The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanika.khamtap, 2022-07-05 05:54:10

รวมเล่มสัมมนาวิชาการประจำปี ครั้งที่ 18 สำนักการแพทย์

รวมเล่มสัมมนาวิชาการ

MSD Innovation
Award 2022

ลำดบั หวั ข้อ
1. เคร่ืองมือควบคุมปรมิ าณน้ายา CAPD
2. Guide ไล่ Bone
3. AMBU BAG ช่วยยดึ
4. อปุ กรณ์ปอ้ งกัน detector สา้ หรับการถ่ายภาพเอกซเรย์ foot standing
5. อปุ กรณส์ า้ หรบั ใสแ่ ผน่ รับภาพเพ่ือถา่ ยภาพรงั สที รวงอกผู้ปว่ ยรถน่งั
6. ฉลากยาวาร์ฟารนิ แสน PicSafe (พ-ิ เศษ)
7. รถเจาะเลือดเคลื่อนที่
8. TPN EASY-BOX
9. ลด แรง เธอ
10. TPN CALCULATION FORM
11. INSULIN ROTATION TOOL
12. Mobile toilet
13. Susceptibility Test Speeding
14. Rule engine เพอ่ื พฒั นาการรายงานผลตรวจ HbA1c ในระบบ LIS ด้วย โปรแกรม Cobas IT
5000 THE
15. Mini retractor จ๋ิวแจว๋ ถกู ใจ ถ่างไว้ให้ตดั
16. Covid System Service Platform (CSSP)
17. การจองคิวจองเลือดผา่ น application line
18. ฉลากยาฟาวิพิราเวยี อจั ฉรยิ ะ
19. AED training
20. Move on “พ่ีไมล่ ุก หนูจดั ให้”

1. ชอ่ื ผลงำน (Innovation) เครื่องมือควบคุมปรมิ ำณนำยำ CAPD

หน่วยงำน หอผ้ปู ่วยอายุรกรรมหญิงสามัญ 20/14 โรงพยำบำล กลาง

นวตั กร (Innovator) นางสาวธรรญธร เปลย่ี นไธสง ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ตั กิ าร

1. มูลเหตจุ ูงใจ

ผปู้ ่วยโรคไตวายเรือรังทใ่ี ส่ Tenckhoff Catheter บางรายแพทย์มคี ้าส่ังทา้ CAPD ครงั ละ 500 ml ถึง

1,500 ml

ซ่ึงน้ายา CAPD 1 ถุง จะมีปริมาณ 2,000 ml พบปัญหาการปล่อยน้ายา CAPD เกินจากแผนการรักษาและ

ต้องเสียอัตราก้าลังของพยาบาลในการควบคุมปริมาณน้ายา CAPD หอผู้ป่วยจึงคิดประดิษฐ์เคร่ืองมือส้าหรับ

ควบคุมปรมิ าณนา้ ยา CAPD

2. สมมตฐิ ำนหรือหลักฐำนเชงิ ประจักษห์ รือทฤษฎีท่นี ำมำใช้

เครื่องควบคุมปริมาณน้ายา CAPD เป็นนวัตกรรมด้านส่ิงประดิษฐ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงาน โดยสามารถควบคุมปริมาณน้ายา CAPD โดยมี sensor ที่มีเสียง พร้อมไฟเตือน เมื่อน้ายา CAPD

ถงึ ปริมาณทีก่ ้าหนด นา้ ยาจะหยุดไหล

3. วัตถปุ ระสงค์

เพ่ือให้ผู้ป่วยไดร้ บั ปริมาณนา้ ยา CAPD ถกู ต้องตามแผนการรักษา ลดภาระงานในการดแู ลผู้ป่วย CAPD

โดยไมต่ อ้ งเสียอตั ราก้าลังของพยาบาลในการควบคุมปริมาณนา้ ยา CAPD

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนนิ กำร

กระบวนกำร ผลลัพธ์

กระบวนกำรกอ่ นทำนวตั กรรม

- ใช้ตาชัง่ ชั่งปรมิ าณน้ายา CAPD 1. ปล่อยน้ายา CAPDเข้าส่ผู ู้ป่วยโดยตรง

2. พยาบาลต้องยืนควบคุมปริมาณน้ายา

ตลอดเวลาขณะปล่อยน้ายา CAPD เพ่ือท้าการ

หยุดนา้ ยา CAPD ให้ได้ตามแผนการรกั ษา

ปรับกระบวนกำรครังที่ 1 - ผลลัพธ์ยงั คงเหมือนกระบวนการก่อนท้า
1.ใช้ห่วง clamp ตาช่งั นวตั กรรม
2.ล็อกสเกลตาชง่ั ตามนา้ หนกั ทต่ี อ้ งการ ดังรปู

กระบวนกำร ผลลัพธ์

ปรบั กระบวนกำรครงั ท่ี 2 1. ปล่อยนา้ ยาผ่านเคร่ืองก่อนเข้าสู่ผูป้ ว่ ย
1.พัฒนารว่ มกับฝา่ ยซ่อมบา้ รุงและกา้ จัดของเสีย 2. มเี สียง sensor ดงั เตอื น
โรงพยาบาลกลาง โดยประดิษฐ์เครอ่ื งมือควบคุม 3. น้ายา CAPD ไม่หยุดไหลตามท่ีต้องการ
ปรมิ าณนา้ ยา CAPD ใหม้ ี sensor เสยี งเตือนเมือ่
น้ายา CAPD ถงึ ปรมิ าณท่ีก้าหนด ดงั รูป

ปรับกระบวนกำรครงั ท่ี 3

1.พัฒนาเครื่องมือควบคุมปริมาณน้ายา CAPD 1. ปล่อยน้ายา CAPD ผา่ นเครื่องควบคุมปรมิ าณ

ร่วมกับ สวทช. โดยการเพ่ิมระบบ sensor ให้น้ายา นา้ ยาCAPD กอ่ นเขา้ สผู่ ูป้ ่วย

หยุดไหลตามปริมาณที่ต้องการ พร้อมทังมีเสียงเตือน 2. สามารถกา้ หนดปริมาณน้ายาทีต่ อ้ งการได้

และไฟเตือน ดงั รูป 3. มีเสียงและไฟ เพ่อื เตอื น

4. สามารถหยดุ การไหลของน้ายาไดส้ นทิ ตาม

ปริมาณท่ีก้าหนด

วดี ีโอสาธิตการใช้

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองต้น / สถติ ิท่ใี ชท้ ดสอบ
หอผู้ป่วยใชเ้ ครื่องมือควบคุมปริมาณน้ายา CAPD นใี นการทา้ CAPD ให้ผู้ปว่ ย จา้ นวน 10 ราย ในเดือน

กมุ ภาพันธ์ 2564 หลงั การใช้พบว่า
1. สามารถควบคมุ ปริมาณน้ายา CAPD ถกู ตอ้ งตามแผนการรกั ษา100%
2. ไม่เสียอัตราก้าลังของพยาบาลในการควบคุมปริมาณน้ายา CAPD และลดภาระงานของพยาบาลลง

จาก 30 นาทีเหลอื เพียง 5 นาที
6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์

เครือ่ งมอื นีสามารถนา้ ไปใชก้ ับผู้ปว่ ยทีท่ ้า Peritoneal dialysis ท่ตี อ้ งควบคมุ ปรมิ าณนา้ ยา CAPD ให้ได้
ตามปรมิ าตรที่ต้องการ
7. สรปุ

เครอ่ื งควบคุมปริมาณน้ายา CAPD เปน็ นวตั กรรมที่ประดษิ ฐ์ร่วมกบั สวทช. โดยการเพ่มิ ระบบ sensor
ใหน้ ้ายาหยดุ ไหลตามปริมาณท่ีตอ้ งการ พร้อมทังมีเสยี งเตือนและไฟเตือนที่สามารถควบคมุ ปรมิ าณน้ายา
CAPD ให้ไดป้ ริมาณท่ีถูกต้องตามแผนการรักษา 100% และลดภาระงานของพยาบาลลงจาก 30 นาทีเหลือ
เพยี ง 5 นาที

2. ช่ือผลงำน (Innovation) Guide ไล่ Bone

หน่วยงำน เวชภณั ฑ์กลาง, ห้องผ่าตัด โรงพยำบำล กลาง

นวตั กร (Innovator) 1.นางสาวนงนภสั ออ่ นละออ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชา้ นาญการ

. 2.นางสาวสินิษา จนั ทสาร ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัติการ

.1. มลู เหตจุ ูงใจ

ในการผา่ ตดั ศลั ยกรรมทเ่ี กี่ยวข้องกบั กระดูก เชน่ ผ่าตดั เปลยี่ นขอ้ เข่าเทยี ม ผา่ ตัดเปลีย่ นข้อสะโพกเทียม

ต้องใช้ Yankauer Suction Tip เพ่ือดูดสารคัดหลั่งออกขณะท้าผ่าตัด การผ่าตัดเกือบทุกครังจะมีการอุด

ตันของเศษกระดูกภายใน Suction ส่งผลให้การผ่าตัดล่าช้า เน่ืองจากต้องไล่เศษกระดูกท่ีติดอยู่ภายในออก

โดยใช้ Syringe ดูดน้าและฉีดไล่ แต่ที่พบปัญหาคือไม่สามารถดันเศษกระดูกชินใหญ่ออกมาได้ จึงต้องรอเปิด

สาย Yankauer Suction Tip Set ใหม่ ท้าให้เพม่ิ ระยะเวลาในการผา่ ตดั และเปิดอปุ กรณเ์ พ่ิมเกนิ ความจ้าเป็น

ดังนัน ทางคณะผู้จัดท้าจึงได้น้านวัตกรรม Guide ไล่ Bone ซึ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ มาใช้เพ่ือให้

การทา้ งานมปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ

2. สมมตฐิ ำนหรือหลกั ฐำนเชงิ ประจกั ษ์หรือทฤษฎที ่ีนำมำใช้

แรงดันจากการใช้ของแข็งสามารถดันเศษกระดูกใน Yankauer Suction Tip ได้มากกว่าการใช้

แรงดนั นา้

3. วัตถุประสงค์

3.1 เพือ่ ลดระยะเวลาในการไลเ่ ศษกระดูกจาก Yankauer Suction Tip

3.2 เพือ่ ลดคา่ ใชจ้ ่ายจากการเปิด Syringe และ Yankauer Suction Tip Set ใหม่

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนินกำร

4.1 อุปกรณ์ ประกอบด้วย

- เศษลวด ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง 1.5 มิลลเิ มตร ยาว 52 เซนตเิ มตร

- เศษสาย Silicone ยาว 3 เซนตเิ มตร

- Needle Holder ส้าหรับดดั ลวด

- Pin cutter สา้ หรับตดั ลวด

- กรรไกร, ไมบ้ รรทดั

4.2 วธิ กี ารทา้

4.2.1 ตัดลวดให้ได้ขนาด 52 เซนติเมตร ใช้ Needle Holder ดัดปลายลวดให้เป็นด้ามจับ และน้า
Silicone ยาว 3 เซนติเมตร มาหมุ้ ปลายลวดบรเิ วณข้อต่อดา้ มจบั เพ่อื ป้องกนั ปลายลวดท่มิ ตา้ ขณะใช้งาน

4.2.2 น้ า
Needle Holder มาดดั ปลายลวดอกี ดา้ นใหเ้ ป็นต่มุ ยาว 0.5 มิลลเิ มตร เพื่อดันเศษกระดูกที่ตดิ ด้านในออก

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองต้น / สถติ ทิ ใ่ี ช้ทดสอบ
5.1 สามารถลดระยะเวลาในการดันเศษกระดูกออกจาก Yankanuer Suction Tip ระยะเวลาเฉล่ีย ใช้

Syringe 120 วินาที ใช้ Guide ไล่ Bone 8 วนิ าที
5.2 ลดค่าใช้จ่ายในการเปิด Syringe และ Yankanuer Suction Tip Set ใหม่ โดยไม่ต้องเปิด Syringe

และ Yankanuer Suction Tip Set ใหม่ ท้าให้ลดค่า Syringe ได้ 1,080 บาท/ปี (3บาท/ชิน) และลดค่า
Yankanuer Suction Tip Set 34,560 บาท/ปี (96 บาท/ชิน)
6. กำรนำไปใช้ประโยชน์

นวัตกรรม Guide ไล่ Bone นี สามารถน้าไปใช้เฉพาะบางหน่วยงานเท่านัน เช่น ห้องผ่าตัด เน่ืองจาก
เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการผ่าตัด และสามารถน้านวัตกรรมนีไปใช้ในหน่วยงานเวชภัณฑ์กลางได้ ในการล้างท้า
ความสะอาดภายใน Yankauer Suction Tip
7. สรุป

นวัตกรรม Guide ไล่ Bone จัดท้าขึนเพื่อปรับปรุงกระบวนการการท้างานของ suction ในการไล่เศษ
กระดูกที่อุดตันภายใน Yankauer Suction Tip ออก หลังจากทดลองใช้นวัตกรรมนพี บวา่ ประสิทธิภาพในการ
ไล่เศษกระดูกดีกว่าการใช้ Syringe โดยระยะเวลาเฉล่ียในการใช้ Guide ไล่ Bone 8 วินาที และสามารถลด
การเปิดอปุ กรณ์ท่เี กินความจา้ เปน็ เช่น Syringe หรอื Yankauer Suction Tip Set ใหม่

3. ชอื่ ผลงำน (Innovation) AMBU BAG ช่วยยดึ

หนว่ ยงำน ศูนยเ์ คร่ืองชว่ ยหายใจ โรงพยำบำล กลาง

นวัตกร (Innovator) นางสาวเบญจวรรณ์ ยอดสาย ตำแหน่ง พนักงานช่วยเหลือคนไข้

1. มลู เหตจุ ูงใจ

ศูนยเ์ ครื่องชว่ ยหายใจ บริการอุปกรณต์ ่างๆท่ีเกี่ยวข้องกับการหายใจ เชน่ เคร่อื งช่วยหายใจ, Ambu bag,

set พ่นยาชนิดต่างๆ, สาย T- piece กับหอผปู้ ่วยตา่ งๆในโรงพยาบาลกลาง คอื หอผู้ป่วยสามัญ หอผปู้ ว่ ยหนัก

หน่วยแพทย์กู้ชีวิต หน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน หน่วยงานผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยเด็กสามัญ หออภิบาลเด็กทารกแรก

เกิด ห้องคลอด หอผู้ป่วยพิเศษ และหน่วยงานวิสัญญี จากปริมาณการล้างอุปกรณ์ช่วยหายใจที่เพ่ิมขึนทุกปี ใน

ปีงบประมาณ 2562-2564 จ้านวน 26,695 ชุด 30,645 ชุดและ 33,411ชุด ตู้อบเครื่องมือทางการแพทย์ที่ใช้

อุณหภูมิในการอบ 70 องศา ถูกใช้งานมากทุกวัน ส่งผลให้ลูกยางเสียบสายช้ารุด ท้าให้สายเคร่ืองช่วยหายใจ

ตกมาระหว่างการอบ ต้องซือลูกยางเสียบสายมาทดแทนใน 1 ปี ราคาลูกละ 100 บาท ปริมาณส้าหรับการใช้

ลกู ยาง 1 ตู้ จา้ นวน 70 ลูก คดิ เปน็ เงิน 7,000บาท/ตู้ มจี ้านวน 2 ตู้ คดิ เปน็ เงนิ 14,000 บาท (ป)ี

2. สมมตฐิ ำนหรอื หลักฐำนเชิงประจกั ษ์หรือทฤษฎที น่ี ำมำใช้

วสั ดซุ ลิ โิ คน ของ Ambu bag มคี วามแข็งแรง ยดื หยุ่น สามารถทนความรอ้ นในตู้อบและรับน้าหนักของ

สายเครื่องช่วยหายใจได้

3. วัตถปุ ระสงค์

เพอื่ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั ซอื ลกู ยางเสยี บสาย

4. แผนกำร/ขนั ตอนกำรดำเนนิ กำร

4.1 น้า Ambu bag ทช่ี ้ารุด จา้ นวน 12 ลูก มาตัด 31 x 11 ซม. จ้านวน 12 ชิน

4.2ใช้สว่านเจาะรบู ริเวณขอบดา้ นข้างของตะแกรงในตู้อบ

4.3 น้าแผ่น Ambu bag ท่ีตัดมาวางซ้อนบนตะแกรงของตู้อบ และใช้น็อตล๊อกตามบริเวณท่ีเจาะรูไว้และ
ใช้คตั เตอร์ กรีดแผ่นซิลิโคนของ Ambu bag ในช่องว่างของตะแกรง เพอื่ เป็นชอ่ งเสียบสาย

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองตน้ / สถติ ิท่ีใชท้ ดสอบ
5.1 ลดค่าใช้จ่ายในการซือลกู ยางทดแทน จาก 14000 บาท/ปี เปน็ 0
5.2 ประสิทธิภาพของ Ambu bag ไม่แตกต่างจากลูกยางที่มีภายในท้องตลาด ไมพ่ บวา่ มีสายเคร่ืองชว่ ย

หายใจ ตกหลน่ ระหวา่ งการอบ

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
หน่วยงานท่ีใช้ตู้อบแห้งในโรงพยาบาลกลาง มี 3 หน่วยงาน ซ่ึงแต่ละหน่วยงานมีลักษณะของตู้อบที่

แตกต่างกนั สง่ ผลให้นวัตกรรมชินนี ใช้งานในเฉพาะศูนย์เครอ่ื งช่วยหายใจ เท่านนั
7. สรปุ

อุปกรณ์ และวัสดุทางการแพทย์แต่ละชนิดมีข้อจ้ากัดในการใช้งาน เม่ือเกิดการเสื่อมสภาพ จะไม่
สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การบริการเกิดความล่าช้า เพราะฉะนันผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องจะต้องมีความรับผิดชอบ
ศึกษาหาความรู้ ค้นหาปญั หา และแนวทางแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน เพ่อื พฒั นางานให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
ใหก้ บั องคก์ ร

4. ช่อื ผลงำน ( Innovation ) อปุ กรณป์ ้องกนั detector สำหรับกำรถ่ำยภำพเอกซเรย์ foot standing

หนว่ ยงำน กลมุ่ งานรังสีวทิ ยา โรงพยำบำล กลาง

นวตั กร ( Innovator ) นางนยิ ะดา วพิ ธุ ศุภกรวงศ์ ตำแหน่ง นักรงั สีการแพทย์ปฏบิ ัติการ

1. มูลเหตุจูงใจ

การถ่ายเอกซเรย์เท้าท่ายืน (foot standing)ผู้ป่วยมักมีปัญหาที่เท้า ท้าให้ยืนได้ไม่มั่นคง และแผ่นรับภาพ

(detector) ซ่ึงใช้ในการถ่ายเอกซเรย์มีราคาแพงมากต้องใช้งานอย่างระมัดระวังไม่ตกกระแทกและไม่ควรเหยียบ

โดยทิงน้าหนักตวั ลงโดยตรงเดิมถ่าย foot standing โดยลดระดับของเตยี งเอกซเรย์ให้ต่้าที่สุด (60 ซม.จากพนื

ห้อง) ให้ผู้ป่วยขึนยืนบนเตียง สอด detector ใน bucky table ใต้เตียง เพ่ือถ่ายท่า posteroanterior (PA)

จากนันน้า detector วางแนวตังพิงแกลลอนน้า เพื่อเตรียมถ่ายท่า lateral cross-table โดยผู้ป่วยอาจต้อง

ขยับอีกครงั เพ่ือจัดให้ได้ center ทีถ่ กู ตอ้ ง เกดิ ความเส่ียงต่อการพลัดตกหกล้ม และการตกของ detector เพ่ือ

ลดความเส่ยี งเหลา่ นี นวตั กรจึงคดิ ประดิษฐน์ วัตกรรมชนิ นีขึน

2. สมมตุ ิฐำนหรือหลกั ฐำนเชิงประจกั ษ์หรอื ทฤษฎที น่ี ำมำใช้

การทดลองเปรียบเทียบเพื่อหาวัสดุที่จะใช้ประกอบต้องเป็นวัสดุท่ีรังสีเอกซ์ผ่านได้ไม่ท้าให้เกิด artifact

ในภาพ ไม่ต้องเพ่ิมค่าปริมาณรังสีในการถ่าย และมีความแข็งแรงรองรับน้าหนักได้ถึง 120 ก.ก. ป้องกันไม่ให้

detector เสยี หาย

3. วัตถปุ ระสงค์

3.1 เพ่อื ลดความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกลม้ ระหว่างการถ่ายเอกซเรย์ foot standing

3.2 เพ่อื ลดความเส่ยี งของการตกของ detector ระหว่างการถ่ายเอกซเรย์ foot standing

4. แผนกำร ขนั ตอนกำรดำเนินงำน

4.1 การออกแบบ เป็นกรอบส้าหรบั สอด detector 2 กรอบวางตงั ฉากกนั กรอบแนวนอนใช้ถา่ ยท่า PA

ต้องมีวัสดุที่สามารถรับน้าหนักผู้ป่วยได้ปิดด้านบน ให้ยืนเหยียบลงน้าหนักบนขาข้างเดียวได้โดยไม่ยุบหรือหัก

ไม่ลดคุณภาพของภาพ ไม่ต้องเพ่ิมปริมาณรังสีในการถ่าย กรอบแนวตังใช้ถ่าย lateral สามารถตัง detector

ไดม้ ่นั คง ผู้ปว่ ยไมต่ ้องขยบั ตัว

4.2 การเลือกวัสดุส้าหรับรับน้าหนักผู้ป่วย เปรียบเทียบ particle board, acrylic หนา 5 มม., acrylic

หนา 10 มม. และ polycarbonate หนา 10 มม. โดยทดสอบความแขง็ แรงในการรับนา้ หนัก 120 กก. โดยทีม

ทปี่ รึกษาจาก สวทช. (MTEC)

วัสดขุ นาด 40x50x1 ซม Maximum Maximum stress Safety factor
displacement (mPA)

Acrylic 10 mm. 5.7 4.3 4.6

Polycarbonate 10 4.5 10.3 6.0
mm.

4.3 การทดสอบคุณภาพของภาพเอกซเรย์ โดยรังสีแพทย์เปรียบเทียบภาพเอกซเรย์ที่ได้จากการวาง

detector ใตแ้ ผ่น polycarbonate หนา 10 มม. กบั การวางใต้เตียงเอกซเรย์ โดยตงั ค่าเทคนิคท่ี 50 kVp, 2.5

mAs, FFD 40" รังสีแพทย์ 6 ทา่ นเห็นวา่ คณุ ภาพของภาพจากการใช้ polycarbonate ดกี วา่ การวาง detector

ใตเ้ ตียง และ 1 ท่านเห็นไม่แตกตา่ งกนั

4.4 การประกอบอุปกรณ์ โดยใช้ไม้แผน่ ประกอบเปน็ กรอบส้าหรับสอด detector

4.5 การทดลองใช้ และการปรับปรุง

การทดลอง ผลการทดลอง การปรับปรุง

ครังท่ี 1 ใช้ Particle board ทา้ ใหเ้ กดิ artifact บนภาพ ทดลองวสั ดใุ หม่ acrylic หนา 5 มม.

เปน็ วสั ดรุ บั น้าหนัก เอกซเรย์ท้าใหค้ ุณภาพของภาพ

ลดลงไมเ่ หมาะท่จี ะนา้ มาใช้

วินิจฉัยโรค

ครังท่ี 2 ใช้ acrylic หนา 5 มม. ไดภ้ าพเอกซเรยค์ ณุ ภาพดี ทมี อาจารย์ทปี่ รึกษาจาก สวทช.

เปน็ วัสดุรับน้าหนัก แต่แผน่ acrylic ยุบตวั จนสมั ผัส ทดสอบการรับน้าหนัก ของ acrylic

detector ที่สอดอยู่ และ polycarbonate (ตารางท1่ี )

และรังสีแพทย์เปรียบเทยี บคณุ ภาพ

ของภาพเอกซเรย์ (ตารางท2ี่ )

ครังท่ี 3 ใช้ Polycarbonate นน. 52 กก. แผน่ ยบุ เลก็ น้อย เพ่มิ จุดรับนา้ หนักของกรอบ

หนา 10 มม. เป็นวัสดุรับน้าหนัก นน. 92 กก. แผน่ ยบุ มาก เปน็ 3 ด้าน (เพิม่ ด้านหลังตามโมเดล

และกรอบรบั นา้ หนกั 2 ด้าน ทอ่ี าจารย์ทป่ี รึกษาใชท้ ดสอบ)

ครังท่ี 4 ใช้Polycarbonate หนา 10 นน. 92 กก. แผ่นยบุ เลก็ นอ้ ย เพม่ิ จดุ รบั นา้ หนักของกรอบ เป็น 4

มม. และกรอบรบั น้าหนัก 3 ด้าน นน.124 กก. แผ่นยบุ มาก ดา้ น (เพม่ิ ด้านหนา้ แบบถอดออกได)้

ครงั ท่ี 5 ใช้Polycarbonate หนา 10 นน. 92 กก. และ 124กก.

มม. และกรอบรับน้าหนัก 4 ด้าน แผน่ ไม่ยบุ ไม่กดโดน detector

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบอื งตน้ / สถติ ิทใ่ี ช้ทดสอบ
5.1 ไมพ่ บอุบตั ิการณ์พลดั ตกหกลม้ ระหวา่ งการถา่ ยเอกซเรย์ foot standing
5.2 ไม่พบอบุ ัติการณ์ detector ตกกระแทก ระหว่างการถ่ายเอกซเรย์ foot standing
6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
“อุปกรณ์ป้องกัน detector ส้าหรับการถ่ายภาพเอกซเรย์ foot standing” ใช้งานโดยวางท่ีพืน
ให้ผู้ป่วยขึนยืนถ่ายเอกซเรย์ แทนการขึนยืนบนเตียงเอกซเรย์แบบเดิม ลดความเส่ียงต่อการพลัดตกหกล้ม
ซ่ึงเป็นความเสี่ยงส้าคัญของโรงพยาบาล ช่วยป้องกันความเสียหายของอุปกรณ์ราคาแพงของกลุ่มงาน และ
ใหภ้ าพเอกซเรยท์ ี่มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
7. สรุป
“อุปกรณ์ปอ้ งกนั detector สา้ หรบั การถา่ ยภาพเอกซเรย์ foot standing” เกดิ จากการมองเหน็ ความเสี่ยง
ในการท้างาน ช่วยลดความเส่ียงต่อการพลัดตกหกล้ม และการตกของ detector สามารถน้ามาใช้ทดแทนการ
วธิ เี ดิมไดเ้ ป็นอย่างดี

วาง detector ใต้แผ่น สอดแผน่ detector วดิ โี อ วดิ ีโอ
polycarbonate แนวตงั ทดสอบการรบั นา้ หนัก การใช้อุปกรณ์
ส้าหรบั ถ่ายท่า PA
ส้าหรับถา่ ยท่า lateral

5. ชื่อผลงำน (Innovation) อุปกรณส์ ำหรบั ใส่แผ่นรับภำพเพื่อถำ่ ยภำพรงั สีทรวงอกผ้ปู ่วยรถนั่ง

(Detector protection device for wheelchair patients)

หน่วยงำน - กลุ่มงานรงั สีวทิ ยา --โรงพยำบำล กลาง

นวัตกร (Innovator) นายอศั วนิ ปรชี มุ - ตำแหน่ง พนักงานท่วั ไป บ.2

1. มูลเหตุจูงใจ

การถ่ายเอกซเรย์ปอด chest AP ในผู้ป่วยรถนั่งที่ไม่สามารถยืนได้เอง ต้องสอดแผ่น detector ซ่ึงมี

ราคาแพง (1.5-2 ล้านบาท) ไว้หลังผู้ป่วย detector มีโอกาสตกผ่านช่องว่างระหว่างพนักกับเบาะน่ังลงสู่พืน

และเสยี ได้ เดมิ ตอ้ งใช้อุปกรณ์ท่ีหาได้ใกล้ตวั มารองปิดช่องดังกลา่ วและใหผ้ ู้ปว่ ยนง่ั พิงดัน detector ไวก้ ับพนัก

ให้นิ่งเพ่ือป้องกัน detector ตก และ motion artifact จากการขยับของ detector นวัตกรจึงคิดพัฒนา

อปุ กรณส์ ้าหรบั ใส่แผน่ รับภาพเพื่อถา่ ยภาพรงั สีทรวงอกผปู้ ่วยรถนัง่ ขนึ

2. สมมตฐิ ำนหรือหลักฐำนเชงิ ประจกั ษห์ รือทฤษฎีทีน่ ำมำใช้

อุปกรณ์ต้องสามารถยึดติดกับรถน่ังอย่างมั่นคง ปลอดภัยต่อ detectorไม่ลดคุณภาพหรือเกิดส่ิง

แปลกปลอมรบกวนภาพถ่ายทางรงั สแี ละสะดวกในการท้างานมากกวา่ วิธเี ดมิ

3. วตั ถปุ ระสงค์

ลดความเสี่ยงของการตกของแผน่ detector ในการถ่าย chest AP บนรถนงั่

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนนิ กำร

4.1วเิ คราะหป์ ัญหา

รถนงั่ มีช่องวา่ ง เดิมใชอ้ ปุ กรณ์ใกลต้ วั เช่น
ระหวา่ ง เกา้ อ้ี แผน่ โพมสอดเพ่ือปิ ด
พนกั กบั เบาะรองนงั่ ช่องวา่ ง ป้องกนั detector ตก
เส่ียงต่อการตกของ ใหผ้ ปู้ ่ วยพงิ ดนั detector ใหอ้ ยู่
Detector นิ่งเพอ่ื ป้องกนั motion artifact
ไมส่ ะดวกในการทางาน

4.2 ด้าเนนิ การประดิษฐเ์ ครื่องมือ อุปกรณป์ ระดิษฐจ์ ากไม้อดั แท่งไม้และอลมู ิเนียมเส้นเหลือใช้

อปุ กรณ์ประดิษฐจ์ ากไม้อัด ดา้ นหน้า ดา้ นหลงั ด้านข้าง
แทง่ ไมแ้ ละอลูมเิ นียมเส้นเหลือ

ใช้

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบอื งต้น / สถิติที่ใช้ทดสอบ
ทดสอบการใช้งาน ทดสอบการใช้งาน พบปญั หาภาพรังสีไม่ครอบคลุมด้านบนของปอดในผ้ปู ่วยทที่รูปร่างสูง

ใหญ่ท้าแท่งไม้ส้าหรับสอดปรับระดับความสูง ของ detector ให้สัมพันธ์กับความสูงของผู้ป่วย เพื่อให้ได้
ภาพรงั สคี รอบคลุมทังปอดตามมาตรฐาน แลว้ จงึ นา้ ไปใชง้ านจรงิ พบว่า

- อบุ ัตกิ ารณ์ detector ตกจากรถน่งั เป็น 0 ครัง จากการใช้งาน 1,908 ครัง (1 ก.พ. 2564 ถึง 31
ม.ค. 2565)

- รังสแี พทย์ 7 ราย เหน็ วา่ ภาพรังสีท่ไี ด้จากนวตั กรรมนคี ุณภาพไม่แตกตา่ งจากการถ่ายโดยวธิ เี ดิม
100%

- นักรังสกี ารแพทย์ 13 ราย เหน็ วา่ การใชน้ วัตกรรมนีสะดวกกว่าการใช้วธิ ีเดมิ 100 %

ภาพทางรังสีก่อนปรับปรุงอปุ กรณ์ ภาพทางรังสีหลงั ปรับปรุงอุปกรณ์
ทาแท่งไมส้ าหรับสอดปรับระดบั ความสูง ของ
detector ให้สมั พนั ธ์กบั ความสูงของผปู้ ่ วย เพือ่ ใหไ้ ด้
ภาพรังสีครอบคลุมท้งั ปอดตามมาตรฐาน

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
- ปจั จบุ นั ทกุ คนใช้นวัตกรรมนีในการถา่ ย chest AP ผปู้ ว่ ยรถนง่ั 100%
- ได้น้านวัตกรรมนีไปปรบั ใชง้ านในถา่ ยเอกซเรย์ผู้ป่วยโควดิ -19 บนเกา้ อใี นโรงพยาบาลสนาม ทา้
ให้บรกิ ารผูป้ ่วยได้รวดเร็วขนึ ลดระยะเวลาในการสมั ผัสผปู้ ่วย และปอ้ งกัน detector ตก
- มีโอกาสขยายผลไปใช้ในงานรังสขี องโรงพยาบาลอื่นได้
- สามารถน้าไปพฒั นาโดยใช้วสั ดอุ น่ื ที่มีคณุ ภาพมากกวา่ และสามารถดัดแปลงรูปรา่ งและขนาดให้
เหมาะสมกับการใช้งานมากขึน

7. สรุป
เป็นการสังเกตเห็นปัญหาและความเส่ียงในการท้างานประจ้า น้ามาสู่การพัฒนานวัตกรรมท้าให้การ

ทา้ งานสะดวกขนึ และสามารถปอ้ งกันความเสยี่ งที่อาจเกิดจากการทา้ งานแบบเดิม ในช่วงแรกบคุ ลากรบางราย
ไม่น้านวัตกรรมมาใช้งาน เน่ืองจากไม่คุ้นเคยกับวิธีใหม่ แต่เมื่อเข้าใจวิธีใช้และเห็นผลลัพธ์ของการใช้งาน
นวตั กรรมนถี ูกใชใ้ นการถา่ ย chest AP ผปู้ ่วยรถนง่ั 100%

6. ชอ่ื ผลงำน (Innovation) ฉลำกยำวำร์ฟำรนิ แสน PicSafe (พิ-เศษ)

หนว่ ยงำน กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยำบำล กลาง

นวัตกร (Innovator) นายศริ สิทธิ์ ภมู ริ ัตน์ ตำแหนง่ เภสชั กรปฏิบตั ิการ

1. มูลเหตุจูงใจ

วาร์ฟาริน (Warfarin) เป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือดท่ีใช้ป้องกันการเกิดล่ิมเลือดอุดตันในหลอดเลือด

เป็นยาท่ีมีช่วงการรักษาแคบ ซึ่งติดตามระดับยาได้จากค่า INR (International normalized ratio) ทังนีมี

หลายปัจจัยท่ีส่งผลต่อการออกฤทธ์ิของยา เช่น เภสัชจลนศาสตร์ของยา ภาวะโรคร่วมของผู้ป่วย การ

เกิดปฏิกิริยาระหวา่ งยาวาร์ฟารินกับยาอื่น อาหาร/สมุนไพร โดยปัจจัยท่ีส้าคัญอีกประการหนง่ึ คือการใหค้ วาม

ร่วมมือในการรับประทานยา จากการเก็บข้อมูล ณ คลินิกวาร์ฟาริน โรงพยาบาลกลาง ตังแต่เดือนมีนาคม

2563 ถึง กุมพาพันธ์ 2564 พบเหตุการณ์ท่ีผู้ป่วยรับประทานยาผิดจากค้าสั่งแพทย์ทังหมด 32 ครัง ซึ่งส่วน

ใหญ่เป็นผู้ป่วยสูงอายุและต้องจัดยารับประทานเอง อ่านฉลากยาไม่เข้าใจ จดจ้าวิธีการรับประทานยาแบบเดิม

ท่ีเคยปฏิบัติมาก่อน ไม่อ่านฉลากยาท่ีได้รับมาในครังล่าสุดท่ีมาพบแพทย์ ซึ่งส่งผลให้การรักษาไม่เป็นไปตาม

เป้าหมาย ดังนันทางกลุ่มงานเภสัชกรรม จึงจัดท้าฉลากรปู ภาพยาวารฟ์ ารินขึนเพ่ือช่วยให้ผู้ป่วยรับประทานยา

ไดส้ ะดวก สามารถรับประทานยาไดถ้ กู ต้องตามแผนการรักษาของแพทย์

2. สมมติฐำนหรือหลักฐำนเชิงประจักษห์ รือทฤษฎีทีน่ ำมำใช้

2.1 ฉลากรปู ภาพยาวาร์ฟารนิ ชว่ ยให้ผู้ปว่ ยรับประทานยาได้ถูกต้องตามคา้ สั่งแพทย์

2.2ผ้ปู ่วยมคี วามพงึ พอใจตอ่ ฉลากรูปภาพยาวารฟ์ ารินระดับดี

3. วตั ถปุ ระสงค์

3.1 เพ่อื ใหผ้ ้ปู ่วยสามารถรบั ประทานยาไดถ้ กู ต้องตามค้าสั่งแพทย์

3.2 เพือ่ ให้ผูป้ ว่ ยสะดวก งา่ ยต่อการจดั ยารับประทาน และพึงพอใจต่อฉลากรูปภาพยาวาร์ฟาริน

4.ขันตอนกำรดำเนนิ กำร

4.1 เก็บรวบรวมปัญหาความรว่ มมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเพื่อวิเคราะห์สาเหตุ ซึ่งพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่

ไม่เขา้ ใจวธิ ีการรับประทานยา และทา้ ให้รบั ประทานยาผดิ ไปจากคา้ สัง่ แพทย์

4.2 สร้างนวัตกรรมท่จี ะช่วยใหผ้ ู้ป่วยรับประทานยาวาร์ฟารินตามฉลากยาได้ถูกต้องโดยจัดท้าฉลากภาพ

วาร์ฟารินผ่านโปรแกรม Microsoft Excel ซ่ึงสามารถเลือกความแรง และวิธีรับประทานยาในแต่ละวัน

โปรแกรมจะแสดงรูปจา้ นวนเม็ดยาทีผ่ ูป้ ว่ ยต้องรับประทานในแต่ละวัน คา้ นวณขนาดยาเป็นจ้านวนมิลลิกรัมต่อ

สัปดาห์ ร้อยละการปรับยาเทียบกับขนาดยาครังก่อนเพื่อช่วยประเมินความเหมาะสมของขนาดยาในครังนี

และค้านวณจ้านวนยาจนถึงวนั นัดครงั ถัดไป จากนันจึงพิมพฉ์ ลากรูปภาพออกมาเป็นสต๊ิกเกอร์ตดิ คู่กบั ฉลากยา

แบบตัวหนังสือตามค้าส่ังแพทย์ที่หน้าซองยาวาร์ฟารินของผู้ป่วย ร่วมกับ QR code ที่เป็นวีดิโออธิบายการ

รูปที่ 1 วิธีการใชโ้ ปรแกรมฉลากยา รูปท่ี 2 ตวั อยา่ งของฉลากรูปภาพยาวาร์ฟาริน

รับประทานยาและการปฏิบัติตัวระหว่างรับประทานยาวาร์ฟาริน ดังรูปที่ 1 และ 2 ร่วมกับอธิบายวิธี

รับประทานยา โดยเรมิ่ ปฏิบตั ิตังแต่เดือนมนี าคม 2564 เปน็ ตน้ ไป

4.3 ติดตามผลการใช้นวตั กรรม โดยศึกษาจ้านวนผู้ปว่ ยท่ีรบั ประทานยาได้อย่างถูกต้องตามค้าสั่งแพทย์

จากการสอบถามวธิ กี ารรบั ประทานยาของผปู้ ่วย และสอบถามความพึงพอใจของผปู้ ่วยต่อฉลากรูปภาพยาวาร์

ฟารินผ่านแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อฉลากรูปภาพยา ณ คลินิกยาวาร์ฟาริน โรงพยาบาลกลาง

ตงั แต่ 1 มถิ ุนายน 2564 ถึง 31 ธนั วาคม 2565

4.4 วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบผลการรับประทานยาเป็นร้อยละของการรับประทานยาไม่ตรงตาม

แพทยส์ ง่ั และประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ป่วยภายหลังจากการใช้นวตั กรรม

5. ผลกำรทดลอง

ข้อมลู ทั่วไปจากผปู้ ่วยทงั หมด 70 ราย แบ่งเปน็

เพศหญงิ รอ้ ยละ 62 และเพศชายรอ้ ยละ 38 ส่วนมาก

เปน็ ผูป้ ว่ ยทม่ี อี ายุ ≥ 61 ปี รอ้ ยละ 54 เป็น

ผู้ ป่ ว ย ท่ี จั ด ย า รั บ ป ร ะ ท า น เ อ ง ร้ อ ย ล ะ 6 2

จากการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผู้ป่วย

ต่อฉลากรูปภาพ พบว่าผู้ป่วยมีความพึงพอใจในเร่ือง

ของฉลากรปู ภาพดงู า่ ย สะดวกต่อการจัดยา สามารถ

ท้าให้รับประทานยาถูก มีประโยชน์และอยากให้มีต่อ รูปที่ 3 ร้อยละของผูป้ ่วยที่รับประทานยาผิดไปจากคาสง่ั แพทย์

โดยผลประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีเพียงหัวข้อเร่ืองความสวยงามและคงทนอยู่ในระดับมาก

ดังตารางท่ี 1 ซ่ึงอาจเนื่องมาจากฉลากเป็นเฉพาะสีขาวด้า ยังไม่สามารถพิมพ์เป็นรูปแบบสีได้ ส้าหรับร้อยละ

ของการรับประทานยาไม่ตรงตามค้าส่ังแพทย์ ก่อนมีฉลากรูปภาพยาวาร์ฟารินพบร้อยละ 1.02 และ

หลังมีฉลากรูปภาพวาร์ฟารินพบร้อยละ 0.24 ลดลงร้อยละ 0.78 (P=0.48) ซึ่งลดลงอย่างไม่มีนัยส้าคัญทางสถิติ

แต่จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มว่าการมีฉลากยารูปภาพช่วยให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามค้าส่ัง

แพทยม์ ากขนึ ดงั รปู ท่ี 3

รำยกำรประเมิน คำ่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบน ควำมพงึ
มำตรฐำน พอใจ

1. ทา่ นคิดว่ารปู แบบฉลากดงู ่ายท้าใหส้ ะดวก รวดเรว็ ในการ

จัดยารับประทาน 4.6 0.53 มากท่สี ุด

2. ท่านคิดวา่ ฉลากรูปภาพสามารถท้าใหร้ บั ประทานยาได้

ถูกต้องตามคา้ ส่ังแพทย์ 4.56 0.58 มากที่สุด

3. ทา่ นคิดวา่ ฉลากรูปภาพมีความสวยงาม และคงทน 4.36 0.60 มาก

4. ท่านคิดว่าฉลากรปู ภาพมีประโยชน์ และมคี วามเหน็ วา่

อยากให้มีฉลากรปู ภาพต่อ 4.64 0.60 มากทีส่ ุด

หมายเหตุ ระดับความพึงพอใจคะแนนเฉล่ีย 4.50-5.00 : มากที่สุด, 3.50-4.49 : มาก, 2.50-3.49 :

ปานกลาง, 1.50 -2.49 : น้อย, 1.00-1.49 นอ้ ยทสี่ ุด

ตารางท่ี 1 ผลความพึงพอใจของผู้ปว่ ยตอ่ ฉลากรูปภาพยาวาร์ฟารนิ

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
จากผลการศึกษาพบว่าฉลากรูปภาพยาวาร์ฟารินมีแนวโน้มให้ผู้ป่วยสามารถรับประทานยาได้ถูกต้อง

ตามค้าส่ังแพทย์ และผู้ป่วยยังมีความพึงพอใจต่อฉลากรูปภาพยาวาร์ฟาริน จึงมีการจัดท้าฉลากรูปภาพยาวาร์
ฟารินให้กับผู้ป่วยทุกรายทังผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยผู้ป่วยในท้าเฉพาะฉลากยาผปู้ ่วยกลับบ้าน ทังนีเพื่อให้
เกิดความร่วมมอื ในการรบั ประทานยาไดอ้ ยา่ งถูกต้องและความปลอดภยั ในการใชย้ าของผู้ป่วยอยา่ งสูงสุด
7. สรุป

ฉลากรูปภาพวาร์ฟารินเป็นนวัตกรรมท่ีสร้างเพื่อให้ผู้ป่วยรับประทานยาวาร์ฟารินได้ถูกต้องตรงตาม
แพทย์ส่งั ลดปญั หาการเกดิ อาการไม่พึงประสงค์จากการรบั ประทานยาผิด โดยฉลากยารูปภาพสร้างจากการใช้
โปรแกรม Microsoft excel และเลือกวิธีการรับประทานยาในโปรแกรมและพิมพ์ออกมาเป็นฉลากยารูปภาพ
ติดหน้าซองคู่กับฉลากยาแบบตัวหนังสือ ซ่ึงการศึกษาเบืองต้นพบว่าฉลากรูปภาพยาวาร์ฟารินมีแนวโน้มให้
ผู้ป่วยรับประทานยาได้ถูกต้อง และยังมีความพึงพอใจระดับดีมาก ท้าให้ผู้ป่วยต้องการให้มีฉลากยารูปภาพ
วารฟ์ ารนิ ตอ่ ไป

7. ช่ือผลงำน (Innovation) รถเจำะเลอื ดเคล่ือนท่ี

หนว่ ยงำน งานโลหติ วทิ ยา กลมุ่ งานเทคนคิ การแพทย์ โรงพยำบำล ตากสนิ

นวตั กร (Innovator) น.ส.ชฎาพร ทองสขุ ตำแหน่ง นกั เทคนคิ การแพทย์ปฏิบัติการ

1. มลู เหตุจูงใจ

โรงพยาบาลตากสิน มีการปรบั ปรงุ โครงสร้างโรงพยาบาล เพอื่ รองรับการสร้างอาคาร 23 ชนั อาคารผปู้ ่วยนอก

ชั่วคราวชัน 3 ประกอบด้วย ห้องเจาะเลือด, คลินิกอายุรกรรมทั่วไป, คลินิกศัลยกรรมท่ัวไป, ห้องยา แต่ละวันมี

ผู้ป่วยมารับบริการเป็นจ้านวนมาก และพืนท่ีอาคารชั่วคราวมีจ้ากัดท้าให้เกิดความแออัดของผู้ป่วยในบริเวณ

ดงั กล่าว ผู้ปว่ ยทม่ี ารับบริการหอ้ งเจาะเลือดในช่วงเช้ามีประมาณ 500-550 ราย มีทงั ผปู้ ว่ ยที่สามารถเดินได้ (walk

in) ผ้ปู ่วยรถเขน็ นัง่ ผูป้ ่วยเปลนอน

โดยปัญหาท่ีส้าคัญ คือ การที่เจ้าหน้าท่ีเจาะเลือดต้องเข็นรถใส่อุปกรณ์การเจาะเลือดออกไปเจาะผู้ป่วยรถเข็น

น่ัง ซึ่งบริเวณดังกล่าวมีผู้ป่วยจ้านวนมาก และเป็นทางเดินผ่านไป-มาของผู้คนจ้านวนมาก อาจเกิดความเสี่ยงของ

เจ้าหน้าท่ีในขณะเจาะเลือดได้ นอกจากนีรถเข็นท่ีใส่อุปกรณ์การเจาะเลือดของเดิมมีขนาดเล็กใส่อุปกรณ์ต่างๆ ได้

ปริมาณน้อย ส่วนเบาะท่ีใช้รองแขนผู้ป่วยขณะเจาะเลือด จะไม่ Fix กับตัวรถเข็นผู้ป่วยท้าให้เจาะเลือดไม่สะดวก

ดังนันจึงมีแนวคิดท่ีจะประดิษฐ์รถเจาะเลือดเคลื่อนที่ขึนมา เพื่อสามารถใส่อุปกรณ์ต่างๆ ได้มากขึน และรถเจาะ

เลือดเคล่ือนท่ีนีได้ท้าเบาะรองแขนผู้ป่วยขณะเจาะเลือดติดกับโครงเหล็กของตัวรถสามารถกางออกมาใช้งานและ

พับเก็บได้ ทา้ ให้เจาะเลือดได้ง่ายขึน

นอกจากนีประโยชนท์ ่ีส้าคัญของรถเจาะเลือดนี สามารถใช้ในการจัดระเบียบการเจาะเลือดผู้ป่วยรถเข็นนง่ั

ได้เป็นอย่างดี และสามารถช่วยระบายผู้ป่วยกลุ่ม walk in ที่รอเจาะเลือดในห้องเจาะเลือดไม่ให้เกิดความ

แออดั ภายหลงั จากการใชง้ านรถเจาะเลอื ดเคล่อื นที่สามารถเคล่ือนยา้ ยน้ากลับเขา้ มาเก็บภายในห้องเจาะเลอื ด

2. สมมติฐำนและแนวคดิ ทำงวทิ ยำศำสตรท์ ี่นำมำใช้

รถเข็นเจาะเลือดเคล่ือนที่นีจะมีเบาะรองแขนส้าหรับเจาะเลือดย่ืนออกมาทางด้านซ้ายและด้านขวาของตัว

รถ และสามารถใส่อุปกรณ์ท่ีใช้ในการเจาะเลือดได้ในปริมาณมาก เพ่ือสามารถให้บริการเจาะเลือดได้ครังละ 2

ราย ท้าให้สามารถให้บริการเจาะเลือดได้รวดเร็วมากย่ิงขึน สามารถลดความแออัดของผู้รับบริการที่นั่งรถเข็น

บรเิ วณหนา้ ห้องเจาะเลือดได้ และเมื่อใชเ้ สร็จแลว้ สามารถพับแขนทังสองข้างเกบ็ เพ่ือประหยดั พนื ท่จี ดั เกบ็

3. วตั ถุประสงค์

- เพื่อชว่ ยประหยดั งบประมาณของโรงพยาบาล - เพอ่ื ใหบ้ ริการเจาะเลือดเพม่ิ ได้ครังละ 2 ราย

- ใชใ้ นบรเิ วณพืนทที่ ่ีมอี ยา่ งจา้ กัดได้ - สะดวกในการเคล่ือนย้าย

- สามารถจัดเกบ็ อุปกรณ์เจาะเลือดต่างๆได้อย่างเพยี งพอต่อการใช้งาน

- ปอ้ งกันความเส่ียงของเจ้าหน้าทีใ่ นขณะเจาะเลอื ดผู้ปว่ ยรถเขน็ นง่ั

- เพ่อื ลดความแออัดของผูร้ ับบรกิ ารรถเขน็ น่ังบริเวณหนา้ ห้องเจาะเลือด

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนินกำร

- ศึกษาปัญหาในการเจาะเลอื ด

- ออกแบบรถเจาะเลือดเคลื่อนท่คี ันใหม่นีโดยดดั แปลงจากรถคนั เดิมทม่ี ีอยู่

- วาดแบบรถเจาะเลือดเคล่ือนท่ีและสง่ ให้ฝ่ายซ่อมบ้ารงุ ด้าเนนิ การตามแบบ

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบืองตน้ / สถติ ิที่ใช้ทดสอบ
- เดิมรถเข็นคนั เดิมใส่อปุ กรณ์เจาะเลอื ดไดน้ ้อยทา้ ให้ไมส่ ะดวกต่อการใชง้ าน ต้องคอยเติมอุปกรณ์บอ่ ยครัง

เมอ่ื มรี ถเข็นเจาะเลือดเคลอื่ นท่ีใหมน่ ีสามารถเก็บอปุ กรณ์เจาะเลือดได้มากขนึ มีพืนท่ีใชส้ อยบนรถมากย่งิ ขนึ
ทา้ ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านมากยิ่งขึน สามารถเจาะเลือดต่อเนอ่ื งไดท้ ลี ะจ้านวนหลายราย
- เดิมรถเข็นคันเดิมให้บริการเจาะเลือดได้ทีละ 1 รายเท่านัน แต่รถเจาะเลือดเคล่ือนที่คันใหม่นี สามารถให้บริการ
เจาะเลอื ดได้ครัง 2 ราย ท้าใหล้ ดความแออดั ของผ้เู ข้ารบั บริการทนี่ ั่งรถเข็นบรเิ วณหน้าห้องเจาะเลือดได้รวดเร็วมาก
ขึน

- ใชเ้ ป็นชอ่ งเจาะเลือดเพม่ิ เตมิ ในกรณที ี่ผ้เู ข้ารบั บรกิ ารจ้านวนมาก ผ้เู ข้ารับบริการที่ไม่ใช่ผู้รบั บริการท่ี
น่ังรถนง่ั สามารถมานัง่ เจาะเลือดที่รถเจาะเลือดเคลือ่ นที่คันนไี ดเ้ ลย โดยไม่ต้องใช้การตังโตะ๊ เจาะเลือดใหม่
เพิม่ เมื่อใช้เสรจ็ แลว้ ก็พบั เก็บแขนเป็นการประหยัดพนื ทแ่ี ละทรัพยากร

- กรณีผเู้ ข้ารับบริการนงั่ รถเข็น ตอ้ งวางเบาะรองแขนบนตัวรถของผเู้ ข้ารบั บริการ ซ่งึ เบาะจะไม่ fix อยู่
กบั ท่ี

ท้าใหผ้ ู้เจาะเลือดปฏบิ ัติงานไมส่ ะดวก แต่รถเจาะเลือดเคล่ือนทีน่ ีมเี บาะรองแขนในตัวทเี่ ปน็ โครงเหลก็ ซ่งึ มี
ความมน่ั คง ท้าใหผ้ ้เู จาะเลอื ดสามารถปฏบิ ตั งิ านได้สะดวกมากยิ่งขนึ

- ประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาล โดยค่าใช้จ่าย ในการจัดท้ารถเข็นเดิม 19,600 บาท แต่
คา่ ใช้จ่ายในการจัดท้ารถเจาะเลอื ดเคล่อื นท่คี นั ใหมต่ า่้ 10,000 บาท (สามารถออกแบบไดต้ ามทีต่ ้องการ)
6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์

รถเจาะเลือดเคลื่อนท่ีนีถูกน้ามาใช้ภายในกลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ ท่ีบริเวณหน้าห้องเจาะเลือด ชัน 3
อาคารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สามารถช่วยลดความแออัดของผู้รับบริการที่น่ังรถเข็นบริเวณหน้าห้อง
เจาะเลอื ดได้รวดเรว็ มากยิ่งขนึ โดยสามารถให้บรกิ ารเจาะเลอื ดไดค้ รังละ 2 ราย
7. สรปุ

รถเจาะเลือดเคลื่อนที่นี ใช้วัสดุเป็นไม้ มีเบาะรองแขนเจาะเลอื ดทังทางด้านซ้ายและด้านขวา ซึ่งสามารถกางออก
และพบั เก็บได้ เพือ่ สะดวกในการใชส้ อยในพืนทีท่ ่ีมอี ยา่ งจ้ากดั มพี ืนท่ีใชส้ อยบนรถมากขึน มชี ่อง ตู้และลนิ ชกั ส้าหรบั
ใส่อุปกรณ์เจาะเลือดได้อย่างเพียงพอต่อการใช้สอย สามารถให้บริการเจาะเลือดได้ครังละ 2 ราย โดยรถคันนีถูก
ออกแบบมาเพ่ือลดปัญหาความแออัดของผู้เข้ารับบริการเจาะเลือดท่ีนั่งรถเข็น บริเวณหน้าห้องเจาะเลือด โดย
สามารถให้บริการไดร้ วดเร็วมากย่งิ ขนึ

รถเจาะเลือดเคลื่อนท่ี เมื่อมีการใช้สอย สามารถกางแขนออกได้ทงั สองข้าง
ภายในมีชอ่ งใส่อุปกรณ์สา้ หรับเจาะเลอื ดได้อย่างเพยี งพอ และมีพืนท่ใี ชส้ อยด้านบนมากขึน

8. ชือ่ ผลงำน (Innovation) TPN EASY-BOX

หนว่ ยงำน หนว่ ยผลิตยาและเตรยี มยาปราศจากเชือ กลุม่ งานเภสชั กรรม โรงพยำบำล ตากสนิ

นวัตกร (Innovator) นางสาวณชิ กานต์ ทะเท่ียง ตำแหนง่ เจา้ พนกั งานเภสชั กรรมปฏิบัตงิ าน

1. มูลเหตจุ งู ใจ

การผสมสารอาหารทางหลอดเลือดด้า (TPN) ประกอบด้วยตัวยาและสารน้าเฉลี่ยประมาณ 8-11

รายการ ซ่งึ ยาเหลา่ นีมีทงั รายการยาความเสย่ี งสงู (High Alert Drugs; HAD) และรายการยาชือ่ พ้องมองคล้าย

(Look-Alike Sound Alike drugs; LASA drugs) โดยในขันตอนการผสม TPN รายการยาทุกชนิดจะถูก

นา้ เขา้ ตูผ้ สมพร้อมกันและจัดวางรวมกัน ซ่งึ เสย่ี งต่อการหยบิ ยาผสมผิดชนิดและอาจน้าไปสู่ความคลาดเคลื่อน

ทางยาในระดับรนุ แรงได้

จากการเก็บข้อมูล Near miss ในขันตอนการผสม TPN พบมีการหยิบยาผิดชนิด และหยิบยาผิด

ล้าดับการผสมยา (Order of mixing) ซึ่งจากการเก็บข้อมูลพบ Near miss ไม่บ่อยมาก แต่หากปล่อยให้

Near miss กลายเป็น Miss อาจท้าให้เกิดอันตรายร้ายแรงถึงชีวิตได้ ดังนันจึงมีแนวคิดในการสร้าง Multi-

Box ซึ่งเป็นกล่องเรียงต่อกันหลายช่องส้าหรับใช้เป็นถาดจัดเรียงยา โดยใช้แนวคิด Visual concept และ

เรียกกล่องที่สร้างขึนว่า “TPN Easy-Box” ทังนีเพื่อให้การจัดเรียงยาเป็นระเบียบตาม Order of mixing

ง่ายต่อการตรวจสอบ และป้องกันความคลาดเคล่ือนทางยาจากการผสม TPN ผิด อันเนื่องจากการหยิบยา

ผดิ ชนิดและผิดลา้ ดับการผสมยา

2. สมมตฐิ ำนหรือหลกั ฐำนเชิงประจักษ์หรือทฤษฎที ่ีนำมำใช้

“TPN Easy-Box” สร้างขึนจากแนวคิด Visual concept ซง่ึ ใช้สญั ลักษณต์ วั เลขและสีแทนรายการยา

ช่วยลดความคลาดเคลื่อนทางยาในระดับ Near miss ซ่ึงอาจเป็นสาเหตุน้าไปสู่การเกิดเหตุการณ์ไม่พึง

ประสงคท์ างยา (Adverse drug event) โดยมุ่งเนน้ การป้องกันการหยบิ ยาผสมผิดชนิดและผิดล้าดับการผสม

ยา (Order of mixing)

3. วัตถุประสงค์

- เพ่ือป้องกนั การผสม TPN ผิดชนิดและผิดลา้ ดับการผสม (Order of mixing)

- เพื่อลดความคลาดเคลือ่ นทางยาในระดับ Near miss

- เพอื่ ให้การจดั เรยี งยาเปน็ ระเบยี บตาม Order of mixing และตรวจสอบง่าย หยิบใช้สะดวก

4. แผนกำร / ขันตอนกำรดำเนินกำร

1) วิเคราะห์ปญั หาและสาเหตุ

2) สรุปรายการยาที่ใช้ผสม TPN

3) ออกแบบนวตั กรรม

4) ทดลองและนา้ ไปใช้

5) สรปุ และและประเมินผล

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบอื งต้น / สถิตทิ ่ใี ชท้ ดสอบ
TPN Easy-Box ช่วยให้การจัดเรียงยาเป็นระเบียบตาม order of mixing ง่ายต่อการตรวจสอบและ

สะดวกต่อการหยิบใช้ ช่วยลดอัตราการเกิด Near miss และป้องกันความคลาดเคล่ือนทางยาจากการหยิบ

ยาผิดชนิดและผิดล้าดับ Order of mixing ได้ร้อยละ 100 โดยในขันตอนการผสมยาจะใช้ระบบ double
cross check ปริมาตรของยาก่อนการผสมทกุ ครัง

อุบตั ิการณ์เกดิ Near miss อบุ ตั กิ ารณ์เกดิ Near miss
จากการหยบิ ยาผดิ ชนิด
6 5.52

อุบัติการ ์ณ (ค ้ัรง/100 dose)4 หยบิ ยาผดิ ชนิด 6 LASA drug
อุบัติการ ์ณ (ค ้ัรง/100 dose)หยบิ ยาผดิ ลาดบั 4 4.13 HAD
2 2.07 ยาอื่นๆ
อุบัติการ ์ณ (ค ้ัรง/100 dose) 2 1.45
0 00
ก่อนใช้ Box หลงั ใช้ Box 0 0 000

(ต.ค.-ธ.ค./62) (ม.ค.-ก.ย./63) ก่อนใช้ Box หลงั ใช้ Box

(ต.ค.-ธ.ค./62) (ม.ค.-ก.ย./63)

อุบัตกิ ารณ์เกดิ Near miss
จากการหยบิ ยาผดิ order of mixing

6

4 LASA drug
HAD
2 1.4 ยาอ่ืนๆ
0 0 0.7
000

ก่อนใช้ Box หลงั ใช้ Box

(ต.ค.-ธ.ค./62) (ม.ค.-ก.ย./63)

6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์
ใชเ้ ปน็ ถาดจดั เรยี งยาสา้ หรับผสม TPN ใหเ้ ปน็ ระเบยี บตาม Order of mixing

7. สรปุ
TPN Easy-Box สร้างขึนจากแนวคิด Visual concept ช่วยลดความคลาดเคล่ือนทางยาในระดับ

Near miss ได้ โดยเฉพาะช่วยป้องกนั การหยิบยาผิดชนดิ และผิดล้าดับการผสมยาไดร้ ้อยละ 100

รปู ประกอบกำรนำนวัตกรรมไปใชง้ ำน

9. ชอื่ ผลงำน (Innovation) ลด แรง เธอ

หน่วยงำน งานสวัสดิการ ฝ่ายบรหิ ารงานทัว่ ไป โรงพยำบำล ตากสนิ

นวตั กร (Innovator) นายเดน่ ดวง คงมีสขุ ตำแหนง่ พนกั งานสวนสาธารณะ

1. มลู เหตุจูงใจ

นวัตกรรม “ลด แรง เธอ” เป็นนวัตกรรมท่ีน้าสิ่งของเหลือใช้ มาประดิษฐ์ให้เกิดประโยชน์ในการท้างาน ให้มี

ประสิทธิภาพ มากขึนและลดการใช้แรงกาย รถเข็นของด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่ือ เป็นอุปกรณ์

ช่วยเจา้ หน้าท่ีในการขนย้ายสิ่งของ ให้มีความสะดวกและรวดเร็ว ลดแรงเจ้าหน้าท่ีในการขน ป้องกันการบาดเจ็บจาก

การทา้ งาน อกี ทังยังเป็นรถเขน็ ที่สามารถใช้พลงั งานแสงอาทติ ย์ในการขบั เคล่ือนมอเตอร์ไฟฟ้า ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้า

ในการชาร์จแบตเตอรี่

2.สมมติฐำนหรือหลักฐำนเชิงประจักษ์หรอื ทฤษฎที ่ีนำมำใช้

นวัตกรรม “ลด แรง เธอ” เป็นการออกแบบอุปกรณ์รถเข็นมอเตอร์ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยดัดแปลง

จากรถเข็นของท่ีช้ารุด มาดัดแปลงเพ่ือให้ใช้งานด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าและติดตังแผงโซล่าเซลล์เพ่ือใช้พลังงานจาก

แสงอาทิตย์ในการขับเคลื่อน เพื่อลดก้าลังของเจ้าหน้าที่ในการออกแรงเข็นของ เป็นการออกแบบเคร่ืองมือเพ่ือช่วย

ทางด้านการยศาสตร์ เพ่ือป้องกันการบาดเจ็บ จากการท้างานของเจ้าหน้าที่ อีกทังช่วยใช้งานขนย้ายสิง่ ของเครื่องใช้

ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เป็นเครื่องทุ่นแรงให้เกิดความสะดวกสบายเมื่อต้องขนย้ายสิ่งของจ้านวนมาก และยังช่วย

ให้ประหยัดเวลาในการขนย้ายสิ่งของได้มากขึน เพราะสามารถขนย้ายสิ่งของหลายชิน หรือสิ่งของท่ีมีน้าหนักมาก

พร้อมกันได้ในคราวเดยี ว

3. วตั ถุประสงค์

1. เพื่อลดความเส่ียงจากการบาดเจ็บในการท้างาน

2. ทา้ ใหก้ ารท้างานของเจ้าหน้าทม่ี ีประสทิ ธิภาพ

3. เพื่อลดคา่ ใช้จา่ ยของโรงพยาบาลตากสินในการจดั ซือรถเข็นไฟฟา้ เพ่อื ช่วยในการทา้ งาน

4. การตดิ ตงั แผลโซลา่ เซลลซ์ ึ่งเปน็ แหล่งพลงั งานทางเลือกของรถเข็นชว่ ยเพ่ิมความสะดวกในการปฏิบัติงาน

ของเจา้ หนา้ ท่ใี นแตล่ ะครังทป่ี ฏิบตั ิงาน เชน่ การชารจ์ แบตเตอรี่รถเขน็ การชารจ์ มือถือจากแผงโซล่าเซลล์

4. แผนกำร / ขันตอนกำรดำเนินกำร

1. ร่างแบบ ออกแบบรถเขน็ ขับเคลื่อนดว้ ยระบบไฟฟ้าจากมอเตอร์ ใช้พลงั านแบตเตอร่ี

2. เตรียมรถเขน็ ของทชี่ ้ารุด และอุปกรณ์ ที่ใชป้ ระกอบรถเข็น ประกอบมอเตอร์เพือ่ ยดึ ตดิ กับตัวรถเข็น

3. น้าตู้ไฟฟ้าใส่แบตเตอรี่ พร้อมกับวงจรการท้างานเข้ากับตัวรถเข็นติดตังตัวคอนโทล เดินหน้า-ถอยหลัง

และติดตงั ตัวชารจ์ เข้ากับแบตเตอร่ีเขา้ กับกลอ่ งไฟ ตกแต่งเพ่ือความสวยงาม

4. ติดตังแผงโซล่าเซลล์ 35 ซม. x 60 ซม. ขนาด 30 วัตต์ 18 โวลต์ จ้านวน 2 แผง

5. ต่อวงจรโซล่าเซลล์กับกล่องควบคุมไฟ เพ่ือใช้ในการชาร์จไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่ที่ใช้ในการขับเคล่ือนมอเตอร์

รถเขน็ ไฟฟา้

6. คา่ ใชจ้ า่ ยในการดา้ เนนิ การ

6.1 ค่าตดิ ตังมอเตอรร์ ถเข็นไฟฟ้า 5,610. บาท

6.2 ค่าตดิ ตังแผนโซล่าเซลล์ ขนาด 35 ซม. X 60 ซม. ขนาด 30 วัตต์ 18 โวลต์ จา้ นวน 2 แผง 2,170. บาท

รวมคา่ ใช้จ่าย 7,780.- บาท/คนั (ราคาขนึ อยู่กบั ขนาดและก้าลังของมอเตอร)์

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบอื งต้น / สถิตทิ ใ่ี ช้ทดสอบ

ทดสอบ
ทดสอบรถเขน็ มอเตอร์ โดยการนา้ เก้าอี 15 ตวั น้าหนกั เก้าอีตวั ละ 7 กิโลกรมั เท่ากับน้าหนกั 105 กโิ ลกรัม

ขบั เคลอ่ื นดว้ ยมอเตอร์ สามารถเดนิ หนา้ ถอยหลงั ชว่ ยลดแรงคนในการเขน็ ของ
ทดสอบการใช้งานจรงิ ท่หี น่วยงานซักฟอก

เจ้าหน้าท่ีจะใช้รถเข็นไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่ือส่งผ้าให้ห้องตรวจโรคหัวใจ ชัน 6A ประมาณ
จ้านวนผ้าที่ส่งวนั ละ 40 ห่อ น้าหนักประมาณ 150 กิโลกรัม ตังแต่เวลา 10.00 น. – 10.30 น. หลังการใชง้ าน
ในแต่ละวันจะน้ารถเข็นจอดในท่ีแสงแดดสอ่ งถึงเพ่ือชารจ์ แบตเตอร่ีจากแผงโซล่าเซลลใ์ ช้เวลาอยู่ที่ประมาณ 4
– 5 ชม.
6. กำรนำไปใช้ประโยชน์

รถเขน็ มอเตอรไ์ ฟฟา้ ชว่ ยทนุ่ แรงเจา้ หนา้ ท่ีในการขนย้ายของท้าให้ลดความเสีย่ งการบาดเจ็บจากการท้างาน อีกทัง
ท้าให้การขนย้ายมีความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน และช่วยลดต้นทุนในการจัดซือรถเข็นไฟฟ้าที่
จ้าหน่ายตามท้องตลาด ซึ่งมีราคาสูง นอกจากนีการติดตังแผงโซล่าเซลล์ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้าของ
โรงพยาบาล

7. สรปุ
นวตั กรรม “ลด แรง เธอ” เปน็ การออกแบบรถเข็นมอเตอร์ไฟฟ้าพร้อมติดตังแผงโซลา่ เซลล์ เพอ่ื ชว่ ยในการท้างาน

ด้านการขนย้ายสิ่งของให้มีประสิทธิภาพ ลดการใช้ก้าลังคน เพ่ือช่วยทางด้านการยศาสตร์ในการท้างานให้มีความ
ปลอดภัย ป้องกันการบาดเจ็บของเจ้าหน้าที่จากการท้างาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้าของโรงพยาบาล และยัง
สามารถปรับตัวรถเขน็ ให้สามารถใช้งานไดก้ บั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในโรงพยาบาล เช่น งานซกั ฟอก งานซอ่ มบ้ารุง

ภาพประกอบราคารถเข็นทจี่ ้าหน่าย

10. ช่ือผลงำน (Innovation) TPN CALCULATION FORM

หน่วยงำน หน่วยผลติ ยาและเตรียมยาปราศจากเชือ กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยำบำล ตากสิน
นวัตกร (Innovator) นายวิโรจน์ ช่ืนบญุ งาม ตำแหน่ง เภสชั กรชา้ นาญการ
1. มูลเหตุจงู ใจ

สารอาหารทางหลอดเลอื ดด้า (TPN) 1 ขวด ประกอบด้วยสารอาหารชนดิ ตา่ งๆ ผสมกันเฉล่ยี ประมาณ 8-11

ชนิด ซึ่งบางรายการเป็นยาท่ีมีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) เช่น potassium chloride, magnesium sulfate,
calcium gluconate, heparin เป็นต้น ก่อนการผสมเภสัชกรต้องทวนสอบค้าส่ังการรักษา เช่น ปริมาณสารอาหาร

ชนิดตา่ งๆ ทผ่ี ู้ปว่ ยตอ้ งการ ปรมิ าณสารอาหารในหน่วยมิลลิลิตรที่ใช้ผสม ความเข้มข้นของสารอาหาร อตั ราการ

หยดสารอาหารเข้าเส้นเลือด เป็นต้น โดยค้านวณเปรียบเทียบกับค้าส่ังแพทย์ ทังนีเพื่อทวนสอบความถูกต้อง
และปอ้ งกันความคลาดเคลื่อนท่ีอาจเกิดจากการส่ังใช้ยา

จากการเก็บข้อมูลระยะเวลาในขันตอนต่างๆ ของกระบวนการเตรียม TPN พบว่าขันตอนการค้านวณใช้
ระยะเวลานานที่สุดประมาณ 45 นาทตี ่อใบสั่งยา อกี ทงั ยังเกิดความคลาดเคล่ือนในขันตอนนีได้ง่าย เนือ่ งจากต้อง

ค้านวณปริมาณของสารอาหารทุกชนิดที่ใช้เตรียม และยาบางรายการประกอบสารอาหารหลายชนิด เช่น

glycophos 1 ml ประกอบด้วย phosphate 1 mmol และ sodium 2 mEq หรือ dipotassium phosphate 1
ml ประกอบด้วย potassium 1 mmol และ phosphate 1 mmol เป็นต้น ท้าให้การค้านวณมีความซับซ้อน

มากขึน และในทางปฏิบัติก้าหนดให้มีการค้านวณ 2 รอบ เพ่ือป้องกันความผิดพลาดในการค้านวณ ท้าให้ขันตอน
การค้านวณใช้เวลานาน และเป็นขันตอนที่ส่งผลท้าให้ผู้ป่วยได้รับยาช้า ดังนันจึงมีแนวคิดในการพัฒนา TPN

Calculation Form ทังนีเพ่ือให้การค้านวณเป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว ง่ายต่อการตรวจสอบ ป้องกัน

ความคลาดเคล่ือนทางยา และลดระยะเวลารอคอย TPN ท้าให้ผู้ป่วยเด็กได้รับ TPN เร็วขึน และแพทย์สามารถ
ติดตามอาการหรือผลตรวจทางห้องปฏบิ ัติการได้ภายในเวรปฏบิ ัติงาน เช่น คา่ DTX หลงั ได้รบั TPN 2 ชัว่ โมง เป็น

ตน้
2. สมมตฐิ ำนหรือหลักฐำนเชงิ ประจกั ษห์ รือทฤษฎที ่นี ำมำใช้

“TPN Calculation Form” เกิดจากแนวคิด เพื่ออ้านวยความสะดวก เพ่ิมความถกู ต้อง ลดระยะเวลา

ในการค้านวณ เพ่ือให้สามารถบริการผู้ป่วยได้รวดเร็วขึน และป้องกันความคลาดเคล่ือนทางยา โดยใช้
Program Microsoft Excel ท่ีมีอยู่แล้วในระบบ computer ของโรงพยาบาลมาประยุกต์ใช้ ท้าให้ไม่ต้อง

สินเปลอื งค่าใชจ้ ่ายส้าหรับจัดหา program ใหมม่ าใชง้ าน
3. วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อลดระยะเวลาการคา้ นวณปรมิ าณสารท่ีใช้ผสมสารอาหารทางหลอดเลือดด้า

2. เพอ่ื ป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาจากการคา้ นวณผิดพลาด
3. เพ่ือลดระยะเวลารอคอยรบั สารอาหารทางหลอดเลอื ดดา้ (TPN) ของหอผู้ป่วย

4. แผนกำร / ขันตอนกำรดำเนินกำร
1) วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ
2) สรปุ รายการยา ความเข้มขน้ ของยาชนดิ ตา่ งๆ ทใ่ี ชผ้ สม TPN

3) พฒั นาสูตรคา้ นวณใน program microsoft excel
4) ทดลองและน้าไปใช้

5) สรปุ และประเมนิ ผล

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบอื งตน้ / สถิติท่ใี ช้ทดสอบ
TPN Calculation Form ง่ายต่อการใช้งาน ช่วยให้การค้านวณถูกต้องแม่นย้า ง่ายต่อการตรวจสอบ

ลดระยะเวลาปฏิบัติงาน ซึ่งหลังจากเร่ิมใช้งาน TPN Calculation Form สามารถลดระยะเวลาในขันตอน
การค้านวณจากประมาณ 45 นาที/ใบส่ังยา เหลือประมาณ 8 นาที/ใบส่ังยา ซ่ึงส่งผลให้หอผู้ได้รับ TPN เร็ว
ขึน ตามท่ีประกันเวลาภายใน 13.00 น. ร้อยละ 96.79 และลดอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนจากการค้านวณ
ด้วยระบบ manual จากร้อยละ 6.72 ครัง/100 dose เป็นร้อยละ 1.73 ครัง/100 dose (ลดลงร้อยละ 74)
ซ่ึงร้อยละความผิดพลาดที่พบเกิดจากการกรอกข้อมูลตัวเลขผิด แต่ทังนี TPN Calculation Form สามารถ

ระยะเวลาการคานวณ TPN อบุ ตั กิ ารณ์ความคลาดเคลื่อนจากการคานวณ

50 44.5 10
40
8 6.72
30 6

20 4
10 8.4 2 1.73

0 0

ก่อนใชฟ้ อร์ม (ต.ค./62 - พ.ย./62) หลงั ใชฟ้ อร์ม (ธ.ค./62 - ก.ย./63) ก่อนใชฟ้ อร์ม (ต.ค./62 - พ.ย./62) หลงั ใชฟ้ อร์ม (ธ.ค./62 - ก.ย./63)
ระยะเวลา (นาที / ใบ ั่สงยา)
จานวนอุ ับติการ ์ณ (ค ้ัรง/100 dose)

ชว่ ยให้ตรวจสอบพบความผดิ พลาดได้งา่ ย และแกไ้ ขได้เรว็ ขนึ

ระยะเวลารอคอย TPN ของหอผู้ป่ วย

120.00% 96.78%
100.00%
76.69%
80.00%

60.00%

40.00% 23.31%
20.00%
3.22%
0.00%

ก่อนใชฟ้ อร์ม (ต.ค./62 - พ.ย./62) หลงั ใชฟ้ อร์ม (ธ.ค./62 - ก.ย./63)

ก่อน 13.00 น. หลงั 13.00 น.

6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์
ใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการคา้ นวณทวนสอบปรมิ าณสารส้าหรับเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดา้ (TPN)

ตามค้าส่งั แพทย์ ใช้ออกฉลากยา และแบบควบคุมการเตรียม (Working formula)

7. สรปุ
TPN Calculation Form สร้างขึนเพื่อลดความผิดพลาดจากการค้านวณปรมิ าณสารอาหาร และลด

ระยะเวลารอคอยรับ TPN โดยน้า program microsoft excel ที่มีอยู่ในโรงพยาบาลมาประยุกต์ใช้ท้าให้ไม่

เพิ่มค่าใชจ้ า่ ย

11. ชื่อผลงำน (Innovation) INSULIN ROTATION TOOL

หน่วยงำน ปรึกษาสุขภาพ/ศูนยเ์ บาหวาน โรงพยำบำล เจรญิ กรุงประชารักษ์

นวตั กร (Innovator) นางสาวดาลณิ ี สง่ แสง ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพช้านาญการ

1. มูลเหตุจูงใจ

โรคเบาหวานเป็นภาวะท่ีร่างกายมีระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดขึนเน่ืองจากการมีภาวะดือต่อ
อนิ ซูลิน หรือความบกพรอ่ งในการผลติ อนิ ซลู นิ หรอื ทังสองอยา่ งร่วมกนั โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 เป็นชนิดทีพ่ บไดบ้ อ่ ย
ที่สุดในประเทศไทย พบประมาณร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทังหมด ผู้เป็นเบาหวานหากมีระดับน้าตาลใน
เลือดที่สูงเป็นเวลานานไม่สามารถควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ได้ตามเป้าหมาย จะท้าให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบประสาทและหลอดเลือด ส่งผลให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหวั ใจ โรค
ไตเรือรัง เบาหวานขึนตา และการสูญเสียเท้าจากแผลเบาหวาน การรักษาโรคเบาหวานมีจุดมุ่งหมายท่ีส้าคัญ
คือ การควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีเหมาะสม ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ชะลอการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนเรือรัง และผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี วิธีการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดนันมีทัง การปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง การควบคมุ อาหาร การออกกา้ ลงั กาย การใช้ยาซึ่งมีทังชนิดรับประทานและอินซูลิน
จากสถติ ิศนู ย์เบาหวานในปีงบประมาณ 2562-2563 พบวา่ มีผปู้ ว่ ยเบาหวานทม่ี ารบั บริการจา้ นวน 3349 ราย
และมีจ้านวน 639 ราย คิดเป็นร้อยละ19.0 ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานดังกล่าว
บางสว่ นมีระดับนา้ ตาลสงู ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย ทีมจึงได้มกี ารทบทวนคน้ หาปญั หาและวิเคราะหข์ ้อมูล พบวา่
ผู้ป่วยฉีดอินซูลินซ้าจุดเดิมมีก้อนไตแข็งบริเวณท่ีฉีด (Lipohypertrophy) ซึ่งการเกิดLipohypertrophy คือ
ปฏิกิริยาการเปล่ียนแปลงของชันไขมันซึ่งจะมีลักษณะแข็งคล้ายพังผืดในชันไขมันใต้ผิวหนังท้าให้มีผลต่อการดูด
ซึมอินซูลินลดลงมากกวา่ ร้อยละ 25 ส่งผลให้ควบคุมระดับน้าตาลได้ไม่ดี สาเหตุของการเกิด Lipohypertrophy
ได้แก่ การฉีดอินซูลินในบริเวณเดียวกันซ้า ๆ ไม่หมุนเวียนต้าแหน่งเป็นระยะเวลานาน การใช้เข็มอินซูลินมากกว่า 5
ครัง (สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทยฯ)
2. สมมตฐิ ำนหรือหลักฐำนเชิงประจักษห์ รือทฤษฎีทนี่ ำมำใช้
ภาวะผิวหนังพอกนูน (liprohypertrophy)เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ท่ีฉีดอินซูลินสาเหตุเกิดจากการ
ฉีดอินซูลินซ้าที่เดิมเป็นประจ้า ซ่ึงอินซูลินมีฤทธ์ิกระตุ้นให้มีการพอกของเนือเย่ือไขมันใต้ผิวหนังบริเวณท่ีฉีด
เพิ่มขึนและในรายที่เป็นมากจะมีเนือเยื่อพังผืด (fibrosis) เกิดขึนและมีหลอดเลือดมาลียงลดลงท้าให้ผิวหนัง
บริเวณที่อยู่บนรอยโรคมีอาการชาผู้ป่วยมักจะชอบท่ีจะฉีดบริเวณนีเป็นประจ้าเน่ืองจากไม่เจ็บ ภาวะนี
ก่อให้เกิดผลกระทบกับผู้ป่วย คือ นอกจากเกิดความไม่สวยงามแล้วที่ส้าคัญท้าให้อินซูลินท่ีถูกฉีดในบรเิ วณนัน
ดูดซึมไดล้ ดลงเนื่องจากมีเลือดมาเลียงน้อยลงเกิดผลต่อการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดของผปู้ ว่ ย การป้องกัน
สามารถท้าได้โดยการเปลี่ยนที่ฉีดอินซูลินหมุนเวียนกันไป (ธวัชชัย พีรพัฒ)1ต้าแหน่งที่เหมาะสมในการฉีด
อินซูลินได้แก่ บริเวณหน้าท้อง ต้นแขน และต้นขา อินซูลินจะดูดซึมที่บรเิ วณหน้าท้องได้ดีท่ีสุด รองลงมาได้แก่
ต้นแขน และต้นขา ตามลา้ ดบั
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย มีค้าแนะน้าการฉีดยาเบาหวานส้าหรับบุคลากรทางการแพทย์
ได้แก่ต้าแหน่งการฉดี ยาเบาหวานมีส่วนสา้ คัญต่อประสิทธภิ าพและการออกฤทธิ์ของยา การหมนุ เวียนต้าแหน่ง
การฉีดยาให้ถูกต้องเป็นปัจจัยส้าคัญในการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่จากการฉีดยา ต้าแหน่ง
ของการฉีดยารักษาเบาหวานโดยท่ัวไปฉีดเข้าชันไขมันสามารถฉีดได้ทังบริเวณหน้าท้อง ต้นขา 2 ข้าง ต้นแขน
2 ข้าง และการฉดี ยาบรเิ วณหน้าทอ้ งสามารถฉีดได้ท่วั บรเิ วณหนา้ ท้องโดยหลีกเล่ยี งการฉดี ชดิ กบั สะดือในระยะ
3 ซม.หรอื 2 นวิ มือห่างจากสะดือ การหมุนเวียนตา้ แหนง่ ฉดี ควรท้าอย่างมแี บบแผนโดยให้เลื่อนตา้ แหน่งฉีดให้
ห่างกันประมาณ 3 ซม. ไปเร่ือย ๆในต้าแหน่งต่างๆซึ่งจะสามารถฉีดยาโดยไม่ซ้าจุดเดิมอย่างน้อย 1 เดือนใน
บรเิ วณเดยี วกนั 2

จากหลกั การนีผู้ให้คา้ แนะนา้ ในการฉีดอินซูลนิ ส่วนใหญ่จะแนะนา้ ให้ผู้ป่วยฉีดทบ่ี รเิ วณหน้าทอ้ งเป็น
อันดับแรกและให้หมนุ เวียนสลบั ต้าแหน่งไปเร่ือย ๆ แต่พบวา่ ผ้ปู ่วยยงั มีความสับสนในการหมนุ เปลย่ี นตา้ แหน่ง
ผเู้ สนอผลงานและทีมจึงได้มกี ารจดั ทา้ นวตั กรรม INSULIN ROTATION TOOL ขนึ จากการทบทวนความรูต้ าม
หลักวชิ าการตา่ งๆ โดยมกี รอบแนวคดิ ดงั นี

การสอนการฉีดอินซูลินดว้ ย นวตั กรรม - ผปู้ ่ วยฉีดอินซูลินถูกตาแหน่งไม่เกิด
INSULIN ROTATION TOOL ภาวะliprohypertrophy
- ผปู้ ่ วยมีความพงึ พอใจในนวตั กรรม
- ประเมนิ การเกิดภาวะ liprohypertrophy
- สอนและทบทวนวธิ ีการฉีดอินซูลิน
- ใชน้ วตั กรรม INSULIN ROTATION
TOOL เป็ นสื่อการสอนในการเลอื กตาแหน่ง
การฉีดอินซูลิน โดยใหผ้ ปู้ ่ วยฉีดตาม
ตาแหน่งที่กาหนดใหห้ มนุ เวยี นกนั ไปไม่ซ้า
จุดเดิม
- ใหน้ วตั กรรม INSULIN ROTATION
TOOL ผปู้ ่ วยกลบั ไปใชท้ ี่บา้ น
- ติดตามประเมินผลการเกิด ภาวะ
liprohypertrophyในวนั ท่ีมาพบแพทยใ์ นคร้งั
ต่อไป

3. วตั ถุประสงค์
1)ลดการเกิด Lipohypertrophyอตั ราการเกดิ รอ้ ยละ 0
2) ผู้ป่วยมีความพึงพอใจในนวตั กรรมระดบั มากมากกวา่ รอ้ ยละ 80
3) เป็นสอ่ื การสอนในการเลอื กต้าแหนง่ การฉีดอินซลู นิ ท่ีถูกต้อง

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนนิ กำร
การพฒั นาครงั ที่ 1

1. วางแผนการดา้ เนินงาน (PLAN)โดยเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเกิด Lipohypertrophy ในผู้ป่วยเบาหวาน
ท่ีไดร้ ับการฉีดอนิ ซลู ิน

2. ดา้ เนินการจดั ทา้ นวัตกรรม (DO) ไดแ้ ก่ เนน้ ใหแ้ นะน้าการเลือกตา้ แหนง่ การฉีดอนิ ซูลิน สือ่ การสอน
รูปภาพการหมุนตา้ แหน่ง และจัดทา้ คา้ แนะนา้ การเกิด/การปอ้ งกนั ก้อนไตแข็ง ผลติ เอกสารแผ่นพบั แจกผู้ป่วย

3. ติดตามประเมินผล (CHECK)ยังพบผู้ป่วยฉีดอินซูลินรอบสะดือพบ Lipohypertrophy 18 รายและ
แผ่นพับตัวเล็กมองไม่ชัด ไมอ่ ่านแผน่ พับ

4. ด้าเนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม (ACTION)โดยทบทวนนวัตกรรมอ่ืนๆ ในการลดการเกิด
Lipohypertrophyพบวา่ งานวจิ ัยของ วชิรญาณ์ การเกษ และปฐั ยาวชั ร ปรากฏผล3 “ผลของการสอนฉีดยาด้วย
นวัตกรรม GPs Insulin ต่อระดับน้าตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รับการรกั ษาด้วยยาฉีดอินซูลนิ นวัตกรรม
ทา้ เป็นชอ่ งตา้ แหน่งและการหมุนต้าแหน่งฉีดยาอินซลู ิน ผลคือผปู้ ่วยสามารถควบคมุ HbA1C ได้ ทมี จงึ ได้ริเริ่ม
จดั ทา้ แผนท่ฉี ดี ยาแจกใหผ้ ้ปู ่วย
การพัฒนาครังท่ี 2

1. วางแผนการด้าเนินงาน (PLAN)โดยจดั ท้าภาพตา้ แหนง่ การฉีดอนิ ซูลิน การหมนุ ตา้ แหน่งท่ีมีขนาดใหญ่
ขนึ และผลิตแผน่ ตารางฉีดอินซูลินชนดิ กระดาษแจกใหผ้ ูป้ ว่ ย

2. ด้าเนินการจัดท้านวัตกรรม (DO) ได้แก่ ผลิตแผ่นตารางฉีดอินซูลิน ผลิตจากการดาษ A4 100 แก
รม ตัดเป็นช่องบอกต้าแหน่งท่ีฉีดยาได้ เว้นช่องห่างจากสะดือ 2 นิว ก้าหนดเวลาในการฉีดแต่ละช่องเป็นวันที่
แยกเปน็ เชา้ 1 ใบ เย็นหรอื กอ่ นนอนอกี 1 ใบ และแจกใหผ้ ู้ป่วยทกุ รายทีม่ าเรยี นฉดี อนิ ซูลนิ

3. ติดตามประเมินผล (CHECK) ยังพบผู้ป่วยฉีดอินซูลินรอบสะดือฉีดยาซ้าที่เดิม/จ้าไม่ได้ฉีดตรงไหน
และพบ
Lipohypertrophy 15 ราย ปญั หากระดาษขาดผู้ป่วยฉีดยา 2 มือ ไม่รู้จะเลือกอยา่ งไรผู้ปว่ ยไม่ไดใ้ ช้ ลืมเอาไปทิง

4. ดา้ เนินการพัฒนาและปรับปรุงนวัตกรรม (ACTION) จัดทา้ นวตั กรรมให้มีความแข็งแรงขึน ทบทวนวตั กรร
รมอืน่ มีหลายท่ใี ชเ้ ปน็ แผ่นยางซลี ีโคน และกระดาษแข็ง
การพัฒนาครังที่ 3

1. วางแผนการดา้ เนินงาน (Plan)
- ทบทวน วิเคราะห์ ค้นหาวัสดุท่ีมีความคงทนในการจัดท้านวัตกรรมได้แก่ กระดาษเป็นวัสดุที่หา

ง่าย ราคาไม่แพง แต่ขาดง่าย ส่วนซีลีโคนเป็นวัสดุท่ีมีความคงทน มีความยืดหยุ่นเหมือนผิวหนัง แต่ราคาแพง
เฉลย่ี ราคาประมาณ 2,000 บาท/ ชิน ไม่สามารถแจกใหผ้ ู้ปว่ ยได้ และวัสดุชนิดแผ่นยางกันล่ืน ราคาไมแ่ พง มี
นา้ หนกั เบา คงทนสีสนั สวยงาม สามารถแจกให้ผปู้ ว่ ยได้

- สัมภาษณ์สอบถามถึงปัญหา อุปสรรคในการใช้นวตั กรรมเดิม พบว่าการฉีดยาของผู้ปว่ ยบางคนมี
ฉีดยาวันละ 2 ครัง อุปกรณ์ที่ให้ไป มีอันเดียว เลือกไม่ถูกว่าจะฉีดช่องไหนกระดาษขาดง่าย เลอะแล้วท้าความ
สะอาดไมไ่ ด้

2. ด้าเนนิ การจดั ท้านวัตกรรม (DO) ไดแ้ ก่
2.1 จัดหาอุปกรณ์ท้านวัตกรรม ทีมได้ตกลงว่าจะใช้แผ่นยางกันลื่น ซ่ึงเป็นยางท่ีมีความคงทน

นา้ หนกั เบา ท้าความสะอาดไดง้ า่ ย
2.2 จดั ทา้ นวตั กรรม โดยใช้แผ่นยางกนั ลื่น ตัดเปน็ ช่องตารางกา้ หนดต้าแหนง่ ฉีดอนิ ซลู นิ จดุ ท้าเป็น

สีเขยี วคือตา้ แหนง่ ท่ีฉีดยาได้ เมอื่ ฉีดแลว้ ผปู้ ่วยหมุนเป็นสีแดง เพื่อผปู้ ว่ ยจะได้ไมฉ่ ดี ซา้ ท่ีเดิม วธิ ที า้ ดงั นี
2.2.1 จัดเตรยี มอุปกรณ์ ไดแ้ ก่ แผน่ ยางกนั ล่ืน เสน้ เอน็ สต๊ิกเกอร์สแี ดง เขียว เข็มเยบ็ ผา้ ชนิด

ยาว กรรไกร และคัตเตอร์

2.2.2 ขันตอนการประดิษฐ์
- ตดั แผน่ กนั ลนื่ ออกเปน็ ชิน ใหม้ ขี นาด 20*40 cm

- น้าแผน่ กนั ลื่นท่ีตัดขนาด 20*40 cm. มาตดั เปน็ ชอ่ งเล็กๆ ขนาด 2* 2 cm เพอ่ื บอก
ต้าแหนง่ ฉดี และตัดตรงกลางเวน้ ช่องสะดือขนาด 4*4 cm

- นา้ แผน่ ยางแผน่ เลก็ ท่ีได้จากตัดชอ่ งมาตดิ สติ๊กเกอร์ สเี ขยี วและแดง

- ประกอบชินส่วนทต่ี ิดสต๊ิกเกอรส์ ีแดงและเขยี วเขา้ กบั แผ่นกันลนื่ ทต่ี ัดไว้ โดยการร้อยด้าย
เอ็นกบั เขม็ ผูกยึดให้ชนิ สว่ นตดิ เป็นช่องและสามารถหมนุ ได้

- จะได้ นวตั กรรม Insulin rotation toolท่พี ร้อมใช้งาน
-

2.2 วธิ กี ารใช้งาน กอ่ นฉีดอินซูลนิ ให้ผปู้ ่วยนา้ นวัตกรรม Insulin rotation tool วางทาบไว้ทหี่ นา้ ท้อง
ให้สะดอื อยตู่ รงกลางช่องที่ตดั ไว้ ใหผ้ ู้ป่วยเลอื กต้าแหนง่ ทจ่ี ะฉดี ยาโดยเลือกจากจดุ สเี ขยี วในแผน่ นวตั กรรม เม่ือ
เลือกต้าแหน่งที่จะฉีดได้แลว้ ให้หมุนจุดต้าแหน่งที่เลือกเป็นสีแดง เสร็จแล้วผู้ป่วยจา้ ตา้ แหน่งที่เลือกไว้ เอาแผ่น
นวัตกรรมออก และฉีดยาตรงต้าแหน่งท่เี ลือก การฉีดยาในครังต่อไปให้ผู้ป่วยเลือกจุดฉีดที่เป็นสีเขยี วโดยที่ห้าม
ฉีดตรงบริเวณท่ีเป็นสแี ดงแลว้ เพื่อให้ผู้ป่วยไม่ฉีดยาซ้าจุดเดิม และหมุนเวียนตา้ แหน่งไปจนครบ หลงั จากนนั จึง
พลิกสีเขียวกลบั มาใหมห่ มดทงั แผน่ และเริ่มต้นใหม่

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองต้น / สถิติที่ใชท้ ดสอบ
ติดตามผลการด้าเนินการ การเกิด Lipohypertrophyโดยการเปรียบเทียบก่อนและหลังใช้นวัตกรรม และ

ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อนวัตกรรมเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 80พบว่า ก่อนการใช้นวัตกรรมพบมี
Lipohypertrophy จา้ นวน 14 ราย (รอ้ ยละ 41.17) หลงั ใชน้ วตั กรรมไม่พบการเกิด Lipohypertrophy รอ้ ยละ 0
และผู้ป่วยมีความ พึงพอใจในนวัตกรรมในระดับมากร้อยละ 100 และมีข้อเสนอแนะและความคิดเห็น จาก
ผู้รบั บรกิ าร คือ เหน็ วา่ นวัตกรรมนมี ีประโยชน์ในการฉดี ยาโดยเฉพาะผปู้ ว่ ยที่มผี ดู้ แู ลหลายคนท้าใหท้ ุกคนทราบว่าจะ
ฉีดยาตรงไหน
6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์

นวัตกรรม Insulin rotation tool เหมาะส้าหรับผู้ป่วยเบาหวานท่ีฉีดอินซูลินในการลดการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดอินซลู ินได้ ซ่ึงผูป้ ่วยท่ฉี ีดอนิ ซลู นิ มที ุกกลุ่มโรคเบาหวาน ได้แก่ ผปู้ ่วยเบาหวานชนิดที่ 2
ผู้ป่วยเบาหวานเด็ก และหญิงตังครรภ์ที่เป็นเบาหวาน และได้มีการจัดท้าให้กับกลุ่มผู้ป่วยเด็กท่ีเป็นเบาหวาน
และแจกให้กบั มารดาตังครรภท์ ่ีเป็นเบาหวานด้วย โดยใช้ประกอบการสอนในผู้ปว่ ยเบาหวานทกุ รายที่ไดร้ ับการ
สอนการฉีดอินซูลินเพ่ือให้ผู้ป่วยเข้าใจในการหมุนต้าแหน่งฉีดอินซูลิน และแจกให้ผู้ป่วยน้ากลับไปใช้ท่ีบ้าน
และมีแผนการด้าเนินการแจกให้ผู้ป่วยที่ฉีดยาบริเวณหน้าท้องอื่นๆ เช่น ผู้ที่ฉีดยาละลายล่ิมเลือด (enoxa)
ผ้ปู ว่ ยไตวายเรือรังท่ฉี ีดยากระตุ้นเมด็ เลือด

ภายหลังการด้าเนินการแจกให้ผู้ป่วยและญาติน้านวัตกรรมไปใช้ ได้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ ผู้ป่วย
มีขนาดหน้าทอ้ งแตกตา่ งกนั ทงั ในผ้ใู หญ่และเด็ก บางคนอ้วน บางคนผอม นวัตกรรมท่ใี ชม้ ขี นาดเดยี ว คือ ขนาด
รอบเอวประมาณ 32-34 นิว จึงได้พัฒนาเพิ่มขนาดของ นวัตกรรม Insulin rotation tool เป็น 3 ขนาด คือ
size S ของผู้ป่วยเบาหวานในเด็ก size M-L คือ Insulin rotation tool เดิม และ size XL เพ่ิมขนาดให้กับ
ผู้ป่วยมีรอบเอวมากกว่า 34 นิว นอกจากนีได้เพิ่มจุดตรงกลางสะดือ เป็นเครื่องหมายกากบาทเพื่อให้วางได้ถกู
ตา้ แหนง่ มากขึนป้องกนั ความคลาดเคล่ือนในการฉดี ยา
7. สรปุ

นวตั กรรม Insulin rotation tool เปน็ นวตั กรรมที่จดั ท้าเพ่ือใช้เป็นส่ือการสอนและเปน็ อปุ กรณ์ท่ีช่วย
ให้ป้องกันการเกดิ ภาวะ Lipohypertrophy ของผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รบั การรักษาดว้ ยการฉดี อนิ ซลู ิน ได้พัฒนา
ตามแนวทางการฉีดอินซูลินและการเลือกต้าแหน่งที่ถูกต้องและจ้าเป็นต้องมีการหมนุ เวียนต้าแหนง่ ท่ีฉดี อย่างมี
แบบแผนไม่ซ้าจุดเดิม เพ่ือให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการฉีด
คือ Lipohypertrophy ระยะเวลาเก็บข้อมูลเดือนกรกฎาคม 2562- กันยายน 2563 กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ป่วย
เบาหวานท่ีได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน มารับบริการท่ีศูนย์เบาหวาน จ้านวน 35 ราย ติดตามผลการ
ด้าเนินการ การเกดิ Lipohypertrophy โดยการเปรียบเทียบก่อนและหลังใช้นวตั กรรม และความพงึ พอใจของ
ผู้รับบริการต่อนวัตกรรมเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 80 พบว่าผู้ป่วยมีความ พึงพอใจในนวัตกรรมในระดับมาก
รอ้ ยละ 100 ก่อนการใช้นวัตกรรมพบมี Lipohypertrophy จ้านวน 14 ราย (ร้อยละ 41.17) หลังใช้นวตั กรรม
ไมพ่ บการเกิด Lipohypertrophy รอ้ ยละ 0

เอกสำรอ้ำงองิ
1. สทุ ิน ศรีอษั ฎาพร และวรรณี นิธยิ านันท์. โรคเบาหวาน.กรุงเทพฯ:เรือนแก้วการพิมพ์;2548
2. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. ค้าแนะนา้ การฉีดยาเบาหวานสา้ หรับบุคลากรทางการแพทย์.

พมิ พค์ รงั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: คอนเซพท์ เมดคิ ัส จา้ กดั ; 2559
3. วชิรญาณ์ การเกษ และปัฐยาวชั ร ปรกฏผล.ผลของการสอนฉีดยาด้วยนวัตกรรม GPs Insulin ตอ่ ระดับ

นา้ ตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการรักษาด้วยยาฉดี อินซลู ิน.วารสารการพยาบาลและการดแู ลสุขภาพ.
2017; 35(3): 145-154.

12. ชอื่ ผลงำน (Innovation) Mobile toilet

หนว่ ยงำน หอผู้ปว่ ยพิเศษ 5/2 โรงพยำบำล สริ ินธร

นวัตกร (Innovator) นางสาวอรกญั ญา ทรัพยท์ องค้า ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัตกิ าร

1. มลู เหตุจูงใจ

ผู้ป่วยหลังผา่ ตัด หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรือเดินล้าบาก มีความต้องการใช้ห้องสุขาเพื่อการขับถ่าย

ปัสสาวะ/อุจจาระ เน่ืองจากไม่สะดวกในการนอนขับถ่ายบนเตียง และญาติกดสัญญาณแจ้งพยาบาลไม่ทันใจ

ผู้ปว่ ย ทา้ ใหเ้ กิดอบุ ัตกิ ารณก์ ารพลัดตกหกล้มในปีงบประมาณ 2563 มที ังหมด 5 ราย แบง่ เปน็ ระดับ C จ้านวน

1 คน, D จ้านวน 2 คน และ F จา้ นวน 2 คน

2. สมมตฐิ ำนหรอื หลักฐำนเชงิ ประจักษ์หรอื ทฤษฎีทน่ี ำมำใช้

เป็นการประยุกต์ใชอ้ ุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีชา้ รุด หรือไม่ได้ใช้งานแล้วประเภทรถเข็นน่ัง น้ามาดัดแปลง

ประดิษฐ์ท้าให้ผู้ป่วยน่ังขับถ่ายบนรถน่ัง โดยวางหม้อนอนรองรับสิ่งปฏิกูล เพื่อน้าไปเทในถังชักโครก สามารถ

ท้าความสะอาดภายหลังผู้ป่วยขับถ่าย เป็นการลดการเกิดอุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม จากการที่ผู้ป่วยช่วยเหลือ

ตัวเองได้น้อย หรือเดินล้าบาก ต้องการเดินไปห้องนา้ และช่วยลดค่าใชจ้ ่ายในการจัดซืออุปกรณ์ทางการแพทย์

ใหมท่ ่จี ัดทา้ จ้าหน่ายเฉพาะ ในราคาทสี่ งู

3. วตั ถุประสงค์

เพ่ือลดอัตราการเกดิ อันตราย จากอบุ ตั กิ ารณก์ ารพลดั ตกหกลม้

4. แผนกำร/ ขนั ตอนกำรดำเนนิ กำร

4.1 น้ารถเข็นนั่งผู้ป่วยที่ไม่ได้ใช้แล้ว มาตัดต่อดัดแปลงในส่วนของเบาะน่ังเสริมด้วยแผ่นอลูมิเนียม

เจาะเปน็ ช่องสา้ หรับขบั ถ่าย

4.2 น้าวัสดุฟองน้า และแผน่ หนังหุ้มในสว่ นของทน่ี ัง่ ให้เรยี บร้อย

4.3 เช่ือมดามโครงใหแ้ ขง็ แรงเพื่อตดิ ตงั ถาดรอง Bed pan

4.4 ประกอบแผน่ ท่นี งั่ ทีเ่ จาะรูและหุ้มเรียบรอ้ ยแลว้ เขา้ กบั ตัวรถเข็นนั่งใหแ้ น่นหนา

5. ผลกำรทดลอง / ทดสอบเบอื งต้น / สถติ ิทใี่ ช้ทดสอบ
จากการประเมินผลการใช้งาน Mobile Toilets ของผู้ป่วย ความพึงพอใจจากการใช้งานมีร้อยละ 70

ปัญหาท่ีพบคือ ผู้ป่วยยังรู้สึกไม่สุขสบายจากการใช้งาน เนื่องจากไม่มีสายฉีดช้าระ การท้าความสะอาด
ภายหลังการขับถ่ายจึงยังมีความยากล้าบาก จึงเกิดข้อเสนอแนะในการพัฒนางาน โดยการติดตังสายฉีดช้าระ
ไว้กบั ตัว Mobile Toilets

ผลลัพธ์
1. อุบตั ิการณก์ ารพลัดตกหกลม้ จา้ นวน 0 ราย
2. ผปู้ ว่ ยพงึ พอใจกบั การใช้ Mobile toilet มากกวา่ ร้อยละ 90
3. ผปู้ ฏบิ ัตงิ านมคี วามพงึ พอใจ มีความสะดวกในการดูแลผู้ปว่ ยมากกวา่ ร้อยละ 90

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
น้า Mobile toilet มาเตรียมไว้ข้างเตียงผู้ป่วย ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยนั่งขับถ่าย เสร็จเรียบร้อยใช้สายฉีด

ช้าระด้วยน้า น้าไปเทลงถังรองรับปฏิกูล ถังชักโครก และท้าความสะอาดให้เรียบร้อย ปัจจุบันใช้งานในหอ
ผู้ป่วยพเิ ศษ อย่รู ะหวา่ งประเมนิ การใชง้ านเพอ่ื จัดท้าเพมิ่ ใชง้ านในหอผ้ปู ว่ ยสามัญ
7. สรุป

นวัตกรรม mobile toilet นีผลิตจากรถเข็นน่ังที่มีผู้บริจาค ใช้งานไม่ได้ตามปกติ น้ามาดัดแปลง
ประดิษฐ์ท้าให้ผ้ปู ว่ ยนั่งขบั ถา่ ยบนรถนั่ง โดยวางหม้อนอนรองรับส่ิงปฏิกลู เพ่ือนา้ ไปเทในถังชกั โครก และมกี าร
ติดตังสายฉีดช้าระไวก้ ับตัว Mobile Toilets สามารถล้างท้าความสะอาดอวยั วะสืบพันธุภ์ ายหลังผู้ปว่ ยขับถ่าย
เป็นการลดการติดเชือ และการเกิดอุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม จากการที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อย หรือ
เดินล้าบาก ต้องการเดินไปห้องน้า และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซืออุปกรณ์ทางการแพทย์ใหม่ ที่จัดท้า
จา้ หน่ายเฉพาะ ในราคาท่สี ูง

ผลลพั ธ์
1. อุบตั ิการณ์การพลัดตกหกลม้ จ้านวน 0 ราย
2. ผ้ปู ่วยพึงพอใจกับการใช้ Mobile toilet มากกว่าร้อยละ 90
3. ผ้ปู ฏิบัตงิ านมคี วามพงึ พอใจ มคี วามสะดวกในการดูแลผูป้ ่วยมากกวา่ รอ้ ยละ 90

13.ช่อื ผลงำน (Innovation) Susceptibility Test Speeding

หน่วยงำน กล่มุ งานเทคนคิ การแพทย์ โรงพยำบำล สริ ินธร

นวตั กร (Innovator) 1.นายอาทติ ย์ พงุ ไธสง ตำแหน่ง นกั เทคนิคการแพทย์ปฏบิ ตั ิการ

2.นายชัชวาล ดา้ ชมทรพั ย์ ตำแหน่ง พนกั งานทว่ั ไป

1.มลู เหตจุ งู ใจ

ด้วยความหลากหลายด้านโรคภัยไข้เจ็บของประชาชนที่เพ่ิมมากขึน เพ่ือให้การวินิจฉัยโรคของแพทย์

เป็นไปอย่างถูกต้องและแม่นย้า ผู้ป่วยได้รับการรักษาทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ จึงมีการส่งตรวจทาง

หอ้ งปฏิบัติการประกอบการวินจิ ฉัยโรค การรักษา และการตดิ ตามการรกั ษา ในปัจจุบนั ผมู้ ารบั บรกิ ารมีจ้านวน

เพิ่มขึน ท้าให้การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการมีปริมาณเพิ่มขึนด้วย ในส่วนห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาคลินิก

กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ ซึ่งท้าการเพาะเชือจากส่ิงส่งตรวจชนิดต่างๆ ได้แก่ Hemoculture, Urine,

Sputum, CSF, Pus, และBody Fluid จากสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย เปน็ ตน้ มีขันตอนการท้างานที่ซบั ซ้อน ตอ้ ง

อาศัยความช้านาญของเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน ในแต่ละขันตอนต้องใช้ระบบ Manual เป็นส่วนใหญ่ จึงใช้

เวลานานในการปฏิบัติงาน ด้วยเหตุนีจึง ได้ร่วมกันอภิปรายและระดมความคิดเพ่ือคิดค้นสิ่งประดิษฐ์หรือ

นวัตกรรมขึนมา เพ่ือลดระยะเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพในการท้างาน ท้าให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถท้างานได้มี

ประสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ มากขนึ

2.สมมติฐำนหรือหลักฐำนเชิงประจกั ษ์หรือทฤษฎที ่ีนำมำใช้

เนื่องด้วยการปฏบิ ัติงานส่วนใหญ่ของห้องปฏิบัติการจลุ ชีววทิ ยาคลินิกเปน็ ระบบ Manual จงึ มแี นวคิด

ในการใช้นวัตกรรม Susceptibility Test Speeding โดยน้าการท้างานด้วยระบบไฟฟ้า มาใช้ในการท้างานใน

ส่วนของการกระจายเชือเพื่อวางแผ่นยาทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ (Streak plate & Susceptibility

test) ซึ่งมีการทดลองและปรับแก้ให้เกิดความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ เพ่ือช่วยให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน

สามารถใชง้ านไดส้ ะดวก และทา้ ใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานรวดเรว็ มากขนึ ลดขนั ตอน Manual นอ้ ยลง

3.วตั ถปุ ระสงค์

พัฒนาสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมท่ีคิดค้นขึนมาให้ใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อ

เจา้ หนา้ ทปี่ ฏิบตั ิงาน สามารถปฏิบตั งิ านไดส้ ะดวก รวดเรว็ และลดระยะเวลาในขันตอนท่ีต้องท้าแบบ Manual

4.แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนนิ กำร

เลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องส้าหรับส่ิงประดิษฐ์ ประกอบด้วย มอร์เตอร์พัดลม ตัวปรับความเร็ว
แผงวงจรไฟฟ้า จานรองอาหารเลียงเชือส้าหรับทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ อุปกรณ์ควบคุมความเร็วด้วย
เทา้ อุปกรณค์ รอบตัวเครือ่ ง และน้ามาประกอบเปน็ ตวั เครอ่ื ง
5.ผลกำรทดลอง/ทดสอบเบอื งต้น/สถติ ิที่ใชท้ ดสอบ

1. สามารถลดระยะเวลาในขนั ตอนการท้าการทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชพี (Susceptibility Test)
โดยใช้นวัตกรรมแทนการ Streak plate แบบ 3 quadrant อยา่ งมนี ยั ส้าคัญทางสถติ ิ p < 0.05

2. สามารถลดระยะเวลาในขนั ตอนการท้าการทดสอบความไวต่อยาตา้ นจุลชีพ (Susceptibility Test)
ในขนั ตอนการวดั Zone size ของแผน่ ยาตา้ นจุลชีพ อยา่ งมนี ัยส้าคัญทางสถติ ิ p < 0.05

3. เจ้าหนา้ ทผ่ี ้ปู ฏิบัติงานมคี วามพึงพอใจรอ้ ยละ 95.8
6.กำรนำไปใช้ประโยชน์

น้านวตั กรรมทปี่ ระดิษฐ์ขนึ ไปใชใ้ นขนั ตอนการทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพ (Susceptibility Test)
แทนการ Streak plate ดว้ ยวธิ ี Manual แบบ 3 quadrant
7.สรปุ

นวัตกรรม Susceptibility Test Speeding ผลิตจากวัสดุอุปกรณ์ที่สามารถหาซือได้ตามท้องตลาด
ทั่วไปและวัสดุเหลือใช้ น้ามาประยุกต์ใช้ประกอบเป็นตัวเคร่ือง ซึ่งสามารถใช้งานได้ง่าย โดยการเปิดปิดสวิตซ์
และป่มุ ปรับความเร็วด้วยมือ ควบคมุ ความเร็วด้วยเทา้ ควบคมุ การท้างานดว้ ยแผงวงจรไฟฟ้า และทา้ ความเร็ว
ด้วยตัวมอเตอร์พัดลม ซึ่งออกแบบและประดิษฐ์ขึนเพ่ือลดระยะเวลาการปฏิบัติงานแบบ Manual และเพ่ิม
ประสิทธิภาพการท้างาน ช่วยให้เจ้าหน้าที่ผปู้ ฏิบัติงานสามารถรายงานผลให้แพทย์ทราบได้รวดเรว็ และถูกต้อง
มากยง่ิ ขึน อันเป็นประโยชน์ต่อผปู้ ่วยต่อไป

แบบ manual แบบใชเ้ ครือ่ ง

14. ชอ่ื ผลงำน (Innovation) Rule engine เพื่อพฒั นำกำรรำยงำนผลตรวจ HbA1c

ในระบบ LIS ดว้ ยโปรแกรม Cobas IT 5000 THE

หน่วยงำน กลมุ่ งานชันสตู รโรคกลางและธนาคารเลอื ด โรงพยำบำล หลวงพ่อทวศี ักด์ิ ชุตินฺธโฺ ร อทุ ิศ

นวัตกร (Innovator) นางสาวปวณี า ดแี จ่ม ตำแหน่ง นักเทคนคิ การแพทย์ปฏิบตั ิการ

1. มลู เหตจุ ูงใจ

ตามแนวทางส้าหรับโรคเบาหวาน 2560 รายการตรวจ HbA1c เป็นรายการตรวจส้าหรับวินิจฉัยและติดตามการ

รักษาโดยตรวจในห้องปฏิบัติการท่ีได้มาตรฐาน มีการควบคุมคุณภาพและมีการแปลผลท่ีถูกต้อง เน่ืองจากการตรวจ

HbA1c ด้วยหลักการ HPLC นันมีปัจจัยที่รบกวนการทดสอบ ได้แก่ ความผิดปกติของฮีโมโกบิล เช่น Hb E , Hb H

disease, variant Hb และ hemolytic anemia ดังนันเพ่ือให้ได้ผลท่ีถูกต้อง ทันเวลา และมาตรฐาน ทางกลุ่มงาน

ชันสูตรโรคกลางฯ จึงได้ท้าการก้าหนดการรายงานผลโดยพิจารณาจากการส่ง flag ท่ีมาจากเครื่องตรวจวิเคราะหร์ ุน่

Tosoh G8 กับระบบ LIS ของห้องปฏิบัติการและก้าหนด use cases ในการแปลผล rule engine เพ่ือให้เจ้าหน้าที่

ทกุ ท่านสามารถปฏบิ ตั ิงานตามแนวทางและรายงานผลถกู ตอ้ ง

2. สมมติฐำนหรือหลักฐำนเชิงประจกั ษ์หรือทฤษฎที ่ีนำมำใช้

เม่อื เคร่ืองตรวจวเิ คราะห์เชื่อมต่อกับระบบ LIS มกี ารส่งข้อมูลผปู้ ว่ ย, รายการตรวจ, ผลการตรวจและ flag เม่ือมี

การสร้าง rule engine เมื่อมีการส่ง flag มาจากเคร่ืองจะประมวลผลตามกฎท่ีส้าคัญในการรายงาน หากก้าหนด

rule engine ของแต่ละ flag และแนวทางการรายงานผลที่ถูกต้องจะท้าให้ได้ข้อมลู ผลการตรวจวิเคราะหถ์ ูกต้อง

Code ผล ควำมหมำย
02 Low A1c อาจพบความผิดปกตขิ องเม็ดเลอื ดแดง แปลผลดว้ ยความระมดั ระวงั
Homozygous HbE ท้าให้ค่า %HbA1c ต้่ากว่า 4
43 ออกคา่ ตรวจได้ ตรวจพบ Hb E สงสยั คนไขม้ ีภาวะ Heterozygous HbE

45 Change สงสัยคนไข้มีภาวะโรค Homozygous HbE : No HbA, No HbA1c/ไม่แนะนา้
ใช้ HbA1c ในรักษา
30 or Change สงสยั คนไข้มภี าวะโรค HbH disease or variant Hb or hemolytic anemia/
07 ไม่แนะนา้ ใช้ HbA1c ในรักษา
01 Area too คนไข้อาจมีความปกตขิ องความเข้มขน้ ของเลอื ดหรือปริมาตรของเลือดไม่
low/high เพียงพอ
03 Not recommend Hb F>30% ซ่งึ รบกวนทกุ หลักการ
35 Abnormal Hb สงสยั ภาวะความผดิ ปกตขิ อง Hemoglobin (variant Hb)

3. วตั ถปุ ระสงค์
3.1. อตั ราการรายงานผลผิดพลาดของ HbA1c = 0%
3.2. การลดค่าใชจ้ ่ายในการตรวจวิเคราะห์ HbA1c ท่ีไม่สามารถตรวจได้ด้วย HPLC

4. แผนกำร/ขนั ตอนกำรดำเนินกำร

ขันตอน ระยะเวลำ ผรู้ บั ผิดชอ งบประมำ ติดตำมผล
บ ณ
1.ตรวจสอบการเชอื่ มต่อ 18 ม.ค. 65 - ตรวจสอบ communication
เครื่องตรวจวเิ คราะห์ Tosoh (1วนั ) IT Roche จากเคร่ือง ตรวจวิเคราะหก์ ับ
G8 กบั ระบบ LIS /ปวณี า - ระบบ LIS ทดสอบด้วย HN
20 ม.ค. 65 ตรวจสอบการตงั ค่าการสง่ flag
2. ประสาน Specialist ของ (1วัน) Specialist - ท่เี ครอื่ งตรวจวิเคราะห์
เครื่อง Tosoh G8 ก้าหนด ปวีณา -
flag 21 ม.ค.65 - เขยี นแนวทาง/สร้างรายการ
ในการแปลผล Specialist ตรวจในระบบ LIS
22 ม.ค. 65 /ปวณี า ทดสอบ error ของ rule
3. ก้าหนด use case IT Roche engine ทีต่ ัง
ในการแปลผล (ดังภาพ) 23 ม.ค. /ปวณี า รวบรวม sample ท่มี ีความ
65- ปวีณา ผิดปกตขิ อง Hb มาทดสอบ
4. สร้าง Rule engine 1 มี.ค.65 MT-chem ตรวจสอบกราฟ และ flag
ในการแปลผล

5. ทดสอบระบบ

5. ผลกำรทดลอง/ทดสอบเบืองต้น/สถิติทีใ่ ช้ทดสอบ
5.1 อตั ราการรายงานผลผิดพลาดของ HbA1c ประจา้ เดอื น ก.พ. 65 = 0%
5.2 การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการตรวจวิเคราะห์ HbA1c ท่ีไม่สามารถตรวจไดด้ ้วย HPLC ในเดอื น ก.พ. 65

1,700 บาท (รายการตรวจทังหมด 767 ราย รายที่ออกคา่ ไมไ่ ด้ 17 ราย คิดเปน็ 2.2%

ลำดั กอ่ นนำนวตั กรรมไปใช้ หลงั นำนวตั กรรมไปใช้



1 ตรวจสอบผล Hba1c ได้แก่ ตรวจสอบ flag ท่สี ง่ ใน LIS ถา้ ในรายท่ีออกผล

RT(SA1C,%HbF<30, Total area>500, ไม่ได้ จะไมส่ ง่ คา่ มาในระบบ LIS

Flag, Graph

2 เขา้ เครื่อง HbA1c ดว้ ยหลกั การ HPLC ก่อน ในรายผู้ปว่ ยท่ีมปี ระวตั ิ HbA1c ดว้ ยหลักการ

หากออกผลไม่ไดจ้ ะนา้ ไปท้าด้วยหลักการ HPLC จะน้าไปท้าการทดสอบดว้ ยหลกั การ

boronate Boronate เลย

3 ตอ้ งจดจ้าแนวทางการายงานผลเอง และ การรายงานผลถกู สร้างในระบบ LIS จะมกี ารเพิม่

เลือก comment ให้ถูกต้อง ซ่งึ พบการ รายการตรวจท่ีต้องท้า และ comment ใหอ้ ตั โนมัติ

รายงานผล HbA1c ผิดพลาด 3 ราย ทา้ ใหร้ ายงานผลทุกรายถูกต้อง

4 ไมส่ ามารถแยกกลมุ่ ผู้ป่วยทไ่ี ม่สามารถ มกี ารบนั ทึกข้อมูลของผู้ป่วย เพ่ือแยกกลุ่มผู้ปว่ ย

รายงานผล HbA1c ด้วยหลกั การ HPLC ทส่ี ามารถตรวจด้วยเคร่ือง HPLC, Boronate

และ

ไม่สามารถตรวจได้

6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์

1. ปรับแนวทางการายงานผลของการตรวจ HbA1c ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนปฏิบัติได้ถูกต้อง เป็นมาตรฐาน

เดยี วกนั

2. สามารถลดค่าใช้จ่ายได้การตรวจ HbA1c ได้ประมาณ 16,000 บาท/ปี (จาก HbA1c ปี 2564 ประมาณ

8,000 ราย/ปี

3. ผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาลในกลุ่มที่ abnormal Hb (Hb EA) และกลุ่ม hemolytic anemia ที่ท้าให้ค่า

HbA1c ตา่้ กวา่ ความเป็นจรงิ เพ่อื นา้ ปญั หาเข้าสคู่ ณะกรรมการบริหารของโรงพยาบาล เพ่อื วางแผนในการรกั ษา

7. สรปุ

การสรา้ ง Rule engine ในระบบ LIS เพ่อื พัฒนาการรายงานผล HbA1c โดยโปรแกรม Cobas IT 5000

ในการก้าหนด Rule ตา่ งๆ ที่ และจ้ากัดสทิ ธใิ์ นการแกไ้ ขข้อมลู การรายงานผล HbA1c ด้วยหลักการ HPLC

ตอ้ งตรวจสอบกราฟของการวัดค่าท่ีได้, RT, total area และpeak ของ Hb ชนดิ ต่างๆ ทา้ ใหผ้ ูป้ ฏิบัตติ อ้ งมี

ความรใู้ นการตรวจสอบ ทา้ ให้มโี อกาสผลผิดพลาด ดงั นันการพัฒนา Rule engine โดยสรา้ ง condition ในการ

พิจารณา flag ท่ีสง่ มาจากเคร่ืองตรวจวิเคราะห์ ก้าหนดการเพ่มิ รายการตรวจใหล้ งผลและcommentจากระบบ

LIS เพ่อื รายงานผลไปยัง e-HIS ได้ถูกต้องจะทา้ ให้เจ้าหน้าท่ปี ฏบิ ตั เิ ป็นมาตรฐาน เพอ่ื ลดอตั ราการรายงานผล

ผิดพลาด ลดคา่ ใช้จา่ ยในการตรวจวิเคราะห์

15. ช่ือผลงำน (Innovation) Mini retractor จิ๋วแจว๋ ถกู ใจ ถ่ำงไวใ้ ห้ตัด

หน่วยงำน หอ้ งตรวจผปู้ ่วยนอกศลั ยกรรมกระดูก ฝ่ายการพยาบาล โรงพยำบำล เวชการุณยร์ ศั มิ์

นวัตกร (Innovator) นายมนตรี ลานา้ ค้า ตำแหนง่ พยาบาลเทคนิคชา้ นาญงาน

1.มลู เหตุจูงใจ

คนไข้ที่มีปัญหาเรื่องนิวล็อค(trigger finger) หรือพังผืดข้อมือรัดเส้นประสาท( carpal tunnel

syndrome)มีข้อบ่งชีต้องผ่าตัดแผลผ่าตัดมีขนาดประมาณ 1-2 เซ็นติเมตรในปัจจุบันบางครังมีความกว้างของ

อุปกรณ์ถ่างแผล ( senn retractor) ที่ใหญ่ ท้าให้เป็นอุปสรรคต่อการผ่าตัด ที่มุ่งเน้นให้เกินแผลผ่าตัดที่เล็ก

ที่สุด(minimal invasive surgery) จึงมีแนวคิดว่า เคร่ืองมือถ่างแผลท่ีมีขนาดเล็ก จะช่วยไม่ต้องเปิดแผลใหญ่

และชว่ ยใหแ้ พทย์ผา่ ตัดได้สะดวกขนึ

Trigger finger middle finger Rt hand Senn retractor A1pulley release middle finger Rt hand

2.สมมตฐิ ำนหรือหลกั ฐำนเชิงประจักษห์ รือทฤษฎที ี่นำมำใช้
แนวคิดการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพของแพทย์ที่ผ่าตัดมากย่ิงขึน

แผลผ่าตัดเล็กลงป้องการการติดเชือน้อยลง โดยใช้ Kirschner wire เป็นวัสดุท่ีใช้ดามกระดูก วัสดุท่ีใช้จึงมี
ความปลอดภัย และใช้กับร่างกายมนุษย์ได้ อ้ำงอิง ศ.นพ.คณิตศ์ สนั่นพานิช (Hand ortho clinic ) ภาควิชา
ศัลกรรมออร์โธปดิ กิ ส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
3.วตั ถุประสงค์

1.ศลั ยแพทย์มีความพงึ พอใจ
2.แผลผา่ ตัดเล็กลง
3.แผลหายเรว็ ขนึ ปอ้ งกันการติดเชอื
4.แผนกำร/ขนั ตอนกำรดำเนนิ กำร
การพัฒนานวตั กรรมครงั ที่ 1 โดยใช้ Kirschner wire เป็นวสั ดุที่ใชด้ ามกระดกู ดัดลวดเป็นรูปตวั V
ตามท่ีออกแบบไว้
ปัญหำที่พบ แรงยืดหยุน่ ในการถา่ งแผลไมส่ ม่า้ เสมอ

การพฒั นา นวตั กรรม Carpal tunnel release Rt wrist
กลดั เพ่อื เกิดแรง
ครังที่ 2 เพิ่มเข็ม
ถ่างจากสปรงิ

เข็มกลดั Mini retractor

A1pulley release ring finger Lt hand

ปัญหำที่พบ 1. ปลายของตัวถา่ งแผลยาว พน้ สูงจากขอบแผล ขวางการตดั ปลอกเอน็
2. ตวั ถา่ งแผล พลกิ และล้ม เพราะเปน็ ลวดเสน้ เดยี ว

การพัฒนานวัตกรรมครัง 2 เพ่ิมขนาดตัวถ่างแผลให้มีพืนท่ีกว้างขึน และตัวถ่างแผลให้สันลง

Mini retractor Mini retractor

A1pulley release ring finger Lt hand

อปุ กรณ์ 1. ลวด Kirschner wire ขนาด 0.1 มม.ยาว 1เซนติเมตร เส้นละ 50 บาท

2. คมี ดดั ลวด 2 อนั

3. ไม้บรรทัด

วธิ ีท้า 1. ตดั ลวดให้ได้ขาด 15 ช.ม 2.ดดั ลวดตามรปู ทีอ่ อกแบบไว้

Trigger finger / A1pulley release Carpal tunnel syndrome / carpal tunnel release

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบอื งตน้ / สถิติท่ใี ชท้ ดสอบ

Mini retractor ขนาดของแผล ระยะการหายของแผล ความพงึ พอใจของ

ผ่าตดั ศลั ยแพทย์

พัฒนานวตั กรรมตรงั ท่ี 1 2 cm 10 วนั 80

พฒั นานวัตกรรมตรังท่ี 2 1.5 cm 7 วนั 95

พฒั นานวตั กรรมตรงั ที่ 3 1.5 cm 7 วนั 95

6.กำรนำไปใช้ประโยชน์

Mini retractor ใช้ในการถ่างแผลผ่าตัดท่ีมีขนาดเล็กอย่างอ่ืนได้ ช่วยให้แพทย์ผ่าตัดได้สะดวกขึน เช่น open

ganglionectomy, ถุงไขมนั (Sebaceous cyst)

7.สรปุ

ศัลยแพทย์มีความพึงพอใจในการใช้อุปกรณ์ถ่างแผล Mini retractor 95% เน่ืองจากสะดวกในการท้า

หตั ถการ ไมเ่ ปน็ อุปสรรคในการตัดปลอกเอน็ แผลผ่าตดั เลก็ ลง 0.5 เซนตเิ มตร หลังผ่าตดั คนไข้ไมเ่ จ็บมากแผล

หายเรว็ กวา่ เดมิ 3 วนั

16. ช่อื ผลงำน (Innovation) Covid System Service Platform (CSSP)

หนว่ ยงำน เวชศาสตรช์ มุ ชนและเวชศาสตรผ์ สู้ ูงอายุ โรงพยำบำล ราชพพิ ัฒน์
นวตั กร (Innovator) นายชัยเมธ เมธคี ณุ าภรณ์ ตำแหนง่ นกั กจิ กรรมบา้ บดั
1. มูลเหตุจูงใจ

จากสถานการณ์การระบาดของ โควิด-19 พบว่าต้องขยายการให้บริการผู้ป่วย โดยใช้ระยะเวลา

ด้าเนินงานจนถึงเข้าการรับการรักษาเฉลี่ย 71.42 ชั่วโมง การเก็บข้อมูลโดยบันทึกลงบนกระดาษเพ่ือส่ง

ประสานงานหลายหน่วยงาน พบข้อผิดพลาดหรือสูญหายของข้อมูลที่ท้าให้ไม่ได้รับบรกิ าร ร้อยละ 17.34 เกิด

การรักษาผู้ป่วยล่าช้า อุบัติการณ์ผู้ป่วยอาการทรุดลงจากการเปลีย่ นกลุ่มสีอาการ จากกลุ่มอาการสีเขียวเป็นสี

เหลืองหรือสแี ดง ร้อยละ 15.12 นวัตกรจงึ นา้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาสรา้ งระบบบริหารจดั การผู้ปว่ ยโควดิ -19 เพื่อ

ลดระยะเวลาด้าเนนิ งาน ลดข้อผดิ พลาดหรอื สญู หายของข้องมูล และผ้ปู ่วยไดร้ ับการรกั ษาท่ีทนั ท่วงที

2. สมมตฐิ ำนและแนวคดิ ทำงวทิ ยำศำสตรท์ นี่ ำมำใช้
สมมติฐาน : ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดเก็บ ให้มีความสะดวก

รวดเรว็ และชว่ ยลดปัญหาด้านการสญู หายของ (จฑุ ามาศ ศรคี รฑุ ,ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนกิ ส์,2556)
3. วัตถุประสงค์

3.1 เพอ่ื ลดระยะเวลาดา้ เนินงานจนถงึ เขา้ การรบั การรักษาเฉลีย่ ไม่เกนิ 48 ชัว่ โมง
3.2 เพือ่ ลดข้อผิดพลาดหรือสูญหายของขอ้ มูลที่ท้าใหไ้ ม่ได้รับบรกิ ารไม่เกินร้อยละ 5
3.3 เพื่อลดอบุ ตั ิการณผ์ ู้ปว่ ยอาการทรดุ ลงจากการเปล่ียนกลุ่มสอี าการไมเ่ กินร้อยละ 10
4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนินกำร
กระบวนการเดิมหลังจากทต่ี รวจพบเชอื โควดิ -19 เจ้าหนา้ ที่โทรตดิ ตอ่ ผูป้ ่วย และส่งข้อมลู เขา้ ระบบ
การรกั ษา
ครังที่ 1 : นวัตกรปรับระบบโดยการน้า Google Platform มาประยุกต์ใช้ในการเก็บข้อมูลแทน โดย
ให้ผู้ป่วยลงทะเบียนด้วยตนเอง เจ้าหน้าท่ีโทรยืนยันข้อมูล ก่อนส่งเข้าระบบการรักษา ลดระยะเวลารอคอย
เฉล่ียเป็น 35.84 ช่ัวโมง แต่ยังพบอุบัติการณ์ผู้ป่วยอาการทรุดลงจากการเปล่ียนกลุ่มสีอาการ จากกลุ่มสีเขียว
เปน็ กลุม่ สีเหลืองหรือสีแดง รอ้ ยละ 13.15 เนื่องจากการโทรตดิ ต่อเปน็ ไปตามล้าดบั เวลาทีล่ งทะเบยี น
ครังท่ี 2 : จัดล้าดับผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว เหลือง แดง ตามความเร่งด่วนของอาการ โดยปรับให้ Google
Sheet มีการเตือนแถบสีเหลือง แดง ตามค้าสา้ คญั อาทิเชน่ หายใจเหน่ือยหอบเปน็ สีเหลือง แน่นหนา้ อกเป็นสี
แดง ท้าให้เจ้าหน้าท่ีสามารถโทรติดต่อกลุ่มท่ีมีความเร่งด่วนให้เข้ารับการรักษาอย่างทันท่วงที แต่โรงพยาบาล
ได้มีการขยายบริการการรักษา ได้แก่ โรงพยาบาลหลัก ศูนย์พักคอย Hospitel และ Home Isolation พบ
ปัญหาขอ้ มูลและเอกสารติดต่อระหว่างหน่วยงานผิดพลาดหรือสูญหาย

รูปช่องทางลงทะเบยี นผปู้ ่ วย รูป Google Form ลงทะเบยี น รูปการเตอื นแถบสี

ครังท่ี 3 : พัฒนา Google Sheet เป็นระบบประสานงานระหว่างหน่วยงานออนไลน์ โดยผู้ป่วย
สามารถเลือกช่องทางการรับการรักษาได้ด้วยตนเอง แต่ละหน่วยงานสามารถเข้าถึงข้อมูลและประสานกับ
ผู้ป่วยโดยตรงให้เข้าถึงการรักษาได้ทันที ลดระยะเวลารอคอยเฉล่ียเป็น 36.52 ชั่วโมง ปัญหาข้อมูลผิดพลาด
หรือสูญหายลดลง เป็นร้อยละ 8.43 แต่ยังพบปัญหาท่ีผู้ป่วยลงข้อมูล เลขบัตรประชาชน หรือเบอร์โทร
ไม่ครบถ้วน และผู้ป่วยไม่ทราบข้อมูลท่ีลงทะเบียนไว้ เนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลที่ตนเองลงทะเบียน
มาได้

ครงั ท่ี 4 : สรา้ ง Code ใน Google Script ใหร้ ะบบสามารถตรวจสอบเลขบัตรประชาชนหรือเบอร์โทร
เม่ือลงข้อมูลไม่ครบถ้วนให้มีการแจ้งเตือนก่อนการลงทะเบียน และเชื่อมต่อกับระบบประสานงานออนไลน์ ให้
ผู้ป่วยสามารถสบื ค้นขอ้ มูลและตรวจสอบสถานะการด้าเนินงานของตนเองได้ เม่อื พบว่ามกี ารลงข้อมูลผดิ พลาด
หรืออาการเปล่ียนไปจากเดิมสามารถท้าการอัพเดตข้อมูลได้ด้วยตนเอง เมื่อผู้ป่วยอัพเดตข้อมูลระบบจะแสดง
แถบสีแจ้งเตือนเจ้าหน้าที่ ท้าให้ระยะเวลาการด้าเนินงาน ข้อผิดพลาดหรือสูญหายของข้อมูลมีจ้านวนลดลง
และผู้ปว่ ยได้รับการรกั ษาอย่างทันท่วงที

รูปตวั อยา่ งการประสานงานระหวา่ งหน่วย รูประบบตรวจสอบขอ้ มูล

5. ผลกำรทดลอง
5.1 ระยะเวลาดา้ เนนิ งานจนถงึ เข้าการรบั การรักษาเฉลย่ี จากเดิม 71.42 ชัว่ โมง เป็น 26.27 ชว่ั โมง
5.2 ข้อผิดพลาดหรอื สูญหายของขอ้ มูลทีท่ ้าให้ไม่ได้รบั บรกิ ารจากเดมิ ร้อยละ 17.34 เปน็ รอ้ ยละ

4.39
5.3 อบุ ตั ิการณผ์ ู้ปว่ ยอาการทรดุ ลงจากการเปล่ยี นกลุ่มสี จากเดมิ ร้อยละ 15.12 เป็นรอ้ ยละ 4.74

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์
สามารถน้ามาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการผ้ปู ว่ ยโควดิ -19ในหนว่ ยงานต่างๆภายในโรงพยาบาล เชน่ คลนิ ิก

ARI ,Hospitel ,Home Isolation และภายนอกโรงพยาบาล เช่น ศนู ย์เอราวัณ
7. สรุป

Covid System Service Platform เป็นเทคโนโลยีดจิ ิตัลระบบออนไลน์ ที่สามารถช่วยให้ผู้รับบริการ
เกิดความสะดวกรวดเร็วในการเข้ารับบริการมากยิ่งขึน ช่วยลดระยะเวลาการด้าเนินงาน ลดข้อผิดพลาดหรือ
สูญหายของข้อมูล บริหารจัดการข้อมูลได้ง่ายคนไข้ได้รับการรักษาแบบทันท่วงทีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ลดการ
เกิดข้อรอ้ งเรียนและเพมิ่ ความพงึ พอใจในการเข้ารบั บริการทีโ่ รงพยาบาลราชพพิ ฒั น์

17. ชอื่ ผลงำน (Innovation)กำรจองคิวจองเลอื ดผ่ำน application line

หน่วยงำน กลมุ่ งานชันสตู รโรคกลางและธนาคารเลอื ด โรงพยำบำล ราชพิพฒั น์

นวตั กร (Innovator) นายวันเฉลิม นอ้ ยผาง ตำแหนง่ นกั เทคนคิ การแพทยห์ ้วงเวลา

1. มูลเหตุจูงใจ

โรงพยาบาลราชพิพฒั น์มผี ้มู าใชบ้ ริการเจาะเลือดในวันราชการเพมิ่ มากขึน ในชว่ งเวลา 6.00-8.00 น. เดิมมี

ประมาณวันละ 90 ราย เพิ่มเป็นวันละ 100-200 ราย ใช้เวลารอคอยการให้บริการเจาะเลือดต่อรายประมาณ

20 นาที ท้าให้เกิดความล่าช้าและความแออัดในการให้บริการเจาะเลือด จึงมีแนวคิดน้าเ ทคโนโลยี

application line ท่ีใช้ในชีวิตประจ้าวันมาประยุกต์ใช้ในการท้างานเพ่ือเอือประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ เกิดเป็น

กระบวนการการจองคิวเจาะเลือดผา่ น application line

2. สมมตฐิ ำนหรือหลักฐำนเชิงประจักษ์หรือทฤษฎีที่นำมำใช้

การจองคิวผ่าน application line โดยการสแกน qr code เพิ่มเพ่ือนใน line official “จองคิวเจาะเลือด

rpp” ใส่ hn วันและเวลาท่ีต้องการจองคิวเจาะเลือด จากนัน application line จะแสดงคิวเจาะเลือดให้กับ

ผู้ใชบ้ ริการ เมือ่ ถึงเวลาเจาะเลือด ผูใ้ ชบ้ รกิ ารสามารถแสดงควิ เพื่อเข้ารบั การเจาะเลอื ดได้เลยโดยไมต่ อ้ งนั่งรอ

3. วัตถุประสงค์

เพ่ือลดระยะเวลารอคอยของผู้ใชบ้ ริการเจาะเลือด

เพ่อื เพิม่ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ รกิ ารเจาะเลือด

เพอื่ เพมิ่ ช่องทางในการรบั บริการเจาะเลือด

4. แผนกำร/ขันตอนกำรดำเนนิ กำร

ติดต่อกับทีมพัฒนาโปรแกรมและซอร์ฟแวร์ของบริษัท abstract ให้พัฒนาการจองคิวเจาะเลือดผ่าน

application line โดยออกแบบให้มีการสแกน qr code เพิ่มเพ่ือนใน line official “จองคิวเจาะเลอื ด rpp”

สามารถกรอก hn ประเภทผู้ใช้บริการ วันและเวลาท่ีต้องการจองคิวเจาะเลือด ซ่ึงจองคิวได้ตังแต่เวลา 06.00

ถึง 16.30 น. ของวันท่ีรับบริการ และใช้กับผู้ใช้บริการที่แพทย์นัดล่วงหน้าได้เท่านัน ไม่สามารถใช้กับคนไข้

walk in ได้ ซึ่งมีการทดสอบกับผใู้ ชบ้ ริการโดยการประชาสัมพนั ธ์และเชิญชวนผใู้ ช้บริการให้รจู้ ักกบั การจองคิว

เจาะเลือดผ่าน application line และให้ผู้ใช้บรกิ ารทดลองจองคิวเจาะเลือดลว่ งหน้าตามวนั และเวลาท่ีแพทย์

นัดมีการแจ้งข้อจ้ากัดในการจองคิวให้กับผู้รับบริการทราบ เพ่ือไม่ให้เป็นข้อโต้แย้งในการให้บริการเจาะเลือด

สา้ หรบั การจองคิวลว่ งหน้า

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองต้น / สถติ ิที่ใช้ทดสอบ
เม่ือพิจารณาจากกราฟด้านซา้ ยในเชงิ คุณภาพ ความพึงพอใจจากเดมิ ร้อยละ 80 เพิม่ ขนึ ถึงรอ้ ยละ 92 และ

กราฟดา้ นขวาในเชงิ ปรมิ าณ ระยะเวลาการให้บริการเจาะเลือดทล่ี ดลงจากเดมิ 20 นาที เหลือเพยี ง 5 นาทตี ่อ
ราย

6. กำรนำไปใช้ประโยชน์

การจองคิวเจาะเลือดผ่าน application line ช่วยลดระยะเวลาการรอคอยและลดความแออัดของ
ผู้ใช้บรกิ าร โดยผ้ใู ชบ้ ริการไมต่ ้องนั่งรอเรียกสามารถท้าธรุ ะก่อนได้ เมื่อถงึ เวลาทจี่ องคิว ผใู้ ช้บริการสามารถเข้า
รับบริการได้ด้วยการยื่นคิวนัดได้เลย จึงท้าให้การรับบริการเป็นไปได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึน อีกทังสามารถน้าไป
ปรับใชใ้ นหน่วยงานต่างๆเช่น หอ้ งตรวจโรคผ้ปู ่วยนอก ห้องเอกซเรย์ เป็นตน้
7. สรปุ
การจองคิวเจาะเลือดผา่ น application line สามารถใช้จองคิวเจาะเลอื ดลว่ งหน้า เพอ่ื ลดระยะเวลารอคอย
เจาะเลือด และเปน็ ท่ีพงึ พอใจของผใู้ ช้บรกิ าร

18. ชอื่ ผลงำน (Innovation) ฉลำกยำฟำวิพริ ำเวียอัจฉรยิ ะ

หน่วยงำน กลมุ่ งานเภสัชกรรม โรงพยำบำล ผู้สงู อายบุ างขนุ เทยี น

นวัตกร (Innovator) ภญ.ธันย์ชนก สธุ รรมปวง ตำแหน่ง เภสัชกรปฏบิ ตั กิ าร

1. มูลเหตจุ ูงใจ

ยาฟาวิพิราเวีย (Favipiravir) ถูกน้ามาใช้ในการรักษาผู้ป่วยท่ีติดเชือไวรัสโควิด 19 ในประเทศไทย ซ่ึง

โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนได้รับมอบหมายให้เป็นโรงพยาบาลสนามในช่วงแรกของการระบาด และ

เน่ืองจากจ้านวนผู้ป่วยท่ีเพ่ิมมากขึน ทางโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียนจึงได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยใน

ศูนย์พักคอยเขตบางขุนเทียน (Community isolation; CI) และได้มีการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยกักตัวท่ี

บ้าน (Home-isolation; HI และ Self-isolation; SI) ในเวลาตอ่ มา ซึง่ ปญั หาทีพ่ บในการปฏิบตั ิงานคอื ในกลุ่ม

ผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล ถึงแม้จะมีบุคลากรทางการแพทย์อย่างดูแลใกล้ชิด ก็ยังพบอุบัติการณ์การ

รับประทานยาผิด การบริหารยาของบุคลากรแต่ละวอร์ดมีความแตกต่างกันรวมถึงภาระงานที่มากอาจเพ่ิม

ความเส่ียงในการบริหารยาคลาดเคล่ือนได้ ส่วนในกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ณ ศูนย์พักคอย หรือรายที่เข้า

ระบบ HI หรือ SI เป็นกลุ่มผู้ป่วยท่ีมีความเสี่ยงในการรับประทานยาผิด เนื่องจากห่างไกลจากบุคลากรทาง

การแพทย์ ซึ่งในช่วงแรก ทางกลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน จึงได้ใช้การโทรศัพท์เพื่อ

จ่ายยาและแนะน้าวิธีการรับประทานยาฟาวิพิราเวียให้แก่ผู้ป่วยรายคน แต่เม่ือจ้านวนผู้ป่วยมีเพ่ิมมากขึน

สง่ ผลใหภ้ าระงานเพ่ิมมากขึน ทางผนู้ ้าเสนอจงึ ได้คิดค้นใบแนะน้าวธิ ีการรับประทานยาฟาวิพริ าเวียท่ีมีการระบุ

วันและเวลาในการรับประทานยา พร้อมกับส่ือแนะน้าการใช้ยาในรูปแบบวิดีโอ ผ่านการสแกนคิวอาร์โค้ด

(QR code) บนซองยา เพือ่ ชว่ ยในการรบั ประทานยาของผปู้ ่วย

2. สมมติฐำนหรือหลักฐำนเชิงประจกั ษห์ รือทฤษฎที ่นี ำมำใช้

ใบแนะน้าวิธีการรับประทานยาฟาวิพิราเวียท่ีมีการระบุวันและเวลาในการรับประทานยาจะช่วยลดภาระ

งานของบุคลากรในการดูแลผูป้ ่วย และชว่ ยลดความคลาดเคล่ือนในการรับประทานยาฟาวิพริ าเวียของผปู้ ่วยได้

โดยการออกแบบมาในรูปแบบของแผนภาพจะง่ายต่อการส่ือสารมากกว่าการอธบิ ายเป็นข้อความตัวอักษร อีก

ทังสื่อแนะน้ายาในรูปแบบวิดีโอจะช่วยให้ผู้ป่วยท่ีไม่สามารถอ่านหนังสือได้ รวมถึงผู้ป่วยสูงอายุสามารถเข้าใจ

และรับประทานยาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งไดม้ ากยิ่งขึน

3. วัตถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ลดอุบัตกิ ารณ์และความเสี่ยงการรบั ประทานยาฟาวิพริ าเวียผิดพลาดของผ้ปู ว่ ย

2. เพอ่ื ลดภาระงานของบคุ ลากร

4. แผนกำร/ขนั ตอนกำรดำเนินกำร

การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยท่ีได้รับยาฟาวิพิราเวียเริ่มแรกเป็นการแบ่งยาฟาวิพิราเวียเป็น unit-dose

ใหแ้ ก่หอผ้ปู ว่ ย เพ่อื ให้งา่ ยตอ่ การบริหารยา ต่อมาเม่ือโรงพยาบาลได้รับมอบหมายเป็นโรงพยาบาลสนาม มกี าร

ขยายศักยภาพเป็นโรงพยาบาล 1,000 เตียง พร้อมกับการเปิดศูนย์พักคอยเขตบางขุนเทียน ทางผู้พัฒนาจึงได้

เร่ิมคดิ ค้นใบแนะน้าวิธีการรับประทานยาฟาวิพิราเวยี ที่มีการระบวุ ันและเวลาในการรับประทานยา เพ่ือช่วยใน

การบริหารยาที่ง่ายย่ิงขึน ผู้ป่วยที่ไม่ได้ใกล้ชิดบุคลากรสามารถรับประทานยาได้อย่างถูกต้อง และต่อมาจึงได้

พฒั นาส่อื แนะน้ายาในรปู แบบวดิ ีโอเพอ่ื รองรับผู้ป่วยกลุม่ ผูป้ ่วย HI และ SI และเพือ่ ลดภาระงานของบุคลากร

แบ่งยาในรูปแบบ unit-dose เพื่อให้ ใบแนะนาวิธีการรับประทานยาฟา เพื่อรองรับการดูแลผู้ป่ วย home
ง่ายตอ่ การบริหารยาบนหอผปู้ ่ วย วิพิราเวีย เพ่ือรองรับการข ยาย isolation, self isolation และลดภาระ
ศกั ยภาพรพ.สนาม และเปิ ด CI งานของบุคลากร
การพัฒนาค ้ัรงที่ 1
การพัฒนาค ้ัรงที่ 2
การพัฒนาค ้ัรงที่ 3

5. ผลกำรทดลอง/ ทดสอบเบืองตน้ / สถิติทใ่ี ช้ทดสอบ
จากการสอบถามผู้ปว่ ย HI และ SI ผ่านการตดิ ตามทาง line official และการโทรสอบถาม พบว่าจากผู้ป่วย

จ้านวน 103 ราย มีเพียง 1 รายท่ีมีการรับประทานยาผิดพลาด เนื่องจากญาติที่เป็นผู้ดูแลจัดยาไวใ้ ห้ แต่ผู้ป่วย
ไม่ทราบว่าต้องทานทังหมดจึงหยิบทานเพียง 1 เม็ด คิดเป็น 0.97% ที่มีอุบัติการณ์การรับประทานยาผิด และ
ผู้ป่วยส่วนใหญ่พึงพอใจและให้ความเห็นว่าใบแนะน้าวิธีรับประทานยาท้าให้รับประทานยาได้ง่ายและสะดวก
มากย่ิงขึน

6. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์
ปัจจุบันโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน ได้ใบแนะน้าวิธีการรับประทานยาฟาวิพิราเวีย พร้อมกับสื่อ

แนะนา้ การใช้ยาในรูปแบบวิดโี อ มาใชใ้ นกลุ่มผู้ป่วย HI และ SI ทกุ ราย และแนวคดิ นสี ามารถน้าไปประยุกต์ใช้
กบั หน่วยงานอน่ื ในการสอ่ื สาร ประชาสัมพันธใ์ นกรณอี น่ื ๆ ให้แก่ผปู้ ่วยไดอ้ กี ดว้ ย
7. สรุป

นวัตกรรมใบแนะน้าวิธีการรับประทานยาฟาวิพิราเวีย พร้อมกับสื่อแนะน้าการใช้ยาในรูปแบบวิดีโอ
น้ามาใช้เพ่ือลดความเส่ียงในการรับประทานยาผิดและลดภาระงานของบุคลากร ในกลุ่มผู้ป่วย HI และ SI ซ่ึง
จากการตดิ ตามผลพบวา่ มอี บุ ตั ิการณ์การรบั ประทานยาผิดเพียง 1 อบุ ัตกิ ารณ์ (0.97%)

19. ชือ่ ผลงำน (Innovation) AED training

หน่วยงำน ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉนิ โรงพยำบำล คลองสามวา

นวตั กร (Innovator) นายมนชวสั จรทะวาทิน ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี

1. มลู เหตุจูงใจ

เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (Automated External Defebrillator: AED) เป็น

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาชนิดหน่ึง สามารถวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะท่ีเป็นอันตรายถึงชีวิตได้

โดยอัตโนมตั ิ และสามารถใหก้ ารรักษาด้วยการซ็อกไฟฟ้ากระตุกหวั ใจได้โดยใชก้ ระแสไฟฟา้ หยุดรูปแบบการเต้น

ของหัวใจท่ีผิดจังหวะ เพ่ือท้าให้หัวใจกลับมาเต้นใหม่ในจังหวะท่ีถูกต้อง ในการฝึกอบรมการช่วยฟ้ืนคืนชีพขัน

พืนฐาน ในปจั จุบันเคร่อื ง AED เปน็ ส่วนหนึ่งในกระบวนการช่วยฟนื้ คนื ชพี ซึง่ อย่ใู นห่วงโซข่ องการรอดชวี ติ ตาม

มาตรฐานการช่วยฟื้นคืนชีพของสมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย แต่ด้วยเครื่อง AED มีราคาเร่ิมต้นท่ี 8,000

บาท และต้องบ้ารุงรักษาให้พร้อมใช้อยู่ตลอด ซ่ึงแพงงมาก แต่จ้าเป็นต้องมีไว้ใช้ฝึกเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ มี

ทักษะ เกดิ ความช้านาญ ในการใช้เครอ่ื ง AED ตลอดจนสามารถนา้ ไปถา่ ยทอดใหก้ บั ผอู้ ่นื ได้

ดังนัน ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉนิ โรงพยาบาลคลองสามวา จึงมคี วามคิดประดษิ ฐ์เครื่อง AED เพ่อื ใช้ในการ

ฝึกอบรม โดยดัดแปลงอุปกรณ์ท่ีเหลือใช้ หาได้ง่าย ราคาถูก (300 บาทต่อเครื่อง) น้ามาประดิษฐ์ให้เสมือน

เคร่ือง AED ทงั ลักษณะและรูปแบบการท้างาน เพอ่ื ให้บคุ ลากร ประชาชนทฝ่ี กึ อบรมเข้าใจถึงหลกั การใชเ้ ครื่อง

AED จะได้ใช้เครื่องเป็นเม่ือเกิดเหตุการณ์จริง และสามารถน้าไปพัฒนาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ

หน่วยงานอืน่ ๆ ตอ่ ไป

2. สมมุตฐิ ำนหรือหลกั ฐำนเชิงประจักษ์หรือทฤษฎีทน่ี ำมำใช้

การฝกึ ปฏบิ ัติด้วยเครือ่ งมอื จริง หรือเสหมือนเครอ่ื งมอื จริงจะสามารถท้าใหผ้ ู้ท่ีปฏบิ ตั เิ ข้าใจงา่ ย

3. วตั ถุประสงค์

เพ่ือใช้เปน็ อุปกรณ์ในการฝึกอบรมการช่วยฟน้ื คืนชีพ ให้กบั บุคลากร และ

ประชาชน

4. แผนกำร/ขนั ตอนกำรประดษิ ฐ์

4.1 ศึกษาระบบการทา้ งานของเครื่อง AED เชน่ รปู ทรง รูปแบบคา้ สงั่ AED แบบตา่ ง ๆ

4.2 คน้ หาวัสดอุ ุปกรณ์ทีเ่ หลอื ใช้ หางา่ ย ราคาถูก เพื่อน้ามาประดิษฐ์ เช่นกล่องสงั กะสีทบี่ รรจุขนม แผน่

อะคริลคิ เคร่ืองเลน่ วทิ ย(ุ บลทู ูธ) ตามรูป

กล่องสังกะสี แผ่น เครื่องเลน่ วทิ ยุ
บรรจุขนม อะคริลคิ

4.3 แกะเอาวงจรเคร่ืองเล่นวิทยุ(บลูทูธ)มาติดตังในกลอ่ ง
ปิดด้วยแผน่ อะครลิ คิ ติดตังปุ่มสวทิ ช์
ตามรปู 1และ2

4.4 ตดิ ตังแผน่ paddle เขา้ กับ
ตวั เครอ่ื ง ตามรปู 3

4.5 ทดสอบระบบก่อนใช้งานจริง
4.6 ทดลองใชแ้ ละประเมินผล

5. ผลการทดลอง/ทดสอบเบืองตน้ /สถิตทิ ่ใี ช้ทดสอบ ใชเ้ ครื่องเล่น MP 3 บนั ทึกข้นั ตอนกระบวนการช่วยฟ้ื น
คืนชีพตามระบบของเคร่ือง AED ไวใ้ นเครื่องเล่น MP
เร่ิมใช้ AED เคร่ืองจริงในการฝึก พบปัญหา พบปัญหาคอื เมื่อเปิ ดใชง้ านเคร่ืองจะเล่นต่อเนื่องไป
-ตอ้ งยืมจากผแู้ ทนจาหน่าย เร่ือย ๆ จนจบกระบวนการ ไม่สามารถ หยดุ เพ่ือสอน
-เสียคา่ บารุงรักษา ตอ้ งสอบเทียบระบบ ระหวา่ งการฝึกไดห้ รือได้ กต็ อ้ งเสียเวลาในการกดป่ ุม
-ราคาแพง เพื่อเปิ ด หรือ หยดุ

พฒั นาเปล่ียนเครื่องเล่น MP 3 เป็ นเคร่ืองเล่นลาโพงบลูทูธแทน เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อทาสั่งการทางานโดย
โทรศพั ทม์ ือถือได้ ซ่ึงสะดวกต่อการใชง้ าน สามารถเลือกคาสง่ั ในการปฏิบตั ิได้ เช่นเลือกใหท้ าการกดหนา้ อกใหม่
อีกคร้ัง “คุณกดไม่ตรงจงั หวะ เร่ิมใหม่” เลือกใหก้ ดใหล้ ึก “คุณควรกดใหล้ ึกกวา่ น้ี เริ่มใหม่” เลือกใหช้ มเม่ือปฏิบตั ิ
ถูกต้อง “คุณทาได้ถูกต้อง เก่งมากผมรักคุณเลย” ฯลฯ ซ่ึงคาสั่งการปฏิบัติสามารถบนั ทึกคาส่ังได้ใหม่ทาง
โทรศพั ทส์ ่งผลใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านและสนุกในการเรียนรู้

ผลการทดลอง
1. บุคลากร 40 คน ทฝี่ กึ การใช้ AED สามารถใช้เคร่ือง AED ได้อยา่ งถูกทุกคน
2. ผลการประเมินความพึงพอใจหลังใช้นวัตกรรมจากบุคลากร 40 คน พบว่า ระดับความพึงพอใจระดับ

มากท่ีสุด ร้อยละ 41.25 ระดับความพึงพอใจระดับมาก ร้อยละ 52.08 ระดับความพึงพอใจระดับปานกลาง
เป็นร้อยละ 6.66
6. การน้าไปใชป้ ระโยชน์

น้าไปใช้ฝึกสอนให้กับบุคลากรทางการแพทย์ ประชนชน หรอื บคุ คลท่สี นใจให้ได้เรยี นรรู้ ะบบการ
ทา้ งาน และฝึกการใชเ้ ครอ่ื ง AED ใหร้ ูจ้ กั ค้นุ ชนิ
7. สรุป

ADE training คือ เป็นอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึนให้คล้ายกับเคร่ือง AED ของจริง ทังรูปทรง และรูปแบบ
การท้างาน โดยตัวเครื่องประดิษฐข์ ึนจากวัสดุที่เหลอื ใช้ หาง่าย ราคา 300 บาท/เครื่อง การใช้งานเชือ่ มต่อกบั
โทรศัพท์มือถือ ท่ีบันทึกขันตอน กระบวนการในการช่วยฟ้ืนคืนชีพไว้ในรปู แบบของ AED โดยเมื่อเปิดเครอ่ื งใช้
งานในการฝึกปฏิบัติจริง ผู้ฝึกสอนจะสามารถควบคุมกระบวนการฝึกการใช้เครื่อง AED ได้โดยผ่าน
โทรศัพท์มือถือ เพ่ือให้ใช้งานได้เสมือนเครือ่ งจรงิ

ผลการประเมินความพึงพอใจหลังใช้นวัตกรรมจากบุคลากร 40 คน พบว่า คะแนนเฉล่ียได้ 4.34
ซึ่งความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ทังนีผู้ใช้นวัตกรรมได้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรจัดท้ารูปทรงให้เหมือนจริง
มากทสี่ ุด


Click to View FlipBook Version