บริบทของหนว่ ยงาน NICU
รับทารกตั้งแตแ่ รกเกดิ จนถงึ อายุ 28 วนั ทไี่ มไ่ ด้มาจากบ้าน และมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ผ้รู ับบริการหลกั คอื ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกท่มี ภี าวะสดู สำลักข้เี ทา
NICU รับดแู ลทารกไดท้ ้งั หมด 14 เตยี ง ตาม Service Plan ที่ตอ้ งมีเตียงสำหรบั ให้บริการทารก
1เตียง ตอ่ 500 การเกิดมีชีพ
อัตราครองเตยี ง อยทู่ ี่ 70 – 80 %
ผปู้ ว่ ยเฉลีย่ 11 ราย / วัน
วันนอนเฉล่ีย 8 – 10 วนั
Preterm นอนเฉลีย่ 2 – 3 เดือน
อตั ราตาย
อตั ราตาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
ทารกแรกเกดิ (3.6) 4.79 6.05 5.46 5.93
นน<1000 กรมั (50) 42.86 22.22 12.50 20
นน1000 – 1499 กรมั (10) 4 15 44.44 13.64
นน1500 – 2499 กรัม (2) 2.18 1.36 1.48 2.61
Dead จาก Birth Asphyxia MAS PPHN Preterm
2 P safety ประกอบดว้ ย Personal / Patient โดยมหี ลกั การ คอื SIMPLE
S Safety surgery and invasive procedure กระบวนการผ่าตัดปลอดภัย
ใน NICU มีเคสท่ตี อ้ งได้รบั การผ่าตัดนอ้ ยมาก แตเ่ ราก็ตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในเรอ่ื งนี้ เพราะ
อาจเกดิ ปัญหาได้ตั้งแต่การ Set ผา่ ตัด การเตรยี มผูป้ ว่ ย โดยทำตามการปฏบิ ัติเม่ือตอ้ งสง่ ผ้ปู ่วยเขา้ ห้องผา่ ตดั
คอื Set OR โดยเจ้าหนา้ ท่ีสองทา่ น โทรประสานกับเจา้ หนา้ ทีห่ ้องผ่าตัด เมอื่ Set case ตรวจสอบใบเซน็ ต์
ยนิ ยอมผา่ ตัด ประสานบดิ า/มารดา คยุ อาการกับศัลยแพทย์ก่อนทำการผา่ ตัด
โดยสว่ นใหญ่ เปน็ การทำหัตถการ เพ่ือช่วยทารก จึงไดร้ บั การรกั ษาไปก่อนค่อยใหข้ ้อมูล และเซน็ ต์
ยนิ ยอมการรกั า
จากการปฏิบัตดิ ังกลา่ ว ทำให้ยังไม่พบข้อผดิ พลาดจากการดแู ล รกั ษา พยาบาล อีกท้ังเปน็ ผ้ปู ่วย
ทารก การไปสง่ และรบั ทารกกลบั จากห้องผา่ ตัด จะมีพยาบาลเจา้ ของไข้ จาก NICU ไปกับทารกดว้ ยทกุ ครั้ง
และถ้าเปน็ การผ่าตดั ใหมๆ่ ที่ยังไมเ่ คยทำท่ี โรงพยาบาล ศัลยแพทย์ จะมาแนะนำการดูแลผ้ปู ว่ ย
พร้อมทั้งบอกภาวะทตี่ อ้ งเฝา้ ระวัง ขอ้ จำกัด ในการใหก้ ารพยาบาล และ ส่ิงทต่ี ้องปฏบิ ัตแิ ละรายงานทันทีเม่ือ
เกดิ เหตุการณ์ ทั้งในระยะก่อนผา่ ตดั และเมื่อทารกมาถึงหน่วยงานหลงั ผ่าตัดทันที
I Infection and prevention control การควบคุมและปอ้ งกนั การติดเช้ือที่ปลอดภยั
1. เชือ้ CRE MDR ระบาด จัดการโดย
- ทบทวนเทคนิคการดูแลความสะอาด เชญิ วิทยากรภายนอกมาให้ความรู้
- แยกโซนในการดูแลผปู้ ่วย ตีเสน้ เว้นระยะหา่ งระหวา่ งเตียง
- แยกของใชข้ องผปู้ ว่ ย
- เปล่ยี นเป็นการพยาบาลแบบ Case Assignment
- ใชอ้ ุปกรณ์ CPE ขณะดูแลผ้ปู ่วย
- เปลี่ยนน้ำยาทำความสะอาดเปน็ 0.5% sodium hypochlorite
- ลา้ งมือ 5 Moment 7 Step ( 1. กอ่ นสัมผัสผ้ปู ่วย 2. กอ่ นทำกิจกรรมปลอดเชื้อ หรือ ทำ
กิจกรรมอื่นๆ เชน่ เปิดชดุ เคร่ืองมือปราศจากเชื้อทำหัตถการ 3. หลงั สมั ผัสสงิ่ คัดหลั่ง 4. หลงั
สัมผัสผปู้ ว่ ย 5. หลงั สมั ผสั อุปกรณห์ รอื สิ่งแวดลอ้ มของผปู้ ่วย )
- ลดการใหย้ า ATB โดยดูจากผล H/C 2 day 5 day
2. NEC ระบาด จัดการโดย
- ตรวจหาเชอ้ื โดยวธิ กี าร Culture จากมอื พยาบาล นำ้ นม ตู้เยน็ เกบ็ น้ำนม
- เปล่ียนวิธีการเตรยี มนม
- ประสานและให้ขอ้ มลู มารดาเกย่ี วกับวธิ กี ารเกบ็ นำ้ นม อุปกรณ์การเก็บน้ำนมและการดูแลตนเอง
ขณะใหน้ มบตุ ร การนำสง่ นมแม่
- ดูแลความสะอาดอปุ กรณ์ ในการเตรยี มนม
3. VAP / HAP
- ลดการใชก้ ารช่วยหายใจแบบ Invasive Ventilator
- VAP VAP protocol จัด position 30 องศา / เทน้ำใน circuit / Fix tube & stap ET
เพอื่ ป้องกนั การเลื่อนหลดุ หรือขยบั
- ใช้ Closed suction ในผู้ปว่ ยที่ตอ้ ง Suction บ่อย
M Medication and blood safety
1. ยา overdose
- ทบทวนการคำนวณ Dose ยาของการรักษาอีกคร้ัง / Double check order และรับคำส่ังการ
รกั ษา 2 ท่าน
- ทบทวน conference และทำ RCA รว่ มกนั เพ่ือหาแนวทางป้องกนั
2. การจองเลือดสำหรบั ผปู้ ่วยลา่ ชา้ สาเหตุ ไม่มีการนำเลือดของมารดาไปพร้อมกบั เลือดของทารก / ไม่ได้โทร
แจง้ ตึกหลังคลอดใหเ้ จาะให้ / การลงระบบเข้า HosxP ไม่ถูกต้อง
แนวทางการแก้ปญั หา
- เมือ่ ได้รับคำสัง่ ใหเ้ ลือดในครง้ั แรก ใหเ้ จาะเลือดทารกและโทรแจ้งให้หน่วยงานท่ีมารดา admit
เจาะเลือดให้
- ตรวจสอบใบส่ง LAB พรอ้ มเซ็นชื่อ ในช่องผู้ตรวจสอบและผู้เจาะเลอื ด ตรวจสอบให้ตรงกับ tube
เลอื ด
3. TPN overload
- ให้ นำ set iv เข้าเคร่ือง infusion pump นำ clamp ไว้ดา้ นบนเครอ่ื ง infusion pump และ
คลาย clamp เป็นสง่ิ สุดทา้ ย เมื่อจะเดนิ ออกจากผู้ป่วย
- ให้ ปรับเคลียร์หน้าเครือ่ ง infusion pump ทกุ 8 ชว่ั โมง ขณะที่รับ สง่ เวร
M Mental Health
ดแู ลเร่อื งขวญั กำลงั ใจ ของบุคลากรในหน่วยงาน
• ช่วยกนั ทำงาน เมอ่ื ภาวะงานมาก อยชู่ ่วยต่อเนือ่ งแมน้ อกเวลางาน จนกว่างภาระงานจะเบาลง
• ตามอตั รากำลังทดแทน เม่ือสถานการณ์ยุ่ง
• ชว่ ยรับภาระงาน เมอื่ มีบุคลากรเจบ็ ปว่ ย และปรับเปล่ยี นตามความเหมาะสม
• มกี ารเยีย่ มไข้เจา้ หนา้ ที่และญาติสายตรง เมือ่ เจ็บปว่ ยต้องนอนโรงพยาบาล
• มีการแจกของขวญั ปใี หมใ่ หเ้ จ้าหนา้ ทใี่ นหน่วยงาน
P Patient care Process
Entry check identify
Assessment กระบวนการประเมินผู้ปว่ ย และ การรายงาน โดยใช้ S bar
S= situation b= Background A= Assessment R= Recommend / Response
Nursing Knowledge = Specific competency ความรู้เรอื่ งเครื่องช่วยหายใจ Incubator /
ความรู้ท่ัวไป ความรู้เร่ืองโรค
L line Tube cath
Care insertion ตาม protocol
Emergency Response