The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auytingtong, 2022-08-25 06:55:54

สังคม

สังคม

Keywords: สังคม



คานา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E book) วิธีใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ เป็นส่วนหน่ึง
ของหนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ทางผู้จัดทาได้นาเสนอ วิธใี ช้เครื่องมอื ทางภูมิศาสตรแ์ บบตา่ งๆเพ่อื ให้นักศึกษาหรอื ประชาชนผู้สนใจได้
ศึกษา วิธีการใช้ รูปแบบต่างๆของเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ และ สามารถนาไปประยุคใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั ได้

ท้ังนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E book) เล่มนี้จะเป็น
ประโยชนส์ าหรับนักศกึ ษาและประชาชนผูส้ นใจ

ผจู้ ัดทา
นางสาวอารีย์ ขวัญคมุ้

สารบัญ ข

 เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ หนา้
 แผนที่ 1
 ความหมายของแผนท่ี 1
 ความสาคัญของแผนที่ 2
 ประโยชน์ของแผนท่ี 3
 ลกั ษณะของสิง่ ทแี่ สดงปรากฏบนแผนท่ีประกอบด้วย 3
 ชนดิ ของแผนท่ี 4
 องค์ประกอบทส่ี าคญั 4
 ลกู โลก 5
 เข็มทศิ 9
 รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม 9
 เครอื่ งมอื เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาภูมิศาสตร์ 10
 แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศของไทย 11
 คาถามท้ายบท 12
 ผจู้ ดั ทา 13
16

1

วิธีใชเ้ คร่ืองมือภมู ิศาสตร์

เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์

ใช้ประกอบการเก็บขอ้ มมูล เพอ่ื บรรยายเชิงปรมิ าณและคุณภาพของอากาศ
ภมู อิ ากาศโลก เชน่ จีพเี อส หรือระบบบอกตาแหนง่ บนพน้ื โลก เขม็ ทิศ เคร่ืองมือบางชนิดใช
ในการประกอบกา่ รเรยี นการสอนในห้องเรียนหรอื ห้องปฎิบัติการ และเครอื่ งมอื บางชนิดใช้
ประกอบการศึกษา และเกบ็ ข้อมลู เฉพาะในสามเท่าน้นั บางครง้ั การใช้เคร่ืองมอื ตอ้ งใช้
คอมพมิ เตอร์ประกอบด้วย เชน่ เครือ่ งมือระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรห์ รอื ท่ีร้จู ักกันในปจั จุบัน
วา่ GIS (Geographic Information System) ระบบกาหนดตาแหนง่ พน้ื ผิวโลก GPS (Global
Positioning System) ซ่ึงนกั ภมู ิศาสตร์ยุคใหมจ่ าเปน็ ต้องรู้ สาหรบั ในท่นี ี้จะกลา่ วถึง
เคร่อื งมอื ภูมิศาสตรท์ ี่สาคญั คอื แผนท่ี ลูกโลก รปู ถ่ายทางอากาศและภาพจบั
ดาวเทยี ม และเคร่ืองมอื เทคโนโลยสี อ่ื สารการศึกษาภูมิศาสตร์

แผนที่

แผนท่เี ปน็ สงิ่ ที่มคี วามสาคญั มากในการศึกษาวชิ าภูมิศาสตร์ เพราะครอบคลมุ
ทัง้ ลกั ษณะภมุ ปิ ระเทศ ลกั ษณะภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทั้งสิง่ ทเี่ กิดขึ้น
จากฝีมอื ของมนษุ ยบ์ นพ้นื ผวิ โลกดว้ ยการจดั ทาแผนที่ในปัจจุบันไดม้ ีการพฒั นาขึน้ เปน็
ลาดับ มีการนาเอารปู ถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทียมมาชว่ ยในการทาแผนท่ที าให้
สามารถสร้างแผนทไ่ี ด้รวดเร็ว มคี วามถูกตอ้ งและทันสมัยกว่าในอดีต

ความหมายของแผนท่ี 2

แผนท่ี (Map) หมายถงึ การแสดงลกั ษณะพนื้ ผิวโลกลงบนแผ่นราบ โดย
การย่อสว่ นและการใช้สญั ลักษณ์ไม่วา่ เครอื่ งหมายหรือสี แทนสิ่งตา่ ง ๆ บนพ้ืนผวิ โลก
แผนทจี่ ึงต่างจากลูกโลกและแผนผัง

เครือ่ งหมายแผนที่ คอื เครื่องหมายหรือสญั ลักษณท์ ี่ใชแ้ ทนส่ิงต่าง ๆ บนพื้นพิภพ ท่ี
เกิดขึ้นเองและตามธรรมชาติ นอกจากเคร่อื งหมายแล้ว เรายังใชส้ เี ปน็ การแสดงลักษณะ
ภูมปิ ระเทศอกี ดว้ ย คอื

1. สดี า หมายถงึ ภมู ิประเทศสาคัญทางวฒั นธรรมท่ีมนุษย์สร้างขึน้ เช่น
อาคาร สุสาน วัด สถานทรี่ าชการตา่ ง ๆ เป็นตน้

2. สนี า้ เงิน หมายถึง ลักษณะภูมปิ ระเทศทเี่ ป็นน้า เชน่ ทะเล แม่นา้ หนอง
บึง เปน็ ต้น

3. สีนา้ ตาล หมายถงึ ลักษณะภูมปิ ระเทศที่มีความสูงโดยท่ัวไป เช่น เสน้
ชน้ั ความสงู

4. สเี ขียว หมายถงึ พชื พันธไ์ุ มต้ า่ ง ๆ เชน่ ป่า สวน ไร่

5. สีแดง หมายถึง ถนนสายหลัก พื้นที่ย่านชุมชนหนาแน่น และลักษณะภูมิ
ประเทศสาคัญ

3

ความสาคัญของแผนที่

1. ทาให้ทราบลักษณะทางธรรมชาติของพนื้ ผิวโลก รวมทั้งกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ บนพื้นผิวโลก

2. ทาให้ทราบขอ้ มลู สถิตติ ่าง ๆ เพอ่ื การเปรียบเทียบ การพฒั นาการ
วางแผนในด้านตา่ ง ๆ รวมทั้งดา้ นยุทธศาสตร์

ประโยชนข์ องแผนท่ี

1. ประโยชน์ในการศึกษาลักษณะภมู ปิ ระเทศ แผนทีจ่ ะทาให้ผ้ศู ึกษาทราบ
ว่าพืน้ ทใ่ี ดมลี กั ษณะภมู ิประเทศแบบใดบา้ ง

2. ประโยชนต์ ่อการศึกษาธรณวี ทิ ยา เพอ่ื ให้ทราบความเปน็ มาของแหล่ง
ทรัพยากร ดิน หนิ แร่ธาตุ

3. ประโยชน์ด้านสมุทรศาสตรแ์ ละการประมง เพ่อื ใหท้ ราบสภาพแวดล้อม
ชายฝัง่ ทะเล

4. ประโยชน์ด้านทรพั ยากรนา้ รู้ข้อมลู เกีย่ วกบั แมน่ า้ และการไหล อ่างเกบ็
น้า ระบบการชลประทาน

5. ประโยชนด์ า้ นปา่ ไม้ เพอื่ ใหท้ ราบคณุ ลักษณะของป่าไมแ้ ละการ
เปลี่ยนแปลงพ้นื ท่ีป่า

6. ประโยชน์ดา้ นการใช้ท่ดี นิ เพื่อให้ทราบปจั จัยการใช้ประโยชน์ทดี่ ินด้าน
ต่าง ๆ

7. ประโยชนด์ ้านการเกษตร การเกษตรมีผลตอ่ การพฒั นาประเทศ เพอื่ รู้ว่า
บริเวณใดควรพฒั นา

8. ประโยชน์ดา้ นสง่ิ แวดล้อม โดยเฉพาะการจัดการทรัพยากรบริเวณตา่ ง ๆ
9. ประโยชนใ์ นการวางผงั เมือง เพอ่ื ใช้ข้อมลู ทางธรรมชาตใิ นการจดั วางผัง
เมอื งใหเ้ หมาะสม
10. ประโยชน์ตอ่ การศึกษาโบราณคดี เพอื่ ค้นหาแหลง่ ชมุ ชนโบราณและ
ความรอู้ ่ืน ๆ
11. ประโยชน์ด้านอตุ นุ ยิ มวิทยา เพื่อประโยชนใ์ นการเพาะปลูก
อุตสาหกรรม ประมง การป้องกนั อุทกภัย

4
ลักษณะของสิง่ ท่ีแสดงปรากฏบนแผนทป่ี ระกอบดว้ ย

1. ลักษณะของส่ิงท่ีเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เชน่ ทะเล มหาสมุทร ทะเลสาบ
แมน่ า้ ภูเขา ท่ีราบ ที่ราบสงู เกาะ เป็นต้น

2. ลกั ษณะของสงิ่ ท่ีมนุษย์สร้างข้ึน เช่น เส้นกั้นอาณาเขต เมือง หมบู่ ้าน
สถานทร่ี าชการ ศาสนสถาน เส้นทางคมนาคม พืน้ ทเ่ี กษตรกรรม เปน็ ตน้

ชนิดของแผนท่ี

1. แบง่ ตามขนาดของมาตรสว่ น มี 3 ชนิด คอื

1.1แผนทีม่ าตราส่วนเล็ก หมายถงึ แผนทที่ ม่ี าตราส่วนเล็กกวา่ 1 : 1,000,000

1.2แผนทม่ี าตราส่วนกลาง หมายถึง แผนทท่ี ีม่ มี าตราส่วนระหวา่ ง 1 : 250,000 ถึง
1 : 1,000,000

1.3แผนท่มี าตราส่วนใหญ่ หมายถึง แผนทที่ มี่ ีมาตราสว่ นมากกว่า 1 : 250,000

2. แบง่ ตามประเภทการใช้ ได้แก่

แผนทก่ี ายภาพ หรอื แผนท่ีลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ (Topographic หรอื Landform หรอื
Relief Map) เปน็ แผนท่แี สดงรายละเอียดของสิง่ ทีเ่ กิดข้ึนโดยธรรมชาติ เชน่ ทะเล
มหาสมทุ ร เทือกเขา ที่ราบสงู ทรี่ าบ ฯลฯ

แผนทรี่ ัฐกิจ (Political Map) หรอื แผนท่ที ัว่ ไป (General Map) เปน็ แผนทแ่ี สดงขอบเขต
การปกครองของจังหวดั รฐั ประเทศ

แผนที่ประวตั ศิ าสตร์ (Histostical Map) เปน็ แผนทแี่ สดงอาณาเขตของอาณาจกั รหรือ
จกั รวรรดติ า่ ง ๆ ในสมยั โบราณ

แผนท่ีโครงรา่ ง (Outline) เป็นแผนทแ่ี สดงโครงร่างของทวีป ประเทศ โดยไมม่ รี ายละเอยี ด
ใด ๆ เพ่ือใช้ในการศึกษา เชน่

แผนท่เี ดินเรือ (Nautical Map) เปน็ แผนท่แี สดงเสน้ ทางการเดนิ เรอื ในท้องทะเล มหาสมุทร
รวมทง้ั ใชส้ ญั ลักษณส์ ีเพอื่ แสดงความต้ืนลึกของพ้ืนนา้

แผนที่เศรษฐกิจ (Economic Map) เป็นแผนทแี่ สดงเขตกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ
รวมท้ังแสดงแหลง่ ทรัพยากรสาคญั

องคป์ ระกอบของแผนท่ี

5
องคป์ ระกอบท่สี าคญั ดังนี้

1. ชื่อแผนทเี่ ปน็ สง่ิ ท่ีมคี วามจาเปน็ สาหรับให้ผู้ใชไ้ ดท้ ราบว่าเปน็ แผนทเ่ี รือ่ ง
อะไร แสดงรายละเอียดอะไรบา้ ง เพื่อใหผ้ ใู้ ชไ้ ดอ้ ย่างถกู ต้อง และตรงความต้องการ โดยปกติ
ช่ือแผนทจี่ ะมคี าอธบิ ายเพมิ่ เตมิ แสดงไว้ดว้ ย เชน่ แผนที่ประเทศไทยแสดงเน้อื ท่ีป่าไม้ แผนท่ี
ประเทศไทยแสดงการแบง่ ภาคและเขตจังหวัดเปน็ ต้น

2. ขอบระวาง แผนทีท่ ุกชนดิ จะมขี อบระวาง ซงึ่ เป็นขอบเขตของพืน้ ทใ่ี นภมู ิ
ประเทศทีแ่ สดงบนแผนท่ีแผ่นนนั้ มกั จะแสดงด้วยเสน้ ขนานเพ่อื แสดงตาแหน่งละติจูดกับเส้น
เมริเดียนเพือ่ แสดงตาแหน่งลองจิจูด และจะแสดงตัวเลขเพื่อบอกค่าพิกัดภมู ิศาสตร์ของ
ตาแหน่งตา่ ง ๆ

3. ทศิ ทาง มคี วามสาคัญต่อการคน้ หาตาแหน่งทต่ี ้ังของส่ิงต่าง ๆ โดยในสมัย
โบราณใช้วิธดี ทู ิศทางตามการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ในเวลากลางวนั และการดทู ิศทาง
ของดาวเหนอื ในเวลากลางคนื ตอ่ มามีการประดษิ ฐ์เขม็ ทศิ ซง่ึ เป็นเครือ่ งมือช่วยในการหาทศิ
ข้ึน เน่อื งจากเข็มของเข็มทศิ จะชไี้ ปทางทศิ เหนอื ตลอดเวลา การใช้ทิศทางในแผนท่ีประกอบ
กับเข็มทศิ หรอื การสังเกตดวงอาทติ ย์ และดาวเหนอื จงึ ชว่ ยให้เราสามารถเดนิ ทางไปยัง
สถานท่ที ่ีเราตอ้ งการได้ ในแผนทีจ่ ะตอ้ งมีภาพเข็มทศิ หรอื ลกู ศรชีไ้ ปทางทิศเหนือเสมอ ถ้า
หากแผนทใ่ี ดไม่ได้กาหนดภาพเข็มทิศหรอื ลกู ศรไวก้ ใ็ ห้เขา้ ใจว่าด้านบนของแผนทีค่ ือทิศ
เหนอื

4. สญั ลักษณ์ เป็นเครอื่ งหมายท่ใี ชแ้ ทนสง่ิ ต่าง ๆ ในภูมิประเทศจรงิ เพือ่ ชว่ ย
ให้ผใู้ ชส้ ามารถอา่ นและแปลความหมายจากแผนที่ไดอ้ ย่างถูกต้อง ทงั้ นใี้ นแผนท่จี ะต้องมี
คาอธบิ ายสัญลักษณป์ ระกอบไวด้ ว้ ยเสมอ

5. มาตราส่วน เป็นอัตราส่วนระหวา่ งระยะทางทย่ี ่อสว่ นมาลงในแผนทีก่ บั
ระยะทางจริงใน ภมู ปิ ระเทศ มาตราส่วนช่วยใหผ้ ใู้ ช้ทราบว่าแผนท่นี นั้ ๆ ย่อส่วนมาจาก
สภาพในภมู ิประเทศจรงิ ในอัตราสว่ นเท่าใด มาตราสว่ นแผนท่โี ดยมากจะมี 3 ลักษณะ
ได้แก่ มาตราสว่ นแบบเศษส่วน มาตราสว่ นคาพดู และมาตราส่วนแบบกราฟิก มาตราส่วน
ของแผนที่ คือ อัตราสว่ นระหวา่ งระยะบนแผนทีก่ ับระยะในภูมิประเทศ หรอื ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งระยะทางราบบนแผนที่กับระยะทางราบในภมู ปิ ระเทศ การเขียนมาตราสว่ นเขียนได้
หลายวธิ ี เช่น 50,000 หรือ 1/50,000 หรอื 1 : 50,000การคานวณระยะทางบนแผนท่ี

6

6. เส้นโคง้ แผนท่ีเปน็ ระบบของเสน้ ขนานและเส้นเมริเดยี น ท่สี ร้างขึ้นเพือ่
กาหนดตาแหนง่ พิกัดภมู ศิ าสตร์ให้เปน็ มาตรฐานไวใ้ ชอ้ า้ งองิ ร่วมกนั ซง่ึ ประกอบด้วย

6.1เส้นขนาน เป็นเส้นสมมตทิ ่ลี ากจากทศิ ตะวันออก สร้างขนึ้ จากการวดั
มมุ เรม่ิ จากเสน้ ศูนยส์ ตู ร ซ่งึ มคี า่ มมุ 0 องศา ไปยงั ข้วั โลกท้ังสองดา้ นๆ ละไม่เกนิ 90
องศา เส้นขนานที่สาคญั ประกอบด้วย

1. เส้นศูนยส์ ูตรหรือเส้นอเิ ควเตอร์ มีค่ามมุ 0 องศา

2. เสน้ ทรอปิกออฟแคนเซอร์ มีค่ามุม 23 องศา 30 ลิปดาเหนือ

3. เสน้ ทรอปกิ ออฟแคปริคอรน์ มคี า่ มมุ 23 องศา 30 ลปิ ดาใต้

4. เสน้ อาร์กตกิ เซอร์เคลิ มคี ่ามุม 66 องศา 30 ลิปดาเหนอื

5. เสน้ อาร์กติกเซอรเ์ คิล มคี ่ามุม 66 องศา 30 ลปิ ดาใต้ 6.2

7

6.2เสน้ เมรเิ ดียน เปน็ เส้นสมมตทิ ีล่ ากจากข้ัวโลกเหนือไปยังข้ัวโลกใต้ สร้าง
ข้นึ จากการสมมติเสน้ เมรเิ ดียนปฐม มคี ่ามุม 0 องศา ลากผา่ นตาบลกรนี ชิ กรุงลอนดอน
ประเทศสหราชอาณาจกั รไปทางทิศตะวนั ออกและทิศตะวนั ตกดา้ นละ 180 องศา โดย
เสน้ เมรเิ ดียนที่ 180 องศาตะวนั ออกและ 180 องศาตะวันตกจะทบั กนั เป็นเส้นเดยี วนี้ให้
เป็นเส้นวันท่ีหรอื เส้นแบ่งเขตวนั ระหว่างชาติ หรือเส้นแบ่งเขตวันสากล เส้นเมริเดยี น
แรกหรอื เส้นเมรเิ ดยี นปฐม (Prime Meridian) คอื เส้นเมรเิ ดียนทล่ี ากผา่ นหอดูดาวแห่ง
หนึง่ ตาบลกรนี ิช ใกลก้ รุงลอนดอนในประเทศองั กฤษ ทั้งน้ีเพอื่ ใช้เป็นหลักอ้างอิงในการ
นบั เสน้ เมรเิ ดียนอนื่ ๆ ตอ่ ไป เสน้ เมริเดียนรอบโลกมี 360 เส้น แบง่ เป็นเส้นองศา
ตะวนั ออก 180 เส้น และเส้นองศาตะวนั ตก 180 เสน้ ความสาคญั ของเส้นเมริเดียน คือ
บอกพกิ ัดของตาแหนง่ ท่ตี ั้งต่าง ๆ บนพนื้ ผิวโลกโดยใช้ร่วมกนั เส้นขนาน (เสน้ ละตจิ ูด)
และใช้เปน็ แนวแบง่ เขตเวลาของโลก

8

7. พกิ ัดภมู ศิ าสตร์เปน็ ระบบท่บี อกตาแหนง่ ของสิง่ ต่าง ๆ บนพืน้ ผวิ โลก
โดยอาศัยเสน้ โครงแผนที่ซึง่ เสน้ ขนานและเสน้ ขนานและเส้นเมรเิ ดียนตัดกนั เปน็ จดุ สงิ่
ต่าง ๆ บนพ้ืนผิวโลก โดยอา่ นคา่ พกิ ัดภูมศิ าสตรเ์ ป็นละตจิ ดู (เส้นขนาน) และลองจิจูด
(เส้นเมรเิ ดยี น)

ดงั น้ัน ละติจูด เป็นพิกดั ของจดุ หนึ่งบนเส้นขนาน ส่วนลองจิจูดกเ็ ป็นพิกดั
ของจุดหนงึ่ บนเสน้ เมริเดียน ซงึ่ ท้งั ละติจดู และลองจิจดู มีคา่ ของมุมเปน็ องศา โดย 1
องศา มีค่าเท่ากับ 60 ลิปดาและ 1 ลปิ ดา มีคา่ เทา่ กับ 60 ฟลิ ปิ ดา

พิกัดภูมศิ าสตร์เปน็ ระบบทบ่ี ่งบอกตาแหน่งท่ตี ้ังอยู่จดุ ตาแหนง่ ต่าง ๆ บน
พนื้ ผวิ โลก โดยอาศยั โครงขา่ ยของเสน้ โครงแผนทีซ่ ่ึงประกอบด้วยเส้นเมรเิ ดยี นกบั เสน้
ขนานตดั กันเปน็ “จดุ ”

ละติจูด (Latitude) เป็นคา่ ของระยะทางเชงิ มมุ โดยนับ 0 องศา จากเส้นศนู ย์สตู รไป
ทางเหนอื หรอื ใตจ้ นถึง 90 องศาท่ีขวั้ โลกท้งั สอง

ลองจจิ ูด (Longitude) เปน็ ค่าของระยะทางเชิงมมุ โดยนับ 0 องศา จากเส้นเมริเดียนไป
ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจนถงึ 180 องศา

ปจั จุบันการบ่งบอกจดุ ตาแหนง่ บนพ้นื ผิวโลก สามารถทราบไดง้ า่ ยและถูกต้อง โดยใช้ จี
พีเอส เครื่องมือกาหนดตาแหนง่ บนพน้ื ผวิ โลก (GPS : Global Positioning System)
เคร่อื งมือชนิดน้ี มขี นาดเลก็ พกพาไดส้ ะดวก และใหข้ อ้ มลู ตาแหนง่ บนพื้นผิวโลกได้ตรง
กบั ความเปน็ จรงิ ดังน้นั จงึ มผี ู้นาเครอ่ื งมอื นี้ไปใช้ได้สะดวกสบายในกิจกรรมต่าง ๆ ไดแ้ ก่
การเดินเรือ การเดินทาง ท่องเที่ยวปา่ การเดินทางดว้ ยรถยนต์ เครอ่ื งบนิ เป็นต้น เมอ่ื กด
ปมุ่ สวิตซ์ เครือ่ งจะรบั สญั ญาณจากดาวเทียมแล้วบอกคา่ พิกดั ภมู ศิ าสตร์ให้ทราบ
เคร่อื งหมายแผนที่

9
ลูกโลก

องคป์ ระกอบของลกู โลก องคป์ ระกอบหลักของลูกโลกจะประกอบไปด้วย
1. เสน้ เมรเิ ดียนหรือเสน้ แวง เปน็ เส้นสมมติท่ีลากจากขั้วโลกเหนือไปจดข้ัว
โลกใต้ ซึง่ กาหนดค่าเปน็ 0 องศา ท่เี มืองกรนี ชิ ประเทศองั กฤษ
2. เส้นขนาน หรอื เส้นรงุ้ เป็นเสน้ สมมตทิ ่ีลากจากทิศตะวนั ตกไปทิศ
ตะวันออก ทุกเส้นจะขนานกบั เสน้ ศูนยส์ ูตร ซง่ึ มคี า่ มมุ เท่ากบั 0 องศา
การใช้ลกู โลก ลูกโลกใช้ประกอบการอธิบายตาแหน่งหรอื สถานที่ของจดุ พนื้ ท่ีของสว่ น
ต่าง ๆ ของโลก โดยประมาณ

เข็มทิศ

เขม็ ทิศเปน็ เครอื่ งมือสาหรบั ใชใ้ นการหาทศิ ของจุดหรือวัตถุ โดยมหี น่วยวดั
เปน็ องศา เปรยี บเทียบกบั จดุ เรม่ิ ต้น เข็มทิศใชใ้ นการหาทศิ โดยอาศัยแรงดงึ ดดู ระหวา่ ง
สนามแม่เหลก็ ขว้ั โลก (Magnetic Pole) กบั เขม็ แม่เหล็ก ซึง่ เป็นองค์ประกอบสาคญั
ท่สี ดุ ของเครอ่ื งมือน้ี เขม็ แม่เหลก็ จะแกวง่ ไกวได้โดยอิสระในแนวนอน เพ่อื ใหแ้ นวเขม็ ชี้
อยใู่ นแนวเหนอื ใต้ ไปยังขั้วแม่เหลก็ โลกตลอดเวลา หน้าปดั เข็มทศิ ซึง่ คล้ายกบั หน้าปดั
นาฬิกาจะมีการแบ่งโดยรอบเปน็ 360 องศา ซึง่ เข็มทศิ มปี ระโยชนใ์ นการเดนิ ทาง เชน่
การเดนิ เรอื ทะเล เคร่อื งบิน การใช้เข็มทศิ จะต้องมแี ผนทปี่ ระกอบและต้องหาทิศเหนอื
กอ่ นเพ่ือจะได้รู้ทิศอน่ื

10
รูปถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม

รปู ถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี มเป็นรปู หรือขอ้ มูลตัวเลขที่ได้จา
การเกบ็ ข้อมลู ภาคพนื้ ดินจากกล้องทต่ี ดิ อยู่กับพาหนะ เช่น เครือ่ งบนิ หรอื ดาวเทียม
โดยมีการบนั ทกึ ข้อมูลอย่างละเอยี ดหรือหยาบในเวลาแตกตา่ งกัน จึงทาให้เหน็ ภาพรวม
ของการใช้พน้ื ทแ่ี ละการเปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ตามท่ีปรากฎบนพื้นผิวโลก เชน่ การเกิด
อุทกภยั ไฟปา่ การเปล่ียนแปลง การใชท้ ด่ี นิ การก่อสร้างสถานท่ี เปน็ ตน้

ประโยชนข์ องรปู ถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ทน่ี ยิ มใช้กนั มากจะ
เปน็ รปู หรือภาพถ่ายทไี่ ดจ้ ากการสะท้อนคลืน่ แสงของดวงอาทติ ย์ขึ้นไปสูเ่ ครอ่ื งบนั ทึกที่
ติดอย่บู นเครื่องบนิ หรอื ดาวเทียม การบันทึกขอ้ มูลอาจจะทาโดยใช้ฟลิ ม์ เช่น รปู ถ่ายทาง
อากาศสีขาว – ดา หรือรูปถา่ ยทางอากาศสีธรรมชาติ การบนั ทกึ ข้อมูลจากดาวเทียมจะ
ใชส้ ญั ญาณเป็นตัวเลขแลว้ จึงแปลงค่าตัวเลขเปน็ ภาพจากดาวเทียมภายหลัง

การใช้รูปถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม ผ้ใู ชจ้ ะต้องไดร้ ับการฝกึ หดั
เพื่อแปลความหมายของข้อมูล การแปลความหมายอาจจะใช้การแปลด้วยสายตาตาม
ความสามารถของแตล่ ะบุคคลหรือใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์และโปรแกรมเข้ามาช่วย

11
เครอ่ื งมือเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาภูมิศาสตร์

ในโลกยคุ ปจั จบุ นั ที่เตม็ ไปดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสาร และข้อมูลท่ีเปน็ ตวั เลขจานวน
มาก เทคโนโลยีจงึ เข้ามามีความสาคญั และจะมคี วามสาคัญมากยิง่ ขนึ้ ในอนาคต เทคโนโลยี
ท่ีสาคัญดา้ นภมู ศิ าสตร์ คือ ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรห์ รือ GIS (Geographic
Information System) และระบบกาหนดตาแหน่งพื้นผวิ โลก หรอื (GPS (Global
Positioning System) เครือ่ งมอื ทงั้ สองจะประกอบดว้ ยคอมพิวเตอร์ หรอื ฮารด์ แวร์ (Hard
ware) ซง่ึ มีขนาดต่าง ๆ และโปรแกรมหรอื ซอฟแวร์ (Software)

1) ประโยชนข์ องเคร่อื งมือเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาภูมิศาสตร์ จะคล้ายกบั การ
ใช้ประโยชนจ์ ากแผนท่ีสภาพภมู ปิ ระเทศและแผนทเี่ ฉพาะเรอ่ื ง เชน่ จะใหค้ าตอบว่า ถา้
จะตอ้ งเดินทางจากจุดหนึ่งไปยงั อีกจุดหนึ่งในแผนท่ีจะมีระยะทางเท่าใด และถ้าทราบ
ความเร็วของรถจะทราบได้ว่าจะใชเ้ วลานานเทา่ ใด

หลังจากการทางานของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ คอื การจดั หมวดหมู่ของ
ข้อมลู ตามความตอ้ งการทจี่ ะนาไปวเิ คราะห์การคัดเลอื กตวั แปร หรือปัจจัยท่ีเก่ยี วข้อง การ
จัดลาดับความสาคัญของปจั จยั และการซอ้ นทับขอ้ มลู ตวั อย่างเช่น ต้องการหาพื้นท่ีที่
เหมาะสมสาหรับการปลูกข้าว โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดบั คือ เหมาะสมดี เหมาะสมปาน
กลาง และไม่เหมาะสม โดยคดั เลอื กขอ้ มูล 2 ประเภท คอื ดนิ และสภาพภูมิประเทศ

2) การใชเ้ คร่อื งมือเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษาภูมิศาสตร์ การใชเ้ คร่ืองมอื
เทคโนโลยีจาเปน็ ต้องมเี คร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรม ผ้ใู ช้จะต้องได้รบั การฝึกฝนกอ่ นท่ี
จะลงมอื ปฏิบัติ

12

แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศของไทย

ปัจจบุ นั ไดม้ กี ารคดิ คน้ และพฒั นาการข้อมูลสารเทศอย่างรวดเรว็ และได้
เผยแพรข่ อ้ มูลสูส่ าธารณชนมาก โดยเฉพาะการนาข้อมลู เขา้ เว็บไซดใ์ ห้ประชาชนและผ้สู นใจ
ท่วั ไปเข้าไปดูขอ้ มลู ได้ ซึง่ เปน็ ประโยชน์อย่างมากตามความตอ้ งการของผ้ใู ช้ข้อมลู แต่ข้อมูล
บางชนิดอาจตอ้ งติดต่อจากหนว่ ยงานนน้ั ๆ โดยตรง ทง้ั จากหน่วยงานของรฐั และเอกชน
เว็บไซตท์ ี่น่าสนใจ เชน่ ขอ้ มลู ด้านสถติ ิ (www.nso.go.th) ข้อมลู ประชากร
(www.dola.go.th) ขอ้ มูลดาวเทียม (www.gistda.go.th) ข้อมูลดินและการใชท้ ดี่ ิน
(www.dld.go.th) เปน็ ตน้

กลา่ วโดยสรปุ เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตรใ์ ช้ประกอบการศึกษา และการเก็บ
ขอ้ มลู เครอ่ื งมอื บางชนดิ เหมาะสาหรับใชใ้ นห้องเรยี น หรอื ห้องปฏิบัตกิ าร เคร่อื งมอื บางชนิด
ใชไ้ ด้สาหรับในห้องเรียนและในนาม ผู้ใช้จะได้รู้วา่ เมอื่ ใดควรใชเ้ ครือ่ งมอื ภมู ิศาสตร์ใน
หอ้ งเรียนและเม่ือใดควรใช้ในภาคสนาม เครอ่ื งมอื บางชนิดจะมีความซับซอ้ นมาก หรือตอ้ ง
ใช้รว่ มกันระหว่างเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรม

เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตรท์ ี่มคี วามสาคัญมากในปจั จุบันคือ ระบบสารสนเทศ
ภมู ศิ าสตร์ (GIS) ซึ่งแปลงสารสนเทศทีเ่ กย่ี วกบั พื้นท่ี และขอ้ มูลตารางหรือคาอธบิ ายท่ีให้
เปน็ ข้อมูลเชิงตวั เลขทาใหก้ ารจัดเกบ็ เรยี กดูข้อมูล การปรบั ปรงุ แก้ไขและการวเิ คราะห์
เปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ และถูกต้องและแสดงผลในรปู แบบแผนท่ี กราฟ หรอื ตารางไดอ้ ย่าง
ถูกตอ้ งอีกดว้ ย ส่วนระบบ กาหนดตาแหนง่ บนพ้ืนผิวโลก (GIS) ใชก้ าหนดจุดพิกัดตาแหนง่
ของวตั ถุต่าง ๆ บนผวิ โลก โดยอาศยั สญั ญาณจากดาวเทียมหลายดวงทโี่ คจรอยูร่ อบโลก

13

คาถามทา้ ยบท

คาช้ีแจง จงเลือกคาตอบทถี่ กู ตอ้ งหรอื เหมาะสมท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

1. เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตรม์ คี วามสาคัญอย่างไร
ก. ช่วยใหม้ นุษย์มองเห็นภาพของโลกได้ชัดเจน
ข. ใช้เป็นข้อมลู ในการแก้ปญั หา
ค. ใชเ้ ป็นข้อมูลในการพฒั นาพื้นท่ไี ดเ้ หมาะสม
ง. ถกู ทกุ ข้อ

2. ข้อใดเปน็ เครอ่ื งมือประเภทอปุ กรณ์
ก. ลกู โลก
ข. เขม็ ทศิ
ค. แผนที่
ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ

3. ขอ้ ใดเป็นอปุ กรณ์สาคญั ในการศกึ ษาภมู ิศาสตรท์ ่ีมนุษยส์ รา้ งขนึ้ เพื่อจาลองส่งิ ท่เี กดิ ขนึ้ โดยสร้างบนแผน่ แบนราบ ยอ่
ขนาดให้เล็กลงตามอตั ราส่วน

ก. ลกู โลก
ข. เขม็ ทศิ
ค. แผนท่ี
ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ
4. ขอ้ ใดเปน็ ขอ้ มลู ดา้ นวฒั นธรรม
ก. บ้านเรือน
ข. ภเู ขา
ค. แม่น้า
ง. สภาพภูมิประเทศ
5. ข้อใดเปน็ แผนทเี่ ฉพาะเรื่อง
ก. แผนที่อ้างองิ
ข. แผนท่สี ถิติ
ค. แผนท่มี าตราส่วนใหญ่
ง. แผนทีม่ าตราสว่ นเล็ก

14

6. ขอ้ ใดจัดเปน็ แผนที่มาตราสว่ นเลก็
ก. แผนทชี่ มุ ชน
ข.แผนที่จงั หวัด
ค. แผนทีป่ ระเทศไทย
ง. แผนท่ีโลก

7. องค์ประกอบของแผนท่ีคืออะไร
ก. สี และเสน้
ข. เสน้ และขนาด
ค. สิ่งต่างๆ ทป่ี รากฏบนแผนที่
ง. รปู รา่ ง สี ขนาดและเสน้

8. ขอ้ ใดจัดเปน็ องค์ประกอบภายนอกขอบระวาง
ก. ชอื่ ชดุ ของแผนที่
ข. มาตราสว่ น
ค. ชอื่ แผ่นระวาง
ง. ถูกทุกขอ้

9. ภาพถ่ายทางอากาศประเภทน้ีมกั จะใชใ้ นการสารวจเส้นทางถนนหรอื รถไฟ เป็นภาพถา่ ยแบบใด
ก. ภาพถา่ ยเดยี่ ว
ข. ภาพถ่ายเปน็ แถบ
ค. ภาพถา่ ยเปน็ กลุม่
ง. ภาพถา่ ยแนวดิง่

10. ดาวเทยี มสารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรกของประเทศไทยชื่ออะไร
ก. ดาวเทยี มธีออส
ข. ดาวเทยี มไทยคม
ค. ดาวเทียมสปุกนิก
ง. ดาวเทยี มแลนด์เซต

15

11. ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มใช้เทคโนโลยีอะไร
ก. รังสแี กรมมา
ข. รังสคี วามรอ้ น
ค. คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า
ง. คลื่นวิทยุ

12. หากตอ้ งการดทู ศิ ท่แี มน่ ยาควรใชอ้ ปุ กรณ์ในข้อใด
ก. ดวงอาทิตย์
ข. เข็มทศิ
ค. ดวงจันทร์
ง. นาฬิกาทราย

13. บริเวณทเี่ ส้นขนานละตจิ ูดกบั เส้นเมรเิ ดยี นตดั กนั โดยจะกาหนดเปน็ คา่ ละตจิ ดู และค่าลองจจิ ูด
เรียกว่าอะไร

ก. พิกัดภูมิศาสตร์
ข. ระนาบภูมิศาสตร์
ค. แนวภมู ิศาสตร์
ง. เสน้ ทางภมู ิศาสตร์
14. เวลามาตรฐานของโลกอยทู่ ่ีใด
ก. เมืองเวนชิ
ข. เมืองไทย
ค. เมอื งพาราณสี
ง. เมืองกรีนชิ
15. เวลาในประเทศไทย เมื่อเทยี บกับเวลามาตรฐานโลกเป็นอย่างไร
ก. เท่ากับเวลามาตรฐานโลก
ข. ชา้ กวา่ 7 ชวั่ โมง
ค. เรว็ กวา่ 7 ชวั่ โมง
ง. ไมส่ ามารถเทียบได้

16

ผ้จู ัดทา

นางสาวอารยี ์ ขวญั คมุ้
ครูประจาศูนยก์ ารเรยี นชุมชน

กศน.ตาบลหนองขา่


Click to View FlipBook Version