The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส4 ปี2564ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anchana1330, 2022-01-12 22:12:39

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส4 ปี2564ฉบับสมบูรณ์

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุงไตรมาส4 ปี2564ฉบับสมบูรณ์

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพทั ลงุ
ณ 31 ธันวาคม 2564

เศรษฐกจิ จงั หวัดพัทลุง ปี 2564 ขยายตัวท่ีร้อยละ 7.1 และแนวโน้มปี 2565

คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.9

ภาคอปุ ทาน ขยายตวั 7.6 ภาคอุปสงค์ ขยายตัว 4.6

ภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 10.3 การบรโิ ภคภาคเอกชน ขยายตัวรอ้ ยละ 7.2
จากปริมาณผลผลิตยางพาราท่ีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากจานวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้น จากภาวะ
ประกอบกับสภาพอากาศที่เอ้ืออานวย รวมถึงปัจจัย เศรษฐกจิ ท่เี ริ่มฟ้นื ตวั ภายหลังจากสถานการณ์โรคระบาด
ดา้ นราคายางพาราท่คี าดวา่ จะปรบั ตัวสงู ขน้ึ ติดเชื้อไวรัสโคโรนา Covid-19 คล่ีคลาย

ภาคอตุ สาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 11.1 การลงทนุ ภาคเอกชน ขยายตวั ร้อยละ 3.2
ตามจานวนโรงงานอุตสาหกรรมและทุนจดทะเบียน จากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะมาตรการทางการเงนิ
อตุ สาหกรรมเพิ่มข้นึ ชว่ ยเหลอื ฟื้นฟผู ปู้ ระกอบธุรกิจท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากการ

ภาคบริการ ขยายตวั ร้อยละ 6.6 แพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั COVID-19 เพื่อช่วยเหลือระบบ
จากรัฐบาลออกมาตรการต่างๆ เพ่ือกระตนุ้ เศรษฐกจิ และ การเงินของภาคธุรกิจให้สามารถหมุนเวียนสภาพคล่อง
การจบั จา่ ยใชส้ อยของประชาชน เช่น การเพ่มิ วงเงนิ บตั ร ทางการเงินตอ่ ไปได้

สวสั ดกิ ารแหง่ รฐั โครงการคนละคร่งึ และโครงการยิง่ ใช้ การใชจ้ ่ายภาครัฐ ขยายตวั รอ้ ยละ 7.2
ยงิ่ ได้ เป็นตน้ จากการที่ภาครัฐมีมาตรการเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจผ่าน

ดา้ นรายได้เกษตรกร ขยายตวั ร้อยละ 24.9 มาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงาน
ภายในจังหวัด ส่งผลให้หน่วยรับงบประมาณมีการเร่ง
จากปัจจัยด้านราคาสินค้าเกษตรท่ีคาดว่ามีแนวโน้ม เบิกจ่ายเงินงบประมาณเพ่ือให้เป็นไปตาม เป้าหมาย
เพิ่มข้นึ การเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณของรฐั บาล

ปจั จยั เสย่ี งเศรษฐกิจในปี 2564 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

1. ความไม่แน่นอนและขีดความสามารถในการควบคุม อัตราเงินเฟ้อ ขยายตัวร้อยละ 2.9 ตามดัชนีราคาผู้บริโภค
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา หมวดอ่ืนๆ ไม่ใช่อาหารและเคร่ืองด่ืม จากหมวดพาหนะ
2019 (Covid – 19) การขนส่ง และการสอื่ สาร ตามราคานา้ มันเช้ือเพลิงท่ีเพม่ิ ขนึ้
2. ความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลกจากความยืดเยอื้ ของ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา การจ้างงาน คาดว่าจะมีจานวน 308,357 คน จากสถานการณ์
2019 (Covid – 19) การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 เร่ิมคลี่คลายลง
3. ความเส่ียงจากภัยธรรมชาติ สง่ ผลกระทบต่อปรมิ าณ ผู้ประกอบการสามารถกลับมาดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้
ผลผลติ ทางการเกษตรและรายไดเ้ กษตร ตามปกติ สง่ ผลให้การจา้ งงานเพ่มิ มากข้ึน

เศรษฐกิจพทั ลงุ infographic สานักงานคลังจังหวัดพทั ลงุ
http//www.cgd.go.th/ptl

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพัทลุง

บทนำ

จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบนั ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างรุนแรงและรวดเร็วทั้งด้านบวกและ
ด้านลบ มีผลกระทบโดยตรงต่อเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจภายในจังหวัด จึงต้องมีข้อมูล
ทิศทางและแนวโน้มของภาวะเศรษฐกิจที่จังหวัดจะต้องเผชิญในอนาคต เพื่อนำมาใช้ในการติดตามประเมินผล
การเปลี่ยนแปลงได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ เพื่อให้การดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างเหมาะสม ทันต่อ
เหตุการณ์และสามารถแก้ไขปัญหาหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้อย่าง
ต่อเนื่องและมีเสถยี รภาพอย่างยั่งยืน

สำนักงานคลังจังหวัดพัทลุง ได้จัดทำประมาณการเศรษฐกิจขึ้น โดยการสร้างแบบจำลอง
เศรษฐกิจจังหวัด (Provincia Macroeconomic Model) ด้วยวิธี Management Chart มาใช้พยากรณ์
(Forecast) และติดตาม (Monitoring) ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยข้อมูล
ทางเศรษฐกิจที่ผ่านมาประกอบกับความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวโน้มของเศรษฐกิจในอนาคตจากผู้ที่มีความ
เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจในสาขาต่าง ๆ นำมากำหนดและคาดคะเนทิศทางของเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับสภาพ
ความเป็นจริงเป็นสำคัญ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจของจังหวัด การวางแผนและ
กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างมีทิศทางและมีเป้าหมายที่ชัดเจน รวมทั้งการบริหารจัดการที่มี
ประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ

สำนักงานคลังจังหวัดพัทลุง หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประมาณการเศรษฐกิจฉบับนี้ จะเป็น
ช่องทางหนึ่งที่ช่วยให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน นักลงทุน ผู้ประกอบการ รวมทั้งประชาชนทั่วไป
สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนการดำเนินงาน ทางเศรษฐกิจด้วยความ
ระมัดระวังและรอบคอบ อนั จะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด

สำนักงานคลังจังหวัดพทั ลุง
มกราคม 2565

สารบญั 1
3
ประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั พทั ลงุ ปี 2564 4
ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโนม้ ของจงั หวัดพัทลงุ 5
ตารางสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั พัทลงุ 5
สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกจิ 6
1.ด้านอปุ ทาน 10
2.ดา้ นอุปสงค์ 11
11
ดา้ นรายไดเ้ กษตรกร 12
3.ดา้ นเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ด้านการจา้ งงาน
Definition คำนิยามตวั แปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจังหวดั พัทลุง

ฉบบั ท่ี 4/2564 วันท่ี 31 ธันวาคม 2564

“เศรษฐกิจจงั หวัดพัทลุงปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 7.1 และแนวโน้มปี 2565
คาดว่าจะขยายตัวรอ้ ยละ 5.9”

เศรษฐกจิ จังหวัดพัทลุงในปี 2564
เศรษฐกิจจังหวัดพัทลุง ปี 2564 ขยายตัวที่อัตราร้อยละ 7.1 จากที่ขยายตัวร้อยละ 2.1 ในปีที่ผ่านมา

โดยมภี าคเกษตรกรรม ภาคบริการและการบรโิ ภคภาคเอกชน เป็นแรงขบั เคลอื่ นทสี่ ำคญั

ด้านอุปทาน ปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากการผลิตภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 10.3
เนื่องจากปริมาณผลผลิตยางพาราที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย รวมถึงปัจจัยด้าน
ราคายางพาราที่คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 11.1 ตามจำนวนโรงงาน
อุตสาหกรรมและทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมเพ่ิมขึน้ การผลติ ภาคบรกิ าร ขยายตัวร้อยละ 6.6 เนอื่ งจากรัฐบาล
ออกมาตรการตา่ งๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกจิ และการจบั จ่ายใช้สอยของประชาชน เช่น การเพิม่ วงเงินบัตรสวสั ดกิ าร
แหง่ รัฐ โครงการคนละครึง่ และโครงการย่ิงใชย้ ิง่ ได้ เป็นตน้

ดา้ นอปุ สงค์ ปี 2564 ขยายตวั รอ้ ยละ 4.6 จากการบรโิ ภคภาคเอกชน ขยายตัวรอ้ ยละ 7.2 จากจำนวน
รถยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัวภายหลังจากสถานการณ์โรคระบาดติดเชื้อไวรัส
โคโรนา Covid-19 คลี่คลาย การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.2 จากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะ
มาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
COVID-19 เพื่อช่วยเหลือระบบการเงินของภาคธุรกิจให้สามารถหมุนเวียนสภาพคล่องทางการเงินต่อไปได้
การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 7.2 จากการที่ภาครัฐมีมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการเร่งรัด
การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานภายในจังหวัด ส่งผลให้หน่วยรับงบประมาณมีการเร่งเบิกจ่ายเงิน
งบประมาณเพอื่ ให้เป็นไปตาม เป้าหมายการเรง่ รดั การใชจ้ า่ ยงบประมาณของรฐั บาล

ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
เสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพัทลุง อัตราเงินเฟ้อในปี 2564 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ตามดัชนีราคาผู้บริโภค
หมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม จากหมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร ตามราคาน้ำมันเชื้อเพลิงท่ี
เพิ่มขึ้น ด้านการจ้างงาน จำนวนผู้มีงานทำ มีจำนวน 308,357 คน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มคลี่คลายลง ผู้ประกอบการสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้
ตามปกติ ส่งผลใหก้ ารจา้ งงานเพ่ิมมากข้นึ

1

เศรษฐกจิ จงั หวดั พัทลงุ ในปี 2565
เศรษฐกิจจังหวดั พัทลุง ปี 2565 คาดว่าขยายตัวที่อัตราร้อยละ 5.9 โดยมีภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ

และการบรโิ ภคภาคเอกชน เปน็ แรงขบั เคล่ือนทีส่ ำคญั
ด้านอุปทาน ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.4 จากการผลิตภาคเกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ

5.5 จากปจั จยั ดา้ นเนอ้ื ทเ่ี ปดิ กรีดยางพารามีแนวโน้มเพ่มิ ขน้ึ ประกอบกบั ราคายางพาราที่คาดวา่ จะปรับตัวสูงขึ้น
เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมาบำรุงดูแลต้นยางเพิ่มขึ้น การผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 4.2
จากนักลงทุนมีความเช่ือมัน่ ในทิศทางเศรษฐกิจท่ีมีแนวโน้มปรับตวั ดีข้ึน จากมาตรการผ่อนคลายต่างๆ การผลิต
ภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 7.0 จากมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจของภาครฐั ทย่ี งั มอี ยา่ งตอ่ เน่ือง

ด้านอุปสงค์ ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4 จากการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 7.3
จากภาวะเศรษฐกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้น และค่ายรถยนต์จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เพื่อกระตุ้นการตัดสินใจของ
ประชาชนในการซื้อรถยนต์ การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.4 จากมาตรการทางการเงินของภาครัฐท่ี
ออกมาเพื่อสนับสนุนการลงทุน และกระตุ้นเศรษฐกิจมากขึ้น การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 2.5 จาก
มาตรการเรง่ รัดการใช้จา่ ยงบประมาณของจังหวัด โดยเฉพาะการใชจ้ ่ายงบลงทนุ ท่ีคาดว่าจะปรับตัวดีข้ึนต่อเน่ือง

ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจ
เสถียรภาพเศรษฐกิจในจังหวัดพัทลุง อัตราเงินเฟ้อในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ร้อยละ 1.4 คาดว่าเงินเฟ้อ
ยงั คงมีการขยายตัว ดา้ นการจ้างงาน จำนวนผูม้ งี านทำ คาดวา่ จะมีจำนวน 309,845 คน

ปัจจยั เส่ยี งเศรษฐกจิ ในปี 2564 ของจังหวัดพทั ลุง ที่ต้องติดตามอย่างต่อเนอ่ื ง
1. ความไมแ่ น่นอนและขดี ความสามารถในการควบคมุ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (Covid – 19)
2. ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลกจากความยืดเยื้อของสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (Covid – 19)
3. ความเสยี่ งจากภัยธรรมชาติ สง่ ผลกระทบต่อปรมิ าณผลผลิตทางการเกษตรและรายได้เกษตร

2

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจังหวดั พัทลุง

เคร่ืองชี้วัดเศรษฐกจิ หน่วย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564E ปี 2565F(ณ ธนั วาคม 2564)

การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ Min Consensus Max
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปีปัจจุบัน
ลา้ นบาท 37,246.6 37,065.8 41,054.0 43,819.9 44,230.5 44,641.0
ประชากรในจังหวัด %yoy 3.6 7.7 8.7
-0.5 10.8 6.7
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ตอ่ หัว คน 491,859 493,337 493,583
492,351 492,843 493,090
ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน 0.10 0.15
(ปีฐาน 2531) %yoy 0.01 0.10 0.10 0.05
GPP ดา้ นอุปทาน Supply Side : GPPS 89,655.7 90,442.7
ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (API_Q) บาทตอ่ คนตอ่ ปี 75,726.2 75,283.3 83,300.3 88,868.0 7.6 8.6
ดชั นีราคาผลผลติ ภาคเกษตร (API_P) %yoy 3.6 -0.6 10.6 6.7
ดชั นีภาคอตุ สาหกรรม (IPI) ล้านบาท 24,123.3 24,237.1
ดชั นีภาคบริการ (SI) %yoy 20,831.6 21,264.6 22,771.8 24,009.4 5.9 6.4
GPP ดา้ นอุปสงค์ Demand Side : GPPD %yoy 1.9 2.1 7.1 5.4 6.4 6.9
ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน (CP) %yoy -0.0 -2.1 7.6 5.9 5.5 6.0
ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน (IP) %yoy 1.4 -4.3 10.3 5.0 4.5 5.0
ดชั นีการใช้จ่ายภาครัฐบาล (G) %yoy 6.4 1.4 13.2 4.0 4.2 4.7
%yoy -7.0 2.6 11.1 3.7 7.0 7.5
%yoy 0.9 -2.5 6.6 6.5 3.4 3.9
%yoy 1.4 6.3 4.6 2.9 7.3 7.8
%yoy -8.4 -8.2 7.2 6.8 3.4 3.9
%yoy 2.1 1.4 3.2 2.9 2.5 3.0
3.5 26.2 7.2 2.0

ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (Farm Income) %yoy 7.9 -2.9 24.9 9.1 10.2 11.2
ราคายางโดยเฉล่ีย (Avearage rubber price) บาทตอ่ กก. 41.0 53.5 53.8
40.9 51.2 53.2
เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ %p.a. -2.8
อตั ราเงนิ เฟอ้ (Inflation rate) บาท/ลิตร 26.5 -1.3 2.9 0.9 1.4 1.9
ราคาน้ามนั ดเี ซลขายปลีก(Diesel Retail Price) %yoy -1.7 22.6 27.9 28.4 29.4 30.4
ระดบั ราคาเฉลยี่ ของ GPP (GPP Deflator) 297,156 -2.6 3.7 1.3 1.8 2.3
การจ้างงาน (Employment) คน -2,852 305,303 308,357 309,720 309,845 309,970
yoy 8,147 3,054 1,363 1,488 1,614

ทีม่ า : สำนักงานคลังจงั หวัดพัทลงุ
ปรบั ปรงุ ล่าสดุ : 31 ธันวาคม 2564

3

ตารางสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพทั ลงุ

รายการ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564E ปี 2565F (ณ ธนั วาคม 2564)
เฉลย่ี ช่วง
สมมตฐิ านหลัก 14,417.0 12,929.9 14,882.7
0.8 -10.3 15.1 15,800.4 15,726 - 15,875
สมมตฐิ านภายนอก 41.0 40.9 51.2 6.2 5.7 - 6.7
1) ปริมาณผลผลติ : ยางพารา (ตนั ) -2.7 -0.1 25.1 53.5 53.2 - 53.8
549 558 581 4.6 4.1 - 5.1
(ร้อยละตอ่ ปี) 0.6 1.6 4.2 610 608 - 613
2) ราคาผลผลิต : ยางพารา (บาท/กก.) 19.4 19.1 19.6 5.1 4.6 - 5.6
-1.2 -1.5 2.7 20.4 20.3 - 20.5
(ร้อยละตอ่ ปี) 2,414.2 4.1 3.6 - 4.6
3) จ้านวนโรงงานอตุ สาหกรรม (โรง) 2,483.3 -2.8 2,679.7
0.4 2,761 11.0 2,962.0 2,948.6 - 2,975.4
(ร้อยละตอ่ ปี) 3,098 -10.9 2,951 10.5 10.0 - 11.0
4) ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม (kwh) -11.8 9,627 6.9 3,132 3,117 - 3,146
9,711 -0.9 9,556 6.1 5.6 - 6.6
(ร้อยละตอ่ ปี) -0.6 -0.7 10,072
5) ยอดขายจากธุรกจิ คา้ ส่งคา้ ปลีก (ล้านบาท) 15,419.4 10,024 - 10,119
15,334.6 0.6 15,755.6 5.4
(ร้อยละตอ่ ปี) 0.5 2.2 4.9 - 5.9
7) จ้านวนรถยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ (คนั ) 2,011.7 16,202.5
1,660.7 21.1 2,207.2 16,124 - 16,281
(ร้อยละตอ่ ปี) 10.1 9.7 2.8
8) จ้านวนรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ (คนั ) 3,392.0 2.3 - 3.3
2,344.8 44.7 4,180.2
(ร้อยละตอ่ ปี) -27.6 23.2 2,265.8 2,255 - 2,277
2.1 2.7 2.2 - 3.2
9) สินเชอ่ื รวมเพอ่ื การลงทุน (ลา้ นบาท) 1.4 -2.1 7.1
-0.0 -4.3 7.6 4,322.1 4,301 - 4,343
(ร้อยละตอ่ ปี) 1.4 2.6 10.3 3.4 2.9 - 3.9
-7.0 -2.5 11.1
สมมตฐิ านดา้ นนโยบาย 0.9 6.3 6.6 5.9 5.4 - 6.4
1.4 -8.2 4.6 6.4 5.9 - 6.9
10) รายจ่ายเงนิ งบประจ้า (ลา้ นบาท) -8.4 1.4 7.2 5.5 5.0 - 6.0
2.1 26.2 3.2 4.2 3.7 - 4.7
(ร้อยละตอ่ ปี) 3.5 -2.9 7.2 7.0 6.5 - 7.5
7.9 -1.3 24.9 3.4 2.9 - 3.9
11) รายจ่ายเงนิ งบลงทุน (ล้านบาท) -2.8 305,303 2.9 7.3 6.8 - 7.8
297,156 8,147 308,357 3.4 2.9 - 3.9
(ร้อยละตอ่ ปี) -2,852 3,054 2.5 2.0 - 3.0
10.2 9.1 - 11.2
ผลการประมาณการ 1.4 0.9 - 1.9
309,845 309,720 - 309,970
1) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ (ร้อยละตอ่ ปี) 1,488 1,363 - 1,614

2) อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ดา้ นอปุ ทาน (ร้อยละตอ่ ปี)

3) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละตอ่ ปี)

4) อตั ราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี)

5) อัตราการขยายตวั ของภาคบริการ (ร้อยละตอ่ ปี)

6) อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (ร้อยละ ตอ่ ปี)

7) อัตราการขยายตวั ของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี)

8) อัตราการขยายตวั ของการลงทุนภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี)

9) อัตราการขยายตวั ของการใชจ้ ่ายภาครัฐ (ร้อยละตอ่ ปี)

10) อตั ราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตร (ร้อยละตอ่ ปี)

11) อัตราเงนิ เฟอ้ (ร้อยละตอ่ ปี)

12) จ้านวนผูม้ งี านท้า (คน)

เปล่ยี นแปลง (คน)

E = Estimate : การประมาณการ ทม่ี า: สำนักงานคลังจังหวัดพัทลุง
F = Forecast : การพยากรณ์ ปรบั ปรุงล่าสดุ : 31 ธันวาคม 2564 4

สมมติฐานหลกั ในการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั พทั ลุง

1. ด้านอุปทาน ในปี 2564 ขยายตัวในอัตราร้อยละ 7.6 ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ที่หดตัวร้อยละ -2.1
เป็นผลมาจากการผลิตภาคบริการ ภาคการเกษตร และภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 6.6 10.3 และ 11.1
ตามลำดบั โดยมีรายละเอียดดงั นี้

1.1 ปริมาณผลผลิตยางพารา ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 15.1 ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ท่ีหดตัว
ร้อยละ -10.3 จากปริมาณผลผลิตยางพาราที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออำนวย รวมถึง
ปจั จัยด้านราคายางพาราทค่ี าดว่าจะปรบั ตวั สงู ข้ึน สำหรับปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั ร้อยละ 6.2 จากปจั จัยด้าน
เนื้อที่เปิดกรีดยางพารามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับราคายางพาราที่คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นเป็นแรงจูงใจให้
เกษตรกรหนั มาบำรุงดแู ลตน้ ยางเพ่ิมขน้ึ

%yoy 12.8 ปริมาณผลผลิตยางพารา 15.1
6.2
20 5.6
0.8
15

10 7.3

5

0

-5 -1.3 ธ.ค.64 ธ.ค.64

-10 -10.3
-15 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

1.2 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 2.7 เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
ที่หดตัวร้อยละ -1.5 ตามจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมและทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น สำหรับ
ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวรอ้ ยละ 4.1 จากนักลงทุนมีความเชื่อมั่นในทิศทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขน้ึ
จากมาตรการผอ่ นคลายตา่ งๆ

%yoy 7.5 ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม

12 9.7 2.7 4.1
10
8 3.6 3.3
6
4 -1.2 -1.5
2 ธ.ค.64 ธ.ค.64
0
-2 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-4

2558

5

1.3 ยอดขายจากธุรกจิ คา้ สง่ คา้ ปลีก ในปี 2564 ขยายตัวรอ้ ยละ 11.0 ขยายตัวจากปที ี่ผ่านมา ทีห่ ดตวั
รอ้ ยละ -2.8 เนอื่ งจากรัฐบาลออกมาตรการตา่ งๆ เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจและการจับจา่ ยใชส้ อยของประชาชน เชน่
การเพม่ิ วงเงินบัตรสวัสดิการแหง่ รัฐ โครงการคนละคร่ึง และโครงการย่งิ ใช้ย่ิงได้ เป็นต้น สำหรบั ปี 2565 คาดว่า
จะขยายตวั รอ้ ยละ 10.5 จากมาตรการกระต้นุ เศรษฐกิจของภาครฐั ท่ยี งั มีอย่างต่อเน่ือง

%yoy ยอดขายจากธุรกิจการค้าส่งค้าปลีก

50 41.1
40
30
20 11.0 10.5
10 6.7 0.4
0
-10 -4.1 -2.0 -2.8 ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

2. ดา้ นอุปสงค์ ในปี 2564 ขยายตวั ในอตั ราร้อยละ 4.6 ชะลอตัวจากปที ผ่ี ่านมา ทข่ี ยายตัวรอ้ ยละ 6.3
เป็นผลจากการใช้จ่ายภาครัฐ การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 7.2 7.2 และ
3.2 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียดดงั นี้

2.1 จำนวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ ในปี 2564 มีจำนวน 2,951 คัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา จำนวน
190 คัน จากจำนวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจท่ีเริ่มฟื้นตัวภายหลังจาก
สถานการณ์โรคระบาดติดเชื้อไวรัสโคโรนา Covid-19 คลี่คลาย สำหรับปี 2565 คาดว่าจะมีรถยนต์จดทะเบียน
ใหม่ จำนวน 3,132 คัน จากภาวะเศรษฐกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้น และค่ายรถยนต์จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย
เพ่อื กระตุ้นการตัดสนิ ใจของประชาชนในการซ้ือรถยนต์

คัน จานวนรถยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่

3,600 3,511

3,300 3,081 3,098 3,132
2,951
3,000
2,761
2,700 2,535 2,635

2,400
ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

6

2.2 สินเชื่อรวมเพื่อการลงทุน ในปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 2.2 ขยายตัวจากปีที่ผ่านมา ที่ขยายตัว
ร้อยละ 0.6 จากมาตรการของรัฐบาล โดยเฉพาะมาตรการทางการเงินช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับ
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 เพื่อช่วยเหลือระบบการเงินของภาคธุรกิจให้สามารถ
หมุนเวียนสภาพคล่องทางการเงินต่อไปได้ สำหรับปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 จากมาตรการทาง
การเงนิ ของภาครัฐท่อี อกมาเพื่อสนับสนนุ การลงทุนและกระตุ้นเศรษฐกิจมากขน้ึ

%yoy สนิ เชอ่ื รวมเพ่ือการลงทนุ

12 11.4
10

8

6 4.1 2.3 1.7 0.5 0.6 2.2 2.8
4
2 ธ.ค.64 ธ.ค.64
0

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

2.3 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2564 ขยายตัวรอ้ ยละ 7.2 ชะลอตัวจากปที ีผ่ า่ นมา ที่ขยายตวั ร้อยละ 26.2
จากการที่ภาครัฐมีมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงาน
ภายในจังหวัด ส่งผลให้หน่วยรับงบประมาณมีการเร่งเบิกจ่ายเงินงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายการ
เร่งรดั การใช้จ่ายงบประมาณของรฐั บาล สำหรบั ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 จากมาตรการเร่งรัดการ
ใช้จ่ายงบประมาณของจงั หวัด โดยเฉพาะการใช้จา่ ยงบลงทุนทค่ี าดว่าจะปรับตวั ดขี ้นึ ต่อเนอื่ ง

%yoy การใช้จา่ ยภาครัฐ G

30 26.2

20 3.0 3.5 7.2 2.5
-1.9
10 8.1

0

-10

-20 -14.5 ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

7

%yoy 1.4 รายจ่ายเงนิ งบประจา

30 10.1 21.1 9.7 2.7
15
0 -13.9
-15
-46.4
-30 -22.9 ธ.ค.64 ธ.ค.64

-45
-60

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

%yoy รายจา่ ยเงินงบลงทนุ

50 44.7

40 33.1 23.2
30
20 18.3
3.4
10
0

-10 -0.9
-20
-30 -18.1
-27.6 ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ 93 ของวงเงิน

งบประมาณในภาพรวมและเป้าหมายการเบิกจ่ายงบลงทุนไว้ที่ ร้อยละ 75 ของวงเงินงบประมาณลงทุน และ

เป้าหมายการเบิกจา่ ยรายไตรมาสประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565

เปา้ หมายการเบิกจา่ ย ภาพรวม งบลงทุน
(รอ้ ยละ) (ร้อยละ)

ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 30 13

ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 51 29

ไตรมาส 3 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 72 46

ไตรมาส 4 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 93 75

สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2565 รายจ่ายรัฐบาล คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้ 8
ทั้งสิ้น 6,587.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายท่ี
ร้อยละ 80.2 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม ซึ่งคาดว่าจะต่ำกว่าเป้าหมายการเบิกจ่ายที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ
93.00 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม โดยรายจ่ายประจำคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 2,265.80 ล้านบาท

เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 86.1 ของวงเงิน

งบประมาณงบประจำ สำหรับรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 4,322.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ

3.4 เม่ือเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเปน็ อตั ราการเบิกจ่ายทร่ี ้อยละ 74.3 ของวงเงนิ งบประมาณงบลงทุน ซึ่ง

คาดว่าจะต่ำกวา่ เป้าหมายการเบิกจา่ ยท่กี ำหนดไว้ท่รี ้อยละ 75.00 ของวงเงินงบประมาณงบลงทนุ

งบประมาณท่ี ผลการเบกิ จา่ ย รอ้ ยละ ผล คาดการณ์ เปา้ หมาย สงู กว่า/ต่า

ได้รบั จดั สรร สะสมต้ังแต่ การเบิกจา่ ย คาดการณ์ รอ้ ยละ การ กว่า

รายการ ต้นปงี ปม. เบิกจา่ ย การ เบกิ จา่ ย เป้าหมาย

ถงึ ปี งปม. เบิกจา่ ย (รอ้ ยละ)

พฤศจกิ ายน64 2565

1. รายจา่ ยจรงิ ปงี บประมาณปัจจบุ ัน 2,368.50 853.70 36.0 6,587.90 80.2 93.0 ต่ากว่า

1.1 รายจ่ายประจา้ 739.70 390.40 52.8 2,265.80 86.1

1.2 รายจ่ายลงทุน 1,628.80 463.40 28.5 4,322.10 74.3 75.0 ต่ากว่า

2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี 1,633.70 422.10 25.8

2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1,633.70 422.10 25.8

2.2 ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 0.00 0.00 0.0

3. รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 4,002.20 1,275.80 31.9

ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)
9

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)
3.ด้านรายไดเ้ กษตรกร ในปี 2564 ขยายตวั ทรี่ ้อยละ 24.9 ขยายตัวจากปีทผ่ี า่ นมา ทห่ี ดตวั ร้อยละ -2.9

เป็นผลมาจากปจั จัยด้านราคาสนิ คา้ เกษตรทค่ี าดว่ามีแนวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้
3.1 ราคาผลผลิตยางพารา ในปี 2564 ราคายางพาราเฉล่ียจะอยู่ท่ี 51.2 บาทต่อกโิ ลกรมั เพ่ิมขึ้นจาก

ปีที่ผ่านมา ซึ่งอยู่ที่ราคา 40.9 บาทต่อกิโลกรัม เนื่องจากมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางจากภาครัฐ
ประกอบกับค่าเงินบาทที่อ่อนลง ส่งผลให้ราคายางพารามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น สำหรับปี 2565 คาดว่าราคา
เฉลี่ยจะอยู่ที่ 53.5 บาทต่อกิโลกรัม คาดว่าราคายางพารามีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ตามความต้องการที่
เพิ่มสงู ขน้ึ

10

บาท/กก. 54.ร0าคาผลผลิตยางพารา 51.2 53.5

60 47.6 42.1 41.0 40.9
50
40 42.5

30
20
10
0

ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

4. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2564 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป อยู่ที่ร้อยละ 2.9 เพิ่มขึ้นจากปีที่
ผ่านมา อยู่ที่ร้อยละ -1.3 ตามดัชนีราคาผู้บริโภคหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม จากหมวดพาหนะ
การขนส่ง และการสื่อสาร ตามราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้น สำหรับปี 2565 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไป อยู่ท่ี
ร้อยละ 1.4 คาดว่าเงินเฟ้อยังคงขยายตวั

%yoy อตั ราเงินเฟอ้

4 2.9
3 1.4
2 1.0 1.4 0.5
1
0
-1
-2 -1.1
-3 -1.3
-4 -2.8
ธ.ค.64 ธ.ค.64

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F

การจ้างงาน ในปี 2564 มีจำนวน 308,357 คน สูงกว่าปีที่ผ่านมาที่มีจำนวน 305,303 คน จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มคลี่คลายลง ผู้ประกอบการสามารถกลับมา
ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ตามปกติ ส่งผลให้การจ้างงานเพิ่มมากขึ้น สำหรับปี 2565 คาดว่าจะมี
การจ้างงาน จำนวน 309,845 คน

คน การจา้ งงาน

320,000 291,584 300,215 297,620 300,008 297,156 305,303 308,357 309,845
310,000 2558 2559
300,000 ธ.ค.64 ธ.ค.64
290,000 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
280,000
270,000
260,000
250,000

11

Definition คำนิยามตวั แปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจงั หวดั พัทลงุ

GPP constant price ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปฐี าน

GPP current prices ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีปัจจุบนั

GPPS ดชั นีผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาปฐี าน ดา้ นอปุ ทาน

GPPD ดชั นีผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์

API ดัชนปี ริมาณผลผลติ ภาคเกษตร

IPI ดชั นีปริมาณผลผลติ ภาคอุตสาหกรรม

SI ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ

Cp Index ดัชนกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน

Ip Index ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน

G Index ดชั นกี ารใช้จา่ ยภาครฐั บาล

GPP Deflator ระดับราคาเฉลี่ยของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั พัทลุง

CPI ดชั นีราคาผู้บริโภคจังหวัดพัทลุง

PPI ดัชนีราคาผู้ผลิตระดับประเทศ

Inflation rate อัตราเงินเฟ้อจงั หวดั พัทลงุ

Farm Income Index ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร

Population จำนวนประชากรของจังหวดั พัทลงุ

Employment จำนวนผูม้ งี านทำของจังหวดั พทั ลุง

%yoy อัตราการเปลย่ี นแปลงเทยี บกับช่วงเดียวกนั ของปีกอ่ น

Base year ปีฐาน (2549 = 100)

Min สถานการณ์ที่คาดวา่ เลวรา้ ยที่สดุ

Consensus สถานการณ์ทีค่ าดว่าจะเปน็ ได้มากท่ีสุด

Max สถานการณ์ทค่ี าดว่าดีท่ีสดุ

12

การคำนวณดชั นี

ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (Supply Side หรือ Production Side: GPPS) ประกอบด้วย 3 ดัชนี

ได้แก่

(1) ดชั นีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจงั หวัดพทั ลงุ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.31

(2) ดัชนผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรมจงั หวัดพัทลงุ โดยใหน้ ้ำหนกั 0.12

(3) ดัชนผี ลผลติ ภาคบรกิ ารจังหวดั พทั ลุง โดยให้น้ำหนัก 0.57

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิ่มราคาปีปัจจุบัน ของ
เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจ
ภาคอุตสาหกรรม (สาขาการทำเหมืองแร่และเหมืองหิน การผลิต ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศ การ
จดั หาน้ำ การจัดการ และการบำบดั นำ้ เสยี ของเสีย และส่ิงปฏิกลู ) และเครอ่ื งชเ้ี ศรษฐกิจภาคบริการ (14 สาขา
ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึง สาขากิจกรรมบริการด้านอื่นๆ) จากข้อมูล GPP ของ สศช. เทียบกับ GPP รวมราคา
ปีปัจจบุ ันของ สศช. ท้งั หมด 19 สาขา

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวการณ์ผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด
พัทลุงเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 15 วัน โดยการคำนวณ API (Q), API (P), IPI, SI ได้กำหนดปีฐาน
2549 ซึ่งคำนวณจากเครื่องช้ีปริมาณผลผลิตภาคเกษตรกรรม ราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม
และภาคบริการของจงั หวดั พัทลงุ รายเดือน อนุกรมเวลาย้อนหลังไปตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นตน้ มา

ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API) ประกอบไปด้วยองค์ประกอบ

ทัง้ สิ้น 3 ตัว คือ

- ปริมาณผลผลิต : ยางพารา โดยใหน้ ้ำหนกั 0.78

- ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ วนาปแี ละนาปรงั โดยให้น้ำหนัก 0.07

- ปริมาณผลผลติ : สกุ รพันธุ์ โดยให้นำ้ หนัก 0.15

โดยตัวช้วี ัดทุกตัวได้ปรบั ฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แลว้ การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบ

ในการจัดทำAPI (Q) ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ข้างต้นได้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ

GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบนั ภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง)

ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production Index: IPI) ประกอบไปด้วย

องคป์ ระกอบทัง้ ส้ิน 6 ตวั คอื

- ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.20

- จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้นำ้ หนัก 0.13

- ทนุ จดทะเบยี นของโรงงานอุตสาหกรรมใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.22

- ปริมาณหนิ ปนู และหินกรวด โดยให้น้ำหนัก 0.14

- ภาษมี ูลคา่ เพิม่ ภาคอตุ สาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.15

- ภาษีสรรพสามติ การผลติ ภาคอตุ สาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.16
13

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากการหาความสัมพันธ์
Correlation ระหวา่ งเครอื่ งชีเ้ ศรษฐกิจผลผลิอตุ สาหกรรมรายปีกบั GPP (สศช.) ณ ราคาคงท่ี ภาคอุตสาหกรรม
(สาขาการทำเหมอื งแร่และเหมืองหนิ การผลิต ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ำ และระบบปรับอากาศ การจดั หานำ้ การจัดการ
และการบำบัดน้ำเสยี ของเสยี และส่ิงปฏกิ ลู )

ดัชนปี ริมาณผลผลติ ภาคบริการ (Service Index: SI) ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบทั้งสน้ิ 5 ตวั คือ

- GPP constant price สาขาการขายสง่ และการขายปลีก ฯ โดยให้นำ้ หนกั 0.307

- GPP constant price สาขากิจกรรมทางการเงนิ ฯ โดยให้นำ้ หนัก 0.225

- GPP constant price สาขากจิ กรรมอสงั หารมิ ทรัพย์ โดยให้น้ำหนัก 0.114

- GPP constant price สาขาการบริหารราชการฯ โดยให้นำ้ หนกั 0.129

- GPP constant price สาขาการศึกษา โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.225

การกำหนดนำ้ หนกั ขององคป์ ระกอบในการจัดทำ SI ใหน้ ้ำหนักของเคร่อื งชี้ โดยเครื่องชีภ้ าคบรกิ าร

ดา้ นขายสง่ ขายปลีก การศึกษาและโรงแรมไดจ้ ากสัดสว่ นของ GPP สาขาการขายส่งขายปลีก สาขาการ

ศกึ ษา สาขาโรงแรมและภตั ตาคาร ณ ราคาปปี จั จบุ นั 2552 (สศช.) เทยี บ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคา

ปีปจั จบุ ัน (สศช.) หารด้วยจำนวนเครื่องชี้ในด้านนน้ั ๆ

ดัชนีช้ีวดั เศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (Demand Side: GPPD) ประกอบไปดว้ ย 3 ดชั นไี ด้แก่

(1) ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.21

(2) ดชั นกี ารลงทุนภาคเอกชน โดยให้น้ำหนัก 0.47

(3) ดัชนกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐ โดยให้นำ้ หนัก 0.32

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับเทียบกับ

GPP constant price โดยเฉลี่ยเพื่อหาสัดส่วน และคำนวณหาน้ำหนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวม

สดั ส่วนดัชนรี วมท้ังหมด

จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวการณ์ใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน และการใช้จ่ายภาครัฐ

ของจังหวัดพัทลุงเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 15 วัน โดยการคำนวณ Cp Index, Ip Index, และ

G Index ได้กำหนดปีฐาน 2549 ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ภาวการณ์ใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน

และการใชจ้ า่ ยภาครัฐของจงั หวดั พทั ลุงเปน็ รายเดือน อนกุ รมเวลายอ้ นหลังไปตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา

ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน (Private Consumption Index : Cp Index) ประกอบไปดว้ ย

องคป์ ระกอบท้ังสิ้น 3 ตวั คือ

- ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ หมวดขายส่งขายปลกี โดยใหน้ ้ำหนกั 0.04

- จำนวนรถจกั รยานยนต์จดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.80

- จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบคุ คลจดทะเบยี นใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.16

14

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Cp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหา
ค่าเฉลย่ี ของเคร่อื งช้ใี นการจัดทำ Cp Indexและแปลงเปน็ มลู ค่าหนว่ ยเดยี วกัน (บาท) แลว้ หานำ้ หนักจากสัดส่วน
มลู ค่าเครอื่ งชฯี้ เทยี บกบั มูลค่ารวมของเครอ่ื งช้ที งั้ หมด

ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip) ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งส้ิน

5 ตัว คือ

- พ้ืนทีไ่ ด้รับอนญุ าตใหก้ ่อสร้างรวม โดยใหน้ ้ำหนกั 0.0001

- จำนวนรถยนต์พาณิชยท์ ีจ่ ดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ำหนกั 0.0015

- สนิ เช่ือเพ่ือการลงทุน โดยให้น้ำหนัก 0.6350

- จำนวนธรุ กิจนติ ิบุคคล โดยให้น้ำหนัก 0.1817

- จำนวนทุนจดทะเบยี นนิตบิ คุ คล โดยให้นำ้ หนัก 0.1817

การกำหนดนำ้ หนกั ขององคป์ ระกอบในการจดั ทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครอื่ งชี้ จากการหา

คา่ เฉลย่ี ของเครือ่ งชใ้ี นการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมลู คา่ หน่วยเดยี วกัน (บาท) แลว้ หานำ้ หนกั จาก

สดั สว่ นมูลคา่ เครอื่ งชฯี้ เทยี บกับมลู คา่ รวมของเครื่องชท้ี ั้งหมด

ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (Government Expenditure Index: G) ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น

4 ตัว คือ

- รายจา่ ยประจำภาครฐั ทั้งสว่ นกลางและส่วนภมู ิภาค โดยให้น้ำหนกั 0.386

- รายจ่ายลงทุนภาครฐั ทัง้ ส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค โดยใหน้ ้ำหนัก 0.245

- รายจ่ายประจำขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.241

- รายจ่ายลงทนุ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ โดยให้น้ำหนัก 0.128

การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากการหาค่าเฉล่ีย

ของเครื่องชี้ในการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสัดส่วนมูลค่า

เครอื่ งชฯ้ี เทียบกบั มูลคา่ รวมของเครือ่ งชที้ ้ังหมด

ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ (GPP constant price) ประกอบไปด้วยดัชนี 2 ด้าน

- ดชั นีช้ีวัดเศรษฐกจิ ด้านอุปทาน (GPPS) โดยให้น้ำหนัก 0.60

- ดัชนชี ีว้ ดั เศรษฐกิจด้านอปุ สงค์ (GPPD) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.40

ดชั นชี ้วี ัดด้านเสถียรภาพเศรษฐกจิ GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบไปด้วย

- ดัชนรี าคาผูผ้ ลิต (PPI) โดยใหน้ ้ำหนัก 0.60

- ดชั นรี าคาผ้บู รโิ ภคจังหวัดพทั ลงุ (CPI) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.40

15

การเปลี่ยนแปลงของจำนวนผมู้ งี านทำ
คำนวณจาก GPP constant price X 0.81 (อัตราการพ่งึ พาแรงงาน)

อตั ราการพง่ึ พาแรงงาน
คำนวณจากการวเิ คราะห์การถดถอยเชงิ เส้นอยา่ งงา่ ย (Simple Linear Regression Analysis)

โดยมรี ูปแบบความสัมพันธ์ คือ ln(Emp) = a +b(ln(GPP))
โดยท่ี Emp = จำนวนผูม้ ีงานทำจำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวดั พัทลงุ

ข้อมลู Website สำนกั งานสถิติแหง่ ชาติ ซ่งึ ใช้ปี 2549 – 2564
GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดพทั ลงุ ณ ราคาคงที่ ข้อมูลจาก สศช. ซ่ึงใช้ปี 2549 – 2562

สำนกั งานคลงั จงั หวัดพทั ลุง ขอขอบคณุ ส่วนราชการ รัฐวสิ าหกิจ อปท. และหน่วยธุรกจิ
ท่ีสนบั สนนุ ข้อมลู เบ้ืองตน้ ในการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั พัทลุง

16


Click to View FlipBook Version