่รอ้ ยละ 2.2) เพ่มิ ขน้ึ จากปที ่ผี ่านมา ทหี่ ดตัวรอ้ ยละ -1.3 จากหมวดพาหนะ
การขนส่ง และการสื่อสาร ตามราคาน้ามันเชื้อเพลิงท่ีเพิม่ ขึ้น สาหรับปี 2565 คาดว่าอัตราเงนิ เฟอ้ ทั่วไป อยู่ท่ี
รอ้ ยละ 1.6

11

%yoy 1.0 อตั รำเงินเฟ้อ 2.2 2.7 1.6

3 1.4
2 0.5
1
0 -1.3
-1 -2.8

-2 -1.1 ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64

-3
-4

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565

กำรจ้ำงงำน ในปี 2564 คาดว่าจะมีจานวน 305,925 คน (สงู กว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดอื นมิถุนายน
ทค่ี าดว่าจะมีจาวน 305,406 คน) สูงกว่าปีทีผ่ ่านมา ที่มจี านวน 305,303 คน จากโครงการการรับสมัครบุคคล
จ้างเหมาบริการเป็น “อาสาสมัครชุมชน” สู้ภัยโควิดภายใตโ้ ครงการจ้างงานประชาชนทไ่ี ด้รับผลกระทบจาก
สถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาหรับปี 2565 คาดวา่ จะมีการจ้างงาน
จานวน 306,443 คน

คน กำรจ้ำงงำน
320,000
315,000 297,620 300,008 305,303 305,406 305,925 306,443
310,000
305,000 300,095 297,156
300,000 291,584
295,000
290,000 ม.ิ ย.-64 ก.ย.-64 ก.ย.-64
285,000 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
280,000

12

Definition คำนิยำมตัวแปรและกำรคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจงั หวดั พทั ลงุ

GPP constant price ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาปีฐาน

GPP current prices ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปีปัจจบุ นั

GPPS ดชั นผี ลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาปฐี าน ดา้ นอปุ ทาน

GPPD ดชั นีผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์

API ดัชนปี ริมาณผลผลิตภาคเกษตร

IPI ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม

SI ดัชนีปริมาณผลผลติ ภาคบรกิ าร

Cp Index ดัชนกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน

Ip Index ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชน

G Index ดชั นกี ารใช้จ่ายภาครัฐบาล

GPP Deflator ระดบั ราคาเฉลีย่ ของผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั พัทลุง

CPI ดชั นีราคาผ้บู รโิ ภคจังหวดั พทั ลงุ

PPI ดัชนีราคาผู้ผลติ ระดบั ประเทศ

Inflation rate อัตราเงินเฟ้อจงั หวดั พัทลงุ

Farm Income Index ดัชนีรายได้เกษตรกร

Population จานวนประชากรของจังหวัดพัทลงุ

Employment จานวนผ้มู งี านทาของจงั หวัดพัทลงุ

%yoy อัตราการเปล่ยี นแปลงเทียบกบั ชว่ งเดียวกนั ของปกี อ่ น

Base year ปฐี าน (2549 = 100)

Min สถานการณ์ทคี่ าดว่าเลวรา้ ยทสี่ ดุ

Consensus สถานการณท์ ี่คาดวา่ จะเปน็ ได้มากที่สุด

Max สถานการณท์ ่ีคาดว่าดีทสี่ ดุ

13

กำรคำนวณดชั นี

ดัชนีช้ีวัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (Supply Side หรือ Production Side: GPPS) ประกอบด้วย 3 ดัชนี

ได้แก่

(1) ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจังหวดั พทั ลงุ โดยใหน้ ้าหนัก 0.31

(2) ดชั นผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัดพทั ลุง โดยใหน้ ้าหนัก 0.11

(3) ดัชนผี ลผลิตภาคบรกิ ารจงั หวดั พัทลงุ โดยให้น้าหนัก 0.57

การกาหนดนา้ หนกั ของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิม่ ราคาปีปัจจุบัน ของ
เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง) เครื่องช้ีเศรษฐกิจ
ภาคอุตสาหกรรม (สาขาการทาเหมืองแรแ่ ละเหมืองหิน การผลิต ไฟฟา้ ก๊าซ ไอนา้ และระบบปรับอากาศ การ
จดั หานา้ การจดั การ และการบาบัดน้าเสีย ของเสีย และสิ่งปฏกิ ลู ) และเครื่องช้ีเศรษฐกิจภาคบริการ (14 สาขา
ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึง สาขากิจกรรมบริการด้านอ่ืนๆ) จากข้อมูล GPP ของ สศช. เทียบกับ GPP รวมราคา
ปีปัจจุบันของ สศช. ทงั้ หมด 19 สาขา

จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ติดตามภาวการณ์ผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด
พัทลุงเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 15 วัน โดยการคานวณ API (Q), API (P), IPI, SI ได้กาหนดปีฐาน
2549 ซ่ึงคานวณจากเครื่องช้ีปรมิ าณผลผลิตภาคเกษตรกรรม ราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม
และภาคบรกิ ารของจังหวดั พัทลุงรายเดอื น อนุกรมเวลายอ้ นหลังไปตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2549 เปน็ ตน้ มา

ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API) ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบ

ทง้ั สน้ิ 3 ตวั คอื

- ปรมิ าณผลผลิต : ยางพารา โดยใหน้ า้ หนัก 0.78

- ปริมาณผลผลติ : ข้าวนาปีและนาปรัง โดยให้นา้ หนกั 0.07

- ปริมาณผลผลติ : สกุ รพันธุ์ โดยใหน้ า้ หนัก 0.15

โดยตวั ชวี้ ดั ทุกตัวได้ปรบั ฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แลว้ การกาหนดนา้ หนกั ขององค์ประกอบ

ในการจดั ทาAPI (Q) ให้นา้ หนักของเครื่องช้ีข้างตน้ ได้จากสัดส่วนมูลค่าเพิม่ ของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ

GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปปี จั จบุ ันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การปา่ ไม้ และการประมง)

ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ( Industrial Production Index: IPI) ประกอบไปด้วย

องคป์ ระกอบทงั้ สิน้ 6 ตัว คือ

- ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม โดยให้น้าหนกั 0.20

- จานวนโรงงานอตุ สาหกรรม โดยใหน้ า้ หนกั 0.13

- ทุนจดทะเบียนของโรงงานอุตสาหกรรมใหม่ โดยใหน้ ้าหนกั 0.22

- ปรมิ าณหนิ ปูนและหนิ กรวด โดยใหน้ า้ หนกั 0.14

- ภาษีมลู คา่ เพิ่มภาคอตุ สาหกรรม โดยให้น้าหนัก 0.15

- ภาษสี รรพสามติ การผลิตภาคอตุ สาหกรรม โดยให้น้าหนัก 0.16

14

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา IPI ให้น้าหนักของเคร่ืองชี้จากการหาความสัมพันธ์
Correlation ระหวา่ งเครื่องชเ้ี ศรษฐกิจผลผลอิ ุตสาหกรรมรายปกี บั GPP (สศช.) ณ ราคาคงท่ี ภาคอตุ สาหกรรม
(สาขาการทาเหมอื งแรแ่ ละเหมอื งหิน การผลิต ไฟฟ้า ก๊าซ ไอนา้ และระบบปรับอากาศ การจัดหานา้ การจัดการ
และการบาบัดน้าเสยี ของเสยี และส่งิ ปฏิกูล)

ดชั นีปรมิ าณผลผลติ ภาคบรกิ าร (Service Index: SI) ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทง้ั สน้ิ 5 ตัว คือ

- GPP constant price สาขาการขายสง่ และการขายปลกี ฯ โดยใหน้ า้ หนัก 0.307

- GPP constant price สาขากจิ กรรมทางการเงินฯ โดยใหน้ ้าหนัก 0.225

- GPP constant price สาขากิจกรรมอสงั หาริมทรัพย์ โดยให้น้าหนัก 0.114

- GPP constant price สาขาการบรหิ ารราชการฯ โดยใหน้ า้ หนกั 0.129

- GPP constant price สาขาการศึกษา โดยให้นา้ หนัก 0.225

การกาหนดนา้ หนักขององค์ประกอบในการจัดทา SI ใหน้ ้าหนกั ของเครื่องช้ี โดยเคร่อื งช้ภี าคบริการ

ดา้ นขายสง่ ขายปลีก การศกึ ษาและโรงแรมได้จากสดั สว่ นของ GPP สาขาการขายส่งขายปลกี สาขาการ

ศกึ ษา สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ณ ราคาปปี จั จุบัน 2552 (สศช.) เทยี บ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคา

ปีปจั จบุ ัน (สศช.) หารดว้ ยจานวนเครื่องชี้ในด้านนน้ั ๆ

ดชั นชี ้วี ัดเศรษฐกจิ ด้านอุปสงค์ (Demand Side: GPPD) ประกอบไปด้วย 3 ดัชนไี ดแ้ ก่

(1) ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน โดยใหน้ า้ หนกั 0.21

(2) ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน โดยใหน้ า้ หนกั 0.47

(3) ดัชนีการใช้จา่ ยภาครฐั โดยใหน้ า้ หนัก 0.32

การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉล่ียในแต่ละดัชนี เทียบกับเทียบกับ

GPP constant price โดยเฉล่ียเพ่ือหาสัดส่วน และคานวณหาน้าหนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวม

สดั สว่ นดชั นีรวมทั้งหมด

จดั ทาขน้ึ เพ่ือใช้ติดตามภาวการณ์ใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน และการใช้จ่ายภาครัฐ

ของจังหวัดพัทลุงเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 15 วัน โดยการคานวณ Cp Index, Ip Index, และ

G Index ได้กาหนดปีฐาน 2549 ซง่ึ คานวณจากเครื่องชี้ภาวการณ์ใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน

และการใช้จ่ายภาครัฐของจงั หวดั พทั ลุงเป็นรายเดือน อนุกรมเวลายอ้ นหลงั ไปต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา

ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index) ประกอบไปด้วย

องค์ประกอบทัง้ สนิ้ 3 ตัว คือ

- ภาษมี ลู ค่าเพิม่ หมวดขายสง่ ขายปลกี โดยใหน้ า้ หนัก 0.04

- จานวนรถจกั รยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ โดยให้นา้ หนกั 0.80

- จานวนรถยนตน์ ั่งสว่ นบุคคลจดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ า้ หนัก 0.16

15

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Cp Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้ จากการหา
คา่ เฉลีย่ ของเครอ่ื งชี้ในการจัดทา Cp Indexและแปลงเป็นมลู คา่ หน่วยเดยี วกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจากสดั ส่วน
มูลคา่ เครื่องชฯ้ี เทียบกับมลู คา่ รวมของเคร่ืองช้ีท้งั หมด

ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip)ประกอบไปด้วยองค์ประกอบท้ังส้ิน

5 ตัว คอื

- พ้นื ทีไ่ ดร้ บั อนุญาตให้กอ่ สรา้ งรวม โดยใหน้ ้าหนกั 0.0001

- จานวนรถยนตพ์ าณชิ ยท์ ี่จดทะเบียนใหม่ โดยให้นา้ หนัก 0.0015

- สินเชือ่ เพอ่ื การลงทนุ โดยใหน้ ้าหนัก 0.6350

- จานวนธุรกจิ นติ บิ ุคคล โดยให้น้าหนัก 0.1817

- จานวนทนุ จดทะเบยี นนิติบุคคล โดยให้นา้ หนัก 0.1817

การกาหนดนา้ หนกั ขององค์ประกอบในการจัดทา Ip Index ใหน้ า้ หนักของเครื่องชี้ จากการหา

ค่าเฉล่ยี ของเครอ่ื งชี้ในการจัดทา Ip Index และแปลงเปน็ มูลคา่ หน่วยเดียวกนั (บาท) แล้วหานา้ หนกั จาก

สัดส่วนมูลคา่ เครอ่ื งช้ีฯ เทยี บกับมูลคา่ รวมของเครอื่ งชีท้ ง้ั หมด

ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (Government Expenditure Index: G) ประกอบไปด้วยองค์ประกอบท้ังสิ้น

4 ตวั คือ

- รายจ่ายประจาภาครัฐ ทัง้ ส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค โดยใหน้ ้าหนกั 0.386

- รายจ่ายลงทุนภาครัฐ ทงั้ ส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค โดยใหน้ า้ หนกั 0.245

- รายจ่ายประจาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น โดยให้น้าหนัก 0.241

- รายจ่ายลงทนุ ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ โดยใหน้ ้าหนัก 0.128

การกาหนดนา้ หนกั ขององค์ประกอบในการจัดทา Ip Index ให้น้าหนักของเคร่ืองชี้จากการหาค่าเฉล่ีย

ของเคร่ืองช้ีในการจัดทา Ip Index และแปลงเปน็ มลู คา่ หนว่ ยเดยี วกนั (บาท) แล้วหานา้ หนักจากสัดสว่ นมูลค่า

เครอื่ งช้ฯี เทียบกบั มูลคา่ รวมของเครอ่ื งช้ที ้งั หมด

ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด ณ ราคาคงท่ี (GPP constant price) ประกอบไปดว้ ยดัชนี 2 ดา้ น

- ดชั นีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอปุ ทาน (GPPS) โดยใหน้ ้าหนัก 0.60

- ดชั นีชีว้ ัดเศรษฐกจิ ด้านอุปสงค์ (GPPD) โดยใหน้ า้ หนัก 0.40

ดัชนชี ี้วัดดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจ GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบไปด้วย

- ดัชนีราคาผผู้ ลิต (PPI) โดยให้นา้ หนัก 0.60

- ดัชนีราคาผบู้ รโิ ภคจังหวดั พทั ลุง (CPI) โดยใหน้ า้ หนกั 0.40

16

การเปลี่ยนแปลงของจานวนผ้มู ีงานทา
คานวณจาก GPP constant price X 0.81 (อัตราการพ่งึ พาแรงงาน)

อัตราการพง่ึ พาแรงงาน
คานวณจากการวเิ คราะห์การถดถอยเชงิ เส้นอยา่ งงา่ ย (Simple Linear Regression Analysis)

โดยมรี ูปแบบความสัมพันธ์ คอื ln(Emp) = a +b(ln(GPP))
โดยท่ี Emp = จานวนผมู้ งี านทาจาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจงั หวดั พทั ลงุ

ข้อมลู Website สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ซึง่ ใช้ปี 2549 – 2564
GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดพทั ลงุ ณ ราคาคงที่ ขอ้ มูลจาก สศช. ซ่ึงใช้ปี 2549 – 2562

สำนกั งำนคลงั จังหวัดพทั ลงุ ขอขอบคุณส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจ อปท. และหน่วยธรุ กจิ
ที่สนบั สนุนข้อมลู เบ้ืองต้นในกำรประมำณกำรเศรษฐกจิ จังหวดั พัทลงุ

17


Click to View FlipBook Version