The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1
หน่วยที่การเรียนรู้ที่ 3
บทที่ 1 เซลล์ (Cell)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mathurada Boonsong, 2021-11-21 02:35:14

สื่อประกอบการเรียนรู้ I วิทยาศาสตร์ ชั้นม.1

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1
หน่วยที่การเรียนรู้ที่ 3
บทที่ 1 เซลล์ (Cell)

หน่วยท่ี 3 หน่วยพ้ืนฐานของสิง่ มีชีวติ

บทที่ 1 เซลล์ (Cell)

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

นาไปสอ่ งด้วยกล้องจุลทรรศน์

ครมู ธุรดา บญุ สง่ (ป๊อบ) เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เสน้ ใยไฟบริน

ยงั จาไดไ้ หม ?

“ธาต”ุ ประกอบไปดว้ ย หน่วยยอ่ ยทเี่ ลก็ ทีส่ ุดทแี่ สดงสมบัติ

ของธาตุ คือ อะตอม

“ส่งิ มีชีวติ ทุกชนิด” ประกอบด้วย หนว่ ยพื้นฐานที่เล็กทีส่ ุด

ที่แสดงสมบตั ิของการมีชวี ติ

สามารถเพิ่มจานวน
สามารถเจริญเตบิ โตได้
ตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ ได้

ครูมธรุ ดา บุญสง่ (ป๊อบ)

การค้นพบหน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มชี ีวิต

ประวตั กิ ารค้นพบเซลล์ เซลล์ไม้คอร์กท่ตี ายแล้ว

โรคเบิรต์ ฮคุ (Robert Hooke) กล้องจุลทรรศน์
ประดิษฐโ์ ดย โรเบิรต์ ฮุค
คือ ผู้คน้ พบเซลล์เปน็ ครั้งแรก

คน้ พบเซลลจ์ ากการสังเกตโครงสร้างเล็ก ๆ ของ ไมค้ อร์ก

ที่ถกู เฉอื นเป็นแผ่นบาง ๆ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ที่
ประดิษฐข์ ึ้น พบว่ามีลักษณะเป็นห้องเลก็ ๆ คลา้ ยรังผ้ึง

เขาได้เรยี กหอ้ งเลก็ ๆ เหล่านีว้ ่า “เซลล์”

เป็นการค้นพบเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเป็นคร้ังแรก แต่เป็นเซลล์ท่ี
ตายแล้วคงเหลือแตส่ ่วนของผนงั เซลล์ (cell wall) เท่านัน้

ครูมธุรดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

หนว่ ยพ้ืนฐานของสง่ิ มชี วี ติ

เซลลก์ ล้ามเนอ้ื เซลลป์ ระสาท

เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลลผ์ วิ หนัง

เซลล์ (Cell) คือ หน่วยพน้ื ฐานทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของสิง่ มีชีวิต ทจี่ ะมีรูปรา่ งและขนาด

ตา่ งกนั ไป ตามชนดิ และหนา้ ทีข่ องเซลล์

ครูมธรุ ดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

เซลล์ (Cell)

อะตอมมีขนาดประมาณ 0.1 นาโนเมตร เซลลไ์ ขไ่ ก่

ครมู ธเุรลด็กกาวบ่าเุญซลสล่ง์มน(ปษุ ยอ๊ ถ์ บึง)300,000 เท่า 10 cm
0.1 mm

ขนาดของเซลลท์ ี่ตามนษุ ย์สามารถมองเหน็ ได้

เซลล์มนษุ ย์มีขนาดประมาณ 0.1 นาโนเมตร

ประเภทของเซลล์ (Cell)
แบ่งโดยการใช้จานวนของเซลลเ์ ป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท ดงั นี้

สงิ่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดียว (Unicellular organisms)
สิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ (Multicellular organisms)

ครูมธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดยี ว(Unicellular organisms)

สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียว สงิ่ มีชวี ิตประกอบไปด้วยเซลล์เพยี งเซลลเ์ ดียว กจิ กรรมตา่ ง ๆ จะเกิดขน้ึ ในเซลล์

เพียงเซลลเ์ ดยี ว และมีการดารงชีวิตอย่างอสิ ระ

อะมีบา พารามีเซียม ยกู ลีนา
ครูมธุรดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

สิง่ มีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular organisms)

ส่ิงมชี ีวิตหลายเซลล์ คือ สง่ิ มชี วี ติ ทีเ่ กิดจากเซลลห์ ลายเซลล์จะประกอบข้นึ ด้วยกัน

แตล่ ะเซลล์จะมีโครงสร้างพื้นฐานเหมือนกนั

มนษุ ย์
ไฮดรา

พานาเรีย พชื
ครมู ธรุ ดา บญุ สง่ (ปอ๊ บ) สตั ว์

การศกึ ษาหน่วยพืน้ ฐาน

ของสิ่งมชี ีวติ

สว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สง

3. เลนสใ์ กล้ตา 1. ลากล้อง

เป็นเลนส์นูนทาหนา้ ท่ี 2. จานหมุน 13. แขน เป็นส่วนทม่ี ีเลนสใ์ กล้ตา
ขยายภาพโดยทว่ั ไปมี เปน็ ส่วนทใ่ี ชจ้ บั และเลนส์ใกล้วัตถุ
ใช้หมุนเปลยี่ น เพื่อการเคล่ือนยา้ ยกล้อง
กาลังขยาย 10x เลนส์ใกลวตั ถุ 4. เลนสใ์ กล้วัตุ
9. ปุ่มปรบั ภาพหยาบ เปน็ เลนสน์ นู ท่ที าหน้าท่ี
5. ทหี่ นีบสไลด์ ใชใ้ นการปรบั ระยะหา่ ง ขยายภาพ โดยทั่วไป
ระหวา่ งเลนส์และวัตถุ มีกาลังขยาย 4X 10X
ใชย้ ึดสไลด์ให้ตดิ 8. แทน่ วางวัตถุ เพอ่ื ให้เห็นภาพชัดเจน
กับแทน่ วางวัตถุ และ 40X
ใชว้ างสไลด์ มีชอ่ ง 6.คอนเดนเซอร์
ให้แสงผ่านเข้าสลู่ ากลอ้ ง ทาหนา้ ทร่ี วมแสง 10. ปุ่มปรับภาพละเอียด

11. ไอริสไดอะเฟรม ใชใ้ นการปรบั ระยะหา่ ง
ระหวา่ งเลนส์และวัตถุ
ใช้ในการปรับขนาด 7. แหลง่ กาเนดิ แสง เพื่อให้เห็นภาพชดั เจนยงิ่ ข้นึ
ของช่องรบั แสง
12. ฐาน
ครูมธรุ ดา บุญส่ง (ปอ๊ บ) ทาหนา้ ทใ่ี หแ้ สง เป็นสว่ นรองรบั สว่ นต่าง ๆ ของกลอ้ ง

วธิ ีการใชก้ ล้องจุลทรรศน์

ขน้ั ที่ 1 วางสไลด์ท่ีต้องการส่องบนแท่นวางสไลด์ เปิดไฟกลอ้ ง ขนั้ ท่ี 2 ปรบั ระยะหา่ งระหวา่ งตา สาหรบั กลอ้ งชนิด 2 ตา
จลุ ทรรศน์ ควรให้จดุ วงกลมของแสงอยู่ ปรบั หาระยะห่างระหวา่ งตา และปรับ Diopter
ตรงกลางใกลเ้ คียงกบั บรเิ วณท่ีตอ้ งการส่องมากท่ีสุด
ทีต่ าขา้ งใดขา้ งหนง่ึ เพอื่ ใหร้ ะยะโฟกสั ที่เทา่ กัน

ครูมธุรดา บญุ สง่ (ปอ๊ บ)

วิธกี ารใช้กล้องจุลทรรศน์

ขั้นท่ี 3 ปรบั โฟกัส หาระยะโฟกสั ท่ีชัดทีส่ ดุ โดยเริม่ จากเลนสว์ ัตถุท่ีขนาดกาลงั ขยายต่าสดุ กอ่ น
จากน้นั คอ่ ยเพม่ิ กาลังขยายใหส้ งู ขนึ้ โดยปรับปุ่มปรบั ภาพหยาบ

***เนอื่ งจากเลนส์กาลังขยายตา่ สุดจะเป็นเลนสท์ เี่ หน็ ภาพกวา้ งทสี่ ุด

วธิ ีการใช้กล้องจุลทรรศน์

ขนั้ ท่ี 4 หมนุ ปุม่ ปรับละเอียด เม่ือปรบั ภาพหยาบจนพอมองเห็นภาพ ขัน้ ท่ี 5 ปรับปริมาณแสง โดยปรบั ท่ีไดอะแฟรม
ใหท้ าการปรบั ดว้ ยปุ่มปรับภาพแบบละเอยี ด ควบคู่กับการ ใต้แท่นวางสไลด์เพื่อควบคุมแสงในปริมาณทพ่ี อเหมาะ
เลื่อนสไลด์
การลดความกวา้ งของไดอะแฟรมลงเมื่อกาลังขยายสูงขึน้

ครมู ธุรดา บญุ ส่ง (ป๊อบ)

วธิ ีการใช้กล้องจลุ ทรรศน์

ข้นั ที่ 6 ปรับกาลังขยายใหส้ งู ขึน้ เม่อื ขนาดของวตั ถุทีส่ อ่ ง ขั้นท่ี 7 เกบ็ ทาความสะอาด เมื่อใชง้ านเสร็จให้เก็บโดยใช้
มีขนาดเลก็ จนไมส่ ามารถมองเห็นได้ใหป้ รับ ถุงคลุมหรอื เกบ็ ไวใ้ นที่ทไี่ ม่มฝี ุ่น และความชนื้ ตา่
กาลังขยายให้สูงข้นึ โดยเชด็ ทาความสะอาดด้วยกระดาษเช็ดเลนส์
หรือนา้ ยาสาหรับเชด็ เลนส์

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ภาพที่ได้จากกการใชก้ ล้องจุลทรรศน์



กอ่ น มองผา่ นกล้องจลุ ทรรศน์
ภาพทีเ่ กิดจากการสอ่ งดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศ์

ไดภ้ าพ “เสมอื นหัวกลบั กลับซ้ายเป็นขวา”

ครูมธรุ ดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ)

การคานวนกาลังขยายของกลอ้ งจลุ ทรรศน์

กาลงั ขยายของกลอ้ งหรอื ภาพ = กาลังขยายของเลนส์ใกลต้ า X กาลังขยายของเลนสใ์ กล้วตั ถุ

ครูมธุรดา บญุ ส่ง (ป๊อบ)

ภาพที่ไดจ้ ากกการใช้กล้องจุลทรรศน์

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องเซลล์

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ในหนงั สือเรยี นหนา้ 88

เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อสงิ่ ทปี่ ระกอบดว้ ยเซลล์

ผกั กาด น้าตาล ไสเ้ ดือนดิน หนอน พารามีเซียม

โปรตีน ดอกกุหลาบ ปลากดั เมล็ดแตงโม ทราย

ผลการทดลองกจิ กรรมที่ 3.2

ตอนท่ี 1 เซลลพ์ ืช

เซลล์เยือ่ หอมแดง เซลล์สาหรา่ ยหางกระรอก

ครูมธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ผลการทดลองกจิ กรรมท่ี 3.2

ตอนที่ 1 เซลลส์ ตั ว์ ทง้ั 2 ตอน

เซลล์เยือ่ บุขา้ งแก้ม สรปุ ผลการทดลองได้วา่ อยา่ งไร

ครูมธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ) ตอบ เซลลท์ ั้ง 2 ชนดิ มีลกั ษณะเปน็ ชอ่ ง ๆ มขี อบเขตชดั เจน

เซลล์พชื ทั้ง 2 ชนิด มลี กั ษณะเซลล์พชื มรี ูปรา่ งเปน็ เหลย่ี ม
เซลลส์ ัตวม์ ีรูปร่างค่อนขา้ งกลม พบวงกลมอยูต่ รงกลาง
เรียกวา่ “นิวเคลียส (Nucleus)” ท้งั เซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์
มีโครงสรา้ งพ้ืนฐานที่ เหมอื นกัน และมีโครงสร้างบางอยา่ งที่
แตกตา่ งกนั ตามชนดิ ของเซลล์

ตอบคาถามทา้ ยกิจกรรม
ในใบความรู้ หน้าที่ 15

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

เซลลท์ ุกชนดิ จะมีโครงสรา้ งพ้นื ฐานทส่ี าคัญ 3 ส่วนเหมือนกนั

สว่ นทหี่ อ่ หมุ้ เซลล์ โครงสร้างทหี่ อ่ หุ้มไซโทพลาซมึ และแสดงขอบเขตของเซลล์

ไซโตพลาสซึม ลักษณะเป็นของเหลว และประกอบด้วยออร์แกเนลล์
(Cytoplasm) ต่าง ๆ ทม่ี หี นา้ ทแี่ ตกต่างกัน

นวิ เคลียส ลกั ษณะเปน็ ทรงกลมอยกู่ ลางเซลล์ ทาหนา้ ทค่ี วบคุมกิจกรรม
(Nucleus) ตา่ ง ๆ ภายในเซลล์

ครมู ธรุ ดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

นิวเคลียส
ผนงั เซลล์
เยือ่ หุ้มเซลล์

ไซโตพลาสซมึ

ครมู ธรุ ดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ)

สว่ นทห่ี ่อหุ้มเซลล์

ผนังเซลล์ (Cell wall) เยอ่ื หุ้มเซลล์ (Cell membrane)

➢ อยู่ช้นั นอกสดุ ของเซลลพ์ ืช ไมพ่ บในเซลลส์ ตั ว์ ไม่มีชวี ติ ➢ เปน็ เยอื่ บาง ๆ พบในสงิ่ มีชวี ิตทกุ ชนดิ ยกเว้นไวรัส
➢ มีหนา้ ท่เี พม่ิ ความแข็งแรง ค้าจนุ โครงสร้างของเซลล์ ➢ ทาหนา้ ท่ีห่อห้มุ สว่ นท่ีเปน็ ของเหลวและออรแ์ กเนลล์
➢ ปอ้ งกนั การสูญเสียน้าของเซลลพ์ ืช
➢ เป็นรพู รนุ ยอมใหส้ ารแทบทกุ ชนดิ ผ่าน ภายในเซลล์ และกาหนดขอบเขตของเซลล์
➢ เปน็ เยอ่ื เลอื กผา่ น ควบคมุ การเขา้ ออกของสารภายในเซลล์

ผนังเซลล์ (Cell wall)

ไซโตพลาสซึม ไซโตพลาสซึม ออลแกแนลล์
ครูมธรุ ดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ) (Cytoplasm)

ไซโตซอล(Cytosol)

เปน็ ของก่ึงเหลวคล้ายเจลลี่
ทาหน้าท่ีป้องกนั ออลแกแนลล์

ออลแกแนลล์ (Organelle)

มาจากคาวา่ Little organ
เสมือนอวยั วะเลก็ ๆ แต่ละออลแกแนลล์
จะมีหนา้ ท่ีเฉพาะตวั ตา่ งกนั ไป

ออลแกแนลล์ (Organelle) มีเยือ่ ห้มุ 2 ชน้ั

ไมโทคอนเดรีย (Mitochomdria) ไต

➢ มขี นาดใหญ่ มรี ูปร่างยาว กลมรี
➢ ทาหนา้ ที่สร้างพลงั งานท่ีเซลลน์ าไปใชใ้ น

การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ
➢ พบมากใหเ้ ซล์ทม่ี กี ารใชพ้ ลงั งานมาก

หวั ใจ ตบั

ครมู ธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) มเี ยอื่ หุ้ม 2 ชั้น

คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) Granum
➢ พบเฉพาะในเซลลพ์ ชื
➢ ภายในมีรงควัตถุสีเขียว เรยี กว่า “คลอโรฟลิ ล์”
➢ ทาหนา้ ท่ีช่วยในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื

ครูมธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) มเี ย่ือหมุ้ 1 ชัน้

รา่ งแหเอนโดพลาซมึ (endoplasmic reticulum : ER)

➢ แบ่งออกเปน็ 2 แบบ คอื ผวิ เรียบและผวิ ขรุขระ รังไข่ ต่อมหมวกไต ตบั
➢ แบบผวิ เรยี บ จะไมม่ ไี รโบโซม ทาหนา้ ท่กี าจดั สารพษิ
➢ แบบผวิ ขรุขระ จะมไี รโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าที่สรา้ ง อณั ทะ

และสง่ โปรตนี ออกไปยังนอกเซลล์

กระเพาะอาหาร ตบั ออ่ น

รา่ งแหเอนโดพลาซึมแบบผวิ ขรขุ ระ(RER)

รา่ งแหเอนโดพลาซมึ แบบผวิ เรยี บ (SER)

ครูมธุรดา บุญส่ง (ป๊อบ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) มเี ยอื่ หมุ้ 1 ช้นั

กอลจิบอดี (Golgi Body)

➢ บางครงั้ เรยี ก กอลจิคอมเพลก็ ซ์ (Golgi complex) กอลจิแอพพาราตสั (Golgi apparatus)
➢ ลักษณะคลา้ ยเปน็ ถุงแบนๆ วางซอ้ นกนั เรยี กว่า ซิสเทอร์นา
➢ ทาหน้าท่ขี นส่งโปรตนี ออกไปยังนอกเซลล์ และ สงั เคราะห์สาร

จาพวกคาร์โบไฮเดรต เชน่ เมอื ก และ สารเคลือบฟนั

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ป๊อบ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) มเี ยื่อหุม้ 1 ชนั้

ไลโซโซม (Lysosome) เซลล์เม็ดเลอื ดขาว
➢ เป็นออรแ์ กเนลล์ทม่ี มี ลี ักษณะเป็นถงุ ภายในบรรจุน้ายอ่ ย
➢ ทาหนา้ ทยี่ ่อยหรอื ทาลายสารและสง่ิ ท่ีเซลลไ์ มต่ ้องการ

เชน่ ยอ่ ยเชอื้ โรค ย่อยอาหาร ย่อยเซลล์ที่ตายแล้ว
➢ ไมพ่ บในเซลล์พชื พบมากในเซลลเ์ ม็ดเลือดขาว

ครมู ธุรดา บุญส่ง (ป๊อบ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) มเี ย่อื หุ้ม 1 ชน้ั

แวคคิวโอล (Vacuole) มี 3 ชนดิ

➢ Food vacuole เป็นบริเวณท่ี เก็บอาหาร
พบในพวกโปรโตซัว

➢ Contractile vacuole ทาหนา้ ที่ควบคมุ สมดุลน้า

พบในโปรโตซัวน้าจดื
➢ Central vacuole หรอื Sap vacuole เปน็ ถงุ ขนาดใหญ่

ที่พบในเซลลพ์ ืช (เรียก Tonoplast) ทาหน้าท่สี ะสม นา้

และสารตา่ ง ๆ ในพืช เชน่ น้าตาล กรดอินทรยี ์

Central vacuole

ครูมธรุ ดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

ออลแกแนลล์ (Organelle) ไมม่ เี ยอ้ื หุ้ม

เซนทริโอล (Centriole)

➢ เปน็ ออร์แกเนลลท์ ่ีประกอบด้วยไมโครทวิ บลู รปู รา่ งคลา้ ยท่อทรงกระบอก 2 อันตัง้ ฉาก
➢ พบในเซลลส์ ตั ว์ และโพรทิสต์บางชนิด ไมพ่ บในเซลล์พืชและเห็ดรา
➢ ช่วยในการเคลื่อนทีข่ องโครโมโซมและแยกโครมาตดิ แตล่ ะคอู่ อกจากกนั ในขณะแบ่งเซลล์

Centriole

Microtubules

ครมู ธุรดา บญุ ส่ง (ป๊อบ)

นวิ เคลียส
(Nucleus)

นิวเคลียส ➢ มลี กั ษณะค่อนขา้ งกลม

➢ ทาหนา้ ที่ควบคมุ การทางานของเซลล์

➢ โครงสร้างของนวิ เคลยี ส ประกอบด้วย 3 สว่ น
1 เยอ่ื หุ้มนวิ เคลียส

2 โครมาตนิ

3 นิวคลีโอลสั

ครูมธุรดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ)

โครมาติน (Chomatin)
โครมาติน ➢ เป็นเส้นใยเลก็ ๆ พันกนั เป็นรากแห

➢ ประกอบดว้ ยโปรตีน และ กรดดอี อกซีไรโบนิวคลอี กิ (DNA)
➢ ทาหนา้ ทีค่ วบคมุ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม

ครมู ธรุ ดา บุญสง่ (ป๊อบ)

นวิ คลีโอลสั (Nucleolus)

นวิ คลีโอลัส

➢ ทาหนา้ ที่ มีหน้าทสี่ ังเคราะห์ไรโบโซมเพอ่ื
ทาหนา้ ที่สงั เคราะหโ์ ปรตีน และรวบรวม
กรดไรโบนวิ คลีอิก (RNA)

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

รากแหเอนโดพลาสซมึ (ER)

ผนงั เซลล์ (Cell wall) นวิ เคลยี ส (Nucleus)

คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) นิวคลโี อลัส (Nucleolus)
แวคคิวโอล (Vacuole) ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm)
เย่ือห้มุ เซลล์ (Cell membrane) กอลจิบอดี (Golgi Body)
ไมโทคอนเดรยี (Mitochomdria)
ครูมธรุ ดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ)

รากแหเอนโดพลาสซมึ (ER) นวิ เคลยี ส (Nucleus)
ไมโทคอนเดรยี (Mitochomdria) นวิ คลโี อลสั (Nucleolus)

เยอ่ื หุ้มเซลล์ (Cell membrane) ไรโบโซม (Ribosomes)
ไซโตพลาสซมึ (Cytoplasm) เซนทรโิ อล (Centriole)
ไลโซโซม (Lysosome) กอลจิบอดี (Golgi Body)

ครูมธุรดา บุญส่ง (ปอ๊ บ)

เปรยี บเทยี บ : ความแตกตา่ งระหว่างเซลล์พชื กับเซลล์สตั ว์

องค์ประกอบของเซลล์ เซลลพ์ ืช เซลลส์ ัตว์ เซลล์พืช
1. รปู ร่างของเซลล์ เซลลส์ ัตว์
2. ผนงั เซลล์ (Cell wall) เป็นเหลีย่ ม คอ่ นขา้ งกลม
3. คลอโรพลาสต์
4. แวคควิ โอล(Vacuole)
5. ไลโซโซม (Lysosome)
6. เซนทริโอล (Centriole)

ครูมธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

ผนังเซลล์ (Cell wall) ตรวจสอบความเขา้ ใจ เซนทริโอล (Centriole)

8 1 1 เยอ่ื หมุ้ เซลล์ (Cell membrane) 1
42 2 ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm)
7 3 รากแหเอนโดพลาสซมึ (ER) 2
6 11
4 กอลจิบอดี (Golgi Body)
3 5 ไมโทคอนเดรยี (Mitochomdria) 3
4
10 6 นิวเคลยี ส (Nucleus) 7
7 นิวคลโี อลัส (Nucleolus)
95 56
พบทั้งในเซลล์พชื และเซลล์สัตว์
12

แวคคิวโอล (Vacuole) ไลโซโซม (Lysosome)
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)

ครมู ธรุ ดา บุญส่ง (ป๊อบ)

การจดั ระบบรา่ งกาย

ครูมธุรดา บุญส่ง (ป๊อบ)

การจัดระบบรา่ งกาย มนษุ ย์

เนื้อเยอ้ื กระดูก เนื้อเย้ือประสาท เนื้อเยอ้ื ผวิ หนงั 5

ระบบยอ่ ยอาหาร

กระเพาะอาหาร

เซลลก์ ลา้ มเนอื้ เรยี บ เนื้อเยอื่ กลา้ มเนอื้ เรยี บ 3 4

1 2

ครมู ธรุ ดา บุญสง่ (ปอ๊ บ)

การจัดระบบร่างกาย ตรวจสอบความเข้าใจ

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ปอ๊ บ) 1 ระบบประสาท
2 สมอง
3 เซลล์ประสาท
4 เน้อื เยื่อประสาท
5 มนุษย์

เฉลย 3 4 2 1 5

ตัวอยา่ งเซลลจ์ ากส่วนตา่ ง ๆ ของ “เซลล์สตั ว์”

เซลล์ประสาท (nerve cell)

นวิ เคลียส ปลายเสน้ ประสาท
แอกซอน แอกซอน

เดนไดรต์

ตัวเซลล์ เย่ือไมอีลนิ

เปน็ ใยประสาททนี่ ากระแสประสาท เข้าสู่ ตวั เซลล์

เปน็ ใยประสาทท่นี ากระแสประสาท ออกจาก ตัวเซลล์
ครมู ธรุ ดา บญุ สง่ (ป๊อบ)

ตัวอย่างเซลล์จากสว่ นต่าง ๆ ของ “เซลลส์ ตั ว์”

เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง (Red Blood Cells)

➢ ประกอบดว้ ยฮโี มโกลบนิ ซ่ึงเปน็ โปรตนี ท่ีมีธาตเุ หลก็ เปน็
องค์ประกอบ

➢ สรา้ งจากไขกระดกู มอี ายุ 80-120 วนั

➢ ทาลายที่ตับและมา้ ม

แก๊สออกซเิ จน O2 แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ CO2

เซลล์เม็ดเลอื ดแดง

ครมู ธุรดา บุญสง่ (ป๊อบ)

ตัวอยา่ งเซลล์จากสว่ นตา่ ง ๆ ของ ”เซลล์สัตว์”

เซลล์สเปริ ม์ (Sperm cell) Acrosome Head
Nucleus Middlepiece
➢ เปน็ เซลล์สืบพนั ธข์ุ องเพศชาย Mitochondria
Tail
ส่วนหวั เป็นทอี่ ยู่ของนวิ เคลยี สและเอนไซมท์ ี่ใช้ย่อยผนงั หมุ้ เซลล์ไข่ Plasma membrane

สว่ นคอและลาตวั มีลกั ษณะเปน็ แทง่

ทาหนา้ ทใ่ี หพ้ ลงั งานแก่เซลล์

ส่วนหาง มีกลมุ่ ไมโทคอนเดรียซึง่ ใช้

เปน็ พลงั งานในการเคลื่อนที่ของอสุจิ

ครูมธุรดา บญุ ส่ง (ปอ๊ บ)

ตัวอยา่ งเซลล์จากสว่ นตา่ ง ๆ ของ ”เซลลพ์ ชื ”

เซลล์ขนราก (Root hair) ➢ เซลลข์ นราก คอื เซลล์ท่ีพฒั นายดื ยาวมาจาก
เซลลช์ นั้ ผิว ของรากพชื ท่มี ีผนังเซลลแ์ ละเยอ่ื หมุ้ เซลล์
ดนิ
➢ เปน็ ส่วนของเซลลช์ นั้ ผวิ ทีย่ น่ื ยาวออกมา
น้า
➢ เพอ่ื เพ่มิ พ้ืนทผี่ ิวในการดดู ซึมน้าและแร่ธาตุตา่ ง ๆ
น้า
➢ เซลลใ์ นเนื้อเยอื่ ลาเลียงน้า มลี ักษณะเปน็ ท่อกลวงยาว
เพอื่ ใชใ้ นการลาเลียงน้าจากรากไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพืช

ขนราก (Root hair)

ราก (Root)

ครูมธรุ ดา บญุ ส่ง (ป๊อบ)

ตวั อย่างเซลล์จากสว่ นต่าง ๆ ของ ”เซลล์พืช”

เซลลใ์ นเนือ้ เยื่อลาเลียงน้า (Xylem) ➢ เนอ้ื เยอ่ื ไซเล็ม (xylem) ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์
Xylem ที่ตายแลว้ โพรโทพลาซึมของเซลลส์ ลายตัวไป
จงึ เกดิ โพรงภายในเซลล์

➢ ทาหน้าท่ใี นการลาเลียงน้าและแร่ธาตตุ ่าง ๆ
จากรากข้นึ ส่ลู าตน้ ใบ และสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช

ิทศทางการลาเลียง ้นา

ครมู ธรุ ดา บญุ สง่ (ปอ๊ บ)

ตัวอยา่ งเซลล์จากส่วนตา่ งๆของ ”เซลลพ์ ชื ”

เซลลค์ ุม (Guard cell)

Chloroplast ➢ รูปร่างคลา้ ยเมลด็ ถ่ัวอย่กู นั เป็นคู่ ๆ

Cytoplasm ➢ ระหว่างเซลล์คมุ แตล่ ะคู่มชี ่องเปิดเลก็ ๆ เป็น“ปากใบ”
➢ ควบคุมการแลกเปลยี่ นแก๊สและการระเหยของนา้
Cell wall
➢ ในขณะทอ่ี ากาศร้อนและพืชอยใู่ นสภาวะที่
มกี ารสูญเสียนา้ ไปมาก ๆ เซลล์คมุ จะปดิ เพ่อื ป้องกันการระเหย
ของนา้ ออกจากใบ เป็นการพยายามรกั ษาปริมาณนา้ เอาไว้

Nucleus

Vacuole Stomatal pore เซลล์คุม ปากใบ
คลอโรพลาส
Guard cell
ครูมธุรดา บญุ สง่ (ป๊อบ)


Click to View FlipBook Version