The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fg.fone-ii, 2021-03-22 02:52:20

ebook ฉบับแก้ไข

ebook ฉบับแก้ไข

เอกสารประกอบการประชมุ

การประชมุ วชิ าการเภสชั ศาสตรศกึ ษา แหง่ ชาติ ประจาปี 2563
Thai Pharmacy Education Conference 2020:
Opportunities and Lessons Learned
for Pharmacy Education Amid COVID-19
รูปแบบ webinar ผา่ น ZOOM application

1

บทนำ

การจดั ประชมุ วิชาการเภสชั ศาสตรศกึ ษาได้จดั มาอย่างต่อเน่ืองทุกปี ในปี พ.ศ. 2563
ท่ีประชุมคณะอนุกรรมการด้านเภสัชศาสตรศึกษาภายใต้การกากับดูแลของศูนย์ประสานงาน
การศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศศภท.) ได้มอบหมายให้คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นเจ้าภาพในการจัดงานประชุมวิชาการ “เภสัชศาสตรศึกษาแห่งชาติ
ประจาปี 2563” Thai Pharmacy Education Conference 2020: Opportunities and
Lessons Learned for Pharmacy Education Amid COVID-19 รูปแบบ webinar ผ่าน
ZOOM application ในวันเสาร์ท่ี 7, 14, 21 พฤศจิกายน 2563 และ วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม
2563 โดยจัดให้มีกิจกรรมหลักเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการเรียนการสอนในแวด
วงการศึกษาเภสัชศาสตร์ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ทั้งในส่วน
กระบวนวิชาทางวิชาชีพเภสัชกรรม กระบวนวิชาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ และระบบการพัฒนา
นักศึกษาให้มีสุขภาพจิตที่ดีในรั้วมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาปรับปรุงการ
จดั การเรียนการสอนและการดูแลนักศึกษาเภสชั ศาสตร์ให้ดยี ่ิงข้นึ

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในนามเจา้ ภาพในการจัดงานประชุมวิชาการ
ได้รวบรวมข้อมูลเพื่อเป็น เอกสารประกอบการประชุมในรูปแบบ E-book ซึ่งเป็นข้อมูลท่ีได้มา
จากการสารวจการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning แยกเป็นกลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิชาชีพ กลุ่มวิชาด้านเภสัชกรรมอุตสาหการ และ กลุ่มวิชาด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม
ประกอบด้วยวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวิชา แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ที่สะท้อน
การจัดการเรียนการสอนแบบ active learning กระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือ
กจิ กรรม วธิ ีการวัดและประเมินผลโดยสรุปผลงาน/ผลลัพธ์ที่ได้จากการเรียน ถอดบทเรียน
การเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา เพ่ือให้ผู้ร่วมประชุมได้เห็น
ตวั อย่างการจัดการเรยี นการสอนท่ีหลากหลายจากคณะเภสัชศาสตร์ทุกสถาบัน

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอขอบคุณคณาจารย์คณะเภสัชศาสตร์
ทุกมหาวิทยาลัยที่กรุณาให้ข้อมูลจากการสารวจการจัดการเรียนการสอนแบบ active
learning คณะอนุกรรมการด้านเภสัชศาสตรศึกษาที่กรุณาให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับรูปแบบและเน้ือหาในการจัดประชุมสัมมนาในคร้ังน้ี และศูนย์ประสานงานการศึกษา
เภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (ศศภท.) ท่ีสนับสนุนงบประมาณในการจัดประชุมสัมมนาในคร้ัง
นี้

CONTENTS 7
9
สารบัญ 13

การจัดการเรยี นการสอนแบบ active learning

1.กลมุ่ วชิ าพน้ื ฐานวชิ าชพี

1.1 วิทยาศาสตรก์ ารแพทยข์ องมนุษย์ 4: มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์
1.2 บรู ณาการอภิบาลระบบยาและสขุ ภาพ 1: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.3 ระบบยาและสขุ ภาพ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

2. กลมุ่ วชิ าดา้ นเภสชั กรรมอตุ สาหการ 17
18
2.1 เภสชั อุตสาหกรรม: มหาวิทยาลยั อสี เทริ น์ เอเชีย 19
2.2 เภสชั กรรม: มหาวิทยาลยั อสี เทิรน์ เอเชีย 21
2.3 การพฒั นาตารบั เภสัชภณั ฑ์: มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 23
2.4 เภสชั ควบคมุ คุณภาพ 3: มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 25
2.5 เทคโนโลยเี ภสชั กรรม 1: มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี 27
2.6 เทคโนโลยีชวี ภาพทางเภสัชกรรม : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 29
2.7 เภสชั อุตสาหกรรม 1: มหาวทิ ยาลัยอีสเทริ น์ เอเชยี 31
2.8 เภสชั เวท: มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ 33
2.9 วชิ าเภสัชกรรม 2: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 35
2.10 การออกแบบเภสชั ภัณฑ์ 1: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 37
2.11 การฝึกปฏบิ ตั งิ านเภสชั กรรมการตลาด 1: มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 39
2.12 การฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี สาขาวชิ าเภสชั ศาสตร์: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 43
2.13 การฝกึ ปฏบิ ัติงาน 3 : การควบคมุ กระบวนการผลิตยา: 49

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ 51
2.14 ปฏบิ ัตกิ ารเภสชั พฤกษศาสตรแ์ ละเภสัชวินจิ ฉยั : มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 53
2.15 เภสชั พฤกษศาสตร์: มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์
2.16 ปฏบิ ัตกิ ารเภสัชพฤกษศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
2.17 ปฏบิ ัตกิ ารเภสชั วิเคราะห์ 2: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

3

CONTENTS

สารบัญ

3. กลมุ่ วชิ าดา้ นการบรบิ าลทางเภสชั กรรม

3.1 เภสัชกรรมคลินิก 3: มหาวิทยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ 57
3.2 แนะนาการฝกึ ปฏิบัติการบรบิ าลเภสชั กรรม: 58

มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรติ 59
3.3 เตรียมความพร้อมทักษะทางบรบิ าลเภสชั กรรมใน: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 61
3.4 หลักการพืน้ ฐานทางเภสชั จลนศาสตร์: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 63
3.5 เภสชั กรรมโรงพยาบาล: มหาวิทยาลยั หวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ 65
3.6 เภสัชบาบดั 6: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกยี รติ 67
3.7 เภสัชศาสตรส์ นเทศ: มหาวิทยาลยั มหดิ ล 69
3.8 เภสัชกรรมชุมชน: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 71
3.9 ยาใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ 73
3.10 การสื่อสารเพือ่ การปฏิบตั วิ ิชาชีพเภสชั : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 75
3.11 ปฏบิ ตั ิการเภสชั บาบดั 1: มหาวิทยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ 77
3.12 ปฏิบตั กิ ารเภสัชกรรมปฏิบัต:ิ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 79
3.13 การฝกึ ปฏบิ ัติงานการบริบาลทางเภสัชกรรมด้านเภสัชกรรมชุมชนขนั้ สูง:
81
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์
3.14 การฝกึ ปฏบิ ตั งิ านการคมุ้ ครอง ผ้บู รโิ ภคดา้ นสุขภาพ 2: 83
85
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์
3.15 เภสัชกรรมบาบดั 1: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
3.16 การบรบิ าลทางเภสชั กรรม: มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์

กลมุ่ วชิ ำ

พื้นฐำนวิชำชพี

5

1 วิทยาศาสตรก์ ารแพทยข์ องมนษุ ย์ 4
Human Medical Science IV

มหาวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์

หนว่ ยกติ : 6(4-4-10)

นกั ศกึ ษาช้ันปีทเ่ี รยี น : ช้นั ปที ี่ 2

จานวนนกั ศึกษาในชน้ั เรยี น : 103 คน

ผ้รู ับผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.ศิริพันธ์ุ หิรญั ญะชาติธาดา (สานกั วิชาเภสัชศาสตร์)

2. อาจารย์ ดร.ภญ.ณัฐิกานต์ นกแก้ว (สานกั วชิ าเภสัชศาสตร์)

3. อาจารย์ พญ.นนทพรรณ ผาสุข (สานักวิชาแพทยศาสตร์)

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรขู้ องกระบวนวชิ า

1 อธบิ ายโครงสร้างทางกายวิภาคศาสตร์ และจุลกายวภิ าคศาสตรข์ องระบบ
หวั ใจหลอดเลือด ระบบหายใจ และระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะได้

2 อธบิ ายหนา้ ที่ และกลไกการควบคุมการทางานของไหลเวียนเลือด ระบบ
หายใจ และระบบขับถ่ายปสั สาวะได้

3 อธิบายพยาธกิ าเนิด และพยาธสิ รีรวทิ ยาของโรคหรอื ความผิดปกตทิ ีพ่ บบอ่ ย
ของระบบหวั ใจหลอดเลือด ระบบหายใจ และระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะได้

4 อธบิ ายกลไกการออกฤทธ์ขิ องยาท่ใี ช้ในโรคหรอื ความผดิ ปกติท่ีพบบอ่ ยของ
ระบบหัวใจหลอดเลือด ระบบหายใจ และระบบขบั ถ่ายปัสสาวะได้

5 บรู ณาการความรูเ้ กีย่ วกับโครงสรา้ งทางกายวิภาคศาสตร์และจุลกายวิภาค
ศาสตร์ หนา้ ที่และกลไกการควบคมุ การทางานของระบบหัวใจหลอดเลือด ระบบหายใจ
และระบบขับถา่ ยปัสสาวะ เพ่ือใชส้ าหรบั การวางแผนการบริหารยาในผ้ปู ่วยได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ

6 คน้ คว้า วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสงั เคราะห์ขอ้ มูลเก่ยี วกับโครงสร้างทางกาย
วิภาคศาสตร์และจุลกายวิภาคศาสตร์ และการทางานของระบบหัวใจหลอดเลือด ระบบ
หายใจ และระบบขบั ถ่ายปัสสาวะ เพอื่ นาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการอธบิ ายปญั หาทางการแพทย์
ได้

7

แนวคิดการจดั การเรยี นรู้ ที่สะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

การจดั การเรยี นรแู้ บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (problem-based learning)
การสอนโดยใชก้ ารอภิปรายกลมุ่ ย่อย

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนหรือกิจกรรม วิธกี ารวัดและประเมินผลโดยสรุป

1. วธิ ีการสอนโดยใช้การบรรยาย
2. วธิ ีการสอนโดยใชก้ ารอภิปรายกล่มุ ย่อย
3. วิธีการสอนโดยใชก้ ารสาธติ
4. วธิ ีสอนโดยใช้การทดลอง
5. วธิ สี อนโดยการปฏบิ ัติการ
6. วธิ ีสอนแบบเนน้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง
7. วิธีสอนแบบสืบเสาะแสวงหาความรู้

ผลงาน/ผลลัพธท์ ี่ไดจ้ ากการเรยี น

1. มที กั ษะทางสงั คม มีมนุษยสัมพันธท์ ด่ี ี มีความรบั ผิดชอบทางานเป็นทีมท้ังในบทบาทของผู้นา
หรือผตู้ ามร่วมกบั นักศึกษาคนอ่ืนๆ ในการเรียนแบบกลุ่มยอ่ ยได้
2. มคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี เภสัชกรรมของประเทศ
ไทยและสากล
3. สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์กับวิชาในสาขาเภสชั ศาสตร์
การบรบิ าลเภสัชกรรม เพื่อการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ การปอ้ งกัน การรักษา การฟน้ื ฟู และการ
แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนและชมุ ชนแบบองค์รวมได้
4. มีความใฝ่รู้ สามารถใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการแสวงหาความรู้ และการจัดการความรู้
ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต
5. สามารถนาองคค์ วามรู้ทางดา้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์ประยกุ ต์ใชใ้ นกระบวนการวจิ ยั ได้
6. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดและการสอ่ื สารความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์การแพทย์ แก่
บคุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ และประชาชนได้

ถอดบทเรยี นการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวิชา

1. เน่ืองจากมีการสอนออนไลนจ์ ากสถานการณโ์ ควดิ ทาใหไ้ มส่ ามารถพบเหน็ หรอื ตอบโตก้ ับ
นักศกึ ษาได้โดยตรงทาให้ต้องจัดการเรยี นการสอน การสอบออนไลน์ อีกทงั้ อาจารยย์ งั ไมม่ ี
ประสบการณก์ ารจดั ทาขอ้ สอบและดาเนินการสอบออนไลน์ ทาให้การใช้ internet และอปุ กรณ์
มีขอ้ ขัดข้องบ้าง เชน่ นักศึกษาอาจไมไ่ ดร้ ับเนอ้ื หาครบถ้วนจากการเรียนออนไลน์ และผลการ
สอบอาจคลาดเคลื่อนจากการสอบแบบใช้ internet จากทพี่ ักนักศกึ ษา
2. จดั การเรยี นการสอนเป็นกลุ่ม ขนาด 40-50 คน ทั้งภาคบรรยายและปฏิบัติการ
3. จดั formative : summative assessment ในสดั ส่วน 60:40 และจดั formative
assessment ทกุ 2 สัปดาห์

81

2 บูรณาการอภบิ าลระบบยาและสขุ ภาพ 1
(Integrated Drug and Health System Governance I)

มหาวทิ ยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

หนว่ ยกิต : 2(1-2-3)

นกั ศกึ ษาชั้นปีท่เี รียน : ชน้ั ปที ี่ 1

จานวนนักศกึ ษาในชนั้ เรยี น : 51 คน

ผูร้ บั ผิดชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ยุพดี ศิริสนิ สุข

2. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรรณา ศรีวิรยิ านภุ าพ

3. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สุนทรี ท. ชยั สัมฤทธิโชค

4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.อนุชัย ธรี ะเรอื งไชยศรี

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ของกระบวนวิชา

1 อธิบายความหมายของ “สุขภาพ” และปจั จัยท่สี ่งผลต่อสุขภาพ
2 อธบิ ายวงจรชวี ิตผลิตภัณฑ์ของยา ตงั้ แตต่ น้ นา้ จนถงึ ปลายนา้ แลความสาคัญ
ของกระบวนการตา่ งๆ ในวงจรชีวิตผลติ ภัณฑไ์ ด้
3 อธิบายความหมายของระบบยาและสุขภาพ โครงสรา้ ง วัตถุประสงค์ และ
ปจั จัยท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบยาและสขุ ภาพ รวมถงึ ระบบหลกั ประกันสขุ ภาพ
อตุ สาหกรรมยา
4 อธิบายบทบาทต่างๆ ของเภสชั กรในระบบสุขภาพในระดับบุคคลและ
ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
5 มที กั ษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
6 สรา้ งลักษณะนิสัยท่ีดีด้วยตนเอง และการพัฒนาทักษะพนื้ ฐาน (soft skill)

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทส่ี ะทอ้ นการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning

การจัดการเรียนรู้ เพอื่ บรรลุวัตถุประสงค์รายวชิ าในขอ้ 2,3,4,5 และบางส่วนใน
วัตถุประสงคข์ อ้ 6 (เน้น ทักษะในศตวรรษที่ 21 (4C) - Critical thinking, Communication,
Collaboration, Creativity) เปน็ ความ ท้าทายทส่ี าคญั สาหรบั รายวิชาขนาด 2 หน่วยกติ ใน
ด้านองคค์ วามรู้ ได้แบง่ เป็น โมดูลย่อย 4 โมดูล จัดการเรียนการสอนนสิ ติ ตามวงจรชีวติ ระบบ
ยา คอื โมดลู 1 การค้นคว้าพัฒนายา (Drug Discovery and Development) โมดูล 2 การนา
ยาเขา้ สู่ตลาด (Drug Registration) โมดลู 3 การใชย้ าของผปู้ ว่ ย (Patient use Journey)
โมดูล 4 การคุ้มครองผู้บรโิ ภค เพอื่ ความปลอดภยั ในการใช้ยา (Consumer protection) ทัง้
4 โมดลู ใหค้ วามร้แู บบบรู ณาการทั้งวงจรชีวิตผลติ ภัณฑย์ า ระบบยาระบบสขุ ภาพ และบทบาท
เภสชั กร ในระบบสขุ ภาพ (ในส่วนทีเ่ กยี่ วขอ้ ง) ในรปู แบบโมดูลเวยี น แบง่ นิสิตเป็น 4 กลมุ่ ๆ ละ
50 คน เวยี นไปตามแต่ละโมดูล

9

ในส่วนนี้ขอเสนอการเรียนการสอนใน โมดูล 4 การคุ้มครองผู้บริโภค ได้กาหนด
วตั ถปุ ระสงค์ยอ่ ยของโมดลู 4 ดังนี้

1. วเิ คราะหป์ ญั หา/ผลกระทบของปญั หาในวงจรระบบยา ท่ีมีต่อสุขภาพและชีวิต
ของประชาชน รวมท้ังปัจจัยต่างๆ ท่ีส่งผลต่อสุขภาพและชีวิต จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่
กาหนด

2. สามารถอธิบายบทบาทหน้าท่ีของเภสัชกรที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลตาม
กฎหมายและการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภคด้านสขุ ภาพ

3. เรียนรู้และตระหนักถึงคุณค่าของเภสัชกรในการกากับดูแลตามกฎหมายและ
ค้มุ ครองผู้บริโภคด้านสขุ ภาพ

วิธีการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนแบบ Problem-Based Learning
(PBL) ซ่ึงเป็นการจัดการเรียนการสอนโดยเอาปัญหามาเป็นเครื่องมือกระตุ้นการเรียนรู้
ของนสิ ิต โดยใช้กรณีศึกษาจากสถานการณ์จริง (Scenario) โดยมุ่งให้นิสิตเรียนรู้ ได้คิดได้
ตั้งประเด็นข้อสงสัยหรือปัญหาตามความสนใจของกลุ่มท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ของโมดูล จากนั้นจึงไปค้นคว้าหาคาตอบ โดยทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม พูดคุย ส่ือสาร
นาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ และนาเสนอความรู้จากการศึกษา และ
คณาจารย์มีบทบาทในการต้ังคาถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียนรู้
(Facilitator) ในสถานการณ์ COVID-19 ท่ีจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ คณาจารย์ใน
โมดูล ใช้โปรแกรม Moodle เป็นระบบจัดการเรียนรู้และใช้ Zoom และการแบ่งกลุ่มย่อย
Zoom เป็นห้องเรียนรวมและห้องเรยี นกลุ่มย่อย

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนหรอื กจิ กรรม วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลโดยสรปุ

โมดูล 4 บทบาทเภสัชกรในการบงั คับใชก้ ฎหมายและคุ้มครองผู้บริโภค (Roles of
Pharmacists in Law, regulation and consumer protection) มีการจัดการเรียนการ
สอนเปน็ 4 รอบ มีนิสติ รอบละ 50 คน ในแตล่ ะรอบแบ่งนิสิตออกเป็น 6 กลุ่มย่อยๆ ละ 8-9
คน กรณีศึกษาที่จัดทาขึ้น 3 กรณี โดยให้แต่ละกลุ่มย่อยจะได้รับสถานการณ์ปัญหา 1 เร่ือง
และมี 2 กลุ่มท่ีใช้สถานการณ์ปัญหาเดียวกัน เช่น กลุ่มย่อยท่ี 1-2 ใช้สถานการณ์ปัญหาท่ี 1
กลุ่มย่อยท่ี 3-4 ใช้สถานการณ์ปัญหา 2 และกลุ่มย่อยที่ 5-6 ใช้สถานการณ์ปัญหา 3
การออกแบบใหม้ ี 2 กลุ่มใชส้ ถานการณ์ปัญหาเดียวกัน เพ่ือให้นิสิตได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้ามกลุ่มได้ และแต่ละสถานการณ์ปัญหามีจุดเน้นในการคุ้มครองผู้บริโภคที่ไม่ซ้ากันใน
กระบวนการนาเสนอ เพือ่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในภาพรวม นิสิตแต่ละกลุ่มจะได้เรียนรู้เสริม
และเตมิ เต็มกนั

กระบวนการเรียนการสอน ใช้ 7 ข้ันตอนการเรียนรู้ PBL ของ The Maastricht
seven jump process โดยแยกเป็น 2 สปั ดาห์ สัปดาหแ์ รกนิสิตทา 5 ขัน้ ตอนของ PBL คอื

1. ทาความเข้าใจคาศัพท์ และเรื่องราว
2. เลือกปญั หาทสี่ นใจ
3. วเิ คราะหป์ ญั หา
4. กาหนดประเด็นทต่ี อ้ งค้นคว้าเพือ่ หาคาตอบของปญั หา
5. สรา้ งวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

10

หลังจากครบ 5 ข้ันตอน ให้นิสิตนาเสนอผลการประชุมกลุ่มทั้ง 5 ข้อ ในห้องเรียนรวมระหว่าง
สัปดาห์ นสิ ติ แต่ละคนไดง้ านไปคน้ คว้า เรียบเรยี งมานาเสนอ

6. นสิ ิตแยกกนั คน้ คว้าข้อมลู
สัปดาหส์ อง นสิ ติ นาความรมู้ ารวบรวมและสรปุ ในท่ีประชุมกลมุ่

7. นาความรู้ทีไ่ ดม้ ารวมและสรุปเปน็ คาตอบของปัญหาหลงั จากทาขนั้ ตอน 7 ใหน้ สิ ิตแต่
ละกลุ่มนาเสนอผลการทางานเพ่อื ตอบปญั หา PBLในหอ้ งเรยี นรวม

กระบวนการเรียนการสอน มีอาจารย์ 1 ทา่ น/นสิ ติ 2 กลุม่ ท่ีทาสถานการณ์เดียวกัน โดย
บทบาทอาจารย์จะเป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ เน่ืองจากเป็นการเรียนออนไลน์ จะใช้ห้องเรียนกลุ่ม
ย่อยใน Zoomเป็นห้องเรียน และอาจารย์จะใช้ 2 อุปกรณ์เปิดเข้าห้อง Zoom ย่อยของนิสิตทั้ง 2
กลุม่ “ได้ในเวลาเดยี วกัน” เป็นประโยชน์มากในการตดิ ตามนิสิตท้ัง 2 กลมุ่

การทาหน้าท่ีของอาจารย์ประจากลุ่มในฐานะ Facilitator ในด้านกระบวนการเรียนรู้
เป็นหลัก สว่ นในด้านเนื้อหาจะเป็นหน้าท่กี ารสืบค้นโดยนิสิต ภายใต้กรอบการเรียนรู้ท่ีคณาจารย์ได้
ร่วมกันจัดทาไว้ล่วงหน้า เพ่ือเป็นแนวทางในการชี้แนะการเรียนรู้ให้ครบถ้วนตามกรอบ
วัตถุประสงคข์ องโมดลู 4

การวัดและประเมนิ คณาจารย์ให้คะแนน ดงั นี้
1. กระบวนการ (คะแนนรายงานกลุ่มครั้งท่ี 1 คะแนนการนาเสนอครั้งที่ 1 คะแนน
รายงานกลุม่ สดุ ท้าย คะแนนนาเสนอรายงานกลมุ่ สดุ ทา้ ย) นอกจากน้ีอาจารย์ประจากลุ่มได้จัดให้มี
การประเมินในกลุม่ โดยใหน้ สิ ิตแตล่ ะคนแสดงความคดิ เห็นต่อการทางานของกลุ่ม ประเมินบทบาท
ของประธาน เลขานกุ าร และสมาชิกกล่มุ รวมทง้ั ใหข้ ้อเสนอแนะเพอ่ื ปรบั บปรุงการทางานกลุ่ม
2. ความรู้ จากการสอบปลายภาค

ผลงาน/ผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากการเรยี น

ในดา้ นกระบวนการ คณาจารยผ์ ู้สอนมีความพอใจมากในกระบวนการทางานกลุ่ม
ของนิสติ ดูจาก

1. ผลการเรียนรู้ของนิสิต ได้แก่ การต้ังปัญหา และกาหนดประเด็นการค้นคว้าท่ี
ค่อนข้างรอบด้าน (มีกรอบใหญ่ๆ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ของ โมดูล เป็นตัวกากับ) ใน
ดา้ นผลงาน นิสิตแตล่ ะกลมุ่ คน้ ควา้ และสามารถตอบปัญหาที่ต้ังไว้ได้ครอบคลุมวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ การค้นคว้าของนิสิต พบว่าใช้แหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย และน่าเชื่อถือ มีการ
อ้างอิงที่ชัดเจนได้เป็นส่วนใหญ่ (มีการสอนความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล และเรื่องการ
อ้างอิง) มีความน่าสนใจว่า สถานการณ์ที่ดีจะนาทางให้นิสิตเรียนรู้ได้กว้างขวางและ
ครอบคลุมวตั ถุประสงค์ (มคี ลิปวิดีโอ การนาเสนองานของนิสติ ทส่ี ะท้อนมติ ิการเรียนรู้)

2.จากกระบวนการเรียนรู้ของนิสิตได้แก่ การทาหน้าท่ีในกลุ่มของประธาน
เลขานุการและสมาชิกกลุ่ม การแบ่งงานกันค้นคว้าได้ค่อนข้างลงตัว การทางานกลุ่ม
ช่วงแรกยังไม่ราบล่ืนนักเนื่องจากเป็นนิสิตปี 1 ที่ยังไม่รู้จักกัน แต่ด้วยความสะดวกของ
คล่องตัวของ Zoom name (อาจารย์ให้นิสิตเปล่ียนช่ือ Zoom name เป็น ช่ือกลุ่มและช่ือ
จริง ให้นิสิตเปิดกล้องตลอดเวลา) ทาให้นิสิตทราบช่ือของสมาชิกและเห็นหน้าตา พอที่จะ
คุ้นเคยกัน ในการทากลุ่มในเวลาต่อมา ก็ดาเนินไปได้อย่างราบลื่นมากข้ึน (มีคลิปวิดีโอ แสดง
การทางานกล่มุ )

ในภาพรวมคณาจารย์มีความพึงพอใจทั้งกระบวนการ และผลงานของนิสิตท่ีได้
เรียนรู้ผ่าน PBLยังเหลือข้ันตอนการสอบวัดผลปลายภาคที่จะดาเนินการช่วงปลายเดือน
พฤศจกิ ายน 2563

11

ถอดบทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวิชา

การเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนการสอนจากเดิมแบบบรรยายและการตั้ง
คาถามเพ่ือทางานกลุ่ม มาเป็นแบบ PBLที่นิสิตคิดเอง สงสัยเอง และใช้ปัญหาที่ตนเองและกลุ่ม
สนใจ (Problem) เป็นตัวเรม่ิ ตน้ ในการนาการเรียนรู้ เป็นสิ่งท่ีช่วยให้นิสิตต่ืนตัวและมีเป้าหมาย
รู้ว่าตัวเองกาลังศึกษาอะไร ค้นหาอะไร การทางานร่วมกัน การระดมความคิด ช่วยกัน
แลกเปลี่ยน ทาความเข้าใจในสถานการณ์ ช่วยให้นิสิตผูกพัน (engage) เพราะมีทีมในการ
ทางาน ไม่เบื่อหน่าย จากการสังเกตกระบวนการกลุ่ม คณาจารย์เห็นบรรยากาศการเรียนรู้ ที่
แตกต่างออกไปจากในช้ันเรียน มีการคิด มีการเสนอ มีการแลกเปล่ียนท่ีมีความน่าสนใจ เม่ือ
ประกอบการการแนะนาวิธีการค้นคว้า การเลือกข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ และการทางานกลุ่ม ทา
ให้ผลงานที่ออกมาค่อนข้างมีเน้ือหาท่ีชัดเจน ครอบคลุมประเด็นวัตถุประสงค์การเรียนรู้
กระบวนการ PBL ช่วยสง่ เสริมการพัฒนาทักษะ 4C ในนิสติ ได้ครอบคลมุ

ปจั จยั สาคญั ของความสาเรจ็ การเรยี นการสอน PBL คือ
1) สถานการณ์ (Scenario) ทใี่ ชใ้ น PBL การใช้สถานการณ์จริง เป็นประโยชน์อย่าง
มากในการชว่ ยใหน้ สิ ติ รับรถู้ งึ สถานการณ์จริง มีความรู้สึกร่วม และการค้นคว้าจากข่าวจะพา
นสิ ิตไปยังแหล่งข้อมลู ต่างๆ ได้
2) อาจารย์ท่เี ปน็ ผู้สนับสนุนการเรียนรู้ ที่จะคอยต้ังคาถามเพ่ือส่งเสริมการคิด และ
กระตุ้นการเรยี นรู้
3) การเตรยี มนสิ ติ ทักษะทจ่ี ะต้องเตรียมให้นิสิตเป็นพ้ืนฐาน คือ ทักษะในการสืบค้น
ขอ้ มลู ทน่ี ่าเช่อื ถอื การอา้ งองิ ข้อมลู การเตรยี มนสิ ติ ให้ทางานกลุ่มอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4) คุณสมบัติของนิสิต เป็นปัจจัยสาคัญ ซึ่งจะเห็นความแตกต่างของผลงานกลุ่ม
ในกรณีที่กลุ่มย่อยนิสิตมีสมาชิกท่ีมีความสามารถในการเป็นผู้นา ท่ีนากลุ่มได้รวดเร็วและ
ครบถ้วน ในขณะท่ีบางกลุ่ม หากนิสิตไม่ค่อยกล้าแสดงออกมากนัก มักจะใช้เวลาในการทางาน
กลุ่มนานกว่าจะบรรลุวตั ถุประสงค์

การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สาหรับ PBL มีทั้งข้อดีและข้อจากัด
ขอ้ ดที ที่ าใหก้ ารจดั การกระบวนการกลุ่มทาได้สะดวก คณาจารย์สามารถติดตามฟังการประชุม
กลุม่ ท่ีดแู ลไดส้ ะดวก และสามารถสนับสนุนนิสติ ได้ใกล้ชิด ขณะท่ีนิสิตเองคุยกันได้สะดวก มีไมค์
ทเี่ ปดิ ปิดได้ของตนเอง มีเคร่ืองมือเช่น google doc ที่ share ผ่าน Zoom ให้สมาชิกกลุ่มได้เห็น
ทางานกลุ่มได้อย่างสะดวก การอภิปราย การถาม -ตอบ เกิดข้ึนได้ค่อนข้างสะดวกและ
กวา้ งขวาง (ไม่ตดิ ทีก่ ายภาพ และข้อจากัดของจานวนไมค์ท่ีมีอยู่ในห้อง) การจัดการแยกกลุ่ม
ย่อยและรวมกลุ่มใหญ่ทาได้สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และการอ้างอิงแหล่งความรู้
ออนไลน์เพื่อการพูดคุยแลกเปลี่ยน ทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับข้อจากัด คือ ความรู้สึก
ใกล้ชิด เป็นกันเอง ยังไม่มาก เน่ืองจากเห็นกันผ่าน Zoom และคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะวิชานี้
สอนกับนิสิตปี 1 ที่เพ่ิงเข้ามาเรียน ยังไม่รู้จักเพื่อนและคณาจารย์ ก็มีท่ีรู้สึกไม่คุ้นเคยบ้าง แต่ก็
ไมไ่ ดเ้ ป็นอปุ สรรคมาก

12

3 ระบบยาและสขุ ภาพ
(Drug and Health System)

มหาวิทยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

หน่วยกติ : 3(2-3-4)

นักศกึ ษาชน้ั ปีทีเ่ รียน : ชัน้ ปที ี่ 3

จานวนนกั ศกึ ษาในช้นั เรียน : 182 คน

ผ้รู บั ผิดชอบกระบวนวิชา/ทมี สอน

1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สุนทรี ท. ชัยสมั ฤทธิโชค

2. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรรณา ศรวี ริ ิยานุภาพ

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรขู้ องกระบวนวิชา

1 อธิบายความหมายของ “สุขภาพ” องค์ประกอบเชิงโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ระบบสขุ ภาพระบบหลกั ประกันสุขภาพ ระบบยา ตลอดจนปัจจัยท่ีมีส่งผลกระทบตต่อระบบ
ดงั กลา่ ว

2 อธิบายความสาคญั ของบทบาทของเภสัชกรที่มีต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพและ
การพัฒนาระบบยาในระดับของสถาบัน ชมุ ชนและประเทศ

3 อธิบายกรอบแนวคิดและเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบที่
มีตอ่ ระบบยาและระบบสขุ ภาพในระดบั สถาบัน ชมุ ชน และประเทศ

4 ระบุปัญหาและบูรณาการความรู้ในการอธิบายปัญหาของระบบยาและระบบ
สุขภาพ

5 อธบิ ายแนวคดิ และกลวิธีการส่งเสริมสขุ ภาพทเี่ หมาะสมสอดคล้องกับปญั หา
ของผ้ปู ่วยหรือชุมชนได้

แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ ทส่ี ะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

การจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์รายวชิ าทุกข้อ ไมเ่ พียงใหค้ วามสาคัญ
กับการฝึกฝนทักษะทจี่ าเป็นสาหรับศตวรรษท่ี 21 (4C) - Critical thinking,
Communication, Collaboration, Creativity) แตย่ งั นาทักษะมาใชท้ าความเขา้ ใจปัญหาการ
ใชย้ าของผปู้ ว่ ยทีเ่ กิดขึน้ ในระบบยาและระบบสขุ ภาพของประเทศผา่ นการลงสารวจปญั หาที่
เกดิ ขึ้นจรงิ ของชุมชนชนบท โดยมอบหมายให้นิสิตทั้งชน้ั เก็บรวบรวมขอ้ มลู ชุมชนของ หมู่ 7
ตาบลหลงั เขา อาเภอมวกเหลก็ จงั หวัดสระบรุ ี ทง้ั ชมุ ชน (182 หลงั คาเรือน) รวมท้งั
มอบหมายให้จัดทาแผนผังเดินดนิ ซึ่งหมายถึงแผนที่ประจาหมู่บ้านท่ีมขี ้อมลู สุขภาพครบถ้วน
โดยการจดั การเรยี นรูต้ ลอดภาคการศึกษาเป็นแบบออนไลน์

13

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนหรือกจิ กรรม วธิ กี ารวดั และประเมินผลโดยสรปุ

กระบวนการจัดการเรียนรู้ตลอดภาคการศึกษาเป็นแบบออนไลน์
ทั้งในส่วนท่ีเป็นการบรรยายและการปฏิบัติการ โดยในช่วงแรกเป็นการเรียนรู้เพื่อทา
ความเข้าใจและสร้างความตระหนักต่อ ปัญหา “ทุกข์ของผู้ป่วย”ในระบบยาและระบบ
สุขภาพ กบั การเรียนรู้ “ระบบยาเป็นฐาน” เพ่ือทาความเข้าใจกับ “ระบบคัดเลือก จัดหา
กระจาย และการใช้ยา” ท้ังในส่วนท่ีเป็นกลไกของระบบ บทบาทหน้าท่ีของเภสัชกรใน
ระบบยาและระบบสขุ ภาพ ตลอดจน “เครื่องมอื 7 ชน้ิ ” ท่ีใช้ในการวินิจฉัยชุมชน รวมถึง
การวเิ คราะห์ “ฉลากยา” “การโฆษณายา” ตามกฎหมาย ซึ่งเป็นการเตรียมนิสิตให้พร้อม
ก่อนลงสู่ชุมชน ซึ่งเป็นการจัดให้นิสิตมีประสบการณ์ตรงในการทาความเข้าใจ “ระบบ
ยาและระบบสุขภาพของชุมชน” โดยนิสิตแต่ละคนได้รับมอบหมายให้เก็บรวบรวมข้อมูล
ชุมชนโดยใช้ “เครื่องมือ 7 ชิ้น” ร่วมกับการฝึกสัมภาษณ์ชาวบ้านอย่างน้อย 1 คนด้วย
แบบสารวจชุมชนเพื่อค้นหาปัญหาความเจ็บป่วยและการใช้ยาที่เกิดขึ้นจริงของท้ัง
ชมุ ชน ปัญหาการใช้ยาชุด ปัญหายาเหลือใช้ในครัวเรือน รวมถึงฝึกประเมินความรอบรู้
ดา้ นการใชย้ าของชาวบา้ น และการร้เู ทา่ ทันสื่อโฆษณายาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเกิน
จริง เมื่อประมวลผลการสารวจชุมชนทาให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นสถานการณ์ปัญหาที่แท้จริง
ของชุมชน นิสิตยังได้มีโอกาสฝึกคิดโครงการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและนาเสนอในรูป
โครงการ และการจัดทาเว็บเพจ รวมทั้งหมด 10 กลุ่ม เพื่อนาเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา
ใหแ้ ก่ชุมชนดว้ ย สาหรับการวดั และประเมนิ ผลแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ประเมินจากการ
สอบข้อเขียน และจากการเข้าร่วมและทากจิ กรรม สว่ นละรอ้ ยละ 50

ผลงาน/ผลลัพธท์ ไ่ี ดจ้ ากการเรยี น

ผลงานหรอื ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการเรยี นน้นั นอกจากเป็นความรู้
ความเขา้ ใจ ตลอดจนทกั ษะในการสื่อสารกับชุมชน ทกั ษะใน
การวิเคราะห์ปัญหาการใชย้ าในชุมชน แลว้ ยังเป็นทกั ษะในการ
ทางานร่วมกับเพื่อนนสิ ิต และในปีน้ียงั รวมถึงการทางาน
ร่วมกับ อสม. ของชมุ ชนหมู่ 7 ตาบลหลงั เขา ซ่ึงนสิ ติ มบี ทบาท
ในการพัฒนาทกั ษะการใช้เทคโนโลยสี ่อื สารให้กับ อสม. สว่ นผล
การสารวจชมุ ชนของนิสิตทาให้ไดส้ ถานการณ์ระบบยาและ
ระบบสุขภาพของชุมชนน้ี รวมท้ังแผนที่เดินดนิ ท่สี วยงาม และ
โปสเตอรใ์ หค้ วามรู้เพอ่ื แก้ปัญหายาและสขุ ภาพของชุมชนที่
นสิ ิตแต่ละกลมุ่ นาเสนอในเว็บเพจรวมทัง้ หมด 10 กลุม่ ซ่ึง
สามารถนาไใช้ในการพัฒนาระบบยาและระบบสุขภาพของ
ชุมชนได้

14

ถอดบทเรียนการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวชิ า

การจัดการเรียนการสอนในปีนี้มีความแตกต่างกับปีที่ผ่านมาท่ีเป็นการสอน
แบบออนไลน์ร้อยเปอร์เซนต์ แม้แต่การลงชุมชนต้องเป็นการลงชุมชนออนไลน์ ทาให้การ
จัดการการเรียนต้องแตกต่างไปจากเดิมค่อนข้างมาก โดยส่วนที่แตกต่างไปมากที่สุดเป็น
การเพิ่มบทบาทของนิสิตในการจัดกระบวนการเรียนรู้เอง แทนที่ อาจารย์เป็นผู้
ประสานงานนัดหมายกับ อสม. และชาวบา้ นลว่ งหนา้ ให้นิสิต และนิสิตทาหน้าท่ีแค่พาตัวลง
ไปสัมภาษณ์ชุมชนให้ครบ 3 คร้ังในช่วงเวลา 3 สัปดาห์กลายเป็นนิสิตต้องทาหน้าท่ี
ประสานงานกบั อสม. เอง และ หากมีปัญหาเกิดขึ้น ต้องหาทางแก้ไขปัญหาเอง เน่ืองจาก
การลงชุมชนต้องอาศัย อสม. เช่ือมประสาน โดยท่ีในแต่ละกลุ่มซ่ึงมีนิสิตประมาณ 17-19
คน มี อสม.ดูแลเพียงคนเดียว นิสิตไม่สามารถเข้าสัมภาษณ์โดยไม่มี อสม . ได้ การ
สัมภาษณ์แต่ละคร้ังใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที นิสิตจึงต้องเตรียมตัวให้พร้อมกว่า
ปกติ เพ่ือไม่ให้เสียเวลาเพื่อน และยังต้องพัฒนาทักษะในการสร้างความไว้วางใจให้แก่
ชาวบ้านผ่านการส่ือสารแบบออนไลน์ท่ีไม่เห็นตัวจริง ในการสัมภาษณ์นิสิตบางคนต้อง
เผชิญกับชาวบา้ นท่ีเป็นผ้สู ูงอายุ หรอื ใชภ้ าษาอสี านทไ่ี ม่ค้นุ เคย ฟังยาก กับปัญหาสัญญาณ
อินเทอร์เน็ตที่ไม่เสถียร ย่ิงช่วงท่ีมีฝนตกหนัก แทบสื่อสารไม่รู้เร่ือง อสม. เองไม่ได้ใช้
เคร่ืองมอื สือ่ สารอย่างคล่องแคล่ว อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ยความมุ่งม่ันของนิสิตและ อสม. ทา
ให้การรวบรวมข้อมูลเสร็จสิ้น นิสิตส่วนใหญ่ได้ให้ข้อมูลว่าเป็นประสบการณ์ครั้งแรกที่
สร้างความกังวลไม่ใช่น้อย จึงต้องเตรียมตัวเต็มท่ีแล้วยังเข้าร่วมสังเกตการณ์เพื่อนๆ
เพ่ือเรียนรู้จากประสบการณ์ของเพื่อนๆ กลุ่มที่ประสบความสาเร็จเป็นกลุ่มที่มีทักษะใน
การประสานการทางานร่วมกันเองและกับร่วมกับ อสม. สาหรับแนวทางการพัฒนา
กระบวนวชิ าต่อไป เห็นไดช้ ัดวา่ นสิ ิตยอมรับวา่ การลงชมุ ชนออนไลน์เป็นไปได้ แม้อาจเทียบ
ไมไ่ ดก้ ับการลงชมุ ชนปกติ นอกจากน้ัน ยงั พบว่าค่าใชจ้ า่ ยต่ากว่าการพานิสิตลงชุมชนมาก
รวมทั้งนิสิตมีความตั้งใจและให้ความเอาใจใส่กับภารกิจท่ีถูกมอบหมายมากด้วย จึงควร
พิจารณานาการเรียนรู้ชุมชนแบบออนไลน์มาใช้ร่วมด้วย น่าจะทาให้การเรียนการสอนมี
สัมฤทธ์ิผลสงู ขึน้

15

กลุ่มวิชำ

ดำ้ นเภสัชกรรมอตุ สำหกำร

15

1 เภสชั อตุ สาหกรรม
(Industrial pharmacy)

มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชยี
หน่วยกิต : 3 (3-0-6)
นกั ศึกษาชนั้ ปีทเ่ี รยี น : ช้นั ปีที่ 3
จานวนนักศึกษาในช้ันเรียน : 45 คน
ผ้รู บั ผดิ ชอบกระบวนวิชา/ทมี สอน : อาจารย์ ภญ.รชั นี วงศแ์ สนสขุ เจริญ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวชิ า
เทคโนโลยีในการผลิตยาขั้นอุตสาหกรรมในรูปแบบของยาเม็ด ยาเม็ด

เคลือบน้าตาล ยาเม็ดเคลอื บฟลิ ม์ แคปซลู ยาออกฤทธนิ์ าน

แนวคดิ การจัดการเรียนรู้ ทีส่ ะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning
ให้งานทมี่ กี ารคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เชน่ ยกตัวอย่างการต้งั ตารบั ยา

กระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือกิจกรรม วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลโดยสรุป
มกี ารประเมิน pretest/posttest

ผลงาน/ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากการเรียน
นักศึกษามคี วามรู้เพ่ิมขึ้น/ผู้เรียนมีความตน่ื ตัวและกระตือรอื ร้นในการเรยี นมากข้ึน

ถอดบทเรยี นการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวชิ า

การเรียนควรมี part ของการ
สอื่ สารแบบ 2-way communication
และการประเมินผลเป็นระยะเพื่อคง
ประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพในวชิ าท่ีเรยี น

16

17

2 เภสชั กรรม
(Pharmaceutics)

มหาวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยอสี เทิรน์ เอเชยี
หน่วยกติ : 3 (3-0-6)
นกั ศึกษาชัน้ ปีท่เี รียน : ชนั้ ปที ่ี 2
จานวนนักศกึ ษาในชั้นเรยี น : 58 คน
ผรู้ ับผดิ ชอบกระบวนวิชา/ทมี สอน : อาจารย์ ภญ.สริ ิพรรณ รอดนวล

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนร้ขู องกระบวนวิชา
รู้จักการต้ังตารับยาเบอื้ งต้น /คุณสมบตั ขิ องสารตา่ งๆ ในตารบั ยา

แนวคดิ การจัดการเรยี นรู้ ที่สะท้อนการจดั การเรียนการสอนแบบ active learning
ให้งานทม่ี ีการคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เช่น ยกตวั อย่างการตง้ั ตารบั ยา

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรอื กิจกรรม วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลโดยสรปุ
มีการประเมิน pretest/posttest

ผลงาน/ผลลพั ธ์ที่ได้จากการเรียน
นักศึกษามีความรู้เพ่ิมข้ึน/ผู้เรียนมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการ

เรียนมากขึน้

ถอดบทเรยี นการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวิชา
การเรียนควรมี part ของการส่อื สารแบบ 2-way communication

และการประเมินผลเป็นระยะเพอ่ื คงประสิทธภิ าพและคุณภาพในวชิ าที่เรียน

17

18

3 การพฒั นาตารบั เภสชั ภณั ฑ์
(Development of Pharmaceutical Formulations)

มหาวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

หน่วยกติ : 3 (1-6-2)

นักศกึ ษาชนั้ ปที เี่ รยี น : ชน้ั ปที ่ี 5

จานวนนกั ศกึ ษาในชนั้ เรยี น : 46 คน

ผู้รับผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภก.ทรงวุฒิ ยศวมิ ลวฒั น์ และ

รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. วรรธดิ า ชัยญาณะ

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภก.ทรงวฒุ ิ ยศวมิ ลวฒั น์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรนิ ทร รกั ษ์ศิรวิ ณิช

รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรรธิดา ชยั ญาณะ

ผู้สอนภาคปฏบิ ตั ิการ

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.ทรงวุฒิ ยศวิมลวฒั น์

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.จักรพนั ธ์ ศริ ิธญั ญาลักษณ์

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภรู วิ ฒั น์ ลี้สวัสดิ์

อาจารย์ ดร.ภก.นพดล ชะลอธรรม

อาจารย์ ดร.ภก.ปรัชญา ทิพยด์ วงตา

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.เทพิน จันทรม์ หเสถียร

รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรรธดิ า ชัยญาณะ

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.กนกวรรณ เกียรติสิน

รองศาสตราจารย์ ดร.สุพร จารมุ ณี

อาจารย์ ดร.ภญ.วรพรรณ ภูม่ ณี

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรขู้ องกระบวนวชิ า

นักศึกษาสามารถพฒั นาตารับเภสัชภัณฑ์ ประเมินเภสัชภณั ฑ์รูปแบบของแข็ง
ของเหลว และกง่ึ แข็งได้

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรือกจิ กรรม วธิ กี ารวดั และประเมินผลโดยสรุป

แนวคดิ ในการจดั การเรยี นรู้คอื การจดั การศกึ ษาภาคปฏบิ ัติการในลกั ษณะของกรณศี ึกษา
ทม่ี ลี ักษณะใกล้เคยี งกับสถานการณจ์ ริงที่เภสัชกรฝ่ายวิจัยและพัฒนาจะต้องปฏิบัติ โดยจะเป็นงาน
มอบหมายให้นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนาตารับเภสัชภัณฑใ์ น 3 รูปแบบ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว
และก่ึงแข็ง นักศึกษาจะต้องประมวลความรู้ที่ได้เรียนจากภาคบรรยายของวิชาน้ีและวิชาด้านการ
ผลิตยาและการควบคุมคณุ ภาพยาทศ่ี ึกษามาในช้นั ปีก่อนหน้านี้ ร่วมกับการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เพอ่ื นามาถกแถลงกับเพ่ือน เพ่ือให้ได้แนวทางในการพัฒนาตารับ จากน้ันจะเป็นการฝึกปฏิบัติในการ
เตรียมตารับจริง แก้ปัญหาท่ีพบ จนสามารถพัฒนาเป็นตารับท่ีดีได้ ภายใต้การให้คาแนะนาจาก
อาจารย์ทป่ี รึกษา

19

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรอื กิจกรรม วิธีการวดั และประเมินผลโดยสรปุ

ปฏิบัติการของวิชานี้จะมีการแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มจะ
ได้รับงานมอบหมายให้ฝึกการต้ังสูตรตารับ พัฒนาสูตรตารับหรือแก้ปัญหาผลิตภัณฑ์
รูปแบบต่างๆ ตามที่อาจารย์ท่ีปรึกษาประจากลุ่มมอบหมาย นักศึกษาจะต้องค้นคว้า
ข้อมูล ต้ังสูตรตารับยา แก้ปัญหาและพัฒนาสูตรตารับ ประเมินตารับและการถกแถลง
ผลการทดลอง รวมถึงประเด็นด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติงาน
ดา้ นการพฒั นาผลิตภณั ฑย์ า
วิธีการวัดและประเมินผล พิจารณาจากกระบวนการทางาน การปฏิบัติงานใน
หอ้ งปฏิบัตกิ าร รายงานความกา้ วหน้ารายสัปดาห์ ผลิตภัณฑ์ รายงานฉบับสมบูรณ์ และ
การนาเสนอผลงาน

ผลงาน/ผลลพั ธ์ท่ไี ดจ้ ากการเรยี น
นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจ สามารถสืบค้นข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง และนา

ความรู้ที่ได้มาประยุกต์สู่การปฏิบัติในการพัฒนาตารับยาได้ นักศึกษาได้รับประสบการณ์
จากการฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ทาให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง และเม่ือออกฝึก
ปฏิบตั งิ านหรือเมอ่ื ศึกษาจบแลว้ สามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีเป็นเภสชั กรฝา่ ยวจิ ยั และพัฒนาได้

ถอดบทเรียนการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา
นักศึกษาเห็นว่าวิชานี้มีประโยชน์มาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือได้มีโอกาสฝึก

ปฏิบัติงานด้านการวิจัยและพัฒนาแล้ว กระบวนวิชาสามารถพัฒนาให้ดียิ่งข้ึนได้ หาก
สามารถเช่อื มโยงกับภาคอตุ สาหกรรมยา แล้วนาโจทย์ท่ีได้รับจากภาคอุตสาหกรรมยามา
เป็นกรณีศึกษาให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ โดยมีเภสัชกรในภาคอุตสาหกรรมยาเข้ามาร่วมเป็น
อาจารย์พิเศษในกระบวนวชิ าดว้ ย

20

4 เภสชั ควบคมุ คณุ ภาพ 3
(Pharm Control 3)

มหาวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

หน่วยกิต : 3(2-3-4)

นักศึกษาชน้ั ปที ่ีเรียน : ชนั้ ปีท่ี 5

จานวนนักศกึ ษาในชั้นเรียน : 12 คน

ผรู้ บั ผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทีมสอน

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.สุรพล นธการกจิ กลุ

2. อาจารย์ ดร.ภญ.วรพรรณ ภมู่ ณี

3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รังษนิ ี พงษ์ประดษิ ฐ

4. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.สมจริง รุง่ แจ้ง

5. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.เฉลิมพงษ์ แสนจ้มุ

6. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นชุ นาฎ จงเลขา (อาจารยพ์ เิ ศษ)

ศูนย์อารักขาพชื โครงการหลวง

7. นต.หญงิ กันยารัตน์ ชลสทิ ธิ์ (อาจารยพ์ เิ ศษ)

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยเ์ ชยี งใหม่

วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวิชา

นักศึกษาสามารถ
1. มีความร้คู วามเข้าใจและทราบระเบยี บ
วเิ คราะหท์ ใ่ี ชใ้ นการควบคุมคณุ ภาพ
อาหารและเครื่องสาอาง
2. เลอื กวิธวี ิเคราะห์ท่ีเหมาะสมในการ
ควบคุมคุณภาพอาหารและเคร่ืองสาอาง

แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ ทส่ี ะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

แนวคิดในการจัดการเรียนรู้คือการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติการในลักษณะของ
กรณีศึกษาท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกับสถานการณ์จริงท่ีเภสัชกรฝ่ายวิจัยและพัฒนาจะต้อง
ปฏิบัติ โดยจะเป็นงานมอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในการพัฒนาตารับเภสัชภัณฑ์ใน 3
รูปแบบ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก่ึงแข็ง นักศึกษาจะต้องประมวลความรู้ท่ีได้เรียน
จากภาคบรรยายของวิชานี้และวิชาด้านการผลิตยาและการควบคุมคุณภาพยาที่ศึกษามา
ในช้ันปีก่อนหน้าน้ี ร่วมกับการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพ่ือนามาถกแถลงกับเพ่ือนเพื่อให้
ได้แนวทางในการพัฒนาตารับ จากน้ันจะเป็นการฝึกปฏิบัติในการเตรียมตารับจริง
แก้ปัญหาที่พบ จนสามารถพัฒนาเป็นตารับท่ีดีได้ ภายใต้การให้คาแนะนาจากอาจารย์ที่
ปรึกษา

21

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรอื กิจกรรม วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลโดยสรปุ

ปฏิบตั กิ ารของวชิ าน้จี ะมีการแบ่งนักศกึ ษาเป็นกลุ่ม แตล่ ะกลุ่มจะได้รับงานมอบหมายใหฝ้ ึก
การตั้งสูตรตารบั พฒั นาสูตรตารับหรือแก้ปญั หาผลติ ภัณฑร์ ูปแบบตา่ งๆ ตามทอี่ าจารยท์ ี่
ปรกึ ษาประจากลุ่มมอบหมาย นกั ศกึ ษาจะต้องคน้ ควา้ ขอ้ มลู ต้ังสตู รตารบั ยา แกป้ ญั หาและ
พัฒนาสูตรตารบั ประเมนิ ตารับและการถกแถลงผลการทดลอง รวมถงึ ประเด็นด้าน
คณุ ธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชีพในการปฏบิ ัติงานดา้ นการพฒั นาผลิตภัณฑ์ยา
วธิ กี ารวัดและประเมินผล พิจารณาจากกระบวนการทางาน การปฏิบตั งิ านใน
ห้องปฏบิ ัติการ รายงานความก้าวหนา้ รายสปั ดาห์ ผลิตภณั ฑ์ รายงานฉบบั สมบูรณ์ และ
การนาเสนอผลงาน

ผลงาน/ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการเรียน

นั ก ศึ ก ษ า มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
สามารถสืบค้นข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง และนาความรู้ท่ี
ได้มาประยุกต์สู่การปฏิบัติในการพัฒนาตารับยาได้
นักศึกษาได้รับประสบการณ์จากการฝึกปฏิบัติจริง
ด้วยตนเอง ทาให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง
และเมื่อออกฝึกปฏิบัติงานหรือเมื่อศึกษาจบแล้ว
สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นเภสัชกร ฝ่ายวิจัยและ
พฒั นาได้

ถอดบทเรียนการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวชิ า

นักศึกษาเห็นวา่ วิชานี้มีประโยชน์มาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เม่ือได้มโี อกาสฝึก
ปฏิบัติงานดา้ นการวิจยั และพฒั นาแล้ว กระบวนวิชาสามารถพฒั นาใหด้ ยี ิ่งขน้ึ ได้
หากสามารถเช่ือมโยงกบั ภาคอุตสาหกรรมยา แล้วนาโจทย์ทีไ่ ดร้ บั จาก
ภาคอตุ สาหกรรมยามาเป็นกรณีศึกษาให้นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัติ โดยมเี ภสัชกรใน
ภาคอตุ สาหกรรมยาเข้ามาร่วมเป็นอาจารยพ์ ิเศษในกระบวนวชิ าด้วย

22

5 เทคโนโลยเี ภสชั กรรม 1
Pharmaceutical Technology 1

มหาวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี

หน่วยกติ : 3 (3-0-6)

นกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่เรยี น : ชั้นปีที่ 3

จานวนนักศกึ ษาในช้ันเรยี น : 120 คน

ผู้รับผดิ ชอบกระบวนวิชา/ทมี สอน

1. อาจารย์ ดร.ภญ.จินตนา นภาพร

2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ชลลัดดา พชิ ญาจติ ตพิ งษ์

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ของกระบวนวิชา

1. อธิบายความสาคัญและประโยชน์ของรูปแบบยาเตรียม ความสัมพันธ์ของ
ปัจจัยของตัวยาที่มีผลต่อการออกแบบยาเตรียมได้ เลือกรูปแบบยาเตรียมที่เหมาะสมกับ
ภาวะโรคและการออกฤทธิข์ องตัวยาได้

2. อธบิ ายคณุ สมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของสารท่ีใช้ทางเภสัชกรรมได้อย่างถกู ตอ้ ง
3. อธิบายทฤษฎีและหลักการละลาย ตลอดจนคุณสมบัติคอลิเกทีฟของสารได้
อย่างถกู ตอ้ ง
4. อธบิ ายหลกั การเพ่ิมการละลาย เทคนิคในการเพ่ิมการละลายโดยวิธีการต่าง ๆ
และประยกุ ต์ทางเภสัชกรรมได้อยา่ งเหมาะสม
5. อธิบายสารละลายบัฟเฟอรแ์ ละการประยุกต์ทางเภสัชกรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. อธิบายความสาคัญ ประเภทของบรรจุภัณฑ์และการเลือกชนิดภาชนะบรรจุ
ทางเภสชั กรรมไดอ้ ย่างเหมาะสม
7. อธบิ ายทฤษฎีพื้นฐานของวิทยาศาสตร์การไหล ความสาคัญและประโยชน์ของ
วทิ ยาศาสตร์การไหลทางเภสัชกรรมได้
8. อธบิ ายหลักการศกึ ษากอ่ นการตั้งตารับยาเตรียมอย่างเป็นระบบ และสามารถ
ประยุกตใ์ นการออกแบบตารับยาเตรยี มได้
9. อธิบายและจาแนกประเภทของสารช่วยที่ใช้ในการเตรียมยาทางเภสัชกรรม
และระบุปัญหาทเี่ กดิ จากความไม่เข้ากันของสารในตารับได้
10. อธิบายหลกั การ ทฤษฎีเบ้ืองต้นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการต้ังสูตรตารับยาน้า
และสารละลาย ลกั ษณะ ประเภท ส่วนประกอบ เคร่ืองมือและวิธีการเตรียม วิธีการควบคุม
คุณภาพ ตลอดจนสามารถระบุปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการเตรียมตารับยาน้าสารละลาย
ตลอดจนการพัฒนาสูตรตารับ ตลอดจนคน้ ควา้ ข้อมลู ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการเตรียมและควบคุม
คณุ ภาพยาเตรียมจากเอกสารอา้ งอิงทางเภสัชกรรมได้
11. อธิบายหลักการและทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับความคงสภาพของเภสัชภัณฑ์ การ
ประเมินความคงสภาพ และสภาวะการเก็บรักษาของยานา้ สารละลายได้

23

แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ ทีส่ ะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

การจดั การเรยี นการสอนควบคูก่ บั การติดตามการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมในทุก
หวั ขอ้ การเรยี นรู้ และบรู ณาการเนื้อหาร่วมกับวชิ าปฏิบัติการ

กระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือกิจกรรม วธิ ีการวดั และประเมินผลโดยสรุป

- รปู แบบการเรียนการสอน

การบรรยาย 45 ช่วั โมง

กิจกรรมในชนั้ เรยี น เชน่

การทดสอบย่อย (quiz)

การมีสว่ นรว่ ม (participation) กจิ กรรมในช้นั เรยี น (in-class activity)

กาหนดใหม้ ใี นทุกหัวข้อ อยา่ งน้อยหวั ขอ้ ละ 1 กิจกรรม

- การประเมินในรายวชิ า

พจิ ารณาแบบ อิงเกณฑ์

- คะแนนทงั้ หมด 100 % แบง่ เปน็

สอบขอ้ เขยี นกลางภาค (หวั ข้อบรรยายท่ี 1 ถึง 6) 40 %

สอบขอ้ เขยี นปลายภาค (หวั ข้อบรรยายที่ 7 ถงึ 11) 45 %

กจิ กรรมในช้ันเรยี น 15 %

ผลงาน/ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากการเรยี น

ประเมินนกั ศึกษาไดต้ ามวตั ถุประสงคร์ ายหัวขอ้ และมีผลการกระจายของ
คะแนนแบบปกติ

ถอดบทเรียนการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา

รับฟงั การสะทอ้ นจาก
นกั ศึกษา หากพิจารณาวา่ เป็นผลดีและ
ดาเนนิ การได้ จะนาขอ้ เสนอนนั้ ไปปรบั ปรุง
ในปกี ารศึกษาถัดไป

24

6 เทคโนโลยชี วี ภาพทางเภสชั กรรม

มหาวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ

หน่วยกติ : 2(2-0-4)

นกั ศึกษาชัน้ ปีท่ีเรียน : ช้ันปีที่ 3

จานวนนักศกึ ษาในช้ันเรียน : 49 คน

ผู้รบั ผดิ ชอบกระบวนวิชา/ทีมสอน

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ลลติ า วรี ะเสถียร

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ของกระบวนวชิ า

นักศึกษาสามารถ
1 อธบิ ายหลักการของ hybridoma technology ท่ีใชใ้ นการผลติ mAbs
2 อธบิ ายโครงสร้างของ mAbs แตล่ ะชนดิ ได้
3 ระบุชนดิ ของ mAbs จากช่อื ได้
4 ยกตัวอย่างยาและการใช้ประโยชนจ์ าก mAbs ได้

แนวคิดการจดั การเรียนรู้ ทส่ี ะทอ้ นการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning

ผู้เรียนได้เป็นผู้ร่วมเรียนรู้
ศึกษาและสร้างเน้ือหาเอง สามารถ
เรียนรู้ได้ในเวลาท่ีต้องการ และสะท้อน
ผลการเรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงค์

25

กระบวนการจดั การเรียนการสอนหรอื กจิ กรรม วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลโดยสรปุ

ใช้เทคนิค 1) Team based learning
2) brain storm ดว้ ยการอภิปรายกล่มุ
3) เสริมเกมส์ (nearpod และ kahoot) โดยอาศัย
student paced learning 4) learning reflection

เร่ิมจากการอธิบายวิธีการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
พร้อมใหแ้ หล่งข้อมูลเพื่อศึกษาก่อนเข้าเรียน แล้วตั้ง
คาถามโดยกาหนดประเด็นตามวัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ กรณีเกมส์ท่ีเรียนรู้ตามสะดวก จะมีเฉลย
หลังเล่นเสร็จ ส่วน learning reflection ให้นิสิต
ส ะ ท้ อ น ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ตั ว เ อ ง ว่ า ไ ด้ บ ร ร ลุ
วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ในข้อใดและอยา่ งไร

การวัดและประเมินผล การสอบออนไลน์
และกิจกรรมท่ีผู้เรียนได้ร่วมทา การอภิปรายกลุ่ม
ด้วยการให้คะแนนจากความสามารถเชิงวิชาการ
และการเสนอความคิดเห็น การทางานร่วมกับกลุ่ม
ด้วยการดูบุคลิกลักษณะจากคลิปที่อัดไว้จากการ
เ รี ย น ใ น ห้ อ ง ย่ อ ย ซึ่ ง ผู้ ส อ น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ไ ป
สงั เกตการณไ์ ด้ในแต่ละหอ้ ง

ผลงาน/ผลลัพธท์ ไ่ี ดจ้ ากการเรียน

นิสิตสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และสามารถพัฒนา
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการทางานร่วมกัน ผู้เรียนสามารถ
เรยี นรเู้ รอ่ื งในหัวขอ้ อื่นได้ด้วยวธิ ีที่เคยทา

ถอดบทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวชิ า

ทาบทเรียนออนไลนเ์ พื่อศึกษาดว้ ยตัวเอง

26

7 เภสัชอตุ สาหกรรม 1

มหาวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยอสี เทิรน์ เอเชีย

หนว่ ยกติ : 2-0-0

นกั ศกึ ษาชัน้ ปีทเี่ รียน : ชน้ั ปีที่ 4

จานวนนกั ศกึ ษาในช้นั เรยี น : 44 คน

ผรู้ ับผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

อาจารย์ ภญ.รชั นี วงศแ์ สนสุขเจริ

วัตถปุ ระสงค์การเรียนรูข้ องกระบวนวิชา

เมื่อส้ินสุดรายวิชาน้ีแล้ว นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ
อธบิ ายสตู รโครงสรา้ ง แหล่งที่มา และประโยชน์ของสารสาคัญ ทั้งท่ีเป็นสารปฐมภูมิ
และสารทตุ ิยภูมิจากสมุนไพร และผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ โดยสามารถทดสอบเบื้องต้น
เพ่ือจาแนกกลุ่มสารสาคัญต่างๆ ด้วยเทคนิคทางพฤกษเคมีเบื้องต้นได้ รวมทั้ง
สามารถสกัดสารสาคัญ และแยกสารสาคัญจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติได้
ตลอดท้ังสามารถหามาตรฐานของสมนุ ไพรได้

แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ ท่ีสะท้อนการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

การเรียนรู้แบบยั่งยืน เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ ภายใต้ความใฝ่รู้ของ
นักศกึ ษา

27

กระบวนการจดั การเรียนการสอนหรอื กิจกรรม วิธกี ารวดั และประเมินผลโดยสรปุ
สอนโดย lecture และปฏิบัติการ โดยมกี จิ กรรมประกอบการเรยี น

การสอน พร้อมการประเมินผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี น ทั้ง formative และ Summative
assessments โดยใชเ้ ทคโนโลยที ี่ทนั สมัยและเหมาะสม ตอบสนองตอ่ ความต้องการของ
ผเู้ รยี น

ผลงาน/ผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากการเรยี น
นักศึกษามีทกั ษะการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ใฝร่ ู้ สามารถเสาะแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง

สอดคล้องกบั หลักสตู รฯ และมาตรฐานวิชาชีพ

ถอดบทเรียนการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา
การทวนสอบผลการเรียนรขู้ องผู้เรียน และทบทวนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

เพอ่ื การพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนเป็นสิง่ สาคัญ โดยผู้เรียนมคี วามสขุ ในการเรยี น

28

8 วิชาเภสชั กรรม 2
(Pharmaceutics II)

มหาวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ์

หนว่ ยกติ : 1(3-3-8)

นักศึกษาชนั้ ปีที่เรยี น : ชนั้ ปีท่ี 3

จานวนนักศึกษาในชนั้ เรยี น : 100 คน

ผูร้ ับผิดชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.กรวิทย์ อยู่สกลุ

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สุปรยี า ยนื ยงสวสั ด์ิ

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวิชา

เมอื่ ส้นิ สุดรายวิชาน้แี ลว้ นักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบาย
สูตรโครงสรา้ ง แหล่งทมี่ า และประโยชน์ของสารสาคญั ท้ังที่เป็นสารปฐมภูมิ และสาร
ทุติยภมู จิ ากสมุนไพร และผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ โดยสามารถทดสอบเบอ้ื งตน้ เพ่อื จาแนก
กลมุ่ สารสาคญั ต่างๆ ด้วยเทคนคิ ทางพฤกษเคมีเบอื้ งต้นได้ รวมทั้งสามารถสกดั
สารสาคัญ และแยกสารสาคญั จากสมนุ ไพรและผลิตภณั ฑธ์ รรมชาตไิ ด้ ตลอดท้งั
สามารถหามาตรฐานของสมนุ ไพรได้

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทสี่ ะท้อนการจดั การเรียนการสอนแบบ active learning

การเรยี นรู้แบบย่งั ยนื เปน็ ไปตามมาตรฐานวชิ าชีพ ภายใตค้ วามใฝร่ ขู้ องนักศึกษา

29

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนหรือกิจกรรม วิธกี ารวดั และประเมินผลโดยสรปุ
สอนโดย lecture และปฏิบัติการ โดยมีกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน

พร้อมการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ท้ัง formative และ Summative
assessments โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้เรียน

ผลงาน/ผลลัพธ์ที่ได้จากการเรยี น
นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใฝ่รู้ สามารถเสาะแสวงหาความรู้ได้

ดว้ ยตนเอง สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรฯ และมาตรฐานวิชาชพี

ถอดบทเรียนการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวิชา
การทวนสอบผลการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น และทบทวนกระบวนการเรียนรู้ของ

ผเู้ รียน เพอ่ื การพัฒนา ปรับปรุงการเรียนการสอนเป็นส่ิงสาคัญ โดยผู้เรยี นมีความสุขใน
การเรยี น

30

9 วิชาเภสชั กรรม 2
(Pharmaceutics II)

มหาวิทยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน่วยกิต : 3(3-0-6)

นกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่เรยี น : ช้ันปที ่ี 3

จานวนนักศึกษาในชั้นเรยี น : 100 คน

ผรู้ ับผิดชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

ทมี ผสู้ อน (แตล่ ะท่านดูแลหวั ขอ้ บรรยายอสิ ระ)

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวิชา

1. สามารถนาหลกั การทางฟิสิกส์เคมีท่ีเกยี่ วขอ้ งไปประยกุ ต์ใชใ้ น
การเตรยี มท่เี กย่ี วขอ้ งกับการตั้งตารับยาเตรยี ม

2. อธิบายสว่ นประกอบต่างๆ ของสตู รตารบั ได้
3. เตรยี มและเกบ็ รักษาเภสัชภณั ฑร์ ูปแบบตา่ งๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
4. ประเมินคณุ ลักษณะเภสัชภณั ฑ์รูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกตอ้ ง
5. ประเมินความคงตัวของเภสัชภณั ฑร์ ูปแบบต่างๆ ได้

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ ท่ีสะทอ้ นการจัดการเรยี นการสอนแบบ active learning

การเรยี นการสอนออนไลน์ ไม่สามารถ
ประเมนิ สภาวะท่ีผู้เรียนเป็นอยขู่ ณะเรยี นได้
เชน่ ดา้ นสถานที่ ความพรอ้ ม ทาใหก้ ารเรียน
การสอนเหมือนการพูดอยู่ฝ่ายเดียว จงึ คิดวา่
การมเี ครอื่ งมอื ท่ีทุกคนร่วมกิจกรรมไดเ้ ป็น
การกระตนุ้ การมีสว่ นร่วมในวิถีท่นี สิ ติ ชอบ
และใชเ้ ทคนคิ การสอนความคิดจากการใช้
คาถาม

31

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนหรือกิจกรรม วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลโดยสรุป

1) เตรียมส่อื การสอนด้วย Echo 360 Ribbon (สามารถเพ่ิมกิจกรรมการตอบ
คาถามในสไลด์ powerpoint)

2) นาเขา้ สรู่ ะบบ LMS เพ่อื เกบ็ รวบรวมสถิตกิ ารมีสว่ นรว่ ม
3) กระตุ้นให้เกิดการแลกเปล่ียน และแชร์ความคิดระหว่างเรียน โดยไม่มีคาตอบ
ใดผดิ หรอื ถกู ทีส่ ุด ด้วยวิธกี ารพัฒนาทกั ษะดา้ น reasoning
4) ประเมินผลการเรยี นหลงั เรียนดว้ ยการสอบ ปรบั เรอื่ งท่ีได้ทาความเข้าใจในช้ัน
เรียน มาเป็นรูปแบบคาถามต่อยอด

ผลงาน/ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จากการเรยี น

นิสิตเริ่มมีการใช้ความรู้ก่อนหน้ามาใช้ในการพัฒนาทักษะความเป็นเหตุเป็นผล
ลดทอนความจาใหก้ ลายเป็นความเขา้ ใจ และเพิม่ ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งผ้สู อนและผู้เรยี น

ถอดบทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวิชา
ด้านบวกคือ ทราบพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ของนิสิต ที่นิยมไม่แสดงตัวตน

และไม่กล้าแสดงความคิดของตนเองออกมาเพ่ือให้เพื่อนๆทราบ กลัวผิด สามารถดึงการมี
ปฏสิ ัมพันธข์ องนสิ ติ ส่วนใหญใ่ นช้ันเรียน นอกจากนสิ ิตขาประจา

ด้านลบคือ การรอให้นิสิตเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ส่งผลให้เวลาการจัดการ
เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หากเนื้อหาจานวนเท่าเดิมวิธีสอนใหม่จะสอนไม่ทัน
และนสิ ิตไม่ต้องการงานมอบหมายที่ต้องเรยี นรู้เองนอกหอ้ งเรียน

แนวทางพัฒนา หากสามารถคุยบูรณาการเนื้อหากันได้น่าจะเป็นการลดความ
ซ้าซ้อนและมีเวลาให้นิสิตไดร้ ่วมกิจกรรมมากขึ้น

32

10 การออกแบบเภสชั ภณั ฑ์ 1
(Pharmaceutical Dosage Form Design I)

มหาวิทยาลยั : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

หน่วยกิต : 2(1-3-6)

นกั ศกึ ษาชน้ั ปีทเ่ี รียน : ช้นั ปที ่ี 5

จานวนนกั ศึกษาในช้ันเรียน : 10 คน

ผู้รบั ผิดชอบกระบวนวิชา/ทีมสอน

ทีมสอน (อาจารยแ์ ตล่ ะท่านรับผดิ ชอบหัวข้อบรรยายเป็นหลกั และ coach นสิ ิต

ร่วมกนั ในงานโปรเจค)

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ของกระบวนวชิ า
พัฒนาและต้ังตารับยานา้ ใสได้

แนวคดิ การจดั การเรียนรู้ ทีส่ ะทอ้ นการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning

นสิ ิตเรยี นทฤษฎีเป็นเรื่องๆ ทาให้กระบวนความคดิ
แยกอสิ ระเปน็ สว่ นๆ ไม่รวมไปกบั การใชส้ อ่ื หรือ
เคร่อื งมือการเรยี นการสอนของอาจารยแ์ ต่ละทา่ นที่
ตา่ งกัน ทาใหเ้ มือ่ ออกไปทางานในสถานการณจ์ ริง
ปฏิบัตไิ ม่ได้ เร่ิมต้นลาบาก จึงมแี นวคดิ ใหม้ ีส่วนทา้ ย
ของรายวชิ าท่ีออก

33

กระบวนการจดั การเรียนการสอนหรือกิจกรรม วิธีการวัดและประเมินผลโดยสรปุ

วธิ ีการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง (simulation) 1 คาบแลป x 4 สัปดาห์ + 1
ช่วั โมงบรรยาย

1. นิสิตเรียนภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเร่ืองเทคนิคการละลายด้วยแลปแห้ง
พัฒนา thinking process (ชว่ งท่ีเรียนออนไลน์)

2. เลือกยาที่มีปัญหาการละลาย สร้างเงื่อนไข หรือ complexity ของโจทย์ ให้
นสิ ิตเรมิ่ ประมวลความรู้ในสถานการณ์จาลองที่ปฏิบัตหิ น้าท่ีเป็น R&D personnel

3. สอนบรรยายไกด์ให้นิสิตเข้าใจโจทย์ให้ชัดเจน และเริ่มเป็นผู้เลือกเทคนิคการ
ละลายให้ได้ เช่น ผลิตภณั ฑ์ยาฉีด ผลิตภณั ฑผ์ ูเ้ ยาว์ เปน็ ต้น ขั้นตอนนี้สร้างความสามารถใน
การประกอบความคิดและคดิ ให้รอบดา้ น

4. นาไอเดียการเพิ่มการละลายที่เคยออกแบบไว้ในแต่ละเทคนิคที่คิดว่าจะใช้มา
verify

5. จัดเวทีทีมอาจารย์ผู้สอน เป็นหัวหน้างาน เพ่ือเสนอไอเดียและซักถามความ
เป็นไปได้ กบั นสิ ิตแต่ละกลุ่ม

6. นสิ ิตพัฒนาผลติ ภัณฑ์ และสามารถประเมนิ คุณสมบตั ิผลิตภัณฑ์ด้านคุณภาพ
ทจ่ี าเป็น

7. สง่ ผลิตภณั ฑแ์ ละรายงานฉบับสมบูรณ์

ผผลลงงาานน//ผผลลลลัพัพธธ์ทท์ ไ่ี ดี่ได้จ้จาากกกกาารรเรเรียียนน

นิสิตเข้าใจว่าโลกแห่งความเป็นจริง เร่ืองท่ีเรียนไม่ได้อิสระเหมือนสอบทีละ
หวั ขอ้ เปน็ การสอบความรู้ทั้งหมดทส่ี ะสมมาตอนการเรียน หากพลาดส่วนใด

ส่วนหนง่ึ ล้มทง้ั กระดาน

ถอดบทเรยี นการเรียนรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา

ดา้ นบวก นสิ ิตได้ลองทางาน แต่ยงั มพี ี่เลย้ี งคอยพฒั นาให้ และเปน็ โจทย์ท่เี ปดิ
โอกาสใหน้ สิ ติ มี creativity ได้อย่างเปน็ เหตเุ ป็นผล

ด้านลบ เวลาที่ใช้เสมือน full-time staff แตท่ ุกปที าไดอ้ อกมาดี เพราะไดโ้ จทย์
เดยี วทามาตลอดภาคการศึกษา แตภ่ าคการศกึ ษาน้ีไม่มีปฏิบัติการแบบเปียก

พฒั นาเปน็ รปู แบบนี้มา 3 ปีแลว้ จึงจาเป็นต้องประสานให้อาจารย์ทีส่ อนเทคนิค
การละลายใชย้ าตัวเดียวกนั ทุกทา่ นเพ่ือให้นสิ ิตไดท้ ยอยเก็บขอ้ มูลของยาตลอดเทอมเพื่อใช้
ในสว่ น integrate ตอนทา้ ย

34

11 การฝกึ ปฏบิ ตั งิ านเภสชั กรรมการตลาด 1
(Pharmaceutical Marketing Clerkship I)

มหาวทิ ยาลยั : มหาวิยาลยั สงขลานครินทร์

หนว่ ยกติ : 4(0-16-0)

นกั ศกึ ษาชนั้ ปที เี่ รยี น : ชัน้ ปีที่ 6

จานวนนกั ศกึ ษาในชนั้ เรยี น : 29 คน

ผรู้ ับผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.กร ศรเลิศลา้ วาณิช ผู้รับผิดชอบ และทมี สอน

ดร.ภก.สุวิทย์ ธรี กุลชน ทป่ี รกึ ษาสมาคมเภสัชกรรมการตลาด

(ประเทศไทย)

ภก.ผดงุ ยศ พสิ ุทธาดามงคล National Sales Lead, Upjohn (Thailand)

ภญ.พีรวรรณ วรรธนเมธาวงศ์ Commercial L&D Head, Takeda

(Thailand)

ภก.กฤษฎ์ิ กอสวุ รรณ Portfolio Business Lead, Pfizer

(Thailand)

ภญ.สรัลสม เฟ่ืองอารมณ์ Assistant Department Manager, Thai

Meiji Pharmaceutical Co., Ltd.

ภก.วิรุณ เวชศริ ิ Chief Pharmacist, Arincare Co., Ltd.

ภญ.สายร้งุ ธนฐติ ิวงศ์ Training Lead, Upjohn (Thailand)

ภก.ทวีพงษ์ ภวชโลทร Executive Commercial L&D Manager,

Takeda (Thailand)

ภก.ภูรทิ ตั ว่องพฒุ ิพงศ์ CEO Pharmconnection Co., Ltd.

ภก.สทุ ธิพงศ์ หนฤู ทธ์ิ Sale Manager, Upjohn (Thailand)

ภก.นนั ทวัฒน์ ศิโรโรจน์ National Sales Manager, LG (Thailand)

ภก.เพยี ร เพลนิ บรรณกิจ Product Executive, Boeringer

Ingelheim (Thai)

ภก.เจษฎา สุพรรณชนะบุรี National Sales Manager, DKSH

(Thailand)

ภก.ธรรมเศรษฐ์ บุญประชา Medical Science Liaison, Boeringer

Ingelheim (Thai)

ภญ.กัญญรตั น์ รัตนบุปผา Local Market Access, MSD (Thailand)

35

วตัวถัตปุถรุปะรสะงสคงก์ คา์กราเรรยีเรนยี รนขู้ รอู้ขงอกงรกะบรวะบนววนชิ วา ชิ า

เพอื่ พัฒนาทกั ษะนักศึกษาเภสชั ศาสตร์ในการปฏิบัตวิ ิชาชีพเภสชั กรรม ด้านเภสชั กรรมการ
ตลาด ดังน้ี
1. การแสดงตนและการเป็นส่วนหนึ่งของการตลาดเภสัชกรรมทเ่ี ป็นทตี่ ้องการ
- มีความคดิ รวบยอดบทบาทการเป็นเภสัชกรการตลาด ที่แสดงถงึ ความรับผดิ ชอบในวิชาชีพ

คณุ ภาพชีวิตของผ้ปู ่วยและผลกระทบตอ่ สังคม
- สามารถเสนอความคิดเชอ่ื มโยงบทบาทของเภสชั กรการตลาด โครงสร้าง กลไกการตลาด
กบั ระบบอุปทานยา โดยมีหลกั คดิ การตลาดที่ดีสาหรับเภสัชภณั ฑ์
- รู้ภารกจิ และความต้องการขององค์การหรือบรษิ ทั ในแต่ละระดับ จนถึงระดบั สูง มี
แนวทางพฒั นาความก้าวหน้าในอาชพี
-มองเหน็ วธิ ีพฒั นาคุณลักษณะ บคุ ลกิ ภาพท่เี ป็นทต่ี อ้ งการ ในการเปน็ ส่วนหนึง่ ของทีม
การตลาดเภสัชกรรม

2. สามารถแสดงการส่ือสารขอ้ มลู ยาแกบ่ ุคลากรทางการแพทย์ไดต้ ามข้อปฏิบตั ทิ ด่ี ี
- สามารถสืบค้นและเตรยี มข้อมูลดา้ นยาเชงิ ประจักษ์ ที่จะใช้ในการนาเสนอทางเภสัช
กรรมการตลาด
- มีทกั ษะการสนทนา และนาเสนอขอ้ มลู เชงิ วชิ าการของเวชภัณฑแ์ ก่บุคลากรทางการแพทย์
ดว้ ยบุคลกิ ภาพทางวิชาชีพ
- สามารถใช้เครอ่ื งมือและเทคโนโลยใี นการสอื่ สารข้อมลู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพ

แนแวนควิดคกดิ ากราจรดั จกัดากราเรเียรนยี รนู้ รทู้ ่ีสทะีส่ ทะ้อทน้อกนากราจรดั จกดั ากราเรเียรนียกนากราสรอสนอแนบแบบบacatcivteivelelaeranrinigng

การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพน้ีเป็นการพัฒนาผู้เรียนตามหลัก outcome-based
education เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ให้เกิดทักษะแก่ผู้เรียนตามวัตถุประสงค์เป็นสาคัญ
รูปแบบการฝึกปฏิบัติเป็น home-based, online apprenticeship for pharmacy
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้จากแหล่งที่พักอาศัยได้โดยใช้สื่อ
online ภายใต้การสนับสนุน ชี้แนะของเภสัชกรผู้ฝึก (preceptors) ท่ีผ่านการคัดกรอง
สมาคมเภสชั กรรมการตลาดและอาจารยผ์ ้ปู ระสานรายวิชาจากคณะเภสัชศาสตร์

รูปแบบกิจกรรมจัดใหต้ ามความเหมาะสมกับหัวข้อการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย
reading assignment, online seminar, mentoring and role play, writing report
and presentation, self-assessment and reflective feedback, and
comprehensive evaluation

36

กระบวนการจดั การเรียนการสอนหรอื กิจกรรม วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลโดยสรุป

1. การเตรียมความพร้อมของนักศกึ ษา
1.1 ด้านความรู้วิชาการ การให้ความรู้และทักษะการปฏิบัติตามสมรรถนะ
หลักของสภาเภสัชกรรม ท้ังด้านการดูแลผู้ป่วยและเทคโนโลยีการผลิต การเสริม
ความรู้ด้านการตลาดและความรู้พ้ืนฐานการจัดการระบบอุปทานด้านยา และหลักการ
บริหารเภสัชกิจ ในระดับความเข้าใจในการปฏิบัติด้านการบริหารจัดการด้านยาและ
คณุ คา่ ของปฏิบัติทางเภสัชกรรมท่ีมีต่อผู้รับบริการทัง้ ในระดับจุลภาคและมหภาค
1.2 ด้านทักษะพื้นฐาน ทักษะการให้คาแนะนายาแก่ผู้ป่วยตามเกณฑ์
มาตรฐานสมรรถนะหลักของสภาวิชาชีพเภสัชกรรม การฝึกทักษะการส่ือสาร
เบ้ืองต้น และทักษะการนาเสนอทางวิชาการ ในช้ันเรียนระหว่างการเรียนในรายวิชา
ภายในคณะทม่ี ีการนาเสนอตามกิจกรรมการเรียนทีไ่ ด้รับมอบหมาย
1.3 ด้านความประพฤติท่ีเหมาะสมกับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ สถาบัน
เตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตนักศึกษาในเรื่องการแต่งกาย วินัยความประพฤติที่
เหมาะสม และหลกั เกณฑข์ ้อควรปฏบิ ัตเิ บื้องต้นสาหรับนักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพเภสัช
กรรมการตลาด
2. กระบวนการจัดการเรียนการสอน เป็นแบบ virtual apprenticeship
โดยผ่านระบบออนไลน์ 360° professional development support with an
assigned Internship mentor
กจิ กรรมประกอบดว้ ย
2.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเภสัชกรผู้ปฏิบัติ การใช้กรณีศึกษา ในการ
ถกประเด็นเชิงจริยธรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษากับเภสัชกรผู้ฝึก การปรับทัศคติ
จากการสะท้อนคิดในกรณีศกึ ษา
2.2 การสะท้อนภาพข้อมลู ข้อเท็จจริงของตลาดยาท่ีสร้างแรงบันดาลใจใน
การเรียนรู้ จากประสบการณ์เภสัชกรผู้ปฏิบัติในระดับบริหาร และการสังเคราะห์แนว
ทางการพัฒนาตนเองของผู้เรยี นให้เปน็ ท่ยี อมรับ
2.3 การฝึกทักษะโดยกระบวนการ trial and error มีการทดลองปฏิบัติ
และการทดสอบความสามารถก่อนและหลังการสร้างความเข้าใจโดยเภสัชกรผู้ฝึก
เพ่ือให้ผเู้ รยี นมองเหน็ และปรับปรุงจดุ ท่ีควรพัฒนา
2.4 การฝึกการปฏิบัติแบบบทบาทสมมุติการเป็นเภสัชกรการตลาดและ
coaching โดยเภสัชกรผู้ฝึก (mentors) การฝึกความรับผิดชอบโดยการมอบหมาย
ภารกิจการปฏิบัติการสื่อสารข้อมูลยาท่ีครบกระบวนการปฏิบัติ นาเสนอและการ
สะทอ้ นคิดเพื่อการพฒั นาตนเอง
3. การประเมินผล แบบ Formative and summative evaluation
ประเมินผล 360° โดย preceptors ความเห็นของอาจารย์ผู้ประสานรายวิชาและ
ผู้เรยี น ตลอดจนข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์ คุณภาพช้ินงาน

37

ผลผงลางนา/นผ/ลผลลัพลธัพ์ทธีไ่ ์ทด่ีไจ้ ดาจ้ กากกากราเรรเยี รนยี น

คะแนนผลลพั ธ์ของการฝึกปฏิบตั งิ าน (คะแนนเต็ม 10)

วตั ถปุ ระสงคก์ ารฝึกปฏิบัติงานเป็นไปตามความต้องการของหลักสตู รเภสัชศาสตร์ 9.7

ความครอบคลมุ ครบถ้วนของหัวข้อการฝกึ ต่อวตั ถุประสงค์ 9.2

ความสามารถของวิทยากรในการฝึก 9.4

กระบวนวธิ กี ารฝึกทักษะการส่ือสารดา้ นการเภสชั กรรมการตลาดใหไ้ ดต้ ามตอ้ งการ 9.0

คุณภาพของเน้อื หาสาระในการสรา้ งความเข้าใจบทบาทเภสชั กรการตลาดและรู้วธิ ีปฏิบัติ9.5

ความนา่ เชื่อถือของการใชเ้ ทคโนโลยีการสอื่ สารในการฝึก 9.7

การส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั ในวชิ าชพี เภสัชกรรมในการปฏิบตั ิงาน 9.5

ความสามารถในการสะท้อนผลการฝึกปฏิบตั ิงานใหผ้ ู้รับการฝึกนาสู่การปรับปรงุ 9.3

ความเหมาะสมของการประเมินผลลัพธก์ ารฝึกปฏิบตั ิงาน 9.3

ถถออดดบบททเรเรยี ียนนกกาารรเรเรียยี นนรรู้ (ู้ (lelessssoonnleleaarrnneedd))แแลละะแแนนววททาางงกกาารรพพัฒัฒนนาากกรระะบบววนนววชิ ชิ าา

1. การจัดการฝกึ ปฏบิ ตั ิงานเภสัชกรรมการตลาด แบบ virtual apprenticeship โดย
ระบบออนไลน์ เปน็ ตัวอย่างของการจัดการฝึกงานทมี่ ีประสิทธผิ ล รปู แบบหนึ่งที่ใชไ้ ด้สาหรบั
เภสชั ศาสตร์ class size จานวนจากตวั อยา่ งระดับ 30 ผู้เรยี นโดยประมาณ

2. ขอ้ ไดเ้ ปรียบของการจัดการฝึกปฏิบัตงิ านแบบน้ี คอื
- นักศกึ ษาเรียนรู้ทักษะอยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถเขา้ ถึงบทเรียนได้ดี

รวดเรว็ ขน้ึ
- สามารถระดมวิทยากรท่ีมีความสามารถสูง ชว่ ยให้เกิดการเรยี นรจู้ าก

แหล่งการเรยี นรทู้ ่ีมคี ณุ ภาพสูงอย่างมีประสิทธภิ าพ
- ความสะดวกในการ monitor ภาพรวมของการฝกึ และช่วยให้สามารถ

ตดิ ตามมองเห็นความต่อเน่ืองของการเรียนรขู้ องนกั ศึกษารายบุคคลไดด้ ี
- เปดิ มมุ มองใหม่ของการประเมนิ ผลได้รอบดา้ น มากกว่าการฝึก

ปฏบิ ตั งิ านตามแหล่งฝึกแบบ on-site
3. ข้อจากัดที่พบในการฝึกแบบออนไลน์ที่สาคัญ คือ ด้านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ยั ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ วิ ช า ชี พ ใ น ด้ า น ก า ร ต ล า ด
นักศึกษาส่วนมากยังต้องการ traditional in-person internship เพิ่มเติมเพื่อให้การเรียนรู้มี
ความสมบูรณอ์ ยา่ งแท้จริง
4. แนะนาให้เป็นหนง่ึ ในทางเลือกของผลัดตามปกติเข้ามาเสริมความเข้มแข็งให้แก่การ
พฒั นาทักษะวิชาชีพในด้านน้ี

38

12 การฝกึ ปฏบิ ตั งิ านวชิ าชพี สาขาวชิ าเภสัชศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

หนว่ ยกติ : 4(0-16-0)

นักศกึ ษาชน้ั ปที เี่ รยี น : ชน้ั ปีที่ 6

จานวนนกั ศกึ ษาในชน้ั เรยี น : 65 คน

ผรู้ บั ผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

1. คณาจารย์และอาจารย์ประจาแหลง่ ฝกึ ปฏิบัติงานวชิ าชีพ

เภสชั กรผู้ปฏิบตั ิงานในสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

กระทรวงสาธารณสุข

2. ผ้ปู ระสานงานรายวิชา:

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.พรรณเพ็ญ วฒั นาอาษากจิ

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จิตตมิ า ชัชวาลยส์ ายสินธ์

อาจารย์ ดร.ภญ.วฤณ ฐติ าภิวฒั นกลุ

อาจารย์ ดร.ภก.วีระเกียรติ บุญกนกวงศ์

อาจารย์ ดร.ภก.วรธชั ฐติ ิกรพงศ์

อาจารย์ ดร.ภก.พฒั นชยั ลิมปิกริ ติ

อาจารย์ ดร.ภก.วงศกร พงศโ์ สภิตานนั ท์

วตัวถตั ปุถรปุ ะรสะงสคงก์ คาก์ ราเรยีเรนยี รนขู้ รอูข้ งอกงรกะบรวะบนวนชิ วา ชิ า

1. มคี วามรู้และทักษะในการปฏิบตั ิงานด้านการประกันคณุ ภาพและควบคุมคณุ ภาพ
ยา/ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ

2. มคี วามรูแ้ ละทกั ษะในกระบวนการผลิตยาหรอื ผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ ให้ได้มาตรฐาน
การผลติ ตาม GMP

39

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ภสชั กรรมในสถานการณจ์ รงิ ได้

เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ที่มีความรุนแรงเพิ่มมากข้ึนในช่วงเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน 2563
คณะอนุกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาเภสัชอุตสาหการจึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบ
การฝึกงานในรายวิชา 3300610 การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์จาก
การฝึกงาน on-site ณ แหล่งฝึกโรงงานอุตสาหกรรมยา มาเป็นการฝึกงาน online กับ
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) ซ่ึงนิสิตได้ทากิจกรรมฝึกงานในลักษณะ
การ work from home โดยใช้โปรแกรม video conference เช่น Google meet, Cisco,
Microsoft team ในการตดิ ตอ่ ส่อื สารกบั อาจารย์แหล่งฝึกและในการทากิจกรรมฝึกงาน
กบั แหล่งฝกึ ได้มกี ารปรับเนื้อหาการฝึกปฏิบัติงานให้เข้ากับลักษณะการทางานของแหล่ง
ฝึก อ.ย. โดยเน้นในด้านฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพในการประยุกต์ใช้กฎหมาย กฎระเบียบ
หลักเกณฑ์ และข้อตกลงระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนายาและหรือผลิตภัณฑ์
สุขภาพ ตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ โดยบูรณาการองค์ความรู้ทางเภสัชศาสตร์
ตั้งแต่ข้ันตอนการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาสูตรตารับ/ระบบนาส่งยา การผลิตยา/
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (รวมถึงการควบคุมฉลาก เอกสารกากับ และบรรจุภัณฑ์) การข้ึน
ทะเบียน การประกนั คุณภาพ การจาหน่ายการโฆษณา การขออนุญาตนาเข้าเพ่ือจาหน่าย
การรายงานเหตุการณ์/อาการไม่พึงประสงค์ และการบริหารจัดการความเส่ียงและ
ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย แนวปฏิบัติที่ดี และข้อตกลงท่ี
ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีกิจกรรมการฝึกตามระดับการฝึกงาน /รูปแบบ
กิจกรรมเป็นไปตามความประสงค์ของแหล่งฝึก เช่น ฟังคาบรรยาย (Lecture) ร่วม
สังเกตการณ์ (Observation) ร่วมกิจกรรม (Imitation & Participation) ลงมือฝึก
ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง (Manipulation) เพ่อื รองรับการฝึกงาน online หน่วยฝึกปฏิบัติงาน
วิชาชีพ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ปรับเปลี่ยนแบบประเมินผลและ
แบบบันทกึ การฝกึ ปฏบิ ัติงานของรายวิชา เป็น electronic forms ท้ังหมด และคาดหวัง
ว่าจะนารูปแบบน้ีไปใช้ต่อไปในอนาคต เพราะเพิ่มความสะดวกสบายในการส่งแบบฟอร์ม
ทาง electronic platform ลดการเสียเวลาและค่าใช้จ่ายจากการ mail in เอกสารผ่าน
ทางไปรษณยี ์ และลดการใช้กระดาษ (paperless)

แแนนววคคดิ ดิ กกาารรจจดั ัดกการารเรเรยี ียนนรู้รทู้ สี่ทะี่สทะอ้ทนอ้ กนากราจรดั จกดั ากราเรรยีเรนยี กนากราสรอสนอแนบแบบaบctaivcetivleealrenainrnging

รปู แบบการฝกึ งานที่เน้นการสบื ค้นข้อมลู และการมีสว่ นรว่ มในการจัดทาชิ้นงาน/
กรณศี ึกษารว่ มกับแหลง่ ฝึก สามารถทาให้นสิ ิตได้รบั ประสบการณ์ตามเนอื้ หารายวิชาและ
ได้มสี ่วนรว่ มในการทางานร่วมกับแหล่งฝึก

40

ผลงาน/ผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการเรียน

แหล่งฝกึ กรณศี กึ ษาในแหลง่ ฝกึ ทน่ี สิ ติ ไดเ้ ข้าไปมสี ว่ นรว่ ม/ช้ินงานทนี่ สิ ติ ไดม้ สี ว่ น
กลมุ่ กาหนดมาตรฐาน รว่ มในการจดั ทาใหแ้ หลง่ ฝกึ
กลุ่มงานใบอนญุ าต
กลุ่มพัฒนาระบบ การทบทวนทะเบียนตารบั ยา บริการตอบคาถามจากภายใน (อ.ย.)
กล่มุ พัฒนาระบบ และภายนอกหนว่ ยงาน

แนวทางการพัฒนาแบบแปลนสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ
มาตรฐานขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑย์ า Medicinal Product Identification
(MPID)

ตัวอย่างการประยกุ ตเ์ ทคนคิ การจดั การฐานขอ้ มลู กบั การสรา้ ง
Pharmaceutical product identifier (PhPID) code
บน Microsoft Excel และนาเสนอโมเดลต้นแบบเพอ่ื พฒั นาตอ่ ยอด

กองควบคมุ เครอื่ งมอื แพทย์

กองควบคมุ เครอ่ื งมือแพทย์ แกไ้ ขรา่ งขอ้ กาหนดผลติ ภัณฑท์ ม่ี ีแอลกอฮอลเ์ ปน็ สว่ นประกอบเพื่อฆา่
เชอื้ สาหรบั มนุษย์ สัตว์ เครื่องมือแพทย์
กองควบคมุ เครอื่ งมอื แพทย์
เอกสารรายละเอยี ดเกี่ยวกับ cleanroom สาหรับผู้ประกอบการใน
กองผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร การผลติ alcohol pad
กองผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร
คมู่ อื การย่ืนคาขอผลติ หรือนาเขา้ เครอื่ งมอื แพทยเ์ พ่ือใช้ในการศึกษา
วจิ ัยทางคลนิ ิก

ฐานขอ้ มูลเพื่อการขน้ึ ทะเบียนผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพร

กองผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรมและการ การหาขอ้ มลู สมุนไพรเพอ่ื มาใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการขึ้นทะเบียนยา
บริการ ให้คาปรกึ ษาเกย่ี วกบั การขนึ้ ทะเบียนยา (online)

กองผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรมและการ Preliminary review ของเอกสาร CTD ในส่วน quality, preclinical,

บรกิ าร clinical sections

กองผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพนวัตกรรมและการ โปสเตอรใ์ ห้ความรเู้ รื่อง พลาสมารักษา COVID-19
บริการ

กองผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรมและการ Herbal products ingredient-based claim & database
บรกิ าร

กองผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพนวัตกรรมและการ การตรวจสอบความถกู ต้องของใบ Certificate
บรกิ าร

41

กองผลติ ภัณฑส์ ุขภาพนวตั กรรม Antiseptic Products Registration ทเี่ กี่ยวข้องกบั ผลติ ภัณฑ์
และการบรกิ าร เรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ อโุ มงคพ์ น่ /อโุ มงคฆ์ า่ เช้ือ

กองผลติ ภัณฑส์ ุขภาพนวัตกรรม แผนผังการจัดจาแนกผลติ ภณั ฑ์ (Product classification decision
และการบรกิ าร tree)

กองผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรม แนวทางการประเมินและอนุญาต New ingredient และ Mixed
และการบรกิ าร ingredients (Herbal ingredient) ของประเทศไทย

กองผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรม Emergency Use Authorization (EUA): แนวทางการพฒั นาระบบ
และการบริการ การอนุญาต (pre-marketing) และ ระบบการตรวจสอบ (post-
marketing) ของผลิตภณั ฑใ์ นช่วงภาวะฉกุ เฉิน
กองผลิตภัณฑส์ ุขภาพนวัตกรรม
และการบริการ Consult development (FAQ) ผลติ ภณั ฑ์ Covid-19: portable
disinfectant generator
กองผลิตภณั ฑส์ ุขภาพนวตั กรรม
และการบริการ การเปรียบเทยี บ GMP ประเภทต่างๆ เพ่ือใช้ในการประเมนิ ผลติ ภณั ฑ์
สมนุ ไพร
กองผลิตภณั ฑส์ ุขภาพนวตั กรรม
และการบริการ การพฒั นาแก้ไขปรบั ปรงุ เอกสารวธิ ีการปฏิบตั งิ าน “การให้คาปรึกษา
ผลิตภณั ฑน์ วตั กรรมเชงิ รกุ ” (Proactive consultation)
กองผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพนวัตกรรม
และการบรกิ าร แนวทางการพจิ ารณาการยกเว้นการศกึ ษาชีวสมมลู ในมนุษย์
(Biowaiver)
กองผลติ ภัณฑส์ ุขภาพนวตั กรรม
และการบรกิ าร การพัฒนาแผนผงั เว็บไซตก์ องผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพนวตั กรรมและการ
บริการ (Innovative Health Products and Services Site
กองผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพนวตั กรรม Mapping : IHPS site mapping)
และการบริการ
การพฒั นาปรับปรงุ คมู่ อื วธิ ีการปฏบิ ตั ิงานใหค้ าปรึกษาและประเมนิ
กองผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพนวัตกรรม ทะเบยี นตารบั ยาประเภท Rolling Submission
และการบรกิ าร
ข้อเปรียบเทยี บระหวา่ งการขนึ้ ทะเบียนยา biosimilar ระหว่าง US และ
กองผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพนวัตกรรม EU
และการบริการ แนวทางในการทา Systematic Review สาหรับ SMEs ในประเทศไทย

กองผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพนวัตกรรม การพิจารณาจาแนกผลติ ภณั ฑท์ มี่ แี อลกอฮอลเ์ ป็นสว่ นประกอบ
และการบรกิ าร

42

กองผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพนวัตกรรม Standard operation procedure (SOP) และ work instruction
และการบริการ (WI) สาหรับการปฏบิ ตั งิ านใหค้ าปรกึ ษาและประเมินทะเบียนตารบั
ยา
กองผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพนวัตกรรม การพจิ ารณาทะเบยี นตารบั ยาทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องยาสามญั
และการบรกิ าร (Generic)

กองยาชีววตั ถุ Mock-up CTD and RMP of tisagenlecleucel (Anti-CD19
Chimeric Antigen Receptor (CAR) T cells)

กองยาชีววัตถุ Mock-up CTD and RMP of trastuzumab biosimilar

งานยาสตั ว์ Guideline for an assessor preparing assessment reports
for veterinary medicinal products by European Medicines
Agency (EMA) in New Zealand format

ถอถดอบดทบเรทยี เนรกียานรกเรารยี เนรรียู้ น(lรeู้s(sleosnsloenarlneeadrn) eแลdะ)แแนลวะทแานงวกทาารงพกฒั ารนพาฒักรนะาบกวรนะวบชิ วานวิชา

บทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned)

รูปแบบการฝึกปฏิบัติงานผ่านการ work from home เป็นรูปแบบที่สามารถนามาใช้
เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในช่วงสถานการณ์โรคระบาดเพื่อความปลอดภัยของนิสิต แม้
นิสิตอาจไม่ได้ลงมือปฏิบัติงานจริงท่ีแหล่งฝึก รูปแบบการฝึกงานท่ีเน้นการสืบค้นข้อมูล
และการมีส่วนร่วมในการจัดทาชิ้นงาน/กรณีศึกษาร่วมกับแหล่งฝึกสามารถทาให้นิสิต
ได้รับประสบการณ์ตามเนื้อหารายวิชา ได้มีส่วนร่วมในการทางานกับแหล่งฝึก และยัง
ชว่ ยประหยดั เวลาและค่าเดินทางของนิสติ มายงั แหลง่ ฝึก

แนวทางการพัฒนากระบวนวิชา

คาดหวังว่าจะนารูปแบบการประเมินผลและแบบบันทึกการฝึกปฏิบัติงานท่ีได้พัฒนา
เป็น electronic forms ท้ังหมดไปใช้ต่อไปในอนาคต เพราะเพ่ิมความสะดวกสบายในการ
สง่ แบบฟอร์มทาง electronic platform ลดการเสียเวลาและค่าใช้จ่ายจากการ mail in
เอกสารผ่านทางไปรษณีย์ และลดการใช้กระดาษ (paperless) นอกจากนี้ การนาเสนอ
การฝึกงานต่อคณาจารย์ของคณะฯ หลังจบผลัดอาจจัดในรูปแบบ online เพ่ือช่วย
ประหยัดเวลาและคา่ เดนิ ทางของนสิ ติ มายังคณะฯ

43

ความเห็นจากนิสติ และแนวทางการปรับปรุง
- แบบประเมนิ ผลตามรูปแบบของ ศ.ศ.ภ.ท. (การผลิต การประกันคุณภาพ

และควบคุมคณุ ภาพ) ไมค่ ่อยสอดคล้องกับบริบทของงานท่ี อ.ย. ซ่ึงเน้ือหาเน้นไป
ในด้านฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพในการประยุกต์ใช้กฎหมาย กฎระเบียบ หลักเกณฑ์
และข้อตกลงระหว่างประเทศที่เก่ียวข้องในการพัฒ นายาและ /หรือผลิตภัณฑ์
สุขภาพ ในประเด็นน้ีอาจปรับปรุงโดยใช้แบบประเมินผลจากวิชาการฝึก
ปฏิบัตงิ านวชิ าดา้ น Regulatory Compliance มาเสริม

- นิสิตไม่สามารถสัมผัสบรรยากาศการทางานที่แท้จริงในสถานที่แหล่งฝึก
เนื่องจากการฝึกปฏิบัติงานผ่านการ work from home ทาให้นิสิตได้ติดต่อกับ
เพยี งอาจารยแ์ หลง่ ฝกึ ผรู้ ับผิดชอบ และทาแตง่ านท่ไี ดร้ ับมอบหมายเท่านั้นซึ่งบาง
งานเป็นลักษณะกรณีศึกษาจาลอง (mock up) ไม่ได้เห็นภาพรวมของขอบข่าย
งานท่ีแท้จรงิ ในกองทงั้ หมด ไม่ได้ดูสถานที่จริง ไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคลากรท่าน
อื่นในหน่วยงาน และการติดต่อส่ือสารบางครั้งมีปัญหาจากระบบ internet ใน
ประเด็นนี้อาจปรับปรุงโดยใช้ให้นิสิตเข้ามาฝึกปฏิบัติงาน on-site ในบางวัน
เพื่อใหเ้ ห็นภาพการทางานของแหล่งฝึกมากข้นึ

- การฝึกงานเพียงผลัดเดียว (1.5 เดือน) ต่อแหล่งฝึก ทาให้นิสิตประสบ
ปัญหาเรื่องการหาท่ีพักและราคาค่าเช่าท่ีสูง ในประเด็นน้ีอาจปรับปรุงโดยจัดให้
นสิ ติ ฝกึ งานสองผลดั (3 เดือน) ตอ่ แหล่งฝึก

- การได้ฝึกงานวิชาบังคับในโรงงานท่ีลดลง 1 ผลัดจากสถานการณ์
COVID-19 ทาให้นิสิตบางส่วนมีความกังวลว่าได้รับการฝึกด้านอุตสาหกรรมใน
เวลาและเนื้อหาที่น้อยลง ซ่ึงอาจมีผลต่อการสอบใบประกอบในส่วนของ PLE-
IP2 ท่ตี ้องมีการนาเสนอกรณศี ึกษาจากการฝึกงาน

44

13 การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน 3

: การควบคมุ กระบวนการผลติ ยา

มหาวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ

หน่วยกติ : 5(0-20-0)

นกั ศกึ ษาชน้ั ปที เี่ รยี น : ช้ันปีที่ 5

จานวนนกั ศกึ ษาในชน้ั เรยี น : 63 คน

ผูร้ บั ผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทมี สอน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภก.สถาพร นิม่ กลุ รัตน์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภญ.ศุจิมน ตันวเิ ชยี ร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภก.ธนู ทองนพคณุ

อาจารย์เภสชั กรที่ปฏบิ ัตงิ านในโรงงานยา

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ของกระบวนวชิ า

เม่อื สิ้นสดุ การฝึกปฏิบตั ิการ นสิ ติ สามารถ
อธบิ ายความเช่ือมโยงระหวา่ งความรู้ทางทฤษฏีกับการประยกุ ต์ให้เกดิ ผลทาง
ปฏบิ ตั ิ
มีทักษะในการผลติ ยาในระดับอตุ สาหกรรม อธิบายข้นั ตอนต่างๆ ในกระบวนการ
ผลติ ยา รปู แบบตา่ งๆ
อธิบายหลักการของระบบบรหิ ารคณุ ภาพและการประกันคณุ ภาพในอุตสาหกรรม
ยา
อธบิ ายหลกั การบรหิ ารความเสี่ยงในการผลิต และวิธดี าเนนิ การเมอื่ กระบวนการ
ผลติ เกิดการเบ่ียงเบน หรอื เปล่ยี นแปลง
อธิบายหลกั การพนื้ ฐานในการบรหิ ารปัจจยั การผลติ อันไดแ้ ก่ บคุ ลากร เครอ่ื งจกั ร
อปุ กรณ์ วตั ถุดบิ อาคารสถานทแี่ ละระบบเอกสาร ตลอดจนระบบอานวยความสะดวก
ในการผลิต
เขา้ ใจชีวติ การทางานและวฒั นธรรมขององคก์ ร
ปรบั ตัวให้เข้ากับผ้อู ่ืน และสามารถทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้

แนวคิดการจดั การเรียนรู้ ทสี่ ะทอ้ นการจดั การเรียนการสอนแบบ active learning

ก า ร ฝึ ก ง า น ใ น รู ป แ บ บ อ อ น ไ ล น์ ที่ ด า เ นิ น ก า ร เ ป็ น ก า ร เ รี ย น ใ น ลั ก ษ ณ ะ
กรณีศึกษา (case based learning) โดยมีอาจารย์พิเศษหลายคนซึ่งเป็นเภสัชกร
ทางานด้านการผลิตในโรงงานยาหลายแห่ง นาปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในการทางานมาเป็น
กรณีศึกษาให้ผู้เรียนวิเคราะห์ (critical thinking) หาสาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหา
(problem solving) จากนั้นนาผลการวิเคราะห์มานาเสนอแก่อาจารย์พิเศษและ
คณาจารย์ประจาวิชา ซึ่งการถกแถลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเป็นประโยชน์
อยา่ งมากในการพัฒนาทักษะทางปัญญาข้ันสูงของผู้เรียน และทาให้ผู้เรียนได้เช่ือมโยง
ความรู้ทางทฤษฎีมาใช้ในการปฏิบตั งิ านจริง

45

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรือกจิ กรรม วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลโดยสรุป

จากสถานการณ์การระบาดของโคโรนาไวรัส ทาให้ต้องเปล่ียนวิธีจัดการ
เรียนการสอนจากการฝึกงาน ณ สถานที่ฝึกงาน (on-site) ได้แก่ โรงงาน
อตุ สาหกรรมยา เป็นการฝึกงานรูปแบบออนไลน์ (ผลัด 2-3) โดยอาจารย์พิเศษจาก
ภาคอุตสาหกรรมบรรยายสรุปและมอบกรณีศึกษา (case) ท่ีเกิดขึ้นจริงในโรงงาน
(โดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 1-2 case) ให้นิสิตระดมสมองวิเคราะห์ปัญหา (ทาเป็นกลุ่ม
กลุ่มละ 2-3 คน) หลังจากนั้นนิสิตนาเสนอและถกแถลงร่วมกับอาจารย์พิเศษจาก
ภาคอุตสาหกรรมและคณาจารย์ประจาวิชา (ผ่านโปรแกรม Zoom meeting และ
Microsoft teams) การประเมินผลแบ่งเป็นการนาเสนอ (โดยใช้ rubric score) การ
ส่งรายงานความก้าวหน้า และรายงานสรุปกรณีศึกษา (ใช้ Microsoft teams เป็น
learning management system)

ผลงาน/ผลลัพธ์ทไี่ ดจ้ ากการเรียน

นิสิตได้เรียนรู้ถึงปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในการผลิตยา และรู้จักวิธีการ
วิเคราะหห์ าสาเหตุของปัญหา (root cause analysis) การประเมินความเสี่ยง (risk
assessment) และการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาท่เี กดิ (problem solving)

ถอดบทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพัฒนากระบวนวิชา

จากการเรยี นแบบออนไลน์โดยเรยี นรูจ้ ากกรณีศึกษาเปน็ หลัก มีความ
แตกตา่ งจากการฝกึ งาน ณ สถานท่ีฝึกงานจรงิ โดย

ขอ้ ด้อย: นิสิตไมไ่ ด้ฝกึ งาน ณ แหล่งฝกึ จริงซงึ่ เปน็ โรงงานผลิตยา ทาให้ไมส่ ามารถนึก
ภาพการทางาน และชวี ิตการทางานจริงได้ รวมถึงขาดการฝกึ ทักษะทตี่ อ้ งลงมือทา
ในการปฏิบตั ิงานจรงิ

ขอ้ ดี: นิสิตมโี อกาสได้เรียนรูท้ ฤษฎอี ย่างกวา้ งขวางจากการบรรยายของอาจารย์
พิเศษทท่ี างานจริงในโรงงาน และได้ฝกึ วเิ คราะหก์ รณศี ึกษาหลายเร่อื งด้วยกัน ซ่งึ
หากเทยี บกบั การฝึกงานจริงนสิ ติ อาจไดค้ วามรูห้ รอื ทักษะลึกเฉพาะเรอื่ งที่ปฏิบตั งิ าน
อยู่ประจาเท่าน้นั การฝกึ งานออนไลนจ์ งึ อาจทาให้นิสติ เรียนรูไ้ ดก้ ว้างกว่าและเกดิ
ทกั ษะทาปัญญามากกว่าการฝึกงานจริง

46

14 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั พฤกษศาสตรแ์ ละ

เภสัชวนิ จิ ฉยั

มหาวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

หนว่ ยกิต : 1(0-3-1)

นกั ศึกษาชั้นปีทเี่ รยี น : ชั้นปีท่ี 3

จานวนนักศกึ ษาในช้ันเรยี น : 120 คน

ผ้รู ับผิดชอบกระบวนวชิ า/ทีมสอน

อาจารย์ ดร.ภญ.ธนกิ า ปฐมวชิ ัยวัฒน์

วัตวตัถปุถรปุ ะรสะงสคงก์คา์กราเรรเยีรนียรนู้ขรอขู้ งอกงรกะรบะวบนววนชิวาชิ า

1.ประยุกต์ใช้เทคนิค TLC ในการการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบและ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้ และตรวจสอบการปนปลอมยาสเตียรอยด์ใน
ผลิตภณั ฑส์ มนุ ไพร
2. สามารถวิเคราะห์ แปลผล และให้คาแนะนาในการใช้ยาและผลิตภัณฑ์
สมนุ ไพรได้อย่างเหมาะสม

แนวคดิ การจดั การเรียนรู้ ที่สะทอ้ นการจดั การเรยี นการสอนแบบ active learning

ใชก้ รณศี ึกษาจริงในการจัดการเรยี นรู้ให้เห็นการประยุกต์ใช้ โดยรับตรวจ
ตัวอย่างจริงจากท้องตลาด แล้วให้นักศึกษาเป็นผู้ตรวจสอบ เขียนรายงานผล 2
รูปแบบ คือแบบส่งให้อาจารย์ตรวจ (ใช้ technical terms) และรายงานให้ประชาชน
ผู้สง่ ตรวจทราบพร้อมใหค้ าแนะนาการใชย้ าสมุนไพร

47

กกรระะบบววนนกกาารรจจดั ัดกกาารรเเรรียียนนกกาารรสสออนนหหรรือือกกิจจิ กกรรรรมม ววิธิธกี กี าารรววัดดและประเมนิ ผลโดยสรปุ
นักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ จากการสังเกตเทียบกับการ

เรียนรู้แบบเดิม นักศึกษามีความสนใจและต้ังใจในการเรียนมากข้ึน (สังเกตจากการ
ตง้ั คาถาม และการติดตามผล feedback จากผูส้ ่งตรวจ) ลักษณะคาถามแสดงถึง
การเช่ือมโยงองคค์ วามรู้ไปสกู่ ารใช้งานจริงได้

ผลงาน/ผลลัพธ์ท่ไี ดจ้ ากการเรียน
1. นักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์การเรียน ตระหนักถึงบทบาทวิชาชีพ

และเขา้ ใจแนวทางการประยกุ ต์ใช้
2. ให้บริการวชิ าการกับสงั คม

ถถออดดบบททเเรรียียนนกกาารรเเรรยี ยี นนรรู้ ู้((lleessssoonnlleeaarrnneedd))แแลละะแแนนววททาางงกกาารรพพฒั ัฒนนาากกรระะบบววนนววิชิชาา
ปรับวิธีประเมินผล นา rubric เข้ามาช่วย เพื่อพัฒนาทักษะ

การส่ือสาร และการเขียนรายงานให้มีความเป็นมืออาชีพ โดย rubric จะต้องเป็น
ข้อตกลงของอาจารย์ร่วมกับนักศึกษา ทาให้นักศึกษามีส่วนร่วม ปลูกฝังให้เกิด
การพัฒนาตนเองจากภายในและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (life-long learning)

48

15 เภสชั พฤกษศาสตร์

มหาวิทยาลยั : :มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หน่วยกติ : 2 (2-0-4)

นกั ศึกษาช้นั ปีท่เี รยี น : ชั้นปีท่ี 2

จานวนนักศกึ ษาในชนั้ เรียน : 120 คน

ผรู้ บั ผดิ ชอบกระบวนวชิ า/ทีมสอน

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.อนชุ ิต พลับร้กู าร

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จนิ ดาพร ภรู พิ ัฒนาวงษ์

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.ฉัตรชยั วฒั นาภริ มย์สกุล

วัตวถตั ปุ ถรปุ ะรสะงสคง์กคาก์ ราเรียเรนียรนูข้ รอ้ขู งอกงรกะรบะวบนววนิชวาิชา

1 เพื่อให้นกั ศกึ ษาสามารถจาแนกส่วนตา่ งๆ ของพชื ตามสณั ฐานวทิ ยาของพืช
2 เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถระบุชนดิ ตัวอย่างพืชสมุนไพร และพืชเศรษฐกิจของ
ไทยท่ีคัดเลือกแล้ว และระบุชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สรรพคุณและส่วนที่ใช้เป็นยาของ
ตวั อย่างพชื น้นั ๆ
3 เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถระบถุ ึงพืชสมุนไพรทใ่ี ช้ในงานสาธารณสุขมูลฐานและ
อธิบายถึงสรรพคุณ ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง วิธีการใช้พืชสมุนไพรนั้นๆ ทั้ง
แบบประเพณีนิยมและแบบที่มีการพัฒนาแล้ว
4 เพ่ือให้นักศึกษารู้จักและสามารถจาแนกลักษณะทางเนื้อเยื่อวิทยาของ
ตวั อย่างพืช
5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร และสามารถประยุกต์ความรู้
ดังกล่าวมาใช้ในงานวจิ ยั และพฒั นาผลิตภัณฑจ์ ากสมนุ ไพร
6 เพอ่ื ให้นักศึกษาสามารถระบุชนิดตัวอย่างพืชสมุนไพร และพืชเศรษฐกิจของ
ไทยที่คัดเลือกแล้ว และระบุช่ือวิทยาศาสตร์ วงศ์ สรรพคุณและส่วนที่ใช้เป็นยาของ
ตวั อยา่ งพืชน้ันๆ
7 เพ่ือให้นักศึกษาสามารถระบุถึงพืชสมุนไพรที่ใชใ้ นงานสาธารณสุขมลู ฐาน
และอธิบายถึงสรรพคุณ ขอ้ บง่ ใช้ ข้อหา้ มใช้และขอ้ ควรระวัง วธิ กี ารใช้พชื สมุนไพรนน้ั ๆ
ท้ังแบบประเพณีนิยมและแบบท่มี ีการพัฒนาแล้ว

แนวคิดการจัดการเรยี นรู้ ท่ีสะทอ้ นการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning

การจัดทาสอ่ื การสอนในรูปแบบสไลด์โชว์ และคลปิ วดิ ีโอ เพื่อนาเข้าสบู่ ทเรยี น และให้
นักศึกษาสามารถใชป้ ระกอบการทบทวนศึกษาด้วยตนเองหลังปฎบิ ตั ิการ (ในชว่ งท่ี
มีการจดั การเรยี นตามปกติ) และเพอื่ ใชท้ ดแทนการเข้าเรียนในหอ้ งปฏบิ ัติการ
(ในช่วงที่มคี าส่งั ปิดสถานศึกษาเพ่อื ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรค Covid-19)

49

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนหรอื กจิ กรรม วิธีการวดั และประเมนิ ผลโดยสรปุ

ในช่วงเวลาปกติ การวดั ผลเปน็ การสอบขอ้ เขยี น และการสอบปฏบิ ตั ิในรปู แบบปกติ แต่
ในช่วงท่มี ีคาสงั่ ปดิ สถานศึกษา ซ่ึงไมส่ ามารถใชก้ ารสอบปกติได้ จดั การวดั ผลโดยการสอบออนไลน์
เต็มรปู แบบ ท้ังในรายวิชาบรรยาย และรายวิชาปฏบิ ัตกิ าร โดยผ่านระบบ lms ของ
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ อนง่ึ ในระหวา่ งภาคฤดรู ้อน นักศกึ ษาส่วนหน่งึ ตอ้ งลงทะเบียน
เนือ่ งจากสอบตกในรายวชิ าดงั กลา่ วในภาคการศกึ ษาก่อนหน้านี้ การวัดผลนักศกึ ษากลุ่มนี้ ใชก้ าร
สอบปากเปลา่ ผา่ น line call

ผลงาน/ผลลพั ธ์ทีไ่ ดจ้ ากการเรยี น

การใชส้ ่อื การสอนประกอบการจัดการเรยี นการสอนในชว่ งทสี่ ามารถจัดการเรยี นการสอน
ตามปกตไิ ด้ นกั ศึกษาสามารถใชส้ ่อื ประกอบการสอนตามระบขุ ้างต้น เพ่อื ประกอบการศกึ ษาดว้ ย
ตนเอง และการทบทวนกอ่ นสอบ รวมถึงใช้ศึกษากอ่ นเขา้ เรียนในแต่ละวนั เพือ่ เตรยี มตควั ก่อนเข้า
เรยี นและเขา้ ปฏิบัติการ ซ่งึ ทาใหก้ ารจัดการเรยี นสอนราบรืน่ กระชบั และเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์
รายวชิ าไดม้ ากขึ้น โดยภาพรวม จากการสอบถามนักศกึ ษา นักศกึ ษาสามารถเขา้ ถึงและใช้สอ่ื
ประกอบการสอนดังกลา่ วไดผ้ ลดี นอกจากนนั้ การศกึ ษาดว้ ยตนเองกอ่ นเขา่้ เรยี น ยงั ชว่ ยกระตนุ้ ให้
นกั ศกึ ษาต่ืนตวั และเตรียมพรอ้ มในการเข้าเรยี นมากขน้ึ และเรียกความสนใจจากนักศกึ ษาในภาพรวม
ได้ดีข้ึนสาหรบั ในช่วงท่ตี ้องงดการเรียนการสอน ถึงแม้การใช้ส่อื การเรยี นการสอนดงั กล่าวจะไม่
สามารถทดแทนการสอนในชัน้ เรยี น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนในหอ้ งปฏิบตั กิ าร และการศึกษาพชื
ตัวอย่างในสวนสมุนไพร แต่ส่อื การสอนท่ีใช้ สามารถทดแทนการจดั การเรยี นการสอนทางไกล และทา
ใหส้ ามารถบริหารจัดการรายวิชาใหแ้ ลว้ เสรจ็ ตามวตั ถุประสงค์

ถอดบทเรยี นการเรยี นรู้ (lesson learned) และแนวทางการพฒั นากระบวนวชิ า

การใชว้ ิธีการจดั การเรยี นการสอนโดยสือ่ ออนไลน์ มีประโยชนอ์ ยา่ งมากในฐานะสอ่ื เพ่ือช่วย
เสรมิ การเรียนตามปกติ เพื่อใหน้ ักศึกษาสามารถศึกษาดว้ ยตนเองดว้ ยจังหวะเวลา และความสามารถ
ของแตล่ ะบุคคล รวมถึงทาใหน้ ักศึกษาสามารถเขา้ ถงึ บทเรียนไดท้ ดั เทียม ไมม่ คี วามแตกตา่ งระหวา่ ง
กลุ่มนกั ศึกษา โดยเฉพาะทมี่ ีการสาธติ วิธกี ารหรอื เทคนคิ ปฏิบตั ิเฉพาะ อย่างไรก็ตาม ถงึ แมว้ า่ การใช้
ส่อื ดังกลา่ ว จะช่วยให้การเรียนการสอนดาเนนิ ตอ่ ไปได้ การใช้สื่อการสอนในลักษณะนีใ้ นชว่ งท่ีตอ้ ง
จัดการเรยี นการสอนทางไกล ยังคงไมส่ ามารถทดแทนการเรียนการสอนตามปกติไดอ้ ย่างสมบรู ณ์
รวมถงึ ไมส่ ามารถสร้างสอื่ เพื่อใช้ทดแทนหรือประกอบการสอนไดใ้ นทุกเนอ้ื หาท่มี คี วามจาเปน็ ตามระบุ
ในวัตปุ ระสงค์ของรายวิชาและของหลักสตู ร ภายใต้ข้อจากัดของเวลา และการปรบั เปล่ยี น
กระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างกระทันหนั ในขณะที่ต้องงดการเรียนการสอน เนือ้ หาที่ปรากฏ
ในสือ่ สว่ นหนึ่ง เป็นเนอ้ื หา หรอื รปู แบบซ่ึงควรใช้ประกอบการสอนในหอ้ งเรยี นหรอื หอ้ งปฏบิ ัติการ
โดยตรง การนามาใชท้ ดแทนการเรยี นในชัน้ เรยี น ทาใหไ้ ม่สามารถนาเสนอรายละเอยี ดบางประการ
ท้ังน้ี บางส่วนของสื่อเหล่านี้ อาจนามาปรับปรงุ เพ่อื จัดทาส่อื ท่ีเหมาะสมสาหรบั การศึกษาดว้ ยตนเอง
ได้มากขึ้น

ข้อจากัดที่สาคญั ของการจดั การเรยี นการสอนทางไกล คอื การวดั และประเมินผล
เนือ่ งจากปัจจยั จากดั จากโอกาสและความสามารถในการเข้าถึเทคโนโลยีของนกั ศกึ ษาทไี่ ม่ได้อาศยั ใน
เขตชมุ ชนหรือในเขตเมอื ง และนกั ศกึ ษาส่วนหน่ึงอาจใช้ช่องโหวข่ องเทคโนโลยเี พ่อื ชว่ ยทาขอ้ สอบ
ทง้ั น้ี ในประเด็นหลงั การปรบั ปรงุ ระบบและขอ้ สอบเพือ่ ลดโอกาสการรว่ มมือกันทาขอ้ สอบ และการ
ออกแบบขอ้ สอบในรูปแบบท่สี ามารถเปดิ ตาราได้ นา่ จะมีสว่ นช่วยเพม่ิ ความแมน่ ยาในการวดั ผลไดด้ ีขึ้น
นอกจากน้ัน ถ้าหากเป็นการวัดผลในชนั้ เรยี นขนาดเล็ก สามารถนาการสอบปากเปล่าผ่าน Line call
หรอื ส่อื อื่นทีค่ ลา้ ยกนั มาประกอบการวดั ผลได้ดี รว่ มถงึ ชว่ ยให้สามารถประเมินความสามารถของ
นักศึกษาตามทเ่ี ป็นจรงิ ได้ดว้ ย

50

16 ปฏบิ ตั กิ ารเภสชั พฤกษศาสตร์

มหาวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์

หนว่ ยกิต : 1(0-3-6)

นกั ศึกษาช้ันปที เ่ี รยี น : ชน้ั ปที ี่ 2

จานวนนักศกึ ษาในชนั้ เรียน : 120 คน

ผรู้ ับผิดชอบกระบวนวิชา/ทีมสอน

รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.อนชุ ติ พลับรูก้ าร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จินดาพร ภรู ิพัฒนาวงษ์

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภก.ฉตั รชยั วฒั นาภิรมย์สกุล

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ของกระบวนวชิ า

1 เพ่อื ให้นกั ศึกษาสามารถจาแนกส่วนตา่ งๆ ของพชื ตามสณั ฐานวิทยาของพชื
2 เพ่อื ให้นักศึกษาสามารถระบุชนิดตัวอย่างพืชสมุนไพร และพืชเศรษฐกิจของไทย
ที่คัดเลือกแล้ว และระบุช่ือวิทยาศาสตร์ วงศ์ สรรพคุณและส่วนท่ีใช้เป็นยาของตัวอย่างพืช
นน้ั ๆ
3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถระบุถึงพืชสมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐานและ
อธิบายถึงสรรพคุณ ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง วิธีการใช้พืชสมุนไพรนั้นๆ ท้ังแบบ
ประเพณนี ิยมและแบบท่ีมีการพฒั นาแลว้
4 เพ่ือให้นักศึกษารู้จักและสามารถจาแนกลักษณะทางเน้ือเยื่อวิทยาของตัวอย่าง
พชื
5 เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้เก่ียวกับสมุนไพร และสามารถประยุกต์ความรู้ดังกล่าว
มาใช้ในงานวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑจ์ ากสมุนไพร
6 เพื่อใหน้ ักศึกษาสามารถระบุชนิดตัวอย่างพืชสมุนไพร และพืชเศรษฐกิจของไทย
ท่ีคัดเลือกแล้ว และระบุชื่อวิทยาศาสตร์ วงศ์ สรรพคุณและส่วนท่ีใช้เป็นยาของตัวอย่างพืช
นน้ั ๆ
7 เพื่อให้นักศึกษาสามารถระบุถึงพืชสมุนไพรท่ีใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐานและ
อธิบายถึงสรรพคุณ ข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง วิธีการใช้พืชสมุนไพรนั้นๆ ท้ังแบบ
ประเพณีนยิ มและแบบทมี่ ีการพัฒนาแล้ว

แนวคดิ การจัดการเรียนรู้ ท่ีสะทอ้ นการจัดการเรียนการสอนแบบ active learning

การจดั ทาสอ่ื การสอนในรูปแบบสไลดโ์ ชว์ และคลปิ วิดโี อ เพอ่ื นาเขา้ สบู่ ทเรียน และให้
นกั ศกึ ษาสามารถใช้ประกอบการทบทวนศึกษาดว้ ยตนเองหลงั ปฎิบัติการ (ในชว่ งทมี่ กี าร
จัดการเรยี นตามปกติ) และเพ่อื ใชท้ ดแทนการเข้าเรยี นในห้องปฏิบตั ิการ (ในชว่ งท่ีมีคาสง่ั ปดิ
สถานศกึ ษาเพอื่ ป้องกนั การแพร่ระบาดของโรค Covid-19)

51


Click to View FlipBook Version