คำนำ ก
คำนำ
คมู่ ือประจำฐานการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษา ฐานการเรยี นรู้ท่ี 7
การทำปุ๋ยอินทรีย์ คู่มือฐานการเรียนรู้เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในฐานการเรียนรู้
ที่ 7 การทำปุ๋ยอินทรีย์ ของ กศน.อำเภอสุวรรณคูหา เพื่อเป็นแนวทำสำหรับผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และเป็นคู่มือสำหรับผู้เรียนเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำฐานการทำปุ๋ยอินทรีย์ ผู้จัดทำ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาเล่มนี้ จักเป็น
ประโยชน์ต่อผู้เรยี น ผู้สอน และผู้ท่ีสนใจ และสามารถนำไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
กศน.ตำบลบ้านโคก
สารบญั สำรบญั ข
รายการ หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
ศาสตรพ์ ระราชา 1
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3
รปู แบบการขบั เคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ฐานการเรียนรู้ 5
แผนภมู กิ ารขับเคลอ่ื นหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 6
แผนผงั กศน.อำเภอสุวรรณคูหา 7
แผนผงั ฐานการเรียนรู้ 8
ขัน้ ตอนการเรียนรู้ฐานการเรยี นรู้ 9
ใบลงทะเบียนประจำฐานการเรยี นรู้ 10
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรม “การทำปุย๋ อินทรีย์” 11
แบบทดสอบก่อนเรยี น
ใบความรู้
ใบงาน
แบบทดสอบหลงั เรยี น
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
แบบสอบถามความถงึ พอใจการใชฐ้ านการเรยี นรู้
คณะทำงาน
คมู่ อื ฐานการเรียนร้ทู ี่ 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรยี ์ 1
ศาสตร์พระราชา
จำกนภา ผ่านภูผา สมู่ หานที
ศาสตร์พระราชา คือ แนวทำงานการพัฒนาของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่มีความลุ่มลึก รอบด้าน มองการณ์
ไกล และเน้นความยั่งยืนยาวนาน ก่อนที่ประชาคมโลกจะตื่นตัวในเร่ืองนี้ เป็นแนวทำงานการพัฒนาที่มุ่งยกระดับ
คุณภาพชีวิตของคนไทยทุกหมู่เหล่า องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา คือ การศึกษาและสุขภาพการ เพิ่มผลิต
ภาพการผลิต การค้นคว้าวิจัย การบริหารความเสี่ยง การอนุรักษ์ธรรมชาติ และปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง แต่ละ
องคป์ ระกอบล้วนมีส่วนชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของทุกผทู้ ุกคน โดยเฉพาะคนจนผูย้ ากไร้
หลกั การทำงานานตามศาสตรพ์ ระราชาเขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา เป็นวิธกี ารแหง่ ศาสตรพ์ ระราชา เพื่อการ
พฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชทรงใชเ้ ปน็ วิธีการทรงงานมาตลอด รัชสมัย
ศาสตร์พระราชา มีนัยยะกว้างขวางมาก ศาสตร์แปลว่า ความรู้ที่เป็นระบบ เชื่อถือได้ ผ่านการพิสูจน์
มาแล้ว ความรู้ของพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้ มีทั้งด้านที่เป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ทั้งวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทั้ ง
สังคมศาสตร์ ทั้งมานุษยวทิ ยา มนุษยศาสตร์ คือ มีทุกมิติ ถ้าเราติดตาม/ดูงาน ที่พระองค์ท่านทรงงานมามากกว่า
70 ปี พระองค์ทรงปฏบิ ัติเปน็ ตวั อย่างมาให้ดูทงั้ หมด 1,500 กว่าแห่ง มที ุกศาสตร์ มีทั้งจรยิ ธรรมศาสตร์ ศาสนา มี
ทุกมิติ
หลกั ในการทรงงานของในหลวง (ศาสตร์พระราชา) 23 ขอ้
ขอ้ ที่ 1 จะทำอะไรต้องศกึ ษาข้อมูลให้เป็นระบบ อดีตทำอะไรมาบ้าง ท้งั เอกสาร สอบถามเจ้าหน้าท่ีและชาวบ้าน
เพื่อนำขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริงๆ
ข้อท่ี 2 ระเบิดจำกภายใน สร้างความเขม้ แขง็ จำกภายในใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ และอยากทำ
ขอ้ ท่ี 3 แก้ปญั หาจำกจุดเล็ก มองภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาตอ้ งเรม่ิ จำกจดุ เล็ก ๆ ไม่เรม่ิ ทีเดียวใหญ่ ๆ
ข้อที่ 4 ทำตามลำดบั ข้ัน เรม่ิ ทำจำกความจำเปน็ ก่อน สงิ่ ทข่ี าดคือสง่ิ ที่จำเปน็
ขอ้ ที่ 5 ภมู ิสงั คม ภูมศิ าสตร์ สังคมศาสตร์ การทำงานานทกุ อย่าง ตอ้ งคำนงึ ถึงภมู ิศาสตร์ว่า อยู่แถบไหน อากาศ
เป็น อย่างไร ติดชายแดน ติดทะเล และ สังคมของเราเป็นอย่างไร นับถือศาสนาอะไร คนนิสัยใจคอเป็น
อย่างไร รวม ไปถงึ พวกเรากันเองด้วย
คู่มอื ฐานการเรียนรู้ท่ี 7 ฐานการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์ 2
ข้อที่ 6 ทำงานานแบบองค์รวม โดยคิดความเชื่อมโยง ทรงมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีแนวโน้มทำงานแก้ไข
อย่าง เชอื่ มโยง องคร์ วม <-------------> ครบวงจร เช่อื มโยง “เด็ดดอกไมส้ ะเทอื นถงึ ดวงดาว”
ข้อที่ 7 ไม่ติดตำรา ความรทู้ ว่ มหวั เอาตวั ไมร่ อด บางครั้งเรายดึ ทฤษฎีจนเกินไปทำอะไรไม่ไดเ้ ลย
ขอ้ ที่ 8 ประหยดั เรียบงา่ ย ใช้เงนิ นอ้ ย แต่ไดป้ ระโยชน์สูงสดุ ทำไดเ้ อง หาได้เองในทอ้ งถน่ิ ใช้เทคโนโลยงี ่ายๆ
ขอ้ ที่ 9 ทำให้ง่าย ทำอะไรให้ง่ายๆ ทำใหช้ ีวติ ง่าย โปรดทำสง่ิ ยากๆ ใหก้ ลายเป็นส่งิ ท่งี า่ ยๆ
ขอ้ ที่ 10 การมีสว่ นรว่ ม เปิดโอกาสใหม้ กี ารแสดงความคิดเหน็
ข้อที่ 11 ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม จำกพระราชดำรัส ใครต่อใครชอบบอกให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม ให้
ส่วนรวมคอื การชว่ ยตัวเองด้วย เพราะเมือ่ สว่ นรวมไดป้ ระโยชน์ เราเองก็ได้ประโยชน์
ขอ้ ท่ี 12 บริการทจี่ ดุ เดยี ว วนั นีเ้ ราพูด วันสต๊อปเซอรว์ ิส แต่ในหลวงตรัสไวเ้ กนิ 20 ปมี าแลว้
ข้อที่ 13 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ มองธรรมชาติให้ออก กักน้ำตามลำธารช่วยให้ป่าสมบูรณ์ช่วยให้ชาวเขามี
อาชีพ
ข้อที่ 14 ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม เชน่ เอาผกั ตบชวาทีเ่ ป็นปัญหาของเราในประเทศ มากำจดั น้ำเสีย
ข้อที่ 15 ปลูกปา่ ในใจคน ต้องปลูกปา่ ทีจ่ ิตสำนกึ กอ่ น ต้องใหเ้ ห็นคุณค่า ก่อนท่จี ะลงมอื ทำ
ข้อท่ี 16 ขาดทุนคอื กำไร อย่ามองทกี่ ำไรขาดทุนท่เี ป็นตัวเงนิ มากจนเกินไป บางคร้ังเราไดก้ ำไรจำกการขาดทนุ
- ลงทุนมหาศาล ไดธ้ รรมชาติกลับคืนมา
- ลงทนุ มหาศาล ได้ลกู คนื มา
- ลงทนุ มหาศาล ได้คนดๆี กลับมา
- ลงทนุ มหาศาล ได้ความรไู้ ว้คอยช่วยเหลอื
ข้อที่ 17 การพึ่งตนเอง ในหลวงทรงสอนให้พวกเราพึ่งตนเอง เพราสังคมบริโภค จะเป็นทำสของผู้ผลิต การ
พึ่งตนเองไดท้ ำใหไ้ ม่ตอ้ ง เป็นทำสใคร เม่ือแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ แล้วพยายามพ่งึ ตนเองให้ได้
ข้อที่ 18 พออยพู่ อกิน พออยูพ่ อกนิ ก่อน แล้วค่อยพัฒนา เราขอให้บำบัดให้ได้กอ่ น==> ประคบั ประคอง==> เป็น
ท่ปี รึกษา==>เป็น ผู้ช่วยเหลือผอู้ ื่นต่อไป
ข้อที่ 19 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทำงานการต่อสู้รับมือความเปลี่ยนแปลงของโลก การขจัดความหิวโหย ท่ี
ต้องคำนงึ ถงึ เรอ่ื งความพอดโี ดย อาศัยหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
ข้อที่ 20 ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน คนที่มีความรู้มาก แต่โกง สู้คนที่ไม่เก่ง แต่ดีไม่ได้ วีรบุรุษ วีรสตรีคือ
คุณธรรม ที่ทำประโยชนเ์ พื่อ ผู้อื่น พวก เราทที่ ำงานานยาเสพติด คอื วรี บุรุษ วีรสตรีผู้หนึง่
ข้อที่ 21 ทำงานานอย่างมีความสุข “ทำงานานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ ฉันมีแต่ความสุข ที่ร่วมกันในการทำ
ประโยชน์ให้กับผู้อืน่ เท่าน้นั ” ทำอะไรตอ้ ง มีความสุขด้วย
ขอ้ ที่ 22 ความเพียร กวา่ 60 ปีที่ทรงงาน ในหลวงไมเ่ คยทรงท้อถอย ไมม่ ีการลาพักรอ้ น หยดุ งานสกั เวลาเดยี ว
ข้อที่ 23 รู้ รัก สามัคคี คิดเพื่องาน รู้ = ต้องรู้ปัจจัย รู้ปัญหา รู้ทำงานออก ของปัญหา รัก = เมื่อรู้แล้ว ต้องเกิด
ความอยาก สามคั คี = ร่วมมอื ลงมอื ปฏบิ ตั ิเพื่อเกดิ พลงั
ท่ีมา: http://r01.ldd.go.th/spb/News61/ContinuetheworkthatFatherdid/KMRama9.pdf
คมู่ อื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 7 ฐานการทำปุ๋ยอินทรยี ์ 3
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) หมายถึง ปรชั ญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมี
พระราชดำรสั ช้ีแนะแนวทำงานทค่ี วรดำรงอย่แู ละปฏบิ ตั ติ นแกพ่ สกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่
ก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2550 ให้ใช้เป็นแนวทำงานการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นวิกฤต และสามารถดำรงอยู่ได้ อย่าง
มน่ั คงและยั่งยืนภายใตค้ วามเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ
กรอบแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติที่ชี้ถึงแนว ทำงานการดำรงอยู่และปฏิบัติตน
ของประชาชนในทุกระดบั ตัง้ แต่ ครอบครัว ชมุ ชน จนถึงหน่วยงานภาครัฐ ท้งั ในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้
ดำเนินไปในทำงานสายกลาง เพื่อให้พอมีพอกินพอใช้ สามารถพึ่งตนเองได้ ให้คนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
อยา่ งสันติสุข เพื่อใหค้ นกบั ธรรมชาติอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดลุ และให้แต่ละคนดำรงตนอย่างมีศักด์ศิ รี บนรากเหง้า
ทำงานวฒั นธรรมสมดุลและยั่งยนื โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือใหก้ ้าวทนั โลกยุคโลกาภิวัฒน์
เป้าหมายของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มุ่งใหเ้ กิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรบั การเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทง้ั ทำงานวัตถุ
สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม
องค์ประกอบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงประกอบดว้ ยหลักคิดประกอบการตัดสินใจและปฏิบตั ิ เพ่ือนำไปสูค่ วามสมดุลและย่ังยืน
พรอ้ มรับตอ่ การเปล่ยี นแปลง 2 3 4 คอื 2 เงือ่ นไข 3 หลักการ 4 มิติ ดังนี้
ก่อนลงมือปฏิบัติ ใด ๆ นั้นต้องมีเงื่อนไขสำคัญที่จะทำให้การตัดสินใจและการกระทำ เป็นไปอย่าง
พอเพียง จะต้องอาศัยทงั้ คุณธรรมและความรู้ ดังนี้
ความรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนใหม้ ีความรอบรู้เกี่ยวกับวชิ าการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน มีความ
รอบคอบ และความระมดั ระวงั ทจี่ ะนำความรู้ต่าง ๆ เหล่านนั้ มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกัน
คณุ ธรรม ทีจ่ ะตอ้ งสร้างเสริมใหเ้ ป็นพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ดา้ นจติ ใจ คือการ ตระหนัก
ในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนิน ชีวิต และด้านการ
กระทำ คือมีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี้ รู้จักแบ่งปัน และรับผิดชอบ ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สงั คม
ระหว่างดำเนินการ ใช้ 3 หลักการ เป็นองค์ประกอบในการทำกิจกรรม คือ ความพอประมาณ ความมี
เหตผุ ล และมภี ูมิคุ้มกันในตวั เองที่ดี โดยมคี วามหมายดังน้ี
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม
ส่งิ แวดล้อม รวมท้ังวฒั นธรรมในแต่ละท้องถ่นิ ไมม่ ากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบยี น 6 ตนเองและ
ผอู้ ่ืน
คมู่ อื ฐานการเรยี นรู้ที่ 7 ฐานการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์ 4
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลัก
กฎหมายหลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนคำนึงถงึ
ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้นึ จำการกระทำน้นั ๆ อยา่ งรอบรแู้ ละรอบคอบ
มภี ูมิคุ้มกันในตวั ทีด่ ี หมายถึง การเตรยี มตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ในดา้ นตา่ ง ๆ
ไมว่ ่าจะเป็นด้านเศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวฒั นธรรม เพือ่ ใหส้ ามารถปรับตัวและ รบั มือไดอ้ ย่างทนั ท่วงที
หลังจำกดำเนินการ ผู้เรียนนำเงื่อนไขมาประกอบการตัดสินใจลงมือปฏิบัติ จึงก่อให้เกิดความก้าวหน้า
อย่างสมดลุ และมนั่ คงนำไปส่คู วามยง่ั ยนื พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงท้ัง 4 มติ ิ ดังน้ี
เศรษฐกิจ/วัตถุ ใช้วัตถุสิ่งของ เงิน ทรัพยากรอย่างประหยัด รู้คุณค่า เกิดประโยชน์และคุ้มค่า บริหาร
การเงินได้อย่างเหมาะสม
สังคม มีความรใู้ นการแบ่งหน้าทอ่ี ย่างเหมาะสม มีความรใู้ นการปฏิบตั ิตนที่จะทำงานานรว่ มกับผูอ้ น่ื ทำงา
นานร่วมกันภายในกลุม่ จนสำเร็จและมคี วามสุข มีความรับผิดชอบต่อการทำงานานของกลุ่ม ยอมรับความคิดเหน็
ซึ่งกันและกัน มีความเสียสละ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน
มีจิตอาสา มีความมุ่งมั่นในการทำงานาน มีทักษะในการประกอบอาชีพ ห่างไกลยาเสพติด มีการแบ่งปัน ให้ความ
ช่วยเหลอื
สิ่งแวดล้อม มีความรู้ในการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รักษาความสะอาดทุกครั้งหลังจากทำกิจกรรมเสร็จ
สิ้น มีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดเป็นระเบียบ การเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า มีจิตสำนึกร่วม
อนุรักษ์ น้ำ ดิน ป่า อากาศ พลังงาน การทำปุ๋ยอินทรีย์ และการนำกลับมาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ชุมชนสะอาด
น่าอยนู่ า่ อาศัย
วฒั นธรรม เปน็ การอนรุ ักษ์ประเพณีวฒั นธรรมท้องถน่ิ และชมุ ชน สืบสานรากเหง้าของความเป็นไทย การ
ยึดถือและปฏิบตั ติ ามหลักคำสอนของศาสนา เชื่อมโยงจำกอดตี สู่ปจั จุบันส่งผลต่ออนาคต สืบสานเอกลกั ษณ์เฉพาะ
พื้นท่ี และความเปน็ ไทย มกี ารสง่ เสรมิ อยา่ งต่อเน่ือง เคารพกฎระเบียบของโรงเรยี นหรือชุมชน เช่น ปฏิบัติตามกฎ
จราจร ปฏิบตั ติ ามกฎลูกเสอื
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่เป็นทั้งแนวคดิ หลักการ และแนวทำงานปฏิบัติตนของแต่ละบคุ คล และ
องค์กร โดยคำนึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดล้อม ความมีเหตุมีผล และการมี
ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง โดยใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมี
คุณธรรม ซื่อสัตย์สจุ ริต ไมเ่ บียดเบยี นกัน แบ่งปัน ชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกนั และร่วมมอื ปรองดองกันในสังคม ซ่ึงจะ
ช่วยเสริมสร้างสายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์พลังในทำงานบวก นำไปสู่
ความสามัคคี การพฒั นาท่ีสมดลุ และยงั่ ยนื พรอ้ มรับต่อการ เปลีย่ นแปลงภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ัฒน์ได้
คู่มือฐานการเรยี นรทู้ ่ี 7 ฐานการทำปุ๋ยอินทรีย์ 5
รปู แบบการขบั เคลอื่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูฐ่ านการเรียนรู้ กศน.อำเภอสุวรรณคหู า
โดยเริ่มจำกการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ต้ัง
คณะกรรมการ ขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการสรา้ ง ความเข้าใจ หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้แก่ผู้เรียน ผู้สอน และบคุ ลากรทำงานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียน
เข้าใจ และครูสามารถนำความรู้มาบูรณาการกับแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนำสู่ห้องเรียนทุกรายวิชา โดย
สถานศกึ ษามีนโยบายให้ครผู ู้สอนบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่บู ทเรยี น และผู้เรียน สามารถถอด
บทเรียนและนำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ
สังคมได้ ทั้งสามารถแนะนำ ให้ความรู้แก่ภาคีเครือข่าย ประชาขนทั่วไปและผู้ที่สนใจได้ โดยมุ่งเน้นให้เกิดผลกับ
ผูเ้ รยี นอย่างยงั่ ยนื จนเป็นวถิ ีชีวติ
เงอ่ื นไข ความรู้ เงอื่ นไข คณุ ธรรม เศรษฐกจิ
พอเพยี ง
Input รอบร้ใู นงานวชิ าการ (ตระหนักในคณุ ธรรมพน้ื ฐาน มคี วามซื่อสตั ย์
รอบคอบในการนำความรู้ไปใช้ สจุ รติ ขยนั ประหยัด อดทน 2 เงอ่ื นไข
3 หลกั การ
ระมดั ระวังในขั้นตอนการปฏิบตั ิ มีความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดำเนินชวี ติ )
4 มิติ
ทางสายกลาง => พอเพียง
หลกั คิด
พอประมาณ หลกั ปฏิบัติ
Process เพ่อื
ความก้าวหนา้
มีเหตุผล มีภมู ิคุ้มกัน อยา่ งสมดลุ
ในตวั ที่ดี
และม่ันคง
Output นำสู่ นำสู่
ความสมดลุ และพร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในดา้ น ความยง่ั ยนื
วตั ถุ/เศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดล้อม และวัฒนธรรม
ค่มู ือฐานการเรยี นร้ทู ่ี 7 ฐานการทำปุ๋ยอินทรยี ์ 6
แผนภมู ิการขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่ฐู านการเรยี นรู้ กศน.อำเภอสวุ รรณคูหา
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คณะกรรมการขบั เคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลกั สูตรสถานศกึ ษา
รายวชิ า
ฐานการเรยี นรู้
ผู้เรียน
คณะกรรมการประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม
รายงานผลการจัดกจิ กรรม
คมู่ ือฐานการเรียนร้ทู ี่ 7 ฐานการทำป๋ยุ อินทรยี ์ 7
แผนที่อำเภอสุวรรณคหู า
แผนผังอาคารสถานท่ี กศน.อำเภอสวุ รรณคหู า
คู่มือฐานการเรียนร้ทู ี่ 7 ฐานการทำปุย๋ อนิ ทรยี ์ 8
แผนผังฐานการเรียนรู้
ฐานการเรียนรู้ที่ 1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอสวุ รรณคหู า กศน.อำเภอสวุ รรณคหู า
ฐานการเรยี นรู้ท่ี 2 การปลูกผักปลอดสารพษิ กศน.ตำบลสวุ รรณคูหา
ฐานการเรียนร้ทู ่ี 3 จติ อาสาปลกู ป่า เพ่ือพ่อ เพ่ือแผน่ ดิน กศน.ตำบลกดุ ผึง้
ฐานการเรยี นรู้ท่ี 4 สวนพฤกษศาสตรแ์ ละอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช กศน.ตำบลนาดี
ฐานการเรียนรทู้ ่ี 5 สมุนไพรใกล้ตัว (กัญชงและกัญชา) กศน.ตำบลนาสี
ฐานการเรยี นรู้ที่ 6 การทำพานบายศรีจำกใบตอง กศน.ตำบลนาดา่ น
ฐานการเรยี นรู้ท่ี 7 ปุ๋ยอนิ ทรีย์ กศน.ตำบลบ้านโคก
ฐานการเรียนรูท้ ่ี 8 ผลติ ภัณฑ์จำกไม้ไผ่ กศน.ตำบลบญุ ทนั
ฐานการเรียนรู้ท่ี 9 การทำป๋ยุ อนิ ทรีย์ กศน.ตำบลดงมะไฟ
ฐานการเรียนรทู้ ่ี 10 สวนเกษตรพอเพียง วัดสุวรรณาราม
คมู่ อื ฐานการเรยี นรูท้ ี่ 7 ฐานการทำปุ๋ยอินทรีย์ 9
ขน้ั ตอนการเรียนรู้ในฐานการเรยี นรู้
........................................................................................
1. ผู้เรยี นลงช่อื เข้าร่วมกิจกรรมประจำฐาน
2. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
3. ผเู้ รียนศึกษาเอกสาร ตำรา รูปภาพ ป้ายนิเทศเกย่ี วกบั ฐานการเรียนรู้ และเรียนรู้จำกผูส้ อนหรือวิทยากรประจำ
ฐานการเรยี นรู้
4. ผเู้ รยี นรับแบบบนั ทึกผลการศึกษาฐานการเรียนรู้/ใบงาน
5. ผู้เรยี นซกั ถามปัญหา วิพากษ์ และสรุปร่วมกันกับผเู้ รยี น ผสู้ อนหรอื วทิ ยากรประจำฐานการเรียนรู้
6. ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
7. ผเู้ รียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนรู้ในฐานการเรยี นรู้
8. สิ้นสดุ กระบวนการเรยี นรู้
..................................................................................
คมู่ ือฐานการเรียนรู้ท่ี 7 ฐานการทำปุย๋ อินทรยี ์ 10
ใบลงทะเบียน
ประจำฐานการเรียนรทู้ ี่ 7 ฐานการเรียนรู้การทำป๋ยุ อนิ ทรีย์
1. ชอ่ื - สกุล ................................................................................................................................................................
2. เพศ ชาย หญิง เพศทำงานเลือก (LGBTQ+)
3. อายุ ตำ่ กวา่ 15 ปี 15 - 20 ปี 21 - 30 ปี
31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 61 ปขี ึ้นไป
4. ระดบั การศึกษา ต่ำกว่า ป.6 ป.6/ประถมศึกษา ม.3 หรือ ม.ตน้
ม.6 หรือเทยี บเทา่ ปวส./อนุปริญญา ปรญิ ญาตรขี ้ึนไป
5. อาชพี นกั เรยี น/นกั ศึกษา รับจา้ ง เกษตรกร ค้าขาย
อน่ื ๆ (ระบ)ุ .............................................................................................
6. กจิ กรรมท่ีเรยี นร.ู้ .........................................................................................................................
คมู่ ือฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำป๋ยุ อนิ ทรีย์ 11
แผนกิจกรรมฐานการเรยี นรู้ที่ 7 การทำปุ๋ยอินทร์
ชอื่ กิจกรรม การทำปยุ๋ อนิ ทรีย์
1. กจิ กรรมการเรยี นรู้ การทำป๋ยุ อินทรยี ์
2. วิทยากรประจำฐานการเรยี นรู้
1. นายนิพนธ์ บำรงุ ภกั ดี ครู กศน.ตำบล
2. นายพิชยั รัตน์ วงศอ์ นนั ท์ ครู กศน.ตำบล
3. นายธนภัทร ภูมสายดอน ครู กศน.ตำบล
3. นกั ศกึ ษาประจำฐานการเรียนรู้
1. นายนยิ ม ศรจี ุลโพธิ์ ระดับ ม.ปลาย
2. นายนัฐพล รัชนี ระดบั ม.ปลาย
1. นางศรอี มั พร ศรจี ุลโพธิ์ ระดบั ม.ปลาย
4. วตั ถปุ ระสงค์
1. ผู้เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของปุ๋ยชวี ภาพ
2. รู้และเข้าใจของลักษณะและหลกั การทำปุ๋ยชีวภาพ
3. ผ้เู รียนสามารถบอกวธิ ีการเลือกพืชผักและผลไมส้ าหรับทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์ได้
4. ผู้เรียนสามารถบอกวิธกี ารเลอื กใชเ้ คร่ืองมือและวสั ดุอปุ กรณ์ในการทำปุ๋ยอินทรีย์
5. ผ้เู รียนจัดเตรียมและเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือและวัสดุอุปกรณ์ให้มคี วามสะอาดและเหมาะสมตอ่ การใช้งาน
6. สามารถดูแลรักษาเครื่องมือและวสั ดุอุปกรณ์ใหม้ คี วามสะอาดและพรอ้ มต่อการใช้งาน
7. ปฏิบตั กิ ารผลติ ปุ๋ยอินทรยี ์สำหรับเรง่ การเจรญิ เตบิ โตของลาต้น ใบ ดอก และผลได้
8. ปฏบิ ตั ิการผลติ ปุ๋ยอินทรยี ์สำหรบั เพาะปลูก
9. จดบนั ทึกการปฏิบัติงาน การทำบญั ชีรายรับ –รายจ่าย ตามแบบสากลได้
10. ปฏบิ ตั ิการคำนวณค่าใชจ้ ่าย การกำหนดราคาขาย และจดั จำหน่าย
5. ความคิดรวบยอด/ข้อมูลความรู้
ฐานการเรยี นรู้พฒั นาทักษะอาชีพ ฐานการทำปยุ๋ อินทรีย์เปน็ การอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใชใ้ นการดำรงชวี ติ สามารถทำปยุ๋ ดินอินทรยี ์ และนำมาใช้ประประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
6. วิธีการใช้ฐานการเรียนรู้
6.1 วตั ถุประสงค์ของฐานการเรยี นรู้
6.2 ชุดการเรยี น การศึกษาต่อเน่ือง
6.3 ใบความรู้
6.4 ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ/ถอดบทเรยี นได้อย่างถูกต้อง
6.5 สรปุ ผลการเรยี นรู้
7. ตารางการปฏบิ ตั ิ
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ี่ 7 ฐานการทำปยุ๋ อินทรยี ์ 12
ลำดบั การปฏบิ ัติ
1. ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น
- วิทยากรกล่าวทักทำยผู้เข้าศึกษาฐานการเรียนรู้และแนะนำตวั เอง แนะนำช่ือฐานการเรียนรู้
- วิทยากรสนทนาและซักถามผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล เก่ียวกับการทำปุย๋ อนิ ทรีย์ตามประสบการณ์
ของผูเ้ รียน
- วทิ ยากรแบ่งกลุ่มๆ 5 คน โดยแบ่งตามความต้องการที่จะเรียนรู้ เก่ียวกบั หัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การทำปุ๋ยจุลินทรีย์
2. การทำปุ๋ยชีวภาพ
3. การทำดนิ อินทรีย์
2. ขั้นสอน/ปฏิบตั ิ
- วิทยากรถา่ ยทอดการเรยี นรู้การการทำปุย๋ อนิ ทรีย์โดยการสาธิตพรอ้ มให้ผเู้ ข้าศึกษาฐานการ
เรยี นรไู้ ปพร้อม ๆ กนั โดยมี ชุดการเรียนร้กู ารศึกษาต่อเน่ืองให้ศึกษาเป็นตัวอย่างดว้ ย
- วทิ ยากรคอยให้คำแนะนำ ช่วยเหลอื ในการทำป๋ยุ อนิ ทรีย์และการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์จนสำเรจ็ เป็น
ผลงานของผู้เข้า ศึกษาฐานการเรยี นรู้
3. ขน้ั สรุป
- วิทยากรและผูเ้ ข้าศึกษาฐานการเรียนรู้ร่วมกันสรุปกิจกรรมดว้ ยการใชค้ ำถามสะท้อนคิดการเรียนรู้
ดว้ ยคำถาม
8. สอื่ /เครื่องมอื ชว่ ยสร้างการเรียนร้ขู องผู้เรียน
8.1 วดี ที ศั น์
8.2 ใบความรู้
8.3 ใบงานการถอดบทเรียน
8.4 แบบประเมินพฤตกิ รรม/แบบทดสอบประจำฐาน
9. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. อยอู่ ย่างพอเพียง : นำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวนั
2. มงุ่ มั่นในการทำงานาน : ปฏบิ ตั ิงานที่ไดร้ ับมอบหมายจนสำเร็จได้เป็นชน้ิ งาน
3. มวี ินยั : เขา้ ร่วมกิจกรรมและทำกจิ กรรมแลว้ เสร็จไดต้ รงตามเวลา
4. ใฝ่เรียนรู้ : ตั้งใจ เพยี รพยายามในการศึกษาเรียนรแู้ ละเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรูข้ องฐานการเรยี นรู้
5. มจี ิตสาธารณะ : แกนนำเสยี สละเวลาในการถ่ายทอดความรู้ให้กบั ผู้ท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรมภายในฐาน
คูม่ อื ฐานการเรียนรูท้ ี่ 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรยี ์ 13
10. การวัดและประเมินผล วธิ ีวดั เคร่อื งมอื
ส่ิงทตี่ ้องการวัด
การสงั เกต แบบประเมนิ ฐานการเรยี นรู้
1. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานานกลุ่ม การประเมนิ จำกใบกจิ กรรม ใบงานฐานการเรยี นรู้
2. ช้นิ งาน/ผลงาน การสังเกต บนั ทกึ หลงั การเรียนรู้ ฐานการเรยี นรู้
3. คุณลักษณะพอเพียง การตอบคำถาม แบบทดสอบกอ่ น-หลัง การเรียนรู้
4. พฤตกิ รรมด้านทักษะ
คู่มือฐานการเรียนรู้ท่ี 7 ฐานการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์ 14
แบบทดสอบก่อนเรียน
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 15
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 16
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 17
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 18
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 19
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 20
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 21
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 22
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 23
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 24
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 25
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 26
คู่มอื ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 27
คู่มอื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 7 ฐานการทำปยุ๋ อินทรยี ์ 28
แบบสอบถามความพงึ พอใจ
ฐานการเรยี นรู้ท่ี 7 ชื่อฐาน การทำป๋ยุ อินทรีย์
กิจกรรม การทำปุ๋ยอนิ ทรีย์
******************************
คำช้ีแจง แบบสอบถามความพงึ พอใจ มจี ำนวน 3 ตอน ให้ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจทำเคร่ืองหมาย
ลงในช่อง ทตี่ รงกบั ความคิดเหน็ ของท่านมากที่สดุ เพียงข้อเดียว
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป
เพศ ชาย หญงิ เพศทำงานเลอื ก (LGBTQ+)
ระดบั การศึกษา ต่ำกว่า ป.6 ป.6/ประถมศึกษา ม.3 หรอื ม.ตน้
ม.6 หรอื เทยี บเท่า ปวส./อนปุ ริญญา ปริญญาตรีขึน้ ไป
อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 15 - 20 ปี 21 - 30 ปี
31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี
61 ปีขนึ้ ไป
อาชพี นักเรยี น/นกั ศกึ ษา รบั จา้ ง เกษตรกร คา้ ขาย
อ่นื ๆ (ระบ)ุ .............................................................................................
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจที่มตี ่อฐานการเรียนรู้ โดยระดับความพึงพอใจ แบ่งออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้
5 หมายถงึ มากที่สดุ
4 หมายถึง มาก
3 หมายถงึ ปานกลาง
2 หมายถึง นอ้ ย
1 หมายถึง นอ้ ยทีส่ ดุ
รายละเอียด ระดบั ความพึงพอใจ
5 4 321
1. ผเู้ รียน/ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมได้รบั ความรแู้ ละมีความเขา้ ใจจำการเรยี นรู้
ในฐานการเรยี นรู้
2. ผ้เู รียน/ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมที กั ษะจำการเรยี นรู้ในฐานการเรียนรู้
3. วัสด/ุ อปุ กรณ์ในการสาธิตหรือให้ผู้เรยี น/ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมได้ฝกึ ปฏิบัติเพียงพอ
4. ส่อื ทใี่ ช้ในการจัดกจิ กรรมกระบวนการเรียนรู้มคี วามเหมาะสม หลากหลาย
เพียงพอ และนา่ สนใจ
5. ผูส้ อน/วทิ ยากร ส่งเสริมให้ผเู้ รยี น/ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมทำงานานรว่ มกันเป็นทีม
คมู่ ือฐานการเรียนรู้ที่ 7 ฐานการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์ 29
รายละเอยี ด ระดับความพึงพอใจ
5 4 321
6. ผ้สู อน/วิทยากร ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียน/ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์
และคดิ เป็น
7. ผสู้ อน/วทิ ยากร รับฟงั ความคดิ เห็นท่ีแตกต่างของผเู้ รยี น/ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม
8. ผู้สอน/วทิ ยากร ให้ความสนใจผเู้ รียน/ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม อย่างท่วั ถึง เท่าเทยี ม
ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ
9. ผสู้ อน/วิทยากร เปดิ โอกาสให้ผ้เู รียน/ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมซักถามปญั หาหรือขอ้
สงสยั
10. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ในฐานการเรยี นรมู้ ีความสนุกสนานและน่าสนใจ
ตอนที่ 3 ขอ้ คดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................. ...................
ขอขอบคุณในความรว่ มมือ
คูม่ อื ฐานการเรียนร้ทู ี่ 7 ฐานการทำปยุ๋ อนิ ทรีย์ 30
คณะผจู้ ัดทำ
ทปี่ รึกษา ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งหนองบวั ลำภู
รกั ษาการในตำแหน่งผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุวรรณคหู า
1. นายวินยั แสงใส ครผู ชู้ ว่ ย
ครูผู้ชว่ ย
2. นางสาวพชิ ชาพมิ พ์ เพ็ชรเวยี ง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางสาวอารยา วชิ าสวสั ด์ิ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นายวชรพล เพยี เทพ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน
5. นายอภิชาติ สุทธโิ สม
6. นางสุวรรณา สทุ ธโิ สม ครู กศน.ตำบล
ครู กศน.ตำบล
คณะทำงานาน ครู กศน.ตำบล
1. นายนพิ นธ์ บำรงุ ภักดี
2. นายพิชยั รัตน์ วงศอ์ นนั ท์ ครู กศน.ตำบล
3. นายธนภัทร ภูมิสายดอน ครู กศน.ตำบล
ครู กศน.ตำบล
คณะเรียบเรยี งและจัดพิมพ์
1. นายนพิ นธ์ บำรุงภกั ดี
2. นายพิชยั รัตน์ วงศอ์ นันท์
3. นายธนภัทร ภูมิสายดอน