The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by montiira738, 2021-09-19 06:04:47

งาน1234

งาน1234

แรงงานสัมพนั ธ์

จัดทาโดย
นางสาว มณฑิรา ทองฤทธ์ิ

6312404001061
กลุ่มเรียน 63064.122 สาขา บริหารทรัพยากรมนุษย์

คานา

รายงานฉบบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึของHRเพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ โดยมีจุดประสงค์ เพือ่
การศึกษา คน้ ควา้ และหา ความรู้ ซ่ึงรายงานน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั แรงงานสมั พนั ธ์
ทางผจู้ ดั ทาไดท้ ารายงาน โดยรวบรวมเน้ือหาจากแหล่งสารสนเทศต่างๆเพื่อนามาให้

ไดร้ ับความรู้

ผู้จดั ทา
15 เมษายน 2563

สารบัญ

สารบญั รูปภาพ………………………………………………………………………………………ก

สารบญั ตารางภาพ………………………………………………………………………………………ข
ความรู้เก่ียวกบั แรงงานสัมพนั ธ์……………………………………………………………… 1
ความหมายของแรงงานสัมพนั ธ์………………………………………………………………1
ตาราง เปรียบเทียบ การบริหารคนในระบบงานบุคคลและการบริหารคนในระบบงาน
แรงงานสมั พนั ธ์………………………………………………………………………………..2
ความสาคญั ของแรงงานสมั พนั ธ์ …………………………………………………………….4
จุดม่งหมายของระบบแรงงานสัมพนั ธ์………………………………………………………. 6
ความเป็นมาของแรงงานสัมพนั ธ์ …………………………………………………………….7
แนวคิดเกี่ยวกบั แรงงานสัมพนั ธ์ ………………………………………………………………9
เอกสารอา้ งอิง………………………………………………………………………………….22

สารบญั รูปภาพ

ภาพ จดทะเบียนท่ีปรกึ ษาดา้ นแรงงานสมั พนั ธ์

สารบัญตารางภาพ

ตาราง เปรียบเทียบการบริหารคนในระบบงานบุคคลและการบริหารคนใน
ระบบงานแรงงานสมั พนั ธ์

1

บทท่ี 1

ความรู้เกย่ี วกบั แรงงานสัมพนั ธ์

ในวงการอุตสาหกรรมไดม้ ีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง โดยอาศยั ความกา้ วหนา้ ทางดา้ น

เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เขา้ มาช่วยในการผลิตผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูป เพื่อใหผ้ ลิตภณั ฑ์

สาเร็จรูปมีคุณภาพและ ปริมาณเพิม่ ข้ึน เพ่ือตอบสนองเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของลูกคา้

ซ่ึงสถานประกอบกิจการตา่ งๆจะ ประกอบดว้ ยบุคลากรท่ีสาคญั อยู่ 2 ส่วน ดงั น้ีคือ

ฝ่ ายนายจา้ งหรือฝ่ ายจดั การเป็ นผปู้ ระกอบการ ทางดา้ นธุรกิจการลงทุน เพอื่ ทาการผลิตสินคา้ ใหไ้ ดอ้ อกมา
มากท่ีสุด โดยใหต้ น้ ทุนมีคา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยท่ีสุด เพือ่ หวงั ผลกาไร มากที่สุดเท่าท่ีจะทาได้ ส่วนอีกฝ่ ายหน่ึงเป็น
ผใู้ ชแ้ รงงานหรือลูกจา้ ง ซ่ึงจะทาหนา้ ท่ี ตามตาแหน่งงานต่างๆท่ีไดร้ ับมอบหมายในแต่ละงาน ซ่ึงผใู้ ช้
แรงงานหรือลูกจา้ งน้นั เมื่อทางานกต็ อ้ ง ไดร้ ับคา่ จา้ งหรือคา่ ตอบแทน เม่ือเป็นเช่นน้ีท้งั ฝ่ ายนายจา้ งกบฝ่ าย
ลูกจา้ ง จึงตอ้ งทางานร่วมกนั

ถึงแมจ้ ะอยใู่ นตาแหน่งที่แตกต่างกนั แต่มีความจาเป็ นตอ้ งมีความสมั พนั ธ์เก่ียวขอ้ งกนั ในดา้ น
เศรษฐศาสตร์ และ กฏหมาย ซ่ึงความสมั พนั ธ์ที่เกี่ยวขอ้ งดงั กล่าวน้นั เรียกวา แรงงานสัมพนั ธ์ ซ่ึงเป็น
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งฝ่ ายนายจา้ ง ฝ่ ายลูกจา้ งและฝ่ ายรัฐบาลเพอื่ กาหนดโยบายและกฏหมายใหแ้ ต่ละฝ่ าย
ปฏิบตั ิตาม

ความหมายของแรงงานสัมพนั ธ์

แมน สารรัตน์ (2527, หนา้ 1) กล่าววา แรงงานสัมพนั ธ์ หมายถึง กระบวนการบริหารและการจดั การ
ทางดา้ นแรงงานและความสัมพนั ธ์ของสถาบนั 3 ฝ่ ายคือ สถาบนั นายจา้ ง สถาบนั ลูกจา้ ง และ รัฐบาล เพือ่ ให้

ตาราง เปรียบเทยี บ 2

การบรหิ ารคนในระบบงานบคุ คลและการบริหารคนในระบบงานแรงงานสัมพนั ธ์

การบรหิ ารคนทา การบริหารคนทางาน ในระบบงานแรงงาน

งาน ในระบบงานบุคคล ให้มคี วามสัมพันธก์ ับ สัมพันธ์ ใหม้ คี วามสัมพันธก์ ับจติ ใจของ

กระบวนการผลิต คนทางานดว้ ยกัน

1. การสรรหาวา่ จา้ ง ใหไ้ ดค้ นทางานที่มีทกั ษะ ความรูหรือ 1. การยอมรับการรวมตวั ของคนทางานเป็ น

ประสบการณ์ตรงตามกระบวนการผลิต องคก์ รลกู จา้ ง ตามรูปแบบที่กฎหมายกาหนด

และรูปแบบท่ีนอกเหนือจากกฎหมายกาหนด

2. การฝึ กอบรมและพฒั นาบคุ ลากร ใหไ้ ด้ คนทางานที่มี

ทกั ษะความรู้มากกวา่ เดิมตาม กระบวนการผลิตแบบใหม่ 2. การสนบั สนุนบทบาทขององคก์ รลกู จา้ ง

3. การจดั สวสั ดิการ เพอ่ื ใหค้ นทางานมีขวญั และกาลงั ใจ 3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององคก์ รลูกจา้ ง

ในการทางาน ทาใหก้ ระบวนการ ผลิตดาเนินการไปได้

อยา่ งต่อเนื่อง 4. การส่งเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ ง

นายจา้ งกบั ลูกจา้ งและองคก์ รลูกจา้ ง

4. การกาหนดค่าตอบแทนใหแ้ กค่ นทางาน ดว้ ยการจดั สรร

กาไรเป็ นคา่ จา้ งและคา่ ตอบแทน พิเศษหรือโบนสั จาก

ผลผลิตที่จาหน่ายได้

5. การสอบสวนขอ้ เทจ็ จริงและการลงโทษ สาหรับ
คนทางานท่ีกระทาผดิ ขอ้ บงั คบั ในการ ทางาน ใน
กระบวนการผลิตหรือผลผลิตให้ ไดร้ ับความเสียหาย หรือ

ก่อใหเ้ กิดความเสี่ยงที่ จะไดร้ ับความเสียหาย หรือเกิด
ความล่าชา้ ใน กระบวนการผลิต ผนู้ ้นั จะตอ้ งไดร้ ับการ
ลงโทษ

ถึงแม้ว่าการบริหารงานบุคคลกบั การบริหารแรงงานสัมพนั ธ์จะมวี ธิ ีการท างานหรือการบริหาร
คนทางานทแ่ี ตกต่างกนั แต่กม็ เี ป้ าหมายการท างานเดยี วกนั คือ การม่งุ สู่การสร้างผลผลติ ทม่ี ี

คุณภาพ

ภาพ จดทะเบยี นทป่ี รึกษาดา้ นแรงงานสัมพนั ธ์

3

มีการทาความตกลงกนโดยสันติวธิ ีเก่ียวกบั ค่าจา้ ง ผลประโยชนเ์ กี่ยวกบการจา้ ง และเพ่อื ส่งเสริม
ความสมั พนั ธ์อนั ดีในวงการอุตสาหกรรม

ดุสิต ภูต่ ระกูล (2535, หนา้ 2) กล่าววา่ แรงงานสัมพนั ธ์ หมายถึง ระบบท่ีวางกติกา กฏเกณฑ์ และการ
ปฏิบตั ิระหวา่ งฝ่ ายนายจา้ งและฝ่ ายลูกจา้ ง ฝ่ ายบริหารกบั สหภาพ ฝ่ ายนายจา้ ง ลูกจา้ ง และสหภาพกบรัฐบาล
ซ่ึงระบบน้ีจะออกมาในรูปของ กฏหมายขอ้ บงั คบั ระเบียบแบบแผนท่ีฝ่ ายจดั การ หรือสหภาพแรงงาน
กาหนดข้ึน

เพญ็ ศรี วายวานนท์ (2537, หนา้ 252) กล่าววา่ แรงงานสมั พนั ธ์ หมายถึง เป็น ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง
นายจา้ งกบั ลูกจา้ ง หรือความสัมพนั ธ์ระหวา่ งฝ่ ายกิจการกบสหภาพแรงงาน ความสมั พนั ธ์อนั ดีท้งั สองฝ่ าย
เป็นส่ิงปรารถนาในการอยรู ่วมกนั ในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมอยา่ งสงบสุข

ระวงั เนตรโพธ์ิแกว้ (2542, หนา้ 21)กล่าววา่ แรงงานสมั พนั ธ์ หมายถึง วธิ ีการกระทาและ ภาระกิจระหวา่ ง
องคก์ ารฝ่ ายนายจา้ งที่เขา้ ไปมีบทบาทในการกาหนดความเกี่ยวขอ้ งผกู พนั ตลอดจน ภาระหนา้ ที่ระหวา่ ง
นายจา้ งและลูกจา้ ง รวมถึงความสมั พนั ธ์ที่รัฐบาลเขา้ มามีส่วนร่วมเพือ่ แกไขปัญหาดา้ นแรงงาน

เก้ือจิตร ธีรกาญจน์(2551, หนา้ 29) กล่าววา่ แรงงานสมั พนั ธ์ หมายถึง ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งฝ่ ายนายจา้ ง
ฝ่ ายลูกจา้ งและรัฐบาล หรือความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง องคก์ ารฝ่ ายนายจา้ ง องคก์ ารฝ่ าย ลูกจา้ ง และองคก์ าร
รัฐบาล ท่ีเก่ียวขอ้ งกบสภาพการจา้ งหรือการทางานอนั อาจส่งผลกระทบตอ่ นายจา้ ง ลูกจา้ ง ประชาชนและ
ประเทศชาติ ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม

ชวลิต สละ (2551, หนา้ 214) กล่าววา่ แรงงานสัมพนั ธ์ หมายถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง นายจา้ งกบั ลูกจา้ ง
คนใดคนหน่ึง หรือกบกลุ่มลูกจา้ งกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง หรือหลายกลุ่มกไ็ ดใ้ นเรื่องของ การจา้ งงาน ซ่ึงนบั ต้งั แต่
การจา้ งงานจนถึงลูกจา้ งออกจากงาน

กล่าวโดยสรุป แรงงานสัมพนั ธ์เป็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งองคก์ ารฝ่ ายนายจา้ ง องคก์ าร ฝ่ ายลูกจา้ ง และ
องคก์ ารรัฐบาล หรือเป็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งฝ่ ายนายจา้ งกบั ฝ่ ายลูกจา้ ง ซ่ึงรัฐบาลมีความจาเป็ นตอ้ งเขา้ มา
มีส่วนเกี่ยวขอ้ งดว้ ยโดยตรง ดว้ ยการกาหนดนโยบายและออกกฏหมายมากกาหนดกรอบใหท้ ้งั ฝ่ ายนายจา้ ง
และฝ่ ายลูกจา้ งปฏิบตั ิตาม

4

ความสาคญั ของแรงงานสัมพนั ธ์

ความสาคญั ของแรงงานสัมพนั ธ์อาจจะกล่าวไดว้ า่ หากสถานประกอบการใดที่นายจา้ ง และลูกจา้ งตา่ ง
ปฏิบตั ิตอ่ กนั ดว้ ยดีโดยการ่วมสร้างประโยชน์และนามาแบง่ ปันกนั อยา่ งเหมาะสม ตา่ งเขา้ ใจและยอมรับใน
บทบาทของแตล่ ะฝ่ าย ปรองดองและสามารถระงบั ขอ้ ขดั แยง้ และขอ้ ยตุ ิลงไดด้ ว้ ย ความพอใจร่วมกนั ก็จะทา
ใหล้ ูกจา้ งมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี มีความสุขในการทางาน มีความต้งั ใจในการ สร้างผลผลิตใหเ้ พิ่มข้ึนและ
ใหบ้ ริการที่ดีแก่ผมู้ าใชบ้ ริการในสถานประกอบการของนายจา้ ง และมีผล ทาใหน้ ายจา้ งสามารถดาเนิน
กิจการไดอ้ ยา่ งราบร่ืน โดยไดร้ ับผลประโยชนห์ รือผลกาไรตาม วตั ถุประสงคข์ องสถานประกอบการน้นั
เมื่อนายจา้ งและลูกจา้ งสามารถทางานร่วมกนดว้ ยดีอยา่ งมี ประสิทธิภาพและก็เกิดความสงบสุขใน
อุตสาหกรรมข้ึน ส่งผลโดยตรงต่อความเจริญทางเศรษฐกิจและ ความสงบเรียบร้อยของประเทศ

(เก้ือจิตร ธีระกาญจม,์ 2551, หนา้ 30)

ในทางตรงกนขา้ ม ถา้ หากวา่ สถานประกอบการใดนายจา้ งและลูกจา้ งต่างปฏิบตั ิตอ่ กนั ดว้ ยการเอารัดเอา
เปรียบ มีทศั นคติและกระทาการในเชิงปฏิปักษต์ อ่ กน อาจก่อใหเ้ กิดความไม่พอใจ เกิดความขดั แยง้ และอาจ
เปล่ียนไปเป็นขอ้ พพิ าทแรงงานท่ีรุนแรง ในที่สุดทาให้เกิดการชะงกั งานใน รูปแบบตา่ งๆ เช่น การถ่วงงาน
หรือการทางานชา้ (slowdown, go-slow) การลาออกท้งั กลุ่มโดยเฉพาะ ช่างหรือคนงานมีฝี มือ การลากิจ
พร้อมกน การลาป่ วยพร้อมกนั การทางานแบบเถรตรง (work-to-rule) การทิง้ งาน (walkout) การนดั หยดุ งาน
(strike) เกิดการทางานทาให้อีกฝ่ ายหน่ึงเสียหาย เช่น การแกลง้ ทาใหผ้ ลผลิตดอ้ ยคุณภาพ หรือเสียหายทนั ที
ที่ผบู้ ริโภคนาไปใช้ (spoilage) การลอบทาลายเครื่องจกั ร เครื่องมือของนายจา้ ง (sabotage)การลอบวางเพลิง
สถานประกอบการ การทาลาย หรือ ลอบฆ่านายจา้ ง หรือบุคคลในฝ่ ายการจดั การ เป็ นตน้

ทาใหเ้ กิดการโตต้ อบมุ่งร้ายต่อกนั จนทาใหท้ ุกฝ่ ายไดร้ ับความเดือดร้อน สงั คมเกิดความสับสน ไร้ความสงบ
สุขเศรษฐกิจของประเทศตกต่า ดงั น้นั แรงงานสมั พนั ธ์ จึงมีความสาคญั กบั บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ งและมี
ผลกระทบต่อนายจา้ ง ลูกจา้ ง ประชาชนทวั่ ไปและ ประเทศชาติโดยส่วนรวม ดงั น้ี

1.ความสาคญั ต่อนายจ้าง

1.1 แรงงานสัมพนั ธ์ที่ดี จะทาใหอ้ งคก์ ารสามารถดาเนินกิจการไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ช่วยให้
กิจการมีผลกาไร และมีความเจริญกา้ วหนา้

5

1.2 นายจา้ งไมต่ อ้ งเสียเวลา เสียเงิน เสียความรู้สึก และเสียหนา้ เน่ืองจากเกิดขอ้ ขดั แยง้ ขอ้ พพิ าทแรงงาน
ขอ้ ร้องทุกข์ หรือคดีแรงงาน

1.3 นายจา้ งสามารถรักษาระเบียบวนิ ยั ความสงบเรียบร้อยในสถานประกอบการ

2.ความสาคญั ต่อลูกจ้าง

2.1 แรงงานสัมพนั ธ์ที่ดี ยอ่ มทาใหล้ ูกจา้ งมีขวญั กาลงั ใจ และความพึงพอใจในการทางาน

2.2 เม่ือนายจา้ งไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงค่าจา้ ง และผลประโยชน์ตอบแทน สวสั ดิการ สภาพการจา้ ง
งาน และสภาพการทางานอนั เป็นประโยชนต์ ่อลูกจา้ ง ซ่ึงจะช่วยใหค้ ุณภาพ ชีวติ การทางานของลูกจา้ งดีข้ึน

2.3 ลูกจา้ งมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดริเร่ิม และความสามารถในการทางานเพ่ือ พฒั นาตวั เองให้กาว
หนา้ ในอาชีพการทางานมากยงิ่ ข้ึน

2.4 ลูกจา้ งมีความมนั คงในการทางาน ฯลฯ

3. ความสาคญั ต่อประชาชนทวั่ แรงงานสมั พนั ธ์ที่ดี ส่งผลใหก้ ารดาเนินธุรกิจของสถานประกอบการ

ต่างๆดาเนินไปอยา่ ง มีประสิ ทธิภาพ ทาใหป้ ระชาชนทวั่ ไปในฐานะผบู้ ริโภคไดร้ ับสินคา้ และบริการที่ดีจาก
สถาน ประกอบการตา่ งๆ

4. ความสาคญั ต่อประเทศชาติ

4.1แรงงานสมั พนั ธ์ท่ีดี ช่วยใหเ้ กิดความสงบสุขในวงการอุตสาหกรรม ซ่ึงเป็ นปัจจยั สาคญั ในการส่งเสริม
บรรยากาศการลงทุน และขยายตวั ของธุรกิจ อุตสาหกรรม อนั เป็ นผลดีต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ 5

4.2แรงงานสมั พนั ธ์ท่ีดีช่วยลดปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ไมม่ ีขอ้ พิพาทแรงงาน ไมม่ ีการนดั หยดุ งาน หรือการปิ ด
งานที่ยดื เย้อื ซ่ึงอาจนนาไปสู่เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความไมส่ งบสุข

6

จุดม่งหมายของระบบแรงงานสัมพนั ธ์

จุดมุง่ หมายของระบบแรงงานสัมพนั ธ์ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประการ ดงั น้ีคือ (ดุสิต ภู่ตระกลู , 2535,
หนา้ 12)

1. การแกป้ ัญหาขอ้ ขดั แยง้ เม่ือมีขอ้ ขดั แยง้ เกิดข้ึน ถา้ ฝ่ ายนายจา้ งและฝ่ ายลูกจา้ ง ไมม่ ี กติกา กฎเกณฑ์
สาหรับยดึ ถือเป็ นหลกั ปฏิบตั ิ หรือไมม่ ีกลไกในการยตุ ิขอ้ ขดั แยง้ อาจจะเกิดการใช้ อารมณ์ในการตดั สินใจ
แกปัญหาท่ีเกิดข้ึน จึงไม่เพียงแตจ่ ะก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่คูก่ รณีเท่าน้นั ยงั อาจก่อใหเ้ กิดความเสียหาย
ตอ่ ส่วนรวมอีกดว้ ย (วภิ าวี พจิ ิตบนั ดาล, 2528, หนา้ 476)

กฎเกณฑท์ ่ีออกมาโดยรัฐบาลในรูปแบบของกฎหมายแรงงานสัมพนั ธ์ก็ดีหรือกฎเกณฑท์ ี่ เกิดจากขอ้ ตกลง
ร่วมกนระหวา่ งฝ่ ายนายจา้ ง และฝ่ ายลูกจา้ งก็ดี เป็นแนวทางในการแกปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ท่ีอาจเกิดข้ึนระหวา่ ง
คูก่ รณี เช่น กฎหมายแรงงานสมั พนั ธ์ของไทย ไดก้ าหนด กฎเกณฑใ์ นการยน่ื ขอ้ เรียกร้อง กเ็ พื่อให้โอกาส
คนงานไดเ้ สนอความตอ้ งการใหน้ ายจา้ งทราบ แทนที่จะสะสมความตอ้ งการ ไว้ และปล่อยออกมาในรูปการ
นดั หยดุ งาน (นิคม จนั ทรวทิ ุร, 2524, หนา้ 78-79)

2. เพื่อรักษาความเป็นธรรมในดา้ นสังคมและเศรษฐกิจ กฎเกณฑท์ ่ีกาหนดมาตรฐาน ค่าจา้ งข้นั ต่า หรือ
กฎเกณฑท์ ่ีกาหนดสิทธิของฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง ในการยนื่ ขอ้ เรียกร้องเพื่อเพ่ิมเติมหรือ เปลี่ยนแปลงสภาพการ
จา้ ง ก็มุ่งเพอื่ รักษาความเป็นธรรมในสังคม และเศรษฐกิจของประเทศโดย ส่วนรวม เช่น การกาหนดค่าจา้ ง
ข้นั ต่าเพ่ือเป็นหลกั ประกนั วา่ ผใู้ ชแ้ รงงานไดร้ ับคา่ จา้ งเพยี งพอท่ีจะ ประทงั ชีวติ อยไู่ ด้ และเพือ่ ป้องกนั มิให้
เกิดการเอารัดเอาเปรียบทางดา้ นแรงงาน ส่วนสิทธิในการ เรียกร้องก็เพ่ือใหโ้ อกาสในการต่อรองเกี่ยวกบั
สภาพการจา้ งงาน สิทธิในการต่อรองน้ีถือวา่ เป็น มาตรการอนั หน่ึงในอนั ที่จะรักษาความเท่าเทียมกนั ของ
รายได้ นอกจากน้นั การเจรจาตอ่ รอง ยงั ก่อให้เกิดการกระจายรายไดท้ ่ีเป็นธรรมระหวา่ งผใู้ ชแ้ รงงานกบ
เจา้ ของเงินทุนคือฝ่ ายนายจา้ งอีกดว้ ย (นิคม จนั ทรวทิ ุร, 2524, หนา้ 79)

3. เพื่อการควบคุมและเพอ่ื รักษาความมนั คงใหเ้ กิดข้ึนภายในสถาบนั กฎเกณฑข์ องฝ่ าย นายจา้ งในอดีต
มกั จะเป็นกฎเกณฑท์ ่ีเก่ียวกบั การควบคุมลูกจา้ งผใู้ ชแ้ รงงานใหป้ ฏิบตั ิตาม ซ่ึงเป็ นไป ในทางบงั คบั

การฝ่ าฝืนอาจถูกตดั คา่ จา้ ง หรือถูกไล่ออก ต่อมาไดม้ ีการปรับปรุงรูปแบบของการบริหาร เป็นแบบกระตุน้
และส่งเสริมใหล้ ูกจา้ งพอใจในการทางาน ผลตอบแทนไดถ้ ูกกาหนดข้ึนมาเพื่อเอาใจ ผใู้ ชแ้ รงงาน เพ่ือมิให้
ลูกจา้ งออกจากงานไปหางานที่อื่นท่ีดีกวา่ ทางดา้ นกฎเกณฑข์ องฝ่ ายลูกจา้ งก็ เช่นเดียวกนั สหภาพแรงงาน

7

ไดก้ าหนดกฎเกณฑท์ ี่จะควบคุมสมาชิกและรักษาผลประโยชน์ของ สมาชิก เพอ่ื ความมนั คงของสหภาพ
แรงงาน (นิคม จนั ทรวทิ ุร, 2524, หนา้ 79)

ความเป็ นมาของแรงงานสัมพนั ธ์

ประวตั ิความเป็ นมาของแรงงานสมั พนั ธ์ที่ส่งผลใหน้ ายจา้ ง ลูกจา้ งมีความเก่ียวขอ้ งในการ ทางานร่วมกนั
ต้งั แต่อดีตและถูกพฒั นามาจนถึงปัจจุบนั สามารถกาหนดไดเ้ ป็น 3 ยคุ ดว้ ยกนั คือ ยคุ ก่อนการปฏิวตั ิ
อุตสาหกรรม ยคุ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมและยุคหลงั ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม โดยมีการจดั ลาดบั ความสัมพนั ธ์ในแต่
ละยคุ ดงั น้ี (เก้ือจิตร ธีระกาญจม,์ 2551 หนา้ 7)

1.ยคุ ก่อนการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ยคุ ก่อนการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมนบั จากก่อนคริสศตวรรษท่ี 16 ไดม้ ีการ
ใชแ้ รงงานซ่ึงเป็ นจุดเร่ิมตน้ ของการเกิดชนช้นั ลูกจา้ งในระบบตา่ งๆไมว่ า่ จะเป็นระบบดึกดาบรรพ์ ระบบ
ทาส ระบบขา้ แผนดิน ระบบช่างฝี มือ ระบบการจา้ งงาน และกิจการในครัวเรือน ถูกพฒั นาความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งผใู้ ชแ้ รงงาน กบั เจา้ ของท่ีดินและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรงงาน หรือลูกจา้ งกบั นายจา้ ง ไดม้ ีการ
พฒั นาใน เร่ืองการใหส้ ่ิงตอบแทนในการทางานจากสิ่งของเปล่ียนมาเป็นการใหค้ า่ ตอบแทนที่เป็นตวั แทน
ซ่ึงมิไดจ้ ากดั เฉพาะการจา้ งงานในภาคเกษตรกรเทา่ น้นั แต่ระบบการวา่ จา้ งถูกนาไปใชใ้ นภาคอุตสาหกรรม
ดว้ ย ถึงแมว้ าในปลายยคุ น้ีจะเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนก็ตาม และการเกิดช่างฝี มือ ในอาชีพต่างๆ ใน
ระยะแรกๆ ช่างฝี มือจะเป็ นผยู้ อมรับค่าแรงจากนายจา้ ง ตามท่ีนายจา้ งจะกาหนดให้

2.ยคุ ปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม ยคุ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม นบั ต้งั แต่ คริสศตวรรษที่ 16 จนถึง คริสศตวรรษที่20 ไดม้ ี
การ พฒั นาการใชแ้ รงงานในระบบโรงงาน ซ่ึงระบบน้ีไดเ้ กิดชนช้นั คนงานที่ขายแรงงานใหแ้ ก่นายทุน
เจา้ ของอุตสาหกรรม ซ่ึงมีฐานะเป็ นลูกจา้ ง นายจา้ ง ในยคุ น้ี (ในช่วงคริสศตวรรษที่ 20)

ไดม้ ีนกั วชิ าการอเมริกนั ชื่อ นายเทเลอร์ (F.W. Taylor) และนายกิลเบรท (F.R. Gillberth) ไดน้ าเสนอวธิ ีการ
ผลิตตาม หลกั วทิ ยาศาสตร์โดยเนน้ ความสาคญั ของการเพิ่มผลผลิต และไดม้ ีการเสนอใหม้ ีการปรับปรุง
กรรมวธิ ี ในการผลิต นอกจากน้นั ยงั ไดม้ ีการปรับปรุงทดลองการบริหารแรงงานหรือการบริหารงานบุคคล
เพื่อ ศึกษาวธิ ีการบริหารแรงงานตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงมีนายจา้ งคนแรกท่ีใหค้ วามสนใจในการปรับปรุง
สภาพความเป็นอยขู่ องคนงานใหด้ ีข้ึนคือนายโอเวน (Robert Owen) ซ่ึงเป็นเจา้ ของโรงงานทอผา้ ชาวสก็อต
แลนด์ ไดต้ ้งั โรงงานทอผา้ ท่ีนิว โอลนาด (New Lonak) เพ่อื เป็นโรงงานทอผา้ ตวั อยา่ ง โดยมี วตั ถุประสงคจ์ ะ

8

ใหค้ นงานทางานมีความสุขมากข้ึน และโอเวนยงั ลดชวั่ โมงการทางานจากเดิม 17 ชว่ั โมง เหลือเพียง 10
ชว่ั โมง แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม จากการใชว้ ธิ ีการตามหลกั วทิ ยาศาสตร์กย็ งั คงทาให้ ลูกจา้ งมีความรู้สึกวา่ นายจา้ ง

กระทากบแรงงานเหมือนคนงานเป็นเคร่ืองจกั ร ถูกกดขี่ข่มเหงจากผเู้ ป็ น นายจา้ ง จึงเกิดการรวมตวั กนของ
ลูกจา้ งตอ่ ตา้ นการใชว้ ธิ ีการจดั การทางวทิ ยาศาสตร์ในการบริหาร แรงงาน การเกิดการรวมตวั กนในคร้ังน้ี
ลูกจา้ งมีแนวความคิดวา่ ลูกจา้ งมิใช่แรงงานที่เป็ นสินคา้ ลูกจา้ งมิใช่เคร่ืองจกั ร แต่ลูกจา้ งเป็นผรู้ ่วมลงทุน
ดว้ ยแรงกาย สมอง ความคิด ดงั น้นั เมื่อลูกจา้ งเป็นผู้ ร่วมลงทุน ลูกจา้ งจึงควรไดร้ ับส่วนแบ่งในผลกาไรของ
ธุรกิจดว้ ย

3.ยุคหลงั ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ยคุ หลงั ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมซ่ึงเป็นผลมาจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมทาใหม้ ี
การดาเนิน ธุรกิจแบบเสรีนิยม นายจา้ งมีเสรีภาพในการลงทุนจึงทาใหม้ ีโรงงานเกิดข้ึนมากมาย และลูกจา้ ง
หรือ แรงงานกม็ ีความจาเป็ นในการดาเนินงานทางดา้ นอุตสาหกรรม ปัญหาท่ีเกิดข้ึนกบลูกจา้ งหรือแรงงานก็
คือ ลูกจา้ งจะตอ้ งทางานหนกั มีชวั่ โมงการทางานที่ยาวนาน การใชแ้ รงงานหญิงและเด็กอยา่ งไร้ คุณธรรม
การเอารัดเอาเปรียบตลอดเวลา สภาพของสถานท่ีทางานไมถ่ ูกสุขลกั ษณะส่งผลตอ่ สุขภาพ อนามยั ของ
ลูกจา้ ง ไมม่ ีความปลอดภยั ในการทางาน อีกท้งั รัฐบาลในตอนตน้ ของยคุ น้ีก็ขาดการดูแลเอา ใจใส่ ปล่อยให้
นายจา้ งกอบโกยผลกาไร และเอารัดเอาเปรียบลูกจา้ งอยตู่ ลอดเวลา

จากปัญหาท่ีเกิดข้ึนท้งั ฝ่ ายนายจา้ ง และลูกจา้ ง ส่งผลตอ่ ความไมพ่ อใจซ่ึงกนั และกนั จน ผลกั ดนั ใหก้ ลุ่ม
ลูกจา้ งเกิดการรวมตวั กนั ในประเทศท่ีมีการพฒั นาทางอุตสาหกรรม เช่น องั กฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนั เบลเยยี่ ม
และประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็ นตน้ การรวมตวั ของฝ่ ายลูกจา้ งคร้ังแรกน้นั เกิด จากกลุ่มพวกช่างอาชีพ (guild)
โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ใหค้ วามพิทกั ษค์ ุม้ ครองสาขาอาชีพช่างฝี มือ โดย มีบทบาทในการกาหนดราคาสินคา้
อตั ราคา่ จา้ ง ควบคุมอาชีพช่างเพอ่ื กีดกนั มิใหบ้ ุคคลอ่ืนไดร้ ับ ผลประโยชนจ์ ากงานช่าง รวมถึงปกป้องสิทธิ
พเิ ศษต่างๆในสาขาอาชีพของตน ต่อมาเกิดการรวมตวั ของฝ่ ายลูกจา้ ง อยา่ งแพร่หลายมากยง่ิ ข้ึน มีกลุ่ม
อาชีพต่างๆ เกิดข้ึนอยา่ งมากมายเพ่อื ต่อสู้กบั ฝ่ าย นายจา้ ง การรวมตวั ของฝ่ ายลูกจา้ งไดส้ ร้างความไม่พอใจ
ใหก้ บั ฝ่ ายนายจา้ งเป็นอยา่ งมาก เพราะทาใหผ้ ลประโยชน์ท่ีไดล้ ดนอ้ ยลง จึงพยายามหาทางที่จะตอ่ ตา้ นการ
รวมกลุ่มของฝ่ ายลูกจา้ ง ประกอบกบั ในสมยั น้นั ฝ่ ายนายจา้ งส่วนมากเป็นผมู้ ีอิทธิพลทางการเมือง

และมีบทบาทในการออกกฎหมาย จึงได้ ออกกฎหมายหา้ มไมใ่ หล้ ูกจา้ งรวมกลุ่มกนั แต่ในที่สุด ประเทศ
ต่างๆที่ออกกฎหมายหา้ มการรวมกลุ่ม มาบงั คบั กป็ ระกาศยกเลิก เช่นประเทศองั กฤษยกเลิกปี ค.ศ. 1824
ประเทศฝรั่งเศสยกเลิกปี ค.ศ. 1864 และประเทศในยโุ รปกป็ ระกาศยกเลิกตามลาดบั เนื่องจากรัฐบาลไม่
สามารถทนต่อการเรียกร้องของ แรงงานลูกจา้ งไดแ้ ละประเทศกค็ งจะตอ้ งมีการพฒั นาตอ่ ไป ดงั น้นั เพื่อให้

9

การรวมตวั ของฝ่ ายนายจา้ ง และลูกจา้ งไดร้ ับการยอมรับ มีสิทธิเสรีภาพในการรวมตวั เป็ นสหภาพแรงงาน
เพอ่ื เขา้ ร่วมในการเจรจากบฝ่ ายนายจา้ ง เป็นสิ่งที่ทาไดโ้ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย ไดม้ ีการประกาศใชก้ ฎหมาย
แรงงานหลายดา้ น และใหก้ ารคุม้ ครองแก่ฝ่ ายลูกจา้ งครอบคลุมกวา้ งขวางมากยง่ิ ข้ึน

ดงั น้นั เพ่ือใหเ้ กิดความสนั ติสุขในวงการแรงงาน ใหก้ ารใชแ้ รงงานเป็ นไปดว้ ยความเป็นธรรม จึงไดม้ ีการ
จดั ต้งั องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ (International Labour Organization, ILO) เม่ือปี ค.ศ. 1919

ณ กรุงเจนีวา โดยยดึ หลกั ไตรภาคีในการก่อต้งั ซ่ึงมีผแู้ ทนของฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายนายจา้ ง และฝ่ ายลูกจา้ ง
ร่วมกนั อยใู่ นองคก์ าร หนา้ ที่สาคญั ขององคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศคือ กาหนดโยบาย กาหนดหลกั การ
ทวั่ ไปเกี่ยวกบั แรงงานไดแ้ ก่การออกอนุสญั ญา และขอ้ เสนอแนะเพื่อใหเ้ ป็ น มาตรการในการใหค้ วาม
คุม้ ครองแก่คนงานทว่ั ไปรวมถึงแรงงานหญิงและเดก็ ดว้ ย

แนวคดิ เกย่ี วกบั แรงงานสัมพนั ธ์

การศึกษาแนวคิดเก่ียวกบั แรงงานสัมพนั ธ์ก็เพือ่ ใหท้ ราบถึงแนวคิดท่ีเป็นพ้ืนฐานและอยู่ เบ้ืองหลงั ของการ
จดั องคก์ ารของกลุ่มผใู้ ชแ้ รงงาน การเจริญเติบโตขององคก์ ารและนโยบายการเจรจา ต่อรองของกลุ่มผใู้ ช้
แรงงานโดยเนน้ ที่การรวมกลุ่มเป็นสหภาพแรงงาน เพราะเป็ นกลุ่มท่ีมุ่งเจรจา ต่อรองกบั ฝ่ ายนายจา้ งเพ่อื
เรียกร้องสิทธิอนั ควรที่ควรไดข้ องผใู้ ชแ้ รงงาน นกั คิดหรือนกั ปราชญด์ า้ นน้ีมีอยหู่ ลายคนดว้ ยดนั

แตจ่ ะยกมากล่าวเพียงบางคนเท่าน้นั ท่ีมีบทบาทสาคญั ในการกระตุน้ ใหเ้ กิดแรงงาน สัมพนั ธ์ในหมูค่ นท่ี
เกี่ยวขอ้ งท้งั 3ฝ่ าย คือ ลูกจา้ ง นายจา้ ง และรัฐบาล แนวคิดแตล่ ะแนวคิดจะมีเฉพาะ ในดา้ นสาเหตุของการ
จดั ต้งั สหภาพแรงงานข้ึนและจุดมุ่งหมายที่จะดาเนินการใหบ้ รรลุผลตาม อุดมการณ์ โดยเลือกใชเ้ ทคนิคหรือ
มาตรการท่ีเหมาะสมตามแนวคิดน้นั ๆ ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี (ชวลิต สละ, 2551, หนา้ 222)

1. อดมั สมทิ (Adam Smith) เห็นวา่ ลูกจา้ งและนายจา้ งมีความตอ้ งการท่ีแตกตา่ งกนั กล่าวคือ ลูกจา้ ง
ตอ้ งการที่จะไดร้ ับค่าจา้ งเพมิ่ มากๆยงิ่ ข้ึน ข้ึนไปในขณะท่ีนายจา้ งตอ้ งการจ่ายค่าจา้ งให้ ลดต่าลงเทา่ ท่ีจะทา
ได้ ความตอ้ งการท่ีแตกต่างกนั น้ีทาใหต้ า่ งฝ่ ายก็พยายามจบั กลุ่มกนั เป็นสมาคม เพือ่ ต่อสู้ใหค้ วามตอ้ งการ
ของฝ่ ายตนบรรลุผลสาเร็จ อยา่ งไรก็ตาม ในขณะท่ี อดมั สมิท ไดแ้ สดงความ คิดเห็นออกมาน้นั เป็ นเวลา
ช่วงปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 ซ่ึงบรรดาลูกจา้ งยงั มิไดร้ วมกนในรูปแบบท่ี เป็นสหภาพแรงงาน

กลบั กลายเป็นวานายจา้ งรวมตวั เป็นสมาคมก่อน โดยมุ่งจะลดค่าจา้ งใหต้ ่าลงทุกๆ วถิ ีทางและแมแ้ ตจ่ ะมีการ
จดั ต้งั สหภาพแรงงานข้ึน อดมั สมิท ก็มีความเห็นวา่ สหภาพแรงงานท่ีจะจดั ต้งั ข้ึนน้นั ในตอนแรกจะมุง่ เพียง

10

เพ่อื คุม้ ครองอตั ราค่าจา้ งท่ีไดร้ ับมิใหล้ ดต่าลงเท่าน้นั เอง มิไดม้ ุ่งจะใชว้ ถิ ี รุนแรงบีบบงั คบั ใหน้ ายจา้ งเพ่ิม
คา่ จา้ ง อดมั สมิทไดค้ าดการณ์วา่ ในระยะต่อไปถา้ ลูกจา้ งสามารถ รวมตวั กนไดอ้ ยา่ งมน่ั คงแลว้ ก็อาจจะ
แสดงท่าทีกาวร้าวและรุนแรงกบั นายจา้ งเพ่ิมมากข้ึน และ นายจา้ ง ก็จะเป็นฝ่ ายกดดนั หรือบีบค้นั ในลกั ษณะ
เอารัดเอาเปรียบลูกจา้ งเพราะวาลูกจา้ งมีฐานะยากจนกวา่ จึงมี ่่ แรงจูงใจท่ีจะเรียกร้องรายไดเ้ พิม่ ข้ึนจาก
นายจา้ ง แต่ อดมั สมิท ไดเ้ นน้ การกระทาอยา่ งกา้ วร้าวและ เรียกร้องสิทธิหรือผลประโยชน์อยา่ งเกินกวา่
เหตุผลของสมาคมผใู้ ชแ้ รงงาน ผลสุดทา้ ยก็ไมไ่ ดร้ ับผลดีอะไรท้งั เศรษฐกิจตอบแทนเลย ตรงกนั ขา้ ม จะ
ไดร้ ับแตก่ ารถูกลงโทษและหรือการทาลายตวั เองอยา่ ง ร้ายแรงจากผนู้ าแรงงานของตนน้นั เอง ดงั น้ี จึงอาจ
สรุปไดว้ า่ อดมั สมิท เห็นวา่ ปัจจยั ทางเศรษฐกิจเป็นเพียง ปัจจยั เดียวเท่าน้นั ท่ีทาใหล้ ูกจา้ งรวมตวั กนั เพื่อยก
ฐานะของตน

2. โรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen) เป็นนกั คิดสังคมนิยมตามแนวสมาคมนิยมท่ีนอกจาก เสนอความคิดที่
เป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาสังคมใหส้ าธารณชนไดท้ ราบแลว้ ยงั เป็ นผปู้ ฎิบตั ิในหลายๆ เรื่องท่ีนบั วา่ เป็นตน้
คิดเร่ือง สวสั ดิการของลูกจา้ งในโรงงานอุตสาหกรรม การใชแ้ รงงานหญิงและเดก็ การใหก้ ารศึกษาอบรม
ดา้ นแรงงาน การปรับปรุงสหภาพการทางานในโรงงานอุตสาหกรรมและการ จดั ต้งั ร้านสหกรณ์ โรเบิร์ต โอ
เวน นบั วาเป็นนายจา้ งคนแรกท่ีหนั มาปรับปรุงสหภาพความเป็นอยขู่ องลูกจา้ งใหด้ ีข้ึนในโรงงานของตนเอง
คือโรงงานทอผา้ ในสกอ๊ ตแลนดแ์ ละไดเ้ คยกล่าววา่ “เมื่อเจา้ ของ โรงงานเอาใจใส่รักษาเครื่องจกั รเคร่ืองมือ
ใหส้ ะอาดหมดจดและคอยหยอดน้ามนั ใหเ้ คร่ืองจกั รเหล่าน้ี เดินอยา่ งเรียบร้อยดีอยเู่ สมอ กไ็ ฉนเล่า เจา้ ของ
โรงงานจะไม่เอาใจใส่กบเคร่ืองจกั รท่ีมีชีวติ คือ คนงานเพ่ือใหส้ ามารถทางานใหไ้ ดผ้ ลอยา่ งเตม็ ท่ี และไม่สึก
หรอหรือบุบสลายเสียก่อนท่ีจะถึงกาหนดที่ สมควร” โรเบิร์ต โอเวน ไดจ้ ดั ต้งั โรงงานทอผา้ ข้ึนที่ นิว โลนาค
(New Lonak) เพ่ือเป็นโรงงานทอผา้ ตวั อยา่ ง โดยมีวตั ถุประสงคจ์ ะใหค้ นงานมีความสุขในการทางานมาก
ข้ึน นอกจากน้ี โอเวน เป็นคนแรกท่ีลด จานวนชวั่ โมงทางานจากเดิมวนั ละ 17 ชวั่ โมงเหลือเพียง 10 ชวั่ โมง
และไม่จา้ งเดก็ อายตุ ่ากวา่ 10ขวบ มาทางาน เด็กท่ีอายุ 10 ขวบที่ทางานอยกู่ ็กาหนดใหม้ ีเวลาเรียนหนงั สือดว้ ย
นอกจากน้ีแลว้ โรเบิร์ต โอเวน ยงั ไดจ้ ดั ใหม้ ีสมาคมผใู้ ชแ้ รงงานมาแลกเปลี่ยนสินคา้ กน ซ่ึงเป็นแบบของ
สหกรณ์ร้านคา้ ในเวลาต่อมา

11

3. คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) แนวคิดของมาร์กซ์เก่ียวกบแรงงานน้นั มาร์กซ์เห็นวา่ แรงงานเทา่ น้นั ท่ีเป็น
บ่อเกิดแห่งการผลิตท้งั ปวง โดยท่ีผใู้ ชแ้ รงงานขายแรงงานของตนใหแ้ ก่นายทุน โดยไดผ้ ลตอบแทนเพียง
เลก็ นอ้ ยเท่าน้นั การขดู รีดแรงงานของนายทุนทาใหน้ ายทุนสามารถขยาย กิจการไปไดเ้ รื่อยๆ ในขณะท่ีชน
ช้นั กรรมาชีพหรือชนช้นั ที่ขายแรงงานไดค้ ่าจา้ งพอยงั ชีพก็จะมีฐานะ ยากจนลง นบั วนั ความแตกตา่ งระหวา่ ง
ชนช้นั จะยงิ่ ห่างไกลออกไปทุกขณะ เมื่อเป็นเช่นน้ีแลว้ ผใู้ ช้ แรงงานก็จะหนั มารวมกลุ่มกนั ต้งั สมาคมเพอ่ื
ต่อสู้ทาลายลา้ งนายทุนใหห้ มดไป ซ่ึงในบ้นั ปลายสังคมก็ จะเป็นท่ีปราศจากชนช้นั มาร์กซ์ ไดย้ ้า
แนวความคิดที่นบั วาเป็ นส่วนสาคญั ของแนวคิดดา้ นแรงงาน คือ ความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจจะ
มีข้ึนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงน้นั กต็ ่อเมื่อมีการทาลายลา้ งชนช้นั พวก นายทุนหรือเลิกลม้ ลทั ธิทุนนิยมใหส้ ิ้นซากลง
เสียก่อน แลว้ ใหม้ ีแตช่ นช้นั แรงงานหรือชนช้นั กรรมกร อยใู่ นสงั คมเท่าน้นั เม่ือน้นั ความเป็นธรรมทาง
สงั คมและทางเศรษฐกิจท่ีแทจ้ ริงจึงจะเกิดข้ึนได้ ซ่ึง มาร์กซ์ ไดใ้ หเ้ หตุผลเป็ นการกระตุน้ ไวว้ า่ ชนช้นั
กรรมาชีพไม่มีอะไรจะสูญเสียไป นอกจากจะสลดั โซ่ตรวนที่ผกู มดั ตนอยใู่ หห้ ลุดจากตวั ซ่ึงผใู้ ชแ้ รงงานมี
โลกท้งั โลกที่จะตอ้ งเผด็จ และผใู้ ชแ้ รงงานทว่ั โลก จงหนั มาร่วมมือกนเถิด

4. เฟอร์ดนิ ันต์ ลาซาล (Ferdinand Lassalle) เป็นนกั สงั คมนิยมที่เห็นวา่ สหภาพแรงงาน เป็นสถาบนั ที่
จาเป็นและตอ้ งมีอยเู่ พื่อเปิ ดโอกาสใหผ้ ใู้ ชแ้ รงงานไดแ้ สดงออกและเพอ่ื เป็ นการใชอ้ านาจในการควบคุม
สงั คม แต่ ลาซาล ไม่เห็นดว้ ยกบสหภาพแรงงานท่ีมุ่งหาผลประโยชนท์ ่ีเป็ นเงินตราหรือ ส่ิงของใหแ้ ก่
สมาชิก ท้งั น้ีเพราะลาซาลเห็นวา่ การกระทาดงั กล่าวเป็ นการกระทาท่ีมุ่งเฉพาะระยะส้นั เทา่ น้นั ไมไ่ ดม้ ุ่ง
ประสงคเ์ พอื่ ประโยชน์ระยะยาวไดแ้ ก่การทาลายลา้ งระบบนายทุน

5. จอร์จ โซเรล (George Sorel) เป็นนกั สงั คมนิยมชาวฝร่ังเศสท่ีมีความคิดเห็นวา่ สหภาพแรงงานมีหนา้ ที่
ฟ้ื นฟูสังคม ซ่ึงการกระทาหนา้ ที่ดงั กล่าวอาจจาเป็นตอ้ งใชว้ ธิ ีรุนแรง เช่น การนดั หยดุ งานและการก่อ
วนิ าศกรรม เป็ นตน้ หนงั สือเร่ืองความคิดบางประการเกี่ยวกบั ความรุนแรง ซ่ึงตีพมิ พเ์ ผยแพร่เมื่อปี ค.ศ.
1908 ไดเ้ สนอความคิดเห็นที่มีอิทธิพลเหนือสหภาพแรงงานในสายท่ีช่ืนชอบการปฏิบตั ิ

6. ซิดนีย์ และบีทริก เวบบ์ (Sidney and Beatrice Webb) นกั สงั คมนิยมสองสามีภรรยาชาว องั กฤษท่ีมี
ผลงานร่วมกนั และมีความเห็นวา่ เป้าหมายของสหภาพแรงงานน้นั มิไดม้ ุ่งดา้ นเศรษฐกิจเพยี ง อยา่ งเดียว
หากแตม่ ุง่ ดา้ นการเมือง กล่าวอีกนยั หน่ึงกค็ ือขบวนการแรงงานประกอบดว้ ยกิจกรรมท้งั ทาง การเมืองและ
ทางเศรษฐกิจเป็นพ้ืนฐาน ในดา้ นการเมือง ไดแ้ ก่ นายจา้ งกบั ลูกจา้ งมีความเสมอภาคกนั ในดา้ นเศรษฐกิจที่
สาคญั คือ การท่ีผใู้ ชแ้ รงงานรวมตวั กนเป็ นสหภาพแรงงาน ซ่ึงทาใหส้ ามารถรอดพน้ จากการเป็ นทาสของ

12

นายจา้ งและรอดพน้ จากการถูกขดู รีดในดา้ นคา่ แรง น้นั คือทาใหค้ วามเป็ นอยขู่ อง ผใู้ ชแ้ รงงานดีข้ึน วธิ ีการที่
จะช่วยใหผ้ ใู้ ชแ้ รงงานมีความเป็ นอยทู่ ี่ดีข้ึนน้ี เวบบ์ ไดเ้ สนอวา การใชว้ ธิ ีจากดั ปริมาณแรงงาน

คือควบคุมอุปทานของแรงงานมิใหม้ ีเป็นจานวนมากเกินไป ซ่ึงจะมีผลใหอ้ ตั ราคา่ จา้ ง ลดลงได้ และการใช้
วธิ ีกาหนดอตั ราคา่ จา้ ง สิ่งท่ี เวบบ์ เห็นดว้ ยกบั มาร์กซ์ กค็ ือ ความขดั แยง้ ระหวา่ งชนช้นั ยงั มีอยู่ แต่ เวบบ์ ไม่
เชื่อวา่ การต่อสู้ระหวา่ งชนช้นั จะสามารถกาจดั นายทุนให้หมดไปได้ และ ขบวนการแรงงานมิใช่สถาบนั ท่ีมี
หนา้ ท่ีเปล่ียนแปลงสงั คม เน่ืองจาก เวบบ์ เนน้ ความเสมอภาคระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ งน้ีเองจึงนบั ไดว้ า่
เป็นแนวคิดไปในทางท่ีเป็ นประชาธิปไตยทางอุตสาหกรรม

7. จอน์น ดันลอป (John Donlop) เห็นวาแรงงานสัมพนั ธ์เป็นความสมั พนั ธ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ระหวา่ งองคก์ าร
ของลูกจา้ งกบนายจา้ ง และเป็ นระบบของกฏเกณฑซ์ ่ึงกาหนดระเบียบและเป็ นท่ียอมรับกนั ท้งั กลุ่มและการ
สร้างกติกาของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั และกนั ในเรื่องเหล่าน้ี คือแนวคิด เก่ียวกบั ระบบแรงงานสัมพนั ธ์ซ่ึง
เป็นการรวมความคิดเห็น ความเช่ือถือโดยทว่ั ไปของผแู้ สดง (Actor) โดยมีการระบุหนา้ ที่สถานภาพของแต่
ละบุคคลในกลุ่ม แมว้ าจะมีความคิดเห็นแตกต่างกนั แต่ตอ้ งมี แนวคิดท่ีเป็นในทางเดียวกนั และไปดว้ ยกนั ได้
โดยเฉพาะความคิดที่ไปในทางเดียวกนั และไปดว้ ยกนั ได้ โดยเฉพาะความคิดที่จะช่วยกนั และกนั ในการ
รักษาผลประโยชน์ของกลุ่ม ส่วนผแู้ สดงซ่ึงเป็นคาท่ี ดนั ลอป ชอบใชใ้ นเร่ืองแรงงานสมั พนั ธ์ ก็หมายถึงฝ่ าย
จดั การ ฝ่ ายลูกจา้ งและผเู้ ชี่ยวชาญ ซ่ึงอาจไดร้ ับ การแตง่ ต้งั จากรัฐหรือการแต่งต้งั จากฝ่ ายจดั การหรือฝ่ าย
ลูกจา้ ง

13

สภาพแวดล้อมทม่ี อี ทิ ธิพลต่อแรงงานสัมพนั ธ์

จากการศึกษาถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งนายจา้ งกบั ลูกจา้ งในอดีตจนถึงปัจจุบนั จาก สาระสาคญั ท่ีไดก้ ล่าวไป
แลว้ ขา้ งตน้ พบวา่ แรงงานสัมพนั ธ์เป็นผลสืบเน่ืองมาจากอิทธิพลของ สภาพแวดลอ้ มทางดา้ นตา่ งๆ รวมถึง
การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม โดยมีสภาพแวดลอ้ มทางดา้ น เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซ่ึงเป็ นสภาพแวดลอ้ ม
หลกั ๆท่ีกาหนดรูปแบบของแรงงานสมั พนั ธ์ในประเทศต่างๆ ดงั น้ีคือ(เก้ือจิตร ธีระกาญจน์, 2551, หนา้ 20)

1. สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกจิ สภาพแวดลอ้ มทางดา้ นเศรษฐกิจท่ีสาคญั มี 3 ประการ คือ ประการ
แรก การลงทุนดา้ น อุตสาหกรรมมีการขยายตวั ออกไปอยา่ งรวดเร็วในระยะเวลาหลายปี ท่ีผา่ นมา แต่เดิมมี
เพียง อุตสาหกรรมแปรรูปข้นั พ้นื ฐาน เช่น โรงสี โรงเลื่อย และกิจการแปรรูปผลิตภณั ฑเ์ กษตรเบ้ืองตน้
ตอ่ มา กเ็ ป็นกิจการขนาดใหญ่ท่ีมีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจของประเทศ ไดแ้ ก่ โรงงานทอผา้ โรงงานผลิต
เครื่องมือเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ไฟฟ้า โรงงานผลิตภณั ฑย์ าง โรงงานผลิตอาหารและเคร่ืองด่ืม ตลอดจน
ผลิตขนมตา่ งๆ เป็ นตน้ ซ่ึงโรงงานขนาดใหญเ่ หล่าน้ียอ่ มมีพฒั นาการในดา้ นกระบวนการผลิต และการนา
เทคโนโลยสี มยั ใหม่มาใชม้ ากข้ึน ประการที่สอง ไดแ้ ก่รายไดแ้ ละคา่ ครองชีพซ่ึงควรจะอยู่ ในภาวะสมดุล
กนั ถา้ หากรายไดข้ องลูกจา้ งไดร้ ับสูงกวา่ หรืออยา่ งนอ้ ยก็เทา่ กบั ค่าครองชีพที่สูงข้ึน การเรียกร้องของลูกจา้ ง
ในเร่ืองค่าจา้ งก็คงจะมีนอ้ ย ประการที่สาม ไดแ้ ก่ สภาวะการคา้ ท้งั ภายในและ ภายนอกประเทศมีการ
ขยายตวั ของการคา้ ประเภทต่างๆ และเกิดความสมดุลทางการคา้ ระหวา่ งประเทศส่งผลใหป้ ระเทศมีความ
เจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจมากยงิ่ ข้ึน

2. สภาพแวดล้อมทางด้านสังคม ปัจจยั ดา้ นสังคมท่ีเก่ียวขอ้ งมีอยหู่ ลายประการ ไดแ้ ก่ ตวั ลูกจา้ งเอง ซ่ึงเดิม
ส่วนใหญ่เป็ น คนงานธรรมดาไมม่ ีฝีมือ ทางานดว้ ยกาลงั แบกหาม มีความรู้เพยี งอ่านออกเขียนได้ แต่
ปัจจุบนั คนงานมี ความรู้สูงข้ึน มีความชานาญงานมากข้ึน และจานวนไม่นอ้ ยเป็นผทู้ ี่สาเร็จการศึกษาช้นั
มธั ยมศึกษาและอุดมศึกษา ประกอบกบั ในปัจจุบนั น้ี มีอาชีพใหม่ๆเกิดข้ึนมากมาย ฉะน้นั สภาพของคนงาน
ไทยใน ปัจจุบนั แตกตา่ งจากอดีต ท้งั ในดา้ นความรู้ ประสบการณ์ทกั ษะ ตลอดจนความคิดริเริ่ม ทาใหล้ ูกจา้ ง
มี ความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน มีการพฒั นาทางกายภาพของประเทศ มีการติดต่อส่ือสารท่ีทนั สมยั ทาใหม้ ีความรู้
และทราบขา่ วสารท้งั ภายในและตา่ งประเทศตวั ลูกจา้ งเองกเ็ กิดความกระตือรือร้นท่ีจะทาใหต้ นเองมี
สถานภาพดีข้ึน

3. สภาพแวดล้อมทางด้านการเมือง ปัจจยั ดา้ นการเมืองหรือบทบาททางการเมืองในประเทศเป็ นพลงั
ผลกั ดนั ใหแ้ รงงาน สัมพนั ธ์มีการเคล่ือนไหว นบั ต้งั แตม่ ีการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นการเมืองคร้ังยงิ่ ใหญ่ เมื่อ

14

14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ไดม้ ีส่วนผลกั ดนั ใหล้ ูกจา้ งคนงานมีการเคลื่อนไหวเรียกร้องในแบบประชาธิปไตย
มากข้ึน หลกั จากถูกบีบค้นั มาเป็นเวลานานประกอบกบั รัฐบาลไดอ้ อกกฎหมายแรงงานสมั พนั ธ์ อนุญาตให้
ลูกจา้ งรวมตวั กนในรูปสหภาพแรงงาน ซ่ึงปัจจุบนั มีอยถู่ ึง 1,215 สหภาพแรงงาน (1 ม.ค. 2547) ทาให้
ลูกจา้ งสามารถรวมตวั กนั อยา่ งมีระเบียบแบบแผน และถูกตอ้ งตามกฎหมาย เพอื่ ป้องก่อนผลประโยชน์ของ
ลูกจา้ งเอง ปัจจยั ตา่ งๆ เหล่าน้ีมีส่วนทาใหก้ ารเรียกร้องมากข้ึน ถึงแมว้ า่ ประเทศจะตอ้ งเผชิญกบั ปัญหาแทรก
ซอ้ นอ่ืนๆ แต่วา่ ปัญหาเกี่ยวกบั แรงงานสัมพนั ธ์น้นั อยใู่ นความดูแลของรัฐบาลทุกยคุ สมยั

แรงงานสัมพนั ธ์ในสถานประกอบการ

แรงงานสัมพนั ธ์ในสถานประกอบการแมว้ า่ สถานประกอบการจะเป็นที่นายทุนหรือ นายจา้ งสร้างความมง่ั คั่
งร่ารวยให้ แก่ตนเองก็ตามโดยนายทุนหรือนายจา้ งเป็นผลู้ งทุนนาเอาวตั ถุดิบ เคร่ืองจกั ร และแรงงานมาทา
การผลิตสินคา้ ออกขายในทอ้ งตลาดเพ่ือแสวงหากาไร แต่สาหรับผใู้ ช้ แรงงานหรือลูกจา้ งแลว้ สถาน
ประกอบการเป็ นท่ีที่ใชช้ ีวติ อยกู่ บั เคร่ืองจกั รและคนร่วมงานจานวนหน่ึง เป็นเวลาถึง 8 ชวั โมงต่อวนั เพ่อื
แลกกบั คา่ จา้ งในการทางานใหน้ ายจา้ งและมีความจาเป็ นตอ้ งทางาน โดยมีความสัมพนั ธ์เกี่ยวขอ้ งกบั คน
อ่ืนๆ ตามสายงานในสถานประกอบการ บางคร้ังก็มีความราบร่ืนไม่

มีปัญหาเกิดข้ึนกช็ ่วยใหม้ ีกาลงั ใจในการทางานต่อไป แต่บางคร้ังก็มีปัญหาดา้ นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งฝ่ าย
ลูกจา้ งกบั ฝ่ ายนายจา้ งเกิดข้ึนได้ ดว้ ยเหตุน้ีเองการป้องกนและแกไ้ ขปัญหาดา้ นความสัมพนั ธ์ท่ี เกิดข้ึนใน
สถานประกอบการจึงเป็ นสิ่งท่ีจาเป็นซ่ึงสถานประกอบการควรอยา่ งยง่ิ ท่ีตอ้ งใชว้ ธิ ีการ นบั ต้งั แต่การป้องกน
ไปจนถึง การแกไ้ ขปัญหาดว้ ยวธิ ีการ ดงั น้ี คือ(ชวลิต สละ,2557, หนา้ 226)

1. การกาหนดนโยบายแรงงานสัมพนั ธ์ในสถานประกอบการ ซ่ึงนโยบายแรงงานที่สถานประกอบการ
นามาใชก้ ็คือ การใหล้ ูกจา้ งเขา้ มามีส่วนร่วมในการทางาน(worker participation) ซ่ึงเป็ น พฒั นาการที่สาคญั
ในยคุ สมยั น้ีเกี่ยวกบั เรื่องแรงงานสมั พนั ธ์ กล่าวคือ ลูกจา้ งไดม้ ีส่วนร่วมในการ ตดั สินใจทุกระดบั ท่ีเก่ียวกบ
การดาเนินกิจกรรมในระดบั สถานประกอบการ หรือระดบั ภูมิภาค หรือ ระดบั ชาติ รวมท้งั ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งนายจา้ งกบั รัฐดว้ ย เนื่องจากการมีส่วนร่วมในการทางานยงั คง เป็นกระบวนการที่เพง่ิ นาเขา้ มาใชใ้ น
หลายๆประเทศ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์เก่ี ยวกบเร่ืองนี ่ั ่้ในประเทศน้นั ๆ กย็ งั มีอยู่ จึงยงั คงใชไ้ ดอ้ ยา่ งจากด
เฉพาะบางสถานประกอบการ ซ่ึงการตดั สินใจก็จะมีผลต่อบรรดา ลูกจา้ งท้งั หลาย ประเทศออสเตรเลียและ

15

นิวซีแลนดก์ ็มีประสบการณ์เกี่ยวกบรูปแบบของการมีส่วนร่วม ในการทางานหลายรูปแบบ เช่นการปรึกษา
ร่วม (joint consultant) หรือระบบไตรภาคี (tripartism) เป็น ตน้ ส่วนในกรณีของประเทศญี่ป่ ุนซ่ึงมีระบบ
การจา้ งงานตลอดชีพและระบบอาวโุ ส ก็ปรากฏวา่ การ เจรจาต่อรองที่มีอยกู่ ป็ ระสบผลสาเร็จอยา่ งงดงาม
ท้งั น้ีสืบเน่ืองมาจากระบบการมีส่วนร่วมในการ ทางานน้นั เอง ส่วนในประเทศเกาหลีใต้ ก็มีกฎหมาย
แรงงานบงั คบั ให้นายจา้ งและลูกจา้ งก่อต้งั คณะกรรมการปรึกษาหารือ แต่ในประเทศสิงคโปร์
คณะกรรมการประสิทธิภาพแห่งชาติ (national productivity board) จะสนบั สนุนใหม้ ีการต้งั คณะกรรมการ
วาดว้ ยประสิทธิภาพข้ึนในโรงงาน และใน ประเทศอินโดนิเซียก็มีการสนบั สนุนใหต้ ้งั ที่ปรึกษาร่วมเช่นกนั

การมีส่วนร่วมของลูกจา้ งอาจจะอยใู่ นรูปแบบของการแบบส่งผลกาไร ( sharing benefit) เช่น การให้
โบนสั เมื่อธุรกิจไดก้ าไร การใหล้ ูกจา้ งมีหุน้ ในบริษทั เช่น สถานประกอบการบางแห่งอาจให้ ลูกจา้ งท่ี
ทางาน 5 ปี ข้ึนไปสามารถซ้ือหุน้ บริษทั ในราคาที่กาหนด เป็นจานวนร้อยละ 70 ของเงินสะสม ท่ีบริษทั หกั
ไวท้ ุกเดือนจากเงินเดือนของลูกจา้ ง ซ่ึงในประเทศญ่ีป่ ุนนายจา้ งบางแห่งกระจายหุน้ ให้

ลูกจา้ งในสถานประกอบการถึงร้อยละ 10 เพอ่ื เปิ ดโอกาสใหล้ ูกจา้ งเขา้ มามีส่วนร่วมในการบริหารงาน
นอกจากกระจายหุน้ แลว้ ในบางคร้ังเมื่อธุรกิจไม่สามารถติดตามหน้ีสิ้นได้ และไดต้ ้งั บญั ชีหน้ีสูญไว้ แลว้
ตอ่ มาปรากฏวา่ ไดเ้ งินชาระหน้ีจากลูกหน้ีอยา่ งไม่คาดฝันมาก่อน ธุรกิจกจ็ ะนาเงินที่ไดม้ ากอ้ นน้ี จดั สรร
ใหแ้ ก่ลูกจา้ งทุกคนโดยทว่ั ถึงกนั อยา่ งไรกต็ าม นโยบายแรงงานสมั พนั ธ์ในสถานประกอบการที่ ดีน้นั ควร
จะมีหลกั เกณฑ์ ดงั น้ีคือ
1.1 ทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร โดยมีความชดั เจน เขา้ ใจง่าย ไมม่ ีปัญหาในการตีความ
1.2 มีความสอดคลอ้ งกบนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายการกาหนดอตั ราค่าจา้ งข้นั ต่า ของสถานประกอบการ
จะตอ้ งไมข่ ดั แยง้ กบอตั รา ค่าจา้ งข้นั ต่าที่รัฐกาหนด

16

1.3 มีความเหมาะสมกบสภาพสถานประกอบการน้นั ๆ ไมค่ วรจะนานโยบายของ สถานประกอบการอื่นๆ
มาใช้ โดยมิไดพ้ ิจารณาเสียก่อนวาเหมาะสมกบั ธุรกิจของตนหรือไม่
1.4 กาหนดตวั ผรู้ ับผิดชอบในดา้ นการปฎิบตั ิ และมีการเผยแพร่ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ทุกระดบั ไดท้ ราบเพราะ
นโยบายจะไร้ผล ถา้ ปกปิ ดเป็ นความลบั หรือทราบกนั ไม่กี่คน
2. การจดั ใหม้ ีคณะกรรมการเกี่ยวกบแรงงานสมั พนั ธ์ ซ่ึงมีอยู่ 2กรณี ท้งั น้ีเพ่ือใหไ้ ดร้ ับรู้ ความประสงคข์ อง
ลูกจา้ งและลูกจา้ งเองก็ไดม้ ีส่วนร่วมในสถานประกอบการดงั กล่าวมาแลว้ และ เพอื่ ให้มีขอ้ ขดั แยง้ นอ้ ยที่สุด
ฝ่ ายนายจา้ งกค็ วรสนบั สนุนใหม้ ีการจดั ต้งั คณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ คณะกรรมการลูกจา้ งข้ึนแลว้ แต่
กรณีตามท่ีกฎหมายไดอ้ นุญาติไวด้ งั น้ี
2.1 คณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ ซ่ึงประกอบดว้ ยผแู้ ทนนายจา้ งและผแู้ ทนลูกจา้ ง เพอ่ื ทาการร่วม
ปรึกษาหารือ โดยที่จะศึกษาสภาพปัญหาขอ้ เทจ็ จริงตา่ งๆ อยา่ งละเอียดและร่วมกนั หา วธิ ีแกไ้ ขปัญหา
ดงั กล่าว ท้งั น้ีโดยอาศยั หลกั การสื่อสารสองทาง (two-way communication) จากนายจา้ ง สู้ลูกจา้ ง จากลูกจา้ ง
สู่นายจา้ ง นบั วาเป็นกลไกท่ีส่งเสริมแรงงานสัมพนั ธ์แบบทวภิ าคี โดยเปิ ดโอกาสให้ ผแู้ ทนแตล่ ะฝ่ ายนา
ปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ต่างๆ ของตนเขา้ สู่การพิจารณาของคณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ เพอ่ื พิจารณาหาขอ้ ยตุ ิ

การจดั ต้งั คณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือน้ีมีลกั ษณะเป็นการภายใน ดงั น้นั วธิ ีการ และรายละเอียดต่างๆ จึง
ข้ึนอยกู บั นายจา้ งและลูกจา้ งในสถานประกอบการแต่ละแห่งจะทาความตกลง กนั เอง ใหเ้ ป็ น ไปในลกั ษณะ
ที่ตอ้ งการเช่น การกาหนดผแู้ ทนนายจา้ งและผแู้ ทนลูกจา้ งจะมาจากการ เลือกต้งั หรือการแต่งต้งั อยา่ งไร
กรรมการมีจานวนเทา่ ใด ปฎิบตั ิหนา้ ท่ีคราวละก่ีปี การกาหนดการประชุม บอ่ ยคร้ังเพียงใด เป็นตน้ ซ่ึง
กาหนดไวใ้ นธรรมนูญของคณะกรรมการ

17

สาหรับการประชุมของคณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ ท้งั สองฝ่ ายมีโอกาสเสนอ ปัญหาของตนเขา้ สู่การ
พิจารณา เช่นลูกจา้ งอาจเสนอวา่ ระเบียบขอ้ บงั คบั ที่นายจา้ งออกใหม่น้นั ทาให้ ลูกจา้ งบางกลุ่มเสียประโยชน์
ขอใหน้ ายจา้ งทบทวนปรับปรุงแกไ้ ขระเบียบ ดงั กล่าว หรือนายจา้ งอาจ เสนอวา สถิติการมาทางานสาย การ
ลางาน การ ขาดงานสูงมากผิดปกติ ทาใหน้ ายจา้ งเพ่มิ ผลผลิตไดต้ าม เป้าหมาย ขอใหล้ ูกจา้ งร่วมมือดว้ ย เป็
นตน้ อยา่ งไรก็ตาม การร่วมปรึกษาหารือจะไดผ้ ลมากในกรณีที่ เร่ืองน้นั เป็ นผลประโยชน์ร่วมกนของท้งั
สองฝ่ าย เช่น ลูกจา้ งเสนอวา่ สถิติการประสบอุบตั ิเหตุสูงข้ึน ทาใหล้ ูกจา้ งบาดเจบ็ ขาดรายได้ สูญเสียอวยั วะ
มีผลกระทบต่อขวญั และกาลงั ใจของลูกจา้ งผปู้ ระ ่ สบ อุบตั ิเหตุและเพ่อื นร่วมงาน ขอใหน้ ายจา้ งพิจารณา
แกไ้ ข ซ่ึงนายจา้ งอาจเห็นวา่ การประสบอุบตั ิเหตุของ ลูกจา้ งส่งผลต่อการจ่ายเงินคา่ ทดแทนของบริษทั และ
อนุมตั ิใหจ้ ดั ฝึ กอบรมลูกจา้ งในหลกั สูตร การ รักษาความปลอดภยั และการป้องกนอุบตั ิเหตุในโรงงานได้

อยา่ งไรกต็ าม ผลของการพิจารณาปัญหาและขอ้ ขดั แยง้ ของคณะกรรมการร่วม ปรึกษาหารือไมผ่ กู พนั ถึงการ
บงั คบั ใหน้ ายจา้ งตอ้ งปฎิบตั ิตาม กล่าวคือ คณะกรรมการเพียงแต่นาเสนอ แนวทางยตุ ิปัญหาดงั กล่าวให้
นายจา้ งพจิ ารณาเทา่ น้นั นายจา้ งคงยงั มีสิทธิและอานาจที่จะใชด้ ุลยพินิจ ตดั สินใจแกป้ ัญหาตามท่ีตนเห็นวา่
เหมาะสม อยา่ งใรกต็ าม ผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการการร่วม ปรึกษาหารือยอมมีอิทธิพลต่อการ
ตดั สินใจของนายจา้ งอยา่ งมาก

สถานประกอบการที่มีการจดั การทนั สมยั หลายแห่งไดน้ าวธิ ีการน้ีไปใชแ้ ละประสบ ความสาเร็จแต่เน่ืองจาก
การต้งั คณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือมีลกั ษณะเป็นการภายใน ไมม่ ีกฎหมาย รองรับ จึงทาใหเ้ กิดปัญหา
หลายประการ เช่น ไม่ เป็นท่ีนิยมของลูกจา้ ง การสรรหาผแู้ ทนลูกจา้ งเขา้ ร่วม

18

ในคณะกรรมการอาจเป็ นไปอยา่ งเคร่งครัด ทาใหน้ ายจา้ งสามารถผลกั ดนั ใหล้ ูกจา้ งที่อยใู่ นอาณตั ิของ ตนเขา้
ไปเป็นผแู้ ทนลูกจา้ งได้ การดาเนินงานของคณะกรรมการไมเ่ ป็ นไปตามหลกั การและ วตั ถุประสงคเ์ พอื่ การ
ร่วมปรึกษาหารือ ท้งั น้ี เน่ืองจากนายจา้ งเป็นผคู้ วบคุมการประชุมแต่ เพียงฝ่ ายเดียว การประชุมจึงเป็ นเพยี ง
การแสดง

2.2 คณะกรรมการลูกจา้ ง การท่ีจะไดร้ ับฟังความคิดเห็นของลูกจา้ ง ยงั สามารถทาได้ อีกวธิ ีหน่ึงคือ
การจดั ต้งั คณะกรรมการลูกจา้ งข้ึน กล่าวคือ ลูกจา้ งอาจจดั ต้งั คณะกรรมการลูกจา้ งข้ึนมา ทาหนา้ ท่ีเป็ นผแู้ ทน
ลูกจา้ งเขา้ ร่วมประชุมหารือกบนายจา้ งหรือเพ่ือแก้ ไขระงบั ขอ้ ขดั แยง้ ตา่ งๆ ในสถาน ประกอบการ
คณะกรรมการลูกจา้ งคือ คณะบุคคลท่ีไดร้ ับการเลือกต้งั จากลูกจา้ งทว่ั ไป หรือคณะบุคคล ท่ีไดร้ ับการแตง่ ต้ั
งจากสหภาพแรงงานตามหลกั เกณฑท์ ี่กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518 บญั ญตั ิไว้ เพอ่ื ทาหนา้ ท่ีเป็
นผแู้ ทนลูกจา้ งเขา้ ร่วมประชุมปรึกษาหารือกบฝ่ ายนายจา้ งในอนั ที่จะป้องกนั และยตุ ิขอ้ ขดั แยง้ ตา่ งๆ รวมท้งั
การส่งเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งนายจา้ งกบลูกจา้ ง อยา่ างไรกด็ ี กฎหมายไม่ไดบ้ งั คบั ใหล้ ูกจา้ งตอ้ ง
จดั ต้งั คณะกรรมการลูกจา้ ง แต่ถือเป็นสิทธิของฝ่ ายลูกจา้ งวาประสงค์ จะจดั ต้งั หรือไม่ ซ่ึงกฎหมายก็ไดร้ ับ
รองสิทธิและหนา้ ท่ีของคณะกรรมการลูกจา้ ง และสิทธิหนา้ ท่ีของ นายจา้ งท่ีมีต่อคณะกรรมการลูกจา้ งไว้
ดว้ ย

ตามบทบาทที่กาหนดไวเ้ พอื่ สนบั สนุนนายจา้ งเท่าน้นั เป็นตน้

สถานประกอบการท่ีมีลูกจา้ งต้งั แต่50คนข้ึนไป ลูกจา้ งอาจจดั ต้งั คณะกรรมการลูกจา้ ง ได้ การจดั ต้งั
อาจกระทาโดยวธิ ีการเลือกต้งั จากลูกจา้ งทว่ั ไป และถา้ กิจการน้นั มีสหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานน้นั อาจ
แต่งต้งั คณะกรรมการลูกจา้ งข้ึนก็ได้ ซ่ึงมีหลกั เกณฑท์ ี่กระทรวงมหาดไทยได้ เคยประกาศไวแ้ ลว้ อนุโลม
คณะกรรมการลูกจา้ งไดร้ ับความนิยมจดั ต้งั ในสถานประกอบการเอกชนใน ประเทศไทยพอสมควร ดงั จะ
เห็นไดว้ า่ เมื่อปี พ.ศ. 2541 มี 542คณะ คร้ันถึงปี พ.ศ. 2544และ 2547 ได้ มี 686คณะและ 495คณะ ตามลาดบั

3. การกาหนดวธิ ีการร้องทุกขข์ องลูกจา้ ง เน่ืองจากในการทางานร่วมกนระหวา่ งนายจา้ ง กบั ลูกจา้ ง
ยอ่ มมีปัญหาขอ้ ขดั แยง้ ลกั ษณะตา่ งๆเกิดข้ึนเสมอ ขอ้ ขดั แยง้ เหล่าน้ีหากไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขอาจ มีผลทาให้
ลูกจา้ งมีขวญั และกาลงั ใจต่า ประสิทธิภาพการทางานลดลง และยงั อาจเป็นสาเหตุทาให้เกิด

19

ขอ้ พิพาทแรงงานที่รุนแรงข้ึนได้ ซ่ึงผลเสียแก่นายจา้ ง ลูกจา้ ง และประชาชนโดยส่วนรวมสถาน
ประกอบการแต่ละแห่ง จึงควรจดั ใหม้ ีกลไกทางดา้ นแรงงานสัมพนั ธ์ เช่น การร้องทุกข์ การร่วม
ปรึกษาหารือ เป็นตน้ เพอ่ื เป็ นเคร่ืองมือป้องกนและระงบั ขอ้ ขดั แยง้ เลก็ ๆนอ้ ยๆเสียก่อนที่จะลุกลามเป็น ขอ้
พิพาทที่ยากแก่การเขา้ ใจและแกไ้ ข

การร้องทุกข์ คือ การร้องขอจากลูกจา้ งใหน้ ายจา้ งจดั การแกไขหรือคลี่คลายปัญหาเรื่องใด้ เร่ืองหน่ึงเพ่ือ
ระงบั ปัญหาหรือความเดือดร้อนในการทางาน เช่น ลูกจา้ งเห็นวา่ ตามความในขอ้ ตกลง เกี่ยวกบสภาพการ
จา้ ง ตนควรไดร้ ับการบรรจุเป็นลูกจา้ งประจาแลว้ แต่ยงั ไม่มีคาสั่งลงมา ก็อาจร้องทุกข์ ตอ่ นายจา้ งได้ เป็
นตน้ เนื่องจากการร้องทุกขแ์ ละการยตุ ิขอ้ ร้องทุกขเ์ ป็ นกลไกทางดา้ นแรงงานสมั พนั ธ์ ที่สนบั สนุนให้
นายจา้ งและลูกจา้ งทางานอยา่ งมีประสิทธิภาพ กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสัมพนั ธ์จึงมี ขอ้ กาหนดเก่ียวกบั การ
ร้องทุกข์ มีใจความพอสรุปไดด้ งั น้ี ใหส้ ถานประกอบการท่ีมีลูกจา้ งต้งั แตย่ สี่ ิบ คนข้ึนไปจดั ใหม้ ีขอ้ ตกลงเก
กบั สภาพการจา้ งเป็นหนงั สือและขอ้ ตกลงกนั ตอ้ งกาหนดวธิ ีการยน่ื เรื่องราวร้องทุกขข์ องลูกจา้ งไวด้ ว้ ย
และใหน้ ายจา้ งจดั ใหม้ ีการประชุมหารือกบคณะกรรมการลูกจา้ ง เพ่ือพิจารณาคาร้องทุกขข์ องลูกจา้ งและ
เพ่ือหาทางปรองดองและระงบั ขอ้ ขดั แยง้ ในสถานประกอบการ มีขอ้ ที่น่าสังเกตวา่ กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงาน
สมั พนั ธ์ พ.ศ.2518 เพียงแตก่ าหนดหลกั การกวา้ งๆไวแ้ ต่ ไม่ไดก้ าหนดวธิ ีปฏิบตั ิ ดงั น้นั จึงเป็นเร่ืองของ
นายจา้ งลูกจา้ งในสถานประกอบการท่ีจะพจิ ารณา ดาเนินการเอง

สาหรับสถานประกอบการส่วนใหญ่นายจา้ งเป็นผกู้ าหนดนโยบายเก่ียวกบการร้องทุกข์ และวธิ ียตุ ิขอ้
ร้องทุกข์ แต่ในสถานประกอบการที่มีการจดั การใหม่ นายจา้ งจะเปิ ดโอกาสใหล้ ูกจา้ งมี ส่วนร่วมในการ
กาหนดโยบายดงั กล่าวข้ึน นโยบายน้ีจะเป็นเครื่องแสดงทศั นคติของฝ่ ายการจดั การท่ี มีตอ่ การร้องทุกขไ์ ดเ้ ป็
นอยางดี เช่น นโยบายท่ีกล่าววา่ “บริษทั ตระหนกั ดีวา่ ความร่วมมือของพนกั งาน เป็นปัจจยั สาคญั ท่ีจะนา
บริษทั ไปสู่ความสาเร็จ บริษทั จึงหวงั จะไดร้ ับความร่วมมือในระดบั สูงจาก พนกั งานทุกคน แต่ เน่ืองจาก
ปัญหาและความเดือดร้อนตา่ งๆอาจเป็ นอุปสรรคทาใหพ้ นกั งานไม่สามารถ

20

ใหค้ วามร่วมมือกบบริษทั ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี บริษทั จึงกาหนดวิธีการแกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนข้ึนเพ่ือเป็ น หลกั
ประกนพนกั งานทุกคนสามารถปฏิบตั ิหนา้ ที่ดว้ ยความพอใจและมีความมน่ั คง ” เป็นตน้

ส่วนหลกั การร้องทุกขแ์ ละการยตุ ิขอ้ ร้องทุกขโ์ ดยทวั่ ไปแลว้ เป็ นการกาหนดโดยนายจา้ ง แตก่ ็มีสถาน
ประกอบการบางแห่งยนิ ยอมใหล้ ูกจา้ งเขา้ มามีบทบาทร่วมดว้ ย วธิ ีการดงั กล่าวมี รายละเอียดแตกตา่ งกน
ออกไป ท้งั น้ียอ่ มข้ึนอยกู่ บประเภทและขนาดของสถานประกอบ เช่น สถาน ประกอบการบางแห่งมีอาคาร
หลายหลงั ในตา่ งทอ้ งที่กน เป็นตน้ นอกจากน้ียงั ข้ึนอยกู่ บั การสื่อขอ้ ความ ภายในสถานประกอบการวา่
เป็นไปโดยสะดวกมีประสิทธิภาพเพยี งใด นายจา้ งมีทศั นคติในเรื่องน้ี อยา่ งไร ไดร้ ับการยอมรับจากนายจา้ ง
เพยี งใด เป็นตน้

การกาหนด ระเบียบวธิ ีการร้องทุกขแ์ ละยตุ ิขอ้ ร้องทุกขค์ วรมีหลกั การ ดงั น้ี 1. กาหนดระเบียบปฏิบตั ิวา่
ดว้ ยการร้องทุกขเ์ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษรใหช้ ดั เจน ระเบียบน้นั ตอ้ งบ่งชดั วา่ จะยน่ื เรื่องราวร้องทุกขอ์ ยา่ งไรกบั
ใคร ผนู้ ้นั มีขอบเขตความรับผดิ ชอบเพียงไร กระบวนการพิจารณาขอ้ ร้องทุกขม์ ีกี่ข้นั ตอน แต่ละข้นั ตอนใช้
เวลานานเทา่ ใด ระเบียบน้ีควรใหป้ ฏิบตั ิ ไดโ้ ดยง่ายรวดเร็วและใหม้ ีพธิ ีการนอ้ ยท่ีสุด

2. ผรู้ ้องทุกขจ์ ะยนื่ เรื่องราวร้องทุกขเ์ ป็นรายบุคคลหรือเป็ นกลุ่ม หรือจะขอใหส้ หภาพ แรงงานยนื่ แทนก็
ได้

3. ในข้นั แรกควรจดั ใหล้ ูกจา้ งผยู้ นื่ เร่ืองราวร้องทุกขไ์ ดห้ ารือกบั หวั หนา้ งานข้นั ตน้ เสียก่อน ท้งั น้ีเพราะ
หวั หนา้ งานมีบทบาทสาคญั ยงิ่ ในการยตุ ิขอ้ ร้องทุกข์ หากหวั หนา้ งานไมส่ ามารถ แกป้ ัญหาน้นั ไดจ้ ึงค่อย
ดาเนินการในข้นั ตอนอื่นต่อไป

4. การดาเนินการใดๆเพื่อพจิ ารณาขอ้ ร้องทุกขค์ วรใหม้ ีลกั ษณะเป็นการภายใน เป็ นการ แกไ้ ขปัญหาแบบ
ทวภิ าคี หลีกเล่ียงการใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้ มามีส่วนเก่ียวขอ้ ง

5. ผรู้ ้องทุกขห์ รือผแู้ ทนควรมีสิทธิช้ีแจงแถลงเหตุผล แสดงหลกั ฐานเอกสารพยานบุคคล หรือดาเนินการ
อ่ืนๆเพอ่ื ใหข้ อ้ เท็จจริงเพิม่ เติมประกอบคาร้องเรียนของตนไดโ้ ดยปราศจากการขดั ขวาง ใดๆท้งั สิ้น ผู้
พิจารณาขอ้ ร้องทุกขพ์ ึงยนิ ดีและรับพิจารณาหลกั ฐานตา่ งๆเหล่าน้นั ดว้ ยความเป็นธรรม

21

6. ควรมีการจดั ต้งั “คณะกรรมการพิจารณาเร่ืองราวร้องทุกข”์ ซ่ึงประกอบดว้ ยผแู้ ทนฝ่ าย นายจา้ งและ
ผแู้ ทนฝ่ ายลูกจา้ ง เพ่อื ทาหนา้ ที่พจิ ารณาในกรณีท่ีผรู้ ้องไม่พอใจขอ้ ยตุ ิ ซ่ึงเป็ นผลจากการ ดาเนินการต่างๆใน
ข้นั ตอนก่อนหนา้ น้นั นายจา้ งควรวนิ ิจฉยั อุทธรณ์ตามความเห็นท่ีคณะกรรมการ พจิ ารณาเรื่องราวร้องทุกข์

เสนอ

7. ผรู้ ้องทุกขม์ ีสิทธิไดร้ ับทราบวามีการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกขข์ องตน ไปเพยี งใด ผมู้ ี หนา้ ที่
รับผดิ ชอบพึงใหค้ าตอบที่กระจ่างแจง้ ชดั เจนไดเ้ สมอ การปัดความรับผดิ ชอบโยกเยก้ นั ไปมายอม ทาใหผ้ ู้
ร้องทุกขร์ ะแวงสงสยั ไม่ เช่ือมนั วา่ จะมีการพจิ ารณาที่เป็ นธรรม

ผทู้ ี่ทาหนา้ ท่ีรับเรื่องราวร้องทุกขไ์ ปดาเนินการ อาจเป็นบุคคลท่ีนายจา้ งกาหนดใหท้ า หนา้ ที่ดูแลโรงงาน
หรือสถานท่ีทางาน หรือบางคร้ังกเ็ ป็นเจา้ หนา้ ที่ซ่ึงสหภาพแรงงานต้งั ซ่ึงเรียกวา่ “shop steward” เม่ือลูกจา้ ง
รู้สึกวา่ ไมไ่ ดร้ ับความยตุ ิธรรมในข้นั แรกกจ็ ะปรึกษาเรื่องท่ีเกิดข้ึนกบั เจา้ หนา้ ท่ีผรู้ ับเรื่องราวร้องทุกขก์ ่อน
ซ่ึงเจา้ หนา้ ท่ีดงั กล่าวก็อาจนาเร่ืองไปเจรจากบั หวั หนา้ ลูกจา้ งและ ถา้ ตกลงกนั ไมไ่ ดก้ จ็ ะนาเร่ืองข้ึนไปถึง
ผจู้ ดั การโรงงาน แตถ่ า้ ตกลงกนั ไม่ไดก้ ็อาจตอ้ งมีการเจรจา ระหวา่ ง ผปู้ ระกอบกิจการกบั สหภาพแรงงานข้ึน
อีกเป็ นกรณีพิเศษ

ระเบียบวา่ ดว้ ยการร้องทุกข์ ควรกาหนดไวโ้ ดย เร่ืองอะไรบา้ งท่ี สามารถยนื่ เป็น ขอ้ ร้องทุกขไ์ ด้ การร้อง
ทุกขจ์ ะทาไดเ้ ม่ือใด และตอ้ งทาอยา่ งไร เจา้ หนา้ ท่ีระดบั ใด จากหน่วยงานไหน เป็นผไู้ ดร้ ับมอบหมายใหร้ ับ
และใชเ้ วลานานเทา่ ใด ผรู้ ้องเรียนมีสิทธิอุทธรณ์หรือไมใ่ นกรณีที่ผลการ วนิ ิจฉยั ขอ้ ร้องทุกขม์ ีขอ้ ยตุ ิไม่น่า
พอใจ หากมีสิทธิอุทธรณ์ไดจ้ ะตอ้ งยนื่ อุทธรณ์ต่อใครการพจิ ารณา อุทธรณ์ใชเ้ วลาข้นั ตอนการร้องทุกขข์ อง
สถานประกอบการแตล่ ะแห่งยอ่ มแตกต่างกนั ไป ต้งั แตส่ ถาน ประกอบการเล็กๆที่มีข้นั ตอนง่ายๆเพียงสอง
สามข้นั ตอนไปจนถึงสถานประกอบการขนาดใหญ่ที่มี หลายข้นั ตอน มีบุคคลจากฝ่ ายตา่ งๆเช่น สหภาพ
แรงงาน คณะกรรมการลูกจา้ ง คณะกรรมการพิจารณา เร่ืองราวร้องทุกข์ เป็ นตน้ เขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง ท้งั น้ียอม
แลว้ แต่ ประเภทและขนาดสถานประกอบการความานเทา่ ใด เป็นตน้

22

เอกสารอ้างองิ

เกอ้ จิตร ธีรกาญจน.์ (2551). แรงงานสมั พนั ธ์.กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์
ชวลิต สละ. (2551). หลกั เศรษฐศาสตร์แรงงานเบ้ืองตน้ . กรุงเทพฯ: บริษทั แอคทีฟ พริ้นท์ จากดั . ดุสิต ภู่
ตระกูล. (2535). แรงงานสัมพนั ธ์. นครสวรรค:์ สี่แควการพิมพ.์
เพญ็ ศรี วายวานนท.์ (2537). การจดั การทรัพยากรคน.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
แมน สารรัตน์. (2527). เศรษฐศาสตร์.กรุงเทพฯ: บริษทั โอ เอส ปริ้นติ้งเฮา้ จากด.ั
ระวงั เนตรโพธ์ิแกว.้ (2542). มนุษยส์ มั พนั ธ์ในองคก์ าร. กรุงเทพฯ: พิทกั ษอ์ กั ษร.


Click to View FlipBook Version