The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวสุมงคล ศรีบัวภา 613060170-6 sec.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pondppra19, 2020-05-03 06:27:50

นางสาวสุมงคล ศรีบัวภา 613060170-6 sec.1

นางสาวสุมงคล ศรีบัวภา 613060170-6 sec.1

การพยาบาลผู้ป่ วยโรค
ระบบต่อมไร้ท่อ โรคผวิ หนัง

และโรคติดเชื้อ

จัดทาโดย
นางสาวสุมงคล ศรีบวั ภา
รหัสนักศึกษา 613060170-6 Sec.1
นักศึกษาช้ันปี ที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

เสนอ
รองศาสตราจารย์ ดร.ชัจคเณค์ แพรขาว

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 2
ภาคการศึกษาท่ี 2 ปี การศึกษา 2562 คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

Coronavirus Disease 2019

กลุ่มเส่ียงต่อการสมั ผสั Covid-19 ทุกเพศทุกวยั สามารถสัมผสั โรคได้

1.ผทู้ ี่อาศยั ในประเทศจีน เมือง Wuhan

2.ผทู้ ่ีเดินทางเขา้ -ออกจากเมือง Wuhan

3.บุคคากรทางการแพทย์

4.พนงั งานขบั รถ

5.ผทู้ ่ีมีอายมุ ากกวา่ 50 ปี

คุณสมบตั ิทางจุลชีววทิ ยา

-อยใู่ น Coronaviridae family

-มีเปลือกหุม้ (enveloped) ฆ่าเช้ือดว้ ย Alcohol หรือสบู่/ผงซกั ฟอก

-รูปร่างกลมหรือมีหลายรูปแบบ

-ขนาด 80-120 nm ใหญ่ที่สุดของ RNA virus

มนุษยแ์ ละสัตว์ ตวั ก่อโรคคือลิ่ม

ชุด PPE
-พยาบาลตอ้ งสวมใส่ผา้ ปิ ดปาก ถุงมือ หมวกและเส้ือคลุมขณะใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย
-สวมใส่แวน่ ป้องกนั เมื่อทากิจกรรมที่มีการฟุ้งกระจายของฝ่ นุ ละออง ลา้ งมือก่อนและหลงั การ
ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วย
-กระตุน้ หรือช่วยพลิกตวั ผปู้ ่ วยทุก 2 ชว่ั โมง ถา้ พยาธิสภาพอยทู่ ี่ปอดเพียงขา้ งเดียวจดั ท่าให้
ผปู้ ่ วยนอนตะแคงทบั ปอดขา้ งท่ีไม่มีพยาธิสภาพสลบั กบั ท่านอนหงายศรี ษะสูง
-ผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะ ARDร อาจใหส้ ลบั กบั ทนอนควา่ ถา้ ปอดมีพยาธิสภาพท้งั 2 ขา้ งจดั ใหน้ อนทบั
ปอดขา้ งขวาสลบั กบั ทาอ่ืน ๆ
-ใหอ้ อกชิเจนตามแผนการรักษา
-ใหย้ าตา้ นไวรัส ยาลดไข้ ยาละลายเสมหะ ยาขยายหลอดลมตาม RX

-ดูแลใหไ้ ดร้ ับสารน้า สารอาหารตามแผนการรักษา Mouth care และ nose care ทุก 2-4 ชว่ั โมง
และเม่ือจาเป็ น
-V/S q 1-2 ชวั่ โมง, monitor ABG, O2 saturation
-ฟังปอดและติดตามผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการที่เกี่ยวขอ้ งทุก 8 ชวั่ โมง
ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาล การแลกเปลย่ี นก๊าซบกพร่อง เนื่องจาก มี diffusion defect จากการตดิ

เชื้อในระบบทางดนิ หายใจ/เสียสมดุลของ alveolar ventilation-perfusion
ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยโดยยดึ หลกั aseptic technique, droplets precaution แaะ contact precaution
-ระวงั การแพร่กระจายของเช้ือไวรัสทางอากาศ
-แยกใหผ้ ปู้ ่ วยอยใู่ นหอ้ งท่ีมี negative pressure หรือหอ้ งที่แยกจากผปู้ ่ วยรายอื่น
-จากดั การเยยี่ มของญาติ และเมื่อตอ้ งการเยย่ี มจดั ใหญ้ าติ สวมใส่เส้ือคลุม ผา้ ปิ ดปากและหมวก
ป้องกนั
-ประเมินการแลกเปลี่ยนก๊าซ อาการ อาการแสดง และ O2 saturation
-ใหพ้ กั ผอ่ นบนเตียง จดั ใหน้ อนท่า Semi- หรือ high Fowler's position
-แนะนาการหายใจโดยใชก้ ระบงั ลม ดูแลใหท้ างเดินหายใจโล่ง โดย
-สอนการไอที่ มีประสิทธิภาพ ถา้ ผปู้ ่ วยใส่ท่อช่วยหายใจใหเ้ คาะปอด และ suction ทุก 2 ชวั่ โมง
และเม่ือจาเป็ น

วธิ ีป้องกนั การตดิ เชื้อ

-Don't touch your face
-Wearing mask properly
-Cover your mouth and cough
-Always wipes
-Stay home
-Close toilet lid
-Getting Flu shot

Melioidosis

สาเหตุ

เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei ซ่ึงเป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบ พบได้
ทว่ั ไปในดินและน้าในแหล่งระบาด เช้ือเมลิออยดพ์ บไดใ้ นดินและน้าทุกภูมิภาคในประเทศไทย
โดยพบไดบ้ ่อยที่สุดในภาคอีสาน เช้ือแบคทีเรียชนิดน้ีเดิมเคยถูกจดั อยใู่ น genus Pseudomonas
จึงมีชื่อเดิมวา่ Pseudomonas pseudomallei เช้ือน้ีถูกจดั อยใู่ นกลุ่มเช้ือควบคุม (Tier1 select
agent) โดยศูนยค์ วบคุมและป้องกนั โรคประเทศสหรัฐอเมริกา (CDC, USA) เพราะมีความ
รุนแรงและอาจถูกนาไปพฒั นาเป็นอาวธุ ชีวภาพได้

วธิ กี ารตดิ ต่อ

โดยทว่ั ไป เช้ือน้ีเขา้ สู่ร่างกายคนโดยผา่ นทางผวิ หนงั ถา้ ผวิ หนงั มีการสมั ผสั ดินและน้า
โดยไม่จาเป็นตอ้ งมีรอยขีดข่วนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในกรณีท่ีมีการสมั ผสั ดินและน้าเป็นเวลานาน
ๆ เช่นการทานาและการจบั ปลาและในผปู้ ่ วยที่มีภูมิคุม้ กนั ลดลงเช่นผปู้ ่ วยเบาหวานและผปู้ ่ วย
โรคไต กรณีท่ีมีบาดแผลและไปสมั ผสั ดินและน้าจะเพม่ิ ความเส่ียงในการติดโรคเมลิออยดม์ าก
ข้ึน เช้ือเมลิออยดส์ ามารถเขา้ สู่ร่างกายผา่ นทางการรับประทานโดยการทานอาหารที่มีดิน
ปนเป้ื อน หรือการทานน้าที่ไม่ไดผ้ า่ นการตม้ สุก ผา่ นทางการหายใจโดยการหายใจฝ่ นุ ดินเขา้ ไป
ในปอดหรืออยภู่ ายใตล้ มฝน นกั จุลชีววทิ ยาอาจติดเช้ือจากอุบตั ิเหตุในหอ้ งปฏิบตั ิการได้ โรคน้ี
โดยปกติไม่ติดต่อจากคนสู่คน แต่อาจติดต่อจากสตั วส์ ู่คนไดถ้ า้ สมั ผสั สารคดั หลงั่ ท่ีออกมาจาก
สตั วท์ ่ีเป็นโรค หรือรับประทานเน้ือหรือนมจากสัตวท์ ี่เป็นโรค

ปัจจัยเสี่ยง

ผทู้ ี่ทาการสมั ผสั ดินและน้าจะมีความเสี่ยงในการติดเช้ือเมลิออยด์ โดยเฉพาะผทู้ ่ีตอ้ งสัมผสั ดิน
และน้า

เป็นเวลานาน ๆ เช่นเกษตรกร ผปู้ ่ วยท่ีมีภูมิคุม้ กนั ทางเซลลล์ ดลง (Cell Mediated Immunity)
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผูป้ ่ วยเบาหวานและผปู้ ่ วยโรคไตวายเร้ือรัง จะมีความเส่ียงสูงมากในการติด

เช้ือเมลิออยด์ โรคอ่ืน ๆ ท่ีพบวา่ มีความเส่ียงในการติดเช้ือเมลิออยดป์ ระกอบไปดว้ ย โรคทาลสั
ซีเมีย โรคมะเร็ง โดยเฉพาะผปู้ ่ วยที่ไดร้ ับการรักษาดว้ ยเคมีบาบดั

การรักษา

การรักษาภาวะฉุกเฉิน (acute treatment) เนื่องจากผปู้ ่ วยเมลิออยดท์ ี่มีภาวะ severe sepsis หรือ
septic shock จะเสียชีวติ อยา่ งรวดเร็ว การใชย้ าตา้ นจุลชีพที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่จาเป็น ยาท่ีมี
การศกึ ษาพบวา่ มีผลต่อเช้ือเมลิออยดค์ ือยา ceftazidime,imipenem หรือ meropenem มีการศกึ ษา
พบวา่ เช้ือเมลิออยดพ์ บมากเป็นอนั ดบั สองในผปู้ ่ วยที่มีภาวะbacteremia ในภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ(รองจาก E. coliและมากกวา่ S. aureusและ K. pneumonia) ดงั น้นั ผปู้ ่ วย
ท่ีมาดว้ ยภาวะ severe sepsis หรือ septic shock ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือทุกราย และในผปู้ ่ วย
ที่สงสยั วา่ โรคเมลิออยดเ์ ม่ือแรกรับควรไดร้ ับยาปฏิชีวนะแบบครอบคลุม (empirical treatment)
ท่ีมียา ceftazidime รวมอยดู่ ว้ ยเช่น cloxacillin (1-gram iv stat and then every 6 hours) +
ceftazidime (2-gram iv stat and then every 8 hours)

การป้องกนั โรคเมลอิ อยด์

1. หลีกเล่ียงการสมั ผสั ดินและน้าโดยตรง หากตอ้ งสมั ผสั ดินหรือน้า เช่นทาการเกษตรจบั ปลา
ลุยน้า หรือลุย

โคลน ควรสวมรองเทา้ บูท ถุงมือยาง กางเกงขายาว หรือ ชุดลุยน้า

2. หากสมั ผสั ดินหรือน้าควรทาความสะอาดร่างกายดว้ ยน้าสะอาด และฟอกสบู่ทนั ที

3. หากมีบาดแผลท่ีผวิ หนงั ควรรีบทาแผลดว้ ยยาฆ่าเช้ือไม่ใส่ดินหรือสมุนไพรใด ๆ ลงบนแผล
และหลีกเล่ียงการสัมผสั ดินและน้าจนกวา่ แผลจะหายสนิท

4. สวมรองเทา้ ทุกคร้ังเม่ือออกจากบา้ น ไม่เดินเทา้ เปล่า

5. ด่ืมน้าตม้ สุก (เน่ืองจาก น้าฝน น้าบ่อ น้าบาดาล และน้าประปาอาจมีเช้ือปนเป้ื อนไดแ้ ละการ
กรองดว้ ยเคร่ืองท่ีไม่ไดร้ ับการบารุงรักษาอยา่ งถูกตอ้ งไม่สามารถฆ่าเช้ือเมลิออยดไ์ ด)้

6. ทานอาหารสุกสะอาด (ไม่ทานอาหารท่ีมีการปนเป้ื อนจากดิน ฝ่ นุ ดิน หรืออาหารที่ลา้ งดว้ ยน้า
ท่ีไม่สะอาด)

7. หลีกเลี่ยงการสมั ผสั ลมฝ่ นุ และการอยทู่ ่ามกลางสายฝน

8. เลิกเหลา้ เลิกบุหรี่

Nosocomial infection
โรคติดเช้ือ ที่เกิดจากการไดร้ ับเช้ือขณะที่ผปู้ ่ วยไดร้ ับการตรวจ และ/หรือการรักษา ใโรง

พยาบาลและไม่อยใู่ นระยะฟักตวั ของเช้ือมกั เกิดข้ึนในผปู้ ่ วยท่ีรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลแลว้
นานเกิน 48-72 ชวั่ โมงบุคคลอ่ืน เช่น แพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ หรือผมู้ าเยย่ี ม
ผปู้ ่ วยหากไดส้ ัมผสั และรับเช้ือในโรงพยาบาลกอ็ าจเกิดติดเช้ือในโรงพยาบาลได้
1. การตดิ เชื้อระบบทางเดนิ หายใจส่วนล่าง Lower Respiratory Tract Infection

ปอดอกั เสบในโรงพยาบาล (hospital-acquired pneumonia, HAP) : ปอดอกั เสบท่ีเกิดข้ึน
หลงั จาก รับไวร้ ักษาตวั ในโรงพยาบาลต้งั แต่ 48 ชวั่ โมงข้ึนไปโดยท่ีผปู้ ่ วยไม่ไดร้ ับการสอดใส่
ท่อช่วยหายใจในขณะที่ทาการวนิ ิจฉยั โรคปอดอกั เสบท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เคร่ืองช่วยหายใจ
(ventilator-associated pneumonia, VAP) :ปอดอกั เสบท่ีเกิดข้ึนหลงั จากการใส่ท่อช่วยหายใจ
ต้งั แต่ 48 ชว่ั โมงข้ึนไป จนถึง 48 ชวั่ โมงหลงั ถอดท่อช่วยหายใจ ไม่วา่ ยงั ใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจ
หรือไม่กต็ าม
ความหมาย Ventilator-Associated Pneumonia (VAP)\
ปอดอกั เสบท่ีเกิดในผทู้ ี่ไดร้ ับการสอดใส่ท่อและใชเ้ คร่ืองช่วยหายใจเกิดภายหลงั จากใส่ท่อช่วย
หายใจอยา่ งนอ้ ย 2 และตอ้ งไม่พบก่อนการใส่ท่อช่วยหายใจ
1. Early-onset VAP
2. Late-onset VAP
ปอดอกั เสบท่ีเกิด ในช่วง 2-4 วนั เกิดหลงั จากใส่ท่อช่วยหายใจ หลงั ใส่ท่อช่วยหายใจอยา่ งนอ้ ย
4 วนั
การป้องกนั การ colonization
หลีกเลี่ยงการใช้ antibiotics Reduce Colonization โดยไม่จาเป็น
Closed Suction Closed Suction System
หลีกเลี่ยง nasal intubation

ดูแลสุขภาพช่องปาก
การลา้ งมือถูกตอ้ ง/เหมาะสม
หา้ มใช้ NSS lavage

2. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection: UTI)
คือ การอกั เสบของทางเดินปัสสาวะเน่ืองจากภาวะติดเช้ือหลงั จากที่ผปู้ ่ วยเขา้ รับการ

รักษาในโรงพยาบาล แบ่งตามตาแหน่งท่ีเกิด 2 ประเภทคือ การติดเช้ือในหงดินปัสสาวะ
ส่วนล่าง การติดเช้ือบริเวณกระเพาะปัสสาวะ ลงไปจนถึงท่อปัสสาวะการติดเช้ือในทางเดิน
ปัสสาวะส่วนบน การติดเช้ือของท่อไต กรวยไต และเน้ือ
เกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั UTI ตรวจพบอยา่ งนอ้ ย 1 ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี

ㆍพบ Leukocytes esterase และ/หรือ nitrate ในปัสสาวะ
. ปัสสาวะเป็นหนอง (WBC > 10 celV/mm3 หรือ > 3 celVHPF ในปัสสาวะที่ไม่ไดป้ ่ัน)เพาะ
เช้ือจากปัสสาวะพบเช้ือ > 105.ยอ้ ม gram stain พบเช้ือจากปี สสาวะที่ไม่ไดC้ Fบ/ml และมีเช้ือ
ไม่เกิน 2 ชนิด และมีปั่น และอาการแสดงต่อไปน้ีอยา่ งนอ้ ย 1 ขอ้ คือ ผลการเพาะเช้ือใน
ปัสสาวะพบเชื่อ > 103มีไข3้ 8 หรือ CFU/ml และ < 105 CFบ/mเ เช้ือไม่เกิน
ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ปัสสาวะบ่อย2 ชนิด
ปัสสาวะลาบาก หรือกดเจบ็ บริเวณหวั เหน่า

3. การตดิ เชื้อแผลผ่าตดั (Surgical site infection: SSI)
การติดเช้ือ ที่แผลผา่ ตดั หรือ ท่ีบริเวณท่ีทาหตั ถการอนั ก่อใหเ้ กิดการตดั ผา่ นผวิ หนงั โดย

การติดเช้ืออาจเกิดต้งั แต่ช้นั ผวิ หนงั เน้ือเยอ่ื ใตผ้ วิ หนงั เน้ือเยอื่ พงั ผดื ลีกลงไปถึงกลา้ มเน้ือและ
อวยั วะหรือช่องวา่ งภายในอวยั วะภายในเกิดจากการไดร้ ับเช้ือจุลชีพขณะที่อยใู่ นโรงพยาบาล
โดยอาจจะเป็นเช้ือที่อยใู่ นตวั ผปู้ ่ วยเอง (endogenous microorganism) จากภายนอกร่างกายผปู้ ่ วย
(exogenous microorganism)
3.1 Superficial Incisional
การติดเช้ือของแผลผา่ ตดั ท่ีผวิ หนงั และเน้ือเยอ่ื ใตผ้ วิ หนงั ท่ีเกิดภายใน 30 วนั หลงั ผา่ ตดั วนิ ิจฉยั
จาก:มีหนองออกจากแผลผา่ ตดั . แยกเช้ือได้ (ของเหลว/เน้ือเยอ่ื จากแผลผา่ ตดั )ของแผลติดเช้ือ
อยา่ งนอ้ ย 1 อยา่ ง ไดแ้ ก่ ปวด หรือกดเจบ็ แผลบวม แดง หรือร้อนศลั ยแพทยเ์ ปิ ดแผลออกก่อน
ถึงกาหนดตดั ไหม (ยกเวน้ เมื่อเพาะเช้ือแลว้ ใหผ้ ลลบแผลปิ ดที่มีหนอง หรือนาของเหลวเพาะเช้ือ
ใหผ้ ลบวก

แผลแยก ยกเวน้ เม่ือนาของเหลวไปเพาะเช้ือแลว้ ใหผ้ ลลบ
3.2 Deep Incisional SSIการติดเช้ือที่ตาแหน่งผา่ ตดั ช้นั พงั ผดื และกลา้ มเน้ือท่ีเกิดภายใน 30 วนั
หลงั ผา่ ตดั Dx เมื่อมีอยา่ งนอ้ ย 1 ขอมีหนองไหลจากช้นั ใตผ้ วิ หนงั บริเวณผา่ ตดั แผลผา่ ตดั แยกเอง
หรือศลั ยแพทยเ์ ปิ ดแผล และการเพาะเช้ือเป็นบวก หรือผปู้ ่ วยมีอาการหรืออาการแสดงอยา่ งนอ้ ย
1 อยา่ งต่อไปน้ี มีไข้ (> 38 C) หรือปวดหรือกดเจบ็ บริเวณแผลพบฝี (abscess) หรือหลกั ฐานอื่น
ที่แสดงการติดเช้ือศลั ยแพทยว์ นิ ิจฉยั วา่ มีการติดเช้ือที่แผลผา่ ตดั ช้นั พงั ผดื และกลา้ มเน้ือ
3.3 Organ/Space SSI การติดเช้ืออวยั วะท่ีผา่ ตดั ท่ีเกิดข้ึนภายใน 30 วนั หลงั การผา่ ตดั หรือภายใน
1 ปี หลงั การผา่ ตดั เม่ือมีการใส่อุปกรณ์ทางการแพทยเ์ ขา้ ไปในตวั ผปู้ ่ วยวนิ ิจฉยั เมื่อผปู้ ่ วยมีอาการ
อยา่ งนอ้ ย 1 ขอ้ ต่อไปน้ี
มีหนองออกจากท่อระบายที่ใส่ไวภ้ ายในอวยั วะหรือช่องโพรงในร่างกาย เพาะเช้ือไดจ้ าก
ของเหลวหรือเน้ือเยอ่ื จากอวยั วะหรือช่องโพรงในร่างกาย พบฝี หรือหลกั ฐานการติดเช้ือจากการ
ตรวจพบโดยตรงขณะผา่ ตดั หรือจากการ ตรวจเน้ือเยอ่ื หรือการตรวจทางรังส่ีวทิ ยา ศลั ยแพทย์
วนิ ิจฉยั วา่ มีการติดเช้ือท่ีอวยั วะหรือซ่องโพรงในร่างกาย

4. การตดิ เชื้อในกระแสเลือดในโรงพยาบาล (nosocomial blood stream infection: BSI)
การติดเช้ือแบคทีเรีย (bacteremia)หรือเช้ือรา (fungemia) ในกระแสเลือดหลงั จากท่ีอยใู่ น
โรงพยาบาลแลว้ ไม่ต่ากวา่ 48 ชว่ั โมง โดยท่ีไม่มีการติดเช้ือที่อวยั วะอ่ืน ๆ ส่วนใหญ่ของการติด
เช้ือในกระแสเลือด ในรพ.มกั เป็น device –associated bloodstream infection

LEPTOSPIROSIS
Causative agent: spirochete ช่ือ Leptospira Interogans มี 18 serogroups

ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาลทพี่ บบ่อยในผู้ป่ วย LEPTOSPIROSIS
เสี่ยงต่อการไดร้ ับอนั ตรายจากการเกิดภาวะแหรกขอ้ นของโรค (หวั ใจตน้ ผดิ ปกติ อาจเกิด
กลา้ มเน้ือหวั ใจอกั เสบ เจบ็ หนอก ไอเปื นเลือด ตบั อกั สบ ไตอกั สบ เยอื่ บุดา เยอื่ หุม้ สมองอกั สบ
เสือดออกตามอวยั วะต่าง ๆไต ปอด กระเพาะอาหารลาไส้ ตามผวิ หนงั เยอื่ บุตา
(เส่ียงต่อ) การไดร้ ับสารน้า สารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจาก คล่ืนไส้ อาเจียน ปวดทอ้ ง เบ่ือ
อาหาร หรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
ไม่สุขสบาย เน่ืองจาก ปวดศีรษะ ปวดกลา้ มเน้ืออยา่ งรุนแรง
ความทนต่อกิจกรรมลดลงเน่ืองจาก พยาธิสภาพของโรค/มีกาวะโลหิตจาง
วติ กกงั วลกลวั เน่ืองจากอยใู่ นกาวะเจบ็ ป่ วยนแรปริกฤตเฉียบพลนั

การจดั การสุขกาพไม่หมาะสม เน่ืองจากขาดความรู้ทกั ษะที่จาเป็น

การป้องกนั
ไม่มีวดั ซีน แต่สามารถป้องกนั การสมั ผสั โรค ยาที่ใหป้ ้องกนั (Chemoprophylaxis) จะ

ใหD้ oxycycline 200 mg สัปดาห์ละคร้ัง ในบุคคลที่ตอ้ งสัมผสั โรคในระยะเวลาส้นั ๆ " หลีกเล่ียง
การวา่ ยน้า แซ่หรือลุยในน้าที่อาจปนเป้ื อนเช้ือจากปี สสาวะสตั วน์ าโรค หรือถา้ จาเป็นควรสวม
รองเทา้ บูต๊ ป้องกนั โรคแก่ผทู้ ่ีทางานที่เสี่ยงต่อโรคเช่น ใชถ้ ุงมือยาง รองเทา้ บู๊ต ฯลๆ

Malaria
1.P. folciparum พบไดบ้ ่อยท่ีสุด ก่อใหเ้ กิดโรคและภาวะแทรกซอ้ นที่รุนแรง มีอตั ราตายไดส้ ูง
พบไดท้ ้งั ในทวปี เอเชีย แอฟริกาและอเมริกา
2. P. vivax ก่ออาการรุนแรงนอ้ ยและภาวะแทรกซอ้ นต่า อตั ราการตายต่า
3. P ovalae ส่วนใหญ่พบในทวปี แอฟริกาก่อใหเ้ กิดอาการรุนแรงไดน้ อ้ ยที่สุด
4. P malariae พบไดน้ อ้ ยก่อใหเ้ กิดความรุนแรงนอ้ ยกวา่ เช้ือ Plasmodium falciparum
5. P. knowles) พบในประเทศมาเลเซีย ไทย และกมั พูชา

PATHOPHYSIOLOGY: ปรากฏการณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ หลงั มดี งั นี้
1.Hemolysis ของ tube ท้งั ที่ถูก infect และไม่ถูก infect ซ่ึงความรุนแรงของ hemolysisมีหลา
ระดบั ทาให้ ซีด
2. Rbc จบั กนั เป็น micro clot +deformabilityลดลง+ vasoconstriction ของเสน้ เลือคขนาดเลก็
เกาะตวั อยตู่ ามผนงั นลือค -มีการรั่วของ protein และน้าออกนอกเสน้ เลือด ทาให้ blood flow ไป
ยงั organs ต่าง ๆลดลง เกิด tissue anoxia ของ organs ท่ีสาคญั เช่น brain lungs heart liver
stomach kidneys adrenal glands
3. เกิด cytotoxic factors ข้ึนจาก inflammatory process ส่งผลให้ cells ของorgansต่าง ๆตายลง
4. เกิด DIC และ coagulation defect จึง มีเลือดออกง่าย
5. เกิด electrolytes imbalance, Lactic acidosis Mas hypoglycemia

อาการและอาการแสดง
การท่ีเมด็ เลือดแดงแตกทาใหผ้ ปู้ ่ วยจะมีไขข้ ้ึนๆ ลงๆ อาจ > 40 c หนาวส่นั การมีไขจ้ ะเกิดเป็น
พกั ๆ ตามวงจรท่ีไม่อาศยั เพศในคน
Plasmodium vivax และ ovale จะจบั ไขท้ ุก 48 ชว่ั โมงหรือวนั เวน้ วนั
Plasmodium malarie จะจบั ไขท้ ุก 72 ชว่ั โมงหรือไขข้ ้ึนวนั เวน้ สองวนั

Plasmodium falciparum จะจบั ทุก 36-48 ชวั่ โมง แต่ส่วนมากจะจบั ทุกวนั เพราะเมด็ เลือดแดงจะ
แตกไม่พร้อมกนั

การวนิ ิจฉัยโรค
การซกั ประวตั ิ : exposure
การตรวจร่างกาย มกั ตรวจทางภาวะซีด อาการตวั และตาเหลือง (ดีซ่าน) อาจตรวจพบจุดจา
เลือดตามร่างกาย คลา ตบั และมา้ มอาจโตและตรวจพบได้

การตรวจหางห้องปฏบิ ตั กิ าร
Thick smear (used for detection of
malaria parasite) จะเห็นเช้ือมาลาเรีย พบ
Nuclei ของเมด็ เลือดขาวและเกร็ดเลือด
Thin film (used for identification of malaria
species) จะเห็นลกั ษณะของ Infected red
blood cell ลกั ษณะของเช้ือในระยะต่าง ๆ
ANTIMALARIAL DRUGS
Quinine
ให้ 20 mg/kg ใน 5/D/พ 500 ml. ใน 4 ชวั่ โมง หลงั จากน้นั ให้ Quinine 10 mg/kg ใน 5% D/W
200 ml IV ใน 2 hr ทุก 8 hrจนกวา่ จะปลอดภยั ต่อมาให้ Quinine grain 10 ทุก 8 ชว่ั โมง ทางปาก
จนครบ 7 วนั และควรให้ Doxycycline (100 mg) วนั ละ 2 คร้ัง อีก 7 วนั เพื่อ ป้องกนั เช้ือ
P.falciparum ท่ีด้ือต่อ Quinine เพ่อื ใหก้ ารรักษาไดผ้ ลเกือบ 100% (Radical Treatment)
Ginghausu derivatives
ออกฤทธ์ิฆ่าเช้ือระยะไม่มีเพศในกระแสเลือด เช่น Artemther,Artesunate
Artemether 160 mg IM ตามดว้ ย ขนาด 80 mg IM OD x 4days
Artesumate 120 mg IV แลว้ ตามดว้ ย ขนาด 60 mg IV x 4days

การใช้ยาป้องกนั เมื่อต้องเข้าไปในเขตทม่ี ีการตดิ เชื้อสูง
รับประทานยาป้องกนั ชนิดใดชนิดหน่ึงคือ Chloroquine 300 mg สัปดาหล์ ะคร้ัง
Chloroquine 300 mg ร่วมกบั Pyrimethamine 50 mg
Sulfadoxin/Pyrimethamine 500/25 mg (1 เมด็ ) สัปดาหล์ ะคร้ัง
Sulfadoxin/Pyrimethamine 1,000/50 mg (2 เมด็ ) สปั ดาหล์ ะคร้ัง

Sulfadoxin/Pyrimethamine 1,500/75 mg (3 เมด็ ) สปั ดาหล์ ะคร้ัง
ประทศไทยแนะนาใหป้ ้องกนั คนเองจากยงุ การถูกกดั แทน

ข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาลทพี่ บบ่อยในผู้ป่ วยมาลาเรีย
1.เสี่ยงต่อการไดร้ ับอนั ตรายจากการเกิดภาวะแทรกซอ้ นของโรคท่ีดาเนินอย:ู่ ความดนั ใน
กะโหลกศีรษะสูง /ชกั /ไขส้ ูง / น้าตาลในเลือดต่า ไตวายเฉียบพลนั / ภาวะเลือดเป็นกรด / ภาวะดี
ซ่าน ภาวะปอดบวมน้า / ภาวะ DIC / ช็อค
2. ไดร้ ับสารอาหารไม่เพยี งพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย เนื่องจากมีการเผาผลาญ
ของพลงั งานมากผดิ ปกติจากการติดเช้ือมาลาเรีย
3. ไม่ สุขสบายเนื่องจากมีไข้
4. ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากการนาออกชิเจนไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ ลดลง
5. บทบาทเปลี่ยนแปลง เนื่องจากภาวะวกิ ฤตของการดาเนินโรคทาใหม้ ีขอ้ จากดั ดา้ นร่างกาย
6. วติ กกงั วล เนื่องจากการคุมคามของโรคท่ีมีต่อร่างกาย จิตใจ ขาดความรู้เกี่ยวกบั การ
รักษาพยาบาล
7. ขาดความรู้เก่ียวกบั การรักษาพยาบาล การพยากรณ์โรค

โรคผวิ หนัง

ลกั ษณะความผดิ ปกติของผวิ หนงั ประเมินจากรอยโรคและการกระจายของผวิ หนงั ดงั น้ี

1) รอยโรค (skin lesion) แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ

1.1) รอยโรคปฐมภูมิ (primary lesion) หมายถึง รอยโรคบนผวิ หนงั ที่ปรากฏเร่ิมแรกยงั ไม่ถูก
เปลี่ยนแปลงโดยการเกา การติดเช้ือ หรือจากผลของการรักษา

macule คือ ดวงแบนรานสีต่างกบั ผวิ หนงั บรีวณใกลเ้ คียงขนาตไม่กิน 1 ซมเช่น ผนื่ จาก
หดั และ จุดเลือดออก (petechial)

patch คือ รอยแผลที่มีความกวา้ ง คล้ายรอยโรคมีขนาตกวา้ งกวา่ 1 ซม. และอาจมีขอบ
แผลแตกต่างกนั เช่น vesicular patch

papule คือ ตุ่มนูนเสน้ ศนู ยก์ ลางไม่กิน 0.5ซม เช่นไฝมียอดแบนราบเช่น lichen planus
ผวิ ขรุขระ เช่น พดู (verruca vagaries)

plaque คือ รอยโรคท่ีเป็นป้ันนูนหนา เกิดจากการวมตวั หรือการขยายตวั ของ

papules หรือ nodules

nodule คือ กอ้ นเน้ือนูนท่ีขนาดใหญ่กวา่ papule รอยโรคลึกถึงข้นั deep dermis มี
ขอบเขตชดั เจนขนาด 0.5-2 ซม ส่วน tนmดr มีขอบไม่เรียบ และมีขนาดใหญ่กวา่ 2 ซม.

vesicle คือ ตุ่มพองน้า เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางไม่เกิน 5 มม. พบในผวิ หนงั ท่ีถูกไฟไหมน้ ้า
ร้อนลวก ezema, herpes simplex, herpes zoster

wheal คือ เป็นลกั ษณะรอยโรคที่เป็น Papule หรือ Plaque รูปร่างและขนาดเปลี่ยนแปลง
ไดเ้ ร็ว พบในผทู้ ่ีเป็นลมพิษ (urticarial) หรือถูกแมลงต่อย

pustule คือ เมด็ หนอง คลา้ ยกบั vesicle ผนงั จะบางมาก ดูหยอ่ นและแตกง่ายมีหนอง
เฉพาะยอด เรียกวา่ abscess หรือ furuncle เช่น สิว impetigo

scale คือ แผน่ บาง ๆ แหง้ ๆ ลอดหลุดออกจากความผดิ ปกติในกระบวนการสร้าง
Keratin

verrucous เป็นลกั ษณะผวิ ของรอยโรคท่ีแหง้ และขรุขระ คลา้ ยดอกหงอนไก่หรือดอก
กระหล่า เช่น หูด (Verruca vulgaris)

1.2 รอยโรคทุติยภูมิ (secondary lesion) หมายถึง รอยโรคที่เกิดจากการเกา การติดเช้ือผลของ
การรักษาไดแ้ ก่

Crust คือ สะเกด็ ท่ีเกิดข้ึนเมื่อน้าเหลืองหรือเลือดหรือหนองปนกบั tissue debris
แหง้ ติดอยบู่ นผวิ หนงั อาจจะบางแกะออกง่าย

lichenifcation เป็นลกั ษณะผวิ หนงั ค่อนขา้ งแหง้ ดน้ หนา สีคล้า เน่ืองจากการถูกหรือเกาซ้าชาก
เป็นเวลานาน เช่น Eczema ที่เป็นเร้ือรัง fissure เป็นรอยแตกตามผวิ หนงั บริเวณมือ เทา้ พบใน
หนหนาวอาจลึกถึงข้นั หนงั

excoriation เป็นรอยเกาเห็นเป็นทางยาว มีเลือดออก ถา้ เกาบ่อย ๆ ผวิ หนงั จะคนั และคล้า
erosion เป็นแผลถลอกต้ืน ๆ ไม่เกินช้นั หนงั แท้

ulcer เป็นแผลเน่ืองจากหนงั กาพร้าหลุดออกไป และลึกถึงช้นั หนงั แท้

pigmentationเป็นความผดิ ปกตีของสีผวิ ท้งั สีจางลง(hypopigmentation)และส่ีคล้าข้ึนเวลาถูก
แดดจดั (hyperpigmentation)

atrophy scar คือแผลเป็นท่ียบุ บุมเน่ืองจากการฝ่ อของผวิ หนงั เกิดจากสาเหตุมีส่ิงแปลกปลอม
ตกคา้ งอยู่ เช่นแผลเยบ็ ที่มี cat gut ละลายไม่หมด stitches

keloid คือแผลเป็นขนาดใหญ่และลามออกนอกแผลเดิม มีอาการคนั และเจบ็

sinus tract เป็นทางไหลออกจากโพรงหนองเปิ ดสู่ผวิ หนงั หรือจากโพรงหนองแห่งหน่ึงสู่อีก
โพรงหน่ึง

2) การกระจายของรอยโรค (Distribution pattern of skin lesion) มีลกั ษณะการ

เรียงตวั ของรอยโรคหลายรูปแบบ ไดแ้ ก่

Linear คือเรียงเป็นทางยาวท่ีพบใน Lichen stratus

Zosteriform คือการเรียงตวั ของผนื่ เป็นแนวยาวตามเส้นประสาท เช่น งูสวดั

Koebner phenomenon คือการเรียงตวั ของผนื่ เป็นทางยาวตามรอยเกาหรือบาดเจบ็ พบใน
Psoriasis (หูด)

Annular (circulate) คือการเรียงตวั เป็นวงแหวน ขอบขยายออก ตรงกลางเป็นผวิ หนงั ปกติ เช่น
กลาก

Aciform คือ การเรียงตวั เป็นรูปโคง้ เช่น ลมพษิ

Polycyclic คือการเรียงตวั ของฝิ่ นเป็นวงซอ้ นกนั หลาย ๆ วงติดกนั เช่น กลากหนุมาน (tinea
imbricate)

Group (Cluster)คือการเรียงตวั อยเู่ ป็นกลุ่ม เช่น เริม (Herpes simplex)

Reticular คือการเรียงตวั เป็นตาข่ายหรือร่างแห

ฝีและฝีฝักบวั (furuncle and carbuncle) เป็นการอกั เสบของรูขมุ ขนที่มีอาการรุนแรงท้งั
ในเดก็ ผใู้ หญ่ท่ีรักษาความสะอาดและมีภูมิตา้ นทานต่า เช่นไดร้ ับยา steroid ยาเบาหวาน
Furuncle เริ่มจะเป็น nodule สีแตง แขง็ และเจบ็ ต่อมามีขนาตใหญ่ น่ิม และแตกออกมามีหนอง
เหลืองขน้ ส่วนฝี ฝักบวั (carded) มีขนาดใหญ่ และลกึ ปวดมาก มีตุ่มหนองตามรูขมุ ขน เม่ือแตก
ออกจะมีหนอง ผวิ หนงั เปื่ อยยยุ่ หลุดออกเป็นแผลลึกบริเวณตน้ คอ หลงั และตนั ชา มีไขแ้ ละ
อ่อนเพลีย

การรักษา รักษาความสะอาดของร่างกาย ประคบดว้ ยน้าอุ่น และใหย้ าปฏิชีวนะชนิดรับประทาน
ถา้ ฝีนุ่มจะกรีดอาหนองออก และใช้ gaze dian ไว้ ทาแผลทุกวนั จนกวา่ แผลจะหาย

1.2 การติดเช้ือไวรัส ไดแ้ ก่

1.2.1 อีสุกอีส (Chicken pox, Varicella)

1.2.2 หดั (Measles) พบบ่อยในเดก็ ส่วนผใู้ หญ่อาจพบได้

1.2.3 หดั เยอรมนั (Rubella, German Measles) พบไดบ้ ่อยในเดก็ และผใู้ หญ่ตอนตน้ มีอาการไข้
ต่อมน้าเหลืองโตท่ีบริเวณคอ หลงั ใบหู และตนั คอ ผนื่ ข้ึน 2:3 วนั ผทู้ ี่เป็นระหวา่ งต้งั ครรภจ์ ะทา
ใหท้ ารกพกิ าร อาการอ่ืนท่ีพบร่วมไดแ้ ก่ มา้ มโต ปวดขอ้ ขอ้ อกั เสบ เกิดพร้อมผนื นาน 1-14 วนั
หลงั อาการอ่ืน ๆ หายไปแลว้ อาจกลบั เป็นใหม่ไดอ้ ีก โรคแทรกซอ้ นที่อาจเกิดข้ึนได้ เช่น
encephalitis, Purpura, เลือดกาเดาออก เลือดออกในลาไส้

การรักษา ไม่มีวธิ ีรักษา แต่สามารถป้องกนั ไดโ้ ดยการฉีด vaccine ในหญิงท่ีตอ้ งการมีบุตร ควร
คุมกาเนิดหลงั จากฉีด vaccine แลว้ 3 เดือน หา้ มฉีดในผทู้ ่ีมีระบบอิมมูนผดิ ปกติหรือไดร้ ับยา
กดอิมมูน

1.2.4 หูด (verruca vulgaris) เน้ืองอกหงอนไก่ (condylar acuminate) พบไดท้ ้งั ในเดก็ และผใู้ หญ่

1.2.5 เริ่ม (herpes simplex) พบท้งั เดก็ และผใู้ หญ่ การติดเช้ือในวยั รุ่นมกั มีสาเหตุจากการจูบและ
การมีเพศสมั พนั ธ์

การรักษา ยาท่ีใชใ้ นการรักษา คือ หลีกเล่ียงการสมั ผสั รอยโรคโดยตรง ไม่ควรมีเพศสมั พนั ธก์ บั
ผทู้ ่ีมีรอยโรคอยู่ หรือควรใชถ้ ุงยางอนามยั ผทู้ ี่ต้งั ครรภแ์ ละเป็นเริมท่ีอวยั วะเพศควรฝ่ าตดั ใหเ้ ดก็
ออกทางหนทอ้ ง ดูแลรักษาความสะอาดของผวิ หนงั

1.2.6 งูสวดั (herpes zoster) เริ่มจากการไปสมั ผสั ผทู้ ี่เป็นโรคจากการใชส้ ิ่งของร่วมกนั หรือรอย
โรคที่มีอยเู่ ติม ทาใหป้ วดและคนั ท่ีผวิ หนงั ท่ีเสน้ ประสาทมาเล้ียง มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศรี ษะ
ต่อมน้าหลืองบริเวณใกลเ้ คียง 23 วนั ต่อมาจะมี macule และ papule กลายเป็น vesicle ภายใน
12-24 ชวั่ โมง และเรียงตวั เป็นทางยาวตามแนวเสน้ ประสกท่ีมาเล้ียงผวิ หนงั ถา้ มีการอกั เสบของ
เสน้ ประสาทที่6 และ 8 (facial and auditory nerves) จะมีภาวะ Facial palsy ไดอ้ าจมีอาการดงั อ้ือ
ในหู (tinitus) อาการรู้สึกบา้ นหมุน (vertigo) หรือ หูหนวกได้

การรักษา รักษาตามอาการ เช่น ยาแกป้ วด ยาแกค้ นั เช่น Calamine lotion

และยาปฏิชีวนะ หลีกเล่ียงการคลุคลีกบั ผทู้ ี่มีภูมิตา้ นทานต่า เพราะสามารถพร่เช้ือไดง้ ่าย รักษา
ความสะอาดของร่างกาย หลีกเล่ียงการสมั ผสั กบั รอยโรค

1.3 การติดเช้ือรา

1.3.1 โรคกลาก (dermatophytosis, ing worm) และ เกล้ือน (tinea vesicolor, pityriasis vesicolor)

1.3.2 Candidiasis

2. การแพ้

2.1 ลมพิษ (urticari) ซ่ึงลกั ษณะทางคลินิกสามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามสาเหตุและการปรากฎ
ของรอยโรคดงั น้ี

Demographist เกิดจากการขดั ผวิ หนงั บา ๆ เกิดผน่ื แดงตามรอยท่ีถูกขีด คนั เมื่อเกา หรือเม่ือเสียด
สีกบั เส้ือผา้ จะหายไปในเวลาประมาณ 30 นาที

Physical urticarial จากการหลงั่ Acetylcholine เม่ือถูกความร้อน เหงื่อออก วติ กกงั วล ผวิ หนงั ถูก
กดอยนู่ าน เช่น เขม็ ขดั ที่รัด รองเทา้ บีบ ถูกแสงแดด ความเยน็ หรือกรรมพนั ธุ์

ลมพษิ ยกั ษ์ (angioedema) เป็นลมพิษขนาดใหญ่ รอยโรคปรากฏชา้ แต่คงอยนู่ าน เกิดไดท้ ุกส่วน
ของร่างกาย เช่น ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ อวยั วะเพศ

สาเหตุสารท่ีทาใหเ้ กิด vasodilatation เช่น แอลกอฮอล์ การออกกาลงั กายและอารมณ์ผดิ ปกติ
กรณีท่ีมีความผดิ ปกติท่ีเกิดกบั ทางเดินหายใจ จะทาให้

Laryngeal edema ซ่ึงตอ้ งช่วยเหลือโดยการใส่ท่อหายใจ หรือ เจาะคอ

การรักษา คนั หาสาเหตุของการกิต หลีกเลี่ยง สาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดอาการ ใหก้ ารรักษาตามอาการ

Epidermis และDermis ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ไดแ้ ก่

Contact dermatitisเกิตจากการสมั ผสั สารระคายเคือง เช่นสารเคมี ผงซกั ฟอก แพโ้ ลหะ ยา (กลุ่ม
penicillin, neomycin, sulfonamide และ antihistamine) เครื่องสาอาง แสงแดด ทาแผล wet
dressing ดว้ ย burrow's solution หรือ 2 % Boric acid ทาดว้ ย topical steroid

Non-contact dermatitis พบบ่อยในกลุ่ม atopic dermatitis เก่ียวกบั กรรมพนั ธุ์ มีผน่ื แดง คนั
กลายเป็นเมด็ พองเลก็ ๆ แตกออกและตกสะเกต็ vesicle จะหายไปกลายเป็นตุ่มคนั หนามีขยุ แผล
จะเป็นๆ หายๆ เร้ือรัง บริเวณหนา้ ดา้ น นอกแขนขา ส่วนnon Atopicdermtts พบบ่อยในกลุ่ม
lichen simplex chronic us จะมีลกั ษณะ lchenifction ผวิ หนงั เป็นแผน่ ดา้ นดาหนา เห็นร่องของ
ผวิ หนงั ชดั ข้ึน ดนั มาก มกั เป็นกรรมพนั ธุ์ จะมีอาการกาเริบ เมื่อมีภาวะเครียด และการเกาบริเวณ
ที่คนั มากข้ึน

การรักษา คนั หาสาเหตุของการเกิดการแพ้ หลีกเล่ียงปัจจยั ที่ทาใหเ้ กิด รักษาความสะอาดของ
ผวิ หนงั โดยการทาแผลและหลีกเล่ียงการเกาเพราะจะเกิดการติดเช้ือลุกลามไปบริเวณอ่ืนได้

2.3 Erythema Multiform & Steven Johnson Syndrome เป็นการอกั เสบของผวิ หนงั ในลกั ษณะ
hypersensitivity reaction เกี่ยวกบั mทนทe การแพย้ า เช่น sulfonamide, penicillin, barbiturate,
การติดเช้ือ bacteria, virus, TB, diphtheria

Erythema multiform เริ่มจากมีไข้ เจบ็ คอ มีผนื่ กระจายตามตวั ผนื่ แดง กลมขนาด 1 ชม. ตรง
กลางสีดา มีตุ่มน้าใส ๆ ขนาด 0.3 ซม. ที่บริเวณฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ แขน ขา Mucous membrane

Steven Johnson Syndrome เป็นฝื นแดง ตุ่มแขง็ หรือน้าใสพองตามผวิ หนงั ลกั ษณะเหมือน
erythema multfoms พบในเยอื่ บซ่องปากทาใหอ้ ปากไม่ข้ึน ทาใหเ้ ค้ียวและกลืนอาหารลาบาก
เยอ่ื บุตาอกั เสบ ตาแดง กลวั แสง มีการอกั เสบ ของเยอ่ื ทางเดินปัสสาวะ อวยั วะเพศ ทวารหนกั

การรักษา กรณีที่เป็นมากควรแยกผปู้ ่ วยจากผปู้ ่ วยรายอ่ืน ระวงั เรื่องการติดเช้ือ ใหย้ าปฏิชีวนะ ยา
Steroid, ยาแกแ้ พ้ ทาแผลดว้ ย urow's solution 140 ทายาฆ่าเช้ือ เช่น gentamycin ใหบ้ วั นปาก
ตวั ย hydrogen perowde หรือ mouthwash หยอดตาตวั ย steroid คูแลเร่ืองอาหารใหไ้ ดร้ ับเพยี งพอ
กบั ความตอ้ งการของร่างกาย

24 Toxic Epidermal Necrolysis (TEN) เป็น immune mechanism พบในชาย: หญิง (3:2) ทุกวยั
สาเหตุจากการแพย้ ากลุ่ม sulfonamide, penicilin, barbiturate, salicylate,ติดเช้ือ E.coli, หลงั
ไดร้ ับ vaccine measles, tetanus, และ small pox อาการเร่ิมจากไข้ เจบ็ คอ ปวดขอ้ มีผนื่ แดงรอบ
ๆ ปาก อวยั วะเพศ แขน ขา กลายเป็น vesicle และ bulla อยา่ งรวดเร็วคลา้ ยแผลไหม้

การรักษา หลีกเลี่ยงยาท่ีแพ้ ใหไ้ ดร้ ับยาปฏิชีวนะ ยา Steroid และดูแลแผลตามแผนการรักษา

2.5 Exfoliative dermatitis สาเหตุจาก hypersensitivity ต่ออาหาร ยา อาการท่ีพบคือมีสะเกด็ หลุด
ลอกตามตวั ยาที่แพ้ ไดแ้ ก่ Dilantin, phenobarbital, sulfonamide, penicillin,streptomycin,
tetracycline จะพบวา่ มีผวิ หนงั แดง บริเวณลาตวั ศีรษะ อวยั วะเพศและทวั่ ตวั ผวิ หนงั หลุดลอก
เป็นแผน่ ลกั ษณะเป็นขยุ หนา (scale) มีอาการคนั เยอ่ื บุทางเดินหายใจบวม ต่อมน้าเหลืองโต ตบั
มา้ มโต มีอาการไข้ อ่อนเพลีย เป็นๆ หายๆ เป็นเร้ือรัง เกิดภาวะ septicemia ได้

การรักษา หยดุ ยาที่แพ้ รักษาตามอาการ หลีกเล่ียงสารระคายผวิ หนงั ใชย้ า steroid,antihistamine,
และ tranquilizer ตามแผนการรักษา

3. การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมและกรรมพนั ธุ์ (Genodermatotic) เป็นความผดิ ปกติท่ีเกิดจากการ
ถ่ายทอดทางยนื่ ซ่ึงจะมีท้งั ยนื เด่นและยนี ดอ้ ย

3.1 เร้ือนกวาง (Psoriasis) เป็นโรคเร้ือรังเกิดกบั ผวิ หนงั ทุกแห่ง เช่น ศีรษะ ขอ้ ศอก ขอ้ เข่า
สะโพก เลบ็ ใบหู อวยั วะสืบพนั ธุ์ รอบทวารหนกั หลงั มือและฝ้าเทา้ สาเหตุยงั ไม่ชดั เจน คาดวา่
เกิดจากการถ่ายทอดความผดิ ปกติทางกรรมพนั ธุ์ ทาใหก้ ารควบคุมการแบ่งตวั ของหนงั กาพร้า

เสียไป เร่ิมจากมีผนื่ macule สีแดง กลายเป็น papules มีสะเกด็ สีขาวเงินหลุด ลอกออกมาเป็น
แผน่ กลายเป็นPlaques ที่มี Scale มีจุดเลือดออกเป็นหยอ่ ม1 auspitzs sgn) เป็นลกั ษณะสาคญั ของ
โรคน้ี เลบ็ จะหนา นุ่มเป็นหลุมเลก็ ๆ

การรักษา โดยใช้ ยา Steroid และ Phototherapy ดว้ ย Ultraviolet ยา Methrotrexate จะช่วยยบั ย้งั
การแบ่งเซลล์ รักษาความสะอาดของผวิ หนงั ดูแลดา้ นจิตใจ

4. ระบบอิมมูน /connective tissue diseases

4.1 Systemic Lupus Erythematosus (SLE) เกิดผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ทาใหเ้ กิดการทาลาย
ของ connective tissue หลอดเลือค mucous membrane เช่ือวา่ มีความผดิ ปกติท่ีถ่ายทอดทาง
พนั ธุกรรมดว้ ยการแพย้ ากลุ่ม penicillin, streptomycin, chlorpromazine และสารเคมีซ่ึงอาการ
หางผวิ หนงั จะพบ 10 % ของผปู้ ่ วย SLE คือMolar or Butterly rash ที่ใบหนา้ สันจมูก Discoid
ash ผน่ื มีขอบชดั จน ท่ีศีรษะ หนา้ อก หลงั แขน ขา Raynaud's phenomenon ปลายนิ้วมือ นิ้วเทา้
เขียวซีดเป็นระยะ ๆ หรือเปล่ียนจากสีชมพูหรือขาวเป็นม่วงคล้า

Palmar erythema รอยแดงที่ปลายอุง้ มืออุง้ เทา้ ซ่ึงกดแลว้ จะจางหายไป

Vasculitis lesion ลกั ษณะร่างแหของเส้นเลือดคง่ั ตามขา เกิดแผลข้ึน

Alopecia ผมหกั หยาบแหง้ ไม่มนั งา สีจางลง ร่วงเป็นหยอ่ มๆจนลา้ น

Mucous membrane lesion เป็นแผลต้ืนไม่เจบ็ เกิดในปาก เพดานปาก และช่วงจมูก

Photosensitivity ผน่ื แดงตามผวิ หนงั บริเวณที่ถูกแสงแดด

Scleroderma การเปล่ียนแปลงทางผวิ หนงั ใน systemic scleroses มีหลายชนิดท่ีพบบ่อยไดแ้ ก่

Cutaneous sclerosis อาการหนงั แขง็ ซ่ึงแบ่งไดเ้ ป็น 3 ระยะ คือ early edematous phase, sclerotic
phase, late atrophic stage ในระยะแรกผวิ หนงั บริเวณนิ้วมือมีอาการบวมแดงเร่ือๆ แขง็ ไม่
สามารถอหรือเหยยี ดนิ้วมือตรง ๆ ไดส้ ะดวก ต่อมานิ้วเร่ิมแขง็ ข้ึนเร่ือย ๆ ผวิ หนงั รัดตึง เหยยี ดนิ้
ไม่ได้ นิ้วอยใู่ นทอ้ งตลอด

เรียกวา่ (Secodyไ) ต่อมาผวิ หนงั บริเวณมือ เทา้ แขน และขา จะแขง็ รัดตึงข้ึนเคล่ือนไหวขอ้ ไม่ได้
ผวิ หนงั เห็นเป็นงามนั และแหง้ เน่ืองจากต่อมเหง่ือบริเวณที่เป็นถูกทาลาย ขนหลุดร่วง ผวิ หนงั

บริเวณหนา้ ตึงไม่มีรอยน่ จมูกรัดตึง อา้ ปากไดน้ อ้ ย มีรอยยน่ คลา้ ยหูรูดรอบ ๆ ปาก มกั กระดก
ลิน้ ไม่ค่อยได้ เน่ืองจากมี sclerosis ของ

frenulum อาการหนงั แขง็ มกั เริ่มจากปลายมือ ปลายเทา้ และหนา้ จากน้นั ค่อยๆลามเขา้ หาลาตวั

ㆍ Raynaud's phenomenon จะพบในผปู้ ่ วยเกือบทุกรายท่ีเป็นอาการนามาก่อนอาการอ่ืนหรือ
อาจเกิพร้อมกบั นิ้วแขง็ ได้ Raynaud's phenomenon เกิดจากการท่ีหลอดเลือดส่วนปลายบีบรัดตวั
มากกวา่ ปกติจากการถูก

กระตุน้ ดว้ ยความเยน็ หรือเมื่อมีภาวะเครียด อาการเริ่มแรกคือปลายน้ีมือซีดและกลายเป็นม่วง
คล้า จากน้นั จะกลบั เป็นสีแดงใหม่ จะมีอาการปวดนิ้วมือมาก พอนาน ๆไป ปลายนิ้วมือจะแตก
เป็นแผลวลาแผลหายจะเหลือเป็นแผลนุ่มลงไป (pitted scar)ท่ีปลายนิ้วมือ ถา้ เป็นมาก ๆ นิอาจ
เป็น gangrene ท้งั นิ้วได้

Telangiectaa ลกั ษณะที่พบคือ ผน่ื สี่เหล่ียมแดงไม่นูน เกิดจากหลอดเลือดฝอยขยายตวั เวลาคน
จะจางหายไป พบบ่อยบริเวณใบหน ริมฝี ปก นิ้วมือฝ่ ามือ รอบ ๆเลบ็ หนา้ อกและหลงั

Calcinosis cutis อการน้ีจะพบในระยะหลงั ของโรค มีลกั ษณะเป็นกอ้ นแขง็ ในช้นั ไขมนั ใต้
ผวิ หนงั (subcutaneous tissue) กอ้ นน้ีอาจแตกออกเบินแผลได้

Pigmentation changes สีผวิ ของผปู้ ่ วยมีการเปล่ียนแปลงอยู่ 3ชนิดคือ ม่ืนตาในปาก เหงือก และ
ฝ่ ามือ ฝ่ าเทา้ พบในโรค Addison's disease นอกจากน้ีจะพบผน่ื ขาวร่วมกบั มีจุดดาตมรูขน
เรียกวา่ salt and pepper pate ในบริเวณท่ีเป็นหนงั แขง็ จะพบสีดาและสีขาวเกิดข้ึนโดยไม่ไดอ้ ยู่
ซอ้ นกนั Nail changes เลบ็ จะนูนเป็นสนั ตามยาว ตวั เลบ็ ไม่ติดกบั เน้ือขา้ งล่าง(onycholysis)เลบ็
หนาข้ึนและยาวมากข้ึน (onychogryphosis)

การรักษา ดูแลรักษาตามอาการท่ีพบในระบบตง ๆ ส่วนการรักษาเฉหาะข้ึนอยกู่ บั ความรุนแรง
ของโรค เช่น ยา prednisolone และ immunosuppressive agent รักษาอาการแทรกซอ้ นเช่น
ภาวะการติตเช้ือ สังเกตการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน และใหก้ ารพยาบาลดา้ นจิตใจ ใหค้ วามเห็นอก
เห็นใจ

5. ผวิ หนงั ถูกทาลายไฟไหมน้ ้าร้อนลวก

แผลไหม้ หมายถึงการที่ผวิ หนงั หรือเน้ือเยอ่ื ของร่างกายในข้นั ต่าง ๆ ถูกความร้อนมาไหมห้ รือ
ทาลาย สาเหตุที่รู้ไวใ้ นโรงพยาบาลสเตส่วนใหญ่เน่ืองจากไฟลวก (lame bน) รองส่งมาไดแ้ ก่ถูก
ของเหลวร้อนลวก ไฟฟ้าสารเคมีและรังสี ตามลาดบั

ปัจจยั ท่ีมีผลต่อความรุนแรงของแผลไหม้ (severity of burn)

1. ขนาดของบาดแผล ( extent )แผลไหม้ > 15% BSA (body surface area) ในผใู้ หญ่ หรือ>10%
BSA ในเดก็ เลก็

2. ความเลก็ ของแผล ( depth)

3. วยั ของผปู้ ่ วย(age) โดยเฉพาะเดก็ อายตุ ่ากวา่ 5ปี และผสู้ ูงอายุ มีอตั ราการเสียชีวติ สูง

4. บริเวณที่มีแผลไหมข้ องร่างกาย (part of body burn)

5. มีการบาดเจบ็ อ่ืนร่วมดว้ ย (concurrent injuries)

6. ประวตั ิการเจบ็ ป่ วย (past medical history)

นอกจากน้นั ชนิดของการบาดเจย็ งั ช่วยบอกความรุนแรได้ เช่น แผลน้าร้อนลวกส่วน
ใหญ่ไม่ลึก แต่แผลจากไฟฟ้าแรงสูงจะลึกและมีการทาลายเน้ือเยอ่ื มากวา่ หรือ สถานท่ีที่เกิด
เพลิงไหม้ เป็นสถานที่คบั แคบในหอ้ งทึบหรือโรงงานผลิตสารเคมี การด่ืมแอลกฮอล์ การพลดั
ตกจากท่ีสูงเป็นดนั ปัจจยั เหล่านีลว้ นนามาใชป้ ระกอบในกาพจิ ารณาความรุนแรงร่วมดว้ ย แผล
ไหมท้ ี่เกิดจากสเหตุต่าง ๆ

2 ผลต่อหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด ช่วง 30 นาทีแรก เซลลผ์ วิ หนงั บริเวณน้นั ถูก
ทาลายและถูกกระตุน้ ใหห้ ลงั่ สารที่มีปฏิกิริยาต่อหลอดเลือด (vasoactive substance) ทาใหห้ ลอต
เลือดบริเวณน้นั มีกาหดตวั เพอื่ ป้องกนั กาสูญเสียเลือด ต่อมาจะมีกรกระตุน้ การหลง่ั สาร
bradykinin uashitane รวมท้งั postulant และสารต่าง ๆ เพื่อออกฤทธ์ิใหช้ ลข้นั นอกของผนงั
หลอดเลือดฝอย ประกอบไปดว้ ยน้า โปรตีน และอิลดโทลยั ทา ซึมผา่ นหลอดเลือดฝอยเขา้ สู่ซ่อง
วา่ งระหวา่ งเซลล์ เกิดน้าตง่ั และบวม ทาใหเ้ กิดตุ่มน้าพองใส(blister)ในช่วง 24-48 ชวั่ โมง
ขณะเดียวกนั ภายในหลอดเลือดแดงเพิ่มสูงข้ึน ความหนืดของเลือดเพม่ิ ข้ึนเป็นผลใหป้ ริมาณ
ลือดที่ไหลเวียนภายในหลอดเลือดลดลง

รวมท้งั โครงสร้างของเมด็ เลือดแดง เกร็ตเลือด (platelet) ถูกทาลายตวั ยความร้อน ทาใหอ้ ายคุ ร่ึง
ชีวติ ของเมด็ เลือดแดงส้นั ลงกวา่ ปกติ เกิดการแตกของเมด็ เลือดแดงไดง้ ่าย การจบั ออกซิเจนของ
สีโมโคลปิ นลดลง ผลที่ตามมาคือภาวะซีด (anemia) มีภาวะติดเช้ือเกิดข้ึน รวมท้งั ระยะเวลาใน
การแขง็ ตวั ของเลือดนานกวา่ ปกติ

3. ผลต่อภาวะสมดุลของสารน้าและอิเลคโทลยั ท์ ใน 24 - 48 ชว่ั โมงแรก เมื่อเมด็ เสือดแดงและ
เน้ือชื่อถูกทาลายจากความร้อน จะทาใหม้ ีการปล่อยโปตสั เซียมออกจากชลลเ์ พม่ิ ข้ึน ขณะท่ี

เลือดไปเล้ียงที่ไตลดลง ส่งผลใหม้ ีระดบั โปตสั ซียมในเลือดสูงตามมา ผปู้ ่ วยจะมีอาการ
กลา้ มเน้ืออ่อน

แรง หวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ เมื่อตรวจคลื่นไฟฟ้าของหวั ใจ สูงเพิ่มข้ึน ประมาณ 4 -5 วนั หลงั จาก
บาดเจบ็ โปตสั เซียมจะเริ่มกลบั เขา้ สู่เซลล์ ขณะเดียวกนั จะมีการหลงั่ aldosterone เพ่มิ ข้ึน

เป็นผลใหม้ ีกรขบั โปตสั ยมออกมากบั ปัสสาวะมากข้ึนถึง 4-15 เท่ของภาวะปกติ หรือประมาณ
15-35 มิลลิลิตรต่อกรัมต่อพ้นื ท่ีผวิ ไหมร้ ่างกายท้งั หมด ทาใหเ้ กิดระดบั โปตสั เซียมในเลือดต่า
ตามมา นอกจากน้นั โซเตียมจะถูกตึงเขา้ เชลมากข้ึนทาใหต้ ึงน้าจานวนมากเขา้ ไปในเซลล์ ส่งผล
ใหป้ รีมาณการไหลเวยี นเลือดในร่างกายและระดบั โขเดียมในเลือดลดลง ผปู้ ่ วยจะมีอาการ
คล่ืนไส้ อาเจียนซึมสบั สนตะคริว บริเวณกลา้ มเน้ือหนกั องมีอาการกระตุก

4. ผลต่อระบบหวั ใจ กรณีแผลไหมม้ ากกวา่ 65% ของ BSA และผลจากการซึมผา่ นผนงั

หลอดเลือดฝอยที่เพม่ิ ข้ึน ทาใหเ้ กิดปริมาณเลือดท่ีไหลเวยี นลตลง ร่างกายจะมีการหลงั่ สารท่ีไป
กดการ

ทางานของหวั ใจ (myocardial depressant factor) เป็นผลใหป้ ริมาณเลือดที่ออกจากหวั ใจ การ
กาซาบเลือดของเน้ือเยอื่ และความตนั เลือดลดลง

5. ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ ภายหลงั บาดเจบ็ ต่อมหมวกไตส่วน medนla ไดร้ ับการกระตุน้ ให้

หลงั่ catecholamine ไปกระตุน้ เซลลท์ ่ีตบั อ่อนใหห้ ลงั glucagon ออกฤทธ์ิสลายคาร์โบไฮเดรต
ในตบั

(glycogenolysis) ขณะเตียวกนั จะกการหลง่ั ของอินซนจนทาใหเ้ กิดภาวะน้าตาลในเลือดสูง ซ่ึง

เรียกภาวะที่เกิดข้ึนน้ีวา่ เบาหวานเทียม (pseudodiabetis) นอกจากน้ียงั ทาใหเ้ กิดการสลายไขมนั

(lipolysis) ส่งผลใหม้ ีกรดดีโตน (ketone acid) สะสมภายในร่างกาย ทาใหเ้ กิดกรดจากเมตาบอลิ
ซึม

(metabolic acidosis) นอกจากน้ีผลจาก catecholamine ยงั ทาใหเ้ กิดการหดตวั ของหลอดเลือด
เป็ น

ผลใหเ้ ลือดไปเส้ียงที่ตบั ลาไส้ กระเพาอาหาร และไตลดลง ผลสุดทา้ ยท่ีตามมาคือ ภาวะตบั
ลม้ เหลว

การอมั พาตของลาไส้ หรือลาไส้เน่าจากภาวะขาดเลือด และไตวาย เม่ือต่อมหมวกไตไดร้ ับการ
กระตุน้ เริ่มจากส่วน medulla และต่อมาท่ีสน cortex ทาหนา้ ท่ีใหม้ ีการหลง่ั aldosterone ไตดูด
ซึมโซเดียมกลบั มากข้ึน ขณะเดียวกนั ร่างกายจะมีการเผาผลาญอาหารเพ่ือใชเ้ ป็นพลงั งานเพิม่ ข้ึน
โดยพบวา่ ถา้ มีแผลไหมขนาดร้อยละ 30 ของร่างกายจะมีเมตาบอลิซึมสูงเป็น 2เท่าของคนปกติ
นอกจากน้ียงั พบภาวะดุลของไนโตรเจนเป็นลบ (negative nitrogen balance) ตามมาจากการ
สูญเสียไนโตรเจนท้งั จากแผลและทางปัสสาวะ

6. ผลต่อระบบทางเดินหายใจ ผทู้ ี่ไดร้ ับบาดเจบ็ บริเวณทางเดินหายใจส่วนตนั และส่วนล่างอาทิ
ใบหนา้ คอ และทรวงอก พลงั งานความร้อนทาใหน้ ้าและโปรตีนสามารถซึมผา่ นผนงั หลอด
เลือดฝอยเพม่ิ ข้ึน เป็นสาเหตุทาใหม้ ีการบวมของหลอดลมและเยอื่ บุผวิ ของทางเดินหายใจ ทาให้
ความดนั ภายในหลอตลมเพมิ่ ข้ึน ขณะเดียวกบั เยอ่ื บุผวิ ของหลอดลมพยายามป้องกนั ตวั เองดว้ ย
การขบั สิ่งขบั หลงั่ ออกมา ทาใหเ้ กิดสิ่งคงั่ คา้ งในทางเดินหายใจ จนทาใหม้ ีปัญหาทางเดินหายใน
อุดตนั ตามมาภายใน 30นาทีถึง 48ชวั่ โมงหลงั บาดเจบ็ ผปู้ ่ วยจะมีอาการหายใจลาบาก เสียงแหบ
ซ่ึงอาจพบเสียงหวดี (wheezing) และความยดื หยนุ่ ของปอดลดลง หากไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขจะทา
ใหเ้ กิดภาวะเน้ือเยอ่ื ขาดออกซิเจนในที่สุด กรณีที่สุดดมควนั หรือไดร้ ับสารคาร์บอนมอนอกไซด์
(คุณสมบตั ิไม่มีสี ไม่มีกล่ินและรส) สารดงั กล่าวจะจบั กบั ฮีโมโกลบินโดยการแทนท่ีออกซิเจน
(carboxyl hemoglobin) ทาใหม้ ีอาการระคายเคือง และอาการแสดงทางระบบประสาทส่วนกลาง
เช่น ระดบั ความรู้สึกลดลง

7. ผลต่อระบบภูคุม้ กนั ของร่างกาย ทาใหร้ บบภูมิคุม้ กนั ของร่างกายสูญเสียหนา้ ที่หรือทาพษิ
ข้ึนอยกู่ บั ความเขม้ ข้นั ของสารและระยะเวลาสูดดมหนา้ ท่ีลดลง เน่ืองจาก มีการสูญเสียโปรตีน
ภาวะดุลของไนโตรเจนลบ การสูญเสียผวิ หนงั ซ่ึงเป็นด่านป้องกนั เช้ือโรค และการพิมของระดบั
prostaglandins 2 ทาใหก้ ระตุน้ การทางนของท่ี เซลล์ (cell suppressor) ท่ียบั ย้งั ปฏิกิริยา

ตอบสนองทางอิมมูน ส่งผลใหก้ รทางนของเมด็ เลือดขาวโดยเฉพาะนิโครฟิ วลดลง ภาวะ
เปลี่ยนแปลงที่ตามมาคือ การติตเช้ือแบคทีเรียแกรมลบ

การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นจิตสงั คมของผปู้ ่ วยแผลไหม้

ระยะแรกผปู้ ่ วยรู้สึกช็อคต่อหตุกรณ์ท่ีเกิดข้ึน อาจเงียบ ขรึมไม่ยอมพดู จากปฏิกิริยาดงั กลาวอาจ
เกิดข้ึนเพียง 2-3นาทีหรือเป็นชวั่ โมงๆก็ แลว้ แต่ควารุนแรของตกรณ์และข้ึนอยกู่ บั ธรรมชาติของ
ผปู้ ่ วย ต่อมผปู้ ่ วยมกั มีความวติ กกงั วล กระนกระวาย ไม่สบายใจ กระสับกระส่ายอยเู่ ฉยไม่ได้
ผปู้ ่ วยมกั มีอารมณ์สียงย ตกใจง่าย และหวาดกลวั บางรายอาจลบั สน นอนไม่หลบั หรือหลบั แต่
ฝันร้ายถึงเหตุกรณ์ที่เกิดข้ึน ทุกคร้ังพูดถึงผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งในตุกรณ์ แลตกรณ์ท่ีเกิดข้ึนซ้า ๆ บางราย
อาจนิ่งเฉยไม่สนใจสิ่งแวดลอ้ ม หากไดร้ ับการดูแลช่วยเหลืออยา่ งถูกตอ้ ง

การประเมินผปู้ ่ วยแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก เช่นเดียวกบั การประเมินผปู้ ่ วยทวั่ ไป และน้นั การ

ประเมินปัจจยั ท่ีมีผลต่อความรุนแรงของแผลไหมเ้ พิ่มเติม โดยประเมินขนาด ความลึก ระดบั
ความรุนแรงของแผลไหม้ เพอื่ แบ่งระดบั ความรุนแรงและความรีบด่วนในการรักษาพยาบาล

1.1 วธิ ีการประเมินขนาดของแผลไหมท้ ่ีนิยมใชไ้ ดแ้ ก่

1.1.1 กฎเลขเกา้ (rules of nine) นิยมใชใ้ นผใู้ หญ่ โดยแบ่งร่างกายออกเป็นส่วน ๆ

ส่วนละร้อยละ 9 ของพ้นื ที่ผวิ หนงั โดยใชฝ้ ่ ามือนิ้วชิดกนั ของผปู้ ่ วยเท่ากบั ร้อยละ 1 ของพ้นื ท่ี
ผวิ หนงั ท่ี

ไหม้ และคิดฉพาะแผลท่ีถูกทาลายช้นั หนงั กาพร้าลงไป

1.1.2 การประเงินจาก ความลึกของบาดแผล และขนาตของบาดแผล ความลึกของบาดแผลไฟ
ไหม้ แบ่งไดเ้ ป็น 3ระดบั คือ (ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย, 2008)

ระดบั แรก (First degree bun) ผวิ หนงั มีสีแตง, ไม่มีถุงน้าพองใส, มีอาการปวดแสบและ
กดเจบ็

ระดบั ท่ีสอง (Second degree bur) ผวิ หนงั มีถุงน้าพองใสเกิดสข้ึน ถผ้ นงั ของถุงน้าแตก
จะเห็น ผวิ หนงั สีชมพูหรือแดง และมีน้าเหลืองซึม ขนจะติดกบั ผวิ หนงั และมีอาการปวดแสบ
แผลความ ยดื หยนุ่ ของผวิ หนงั ยงั ปกติอยู่

ระดบั ท่ีสาม (Third degree bur) ผวิ หนงั จะถูกทาลายตลอดช้นั ความหนาของผวิ หนงั ซ่ึง
จะแหง้ , แขง็ , ไม่มีความยดึ หยนุ่ เสน้ เลือดบริวณ ผวิ หนงั อุดตนั , ขนหลุดจากผวิ หนงั , ไม่มี
ความรู้สึกเจบ็ ปวด

การรักษา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ไดแ้ ก่

1. ระยะฉุกเฉิน (emergent period) อยใู่ นช่วง 48-72 ชวั่ โมง ภายหลงั บาดเจบ็ จนกระทง่ั มาถึง
โรงพยาบาล ผปู้ ่ วยไดร้ ับการทาแผลเพอื่ ป้องกนั การติดเช้ือ ภาวะชอ็ คและลดความรุนแรงของ
แผลไหม้

2. ระยะเฉียบพลนั (acute period) เป็นระยะต่อจากระยะฉุกเฉินจนกระทง่ั ไดร้ ับการปลูกผวิ หนงั
ปัญหาที่พบไดแ้ ก่ การติดเช้ือ การขาดสารน้าและอาหาร ความเจบ็ ปวด เป็นตน้ การรักษาจะเนน้
การทาแผล อาทิ การขจดั เน้ือตาย (debridement) การกรีดผวิ หนงั บริเวณแผลไหมถ้ ึงผวิ หนงั ช้นั
ลึก(escharotomies) การทาแผลแบบเปิ ด-ปิ ด การทาแผลโดยใชส้ ่ิงท่ีมีชีวติ (biological dressing)
การบาบดั โดยอาศยั น้า (hydrotherapy) การปลูกผวิ หนงั (grafting) เป็นตนั

3. ระยะฟ้ื นฟูสภาพ (rehabilitation period) เป็นช่วงต่อจากระยะที่สอง จนกระทงั่ กลบั บา้ น

4. แนวทางในการรักษา วธิ ีการรักษาแตกต่างกนั ตามความรุนแรงของบาดแผลไฟไหม้ โดย
อาศยั จากความลึก และขนาดของบาดแผลไฟไหมด้ งั กล่าวแลว้ โดยจาแนกแยกกลุ่มของคนไข้
ออกเป็น3 กลุ่ม คือ

4.1. กลุ่มที่ไดร้ ับบาดเจบ็ ไม่รุนแรง หรือรุนแรงนอ้ ย สามารถใหก้ ารรักษาแบบคนไขน้ อกได้

ไดแ้ ก่คนไขก้ ่ีมีลกั ษณะต่อไปน้ี

4.1.1 First degree burn

4.1.2 Second degree burn ในเดก็ ที่มีขนาดของผลนอ้ ยกวา่ 109 ของพ้ืนผวิ ของร่างกายท้งั หมด

4.1.3 Second degree burn ในผใู้ หญ่ท่ีมีขนาดของแผลนอ้ ยกวา่ 15% ของพ้นื ผวิ ของ ร่างกาย
ท้งั หมด

4.1.4 Third degree burn ที่มีขนาดของแผลนอ้ ยกวา่ 2% ของพ้ืนผวิ ของร่างกายท้งั หมด

4.2, กลุ่มที่ไดร้ ับบาดเจบ็ รุนแรงมาก ตอ้ งรับไวใ้ นโรงพยาบาล ไดแ้ ก่

4.2.1 Second degree bun ในเดก็ ที่มีขนาดของแผล 10-15% ของพ้ืนผวิ ของร่างกายท้งั หลุด

4.2.2 Second degree bun ในผใู้ หญ่ท่ีมีขนาดของแผล 15-30% ของพ้นื ผวิ ของร่างกาย ท้งั หมด

4.2.3 Third degree bun ท่ีมีขนาดของแผล 2-10% ของพ้ืนผวิ ของร่างกายท้งั หมด

4.2.4 มีบาดแผลไฟไหมท้ ่ีบริเวณใบหน้ มือ, เทา้ , บริเวณ perineum

4.2.5 มีบาดแผลเกิดจากไฟฟ้ช็อต, บาดแผลจากการสมั ผสั กบั สารเคมี, มีinhalation injury ร่วม
ดว้ ยหรือสงสัยวา่ จะมี

4.2.6 มีโรคทางอายรุ กรรมร่วมดว้ ย หรือ มีกระดูกหกั บริเวณท่ีมีบาดแผลไฟไหมห้ รือ มีการ
บาดเจบ็ ของอวยั วะหลายอยา่ งร่วมดว้ ย

4.3. กลุ่มท่ีไดร้ ับบาดเจบ็ รุนแรงในระดบั อนั ตราย ควรรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลท่ีมีศนู ยด์ ูแล
รักษาคนไขไ้ ฟไหมน้ ้าร้อนลวก (Bun Center) โดยเฉพาะ ไดแ้ ก่คนไชในกลุ่มต่อไปน้ี
4.3.1 Second degree bum ในเดก็ ที่มีขนาดของแผลมากกวา่ 159ของพ้ืนผวิ ของร่างกาย

4.3.2 Second degree bum ในผใู้ หญ่ท่ีมีขนาดของแผลมากกวา่ 30% ของพ้นื ผวิ ของร่างกาย

43.3 Third degree burn ทม่ี ีขนาดของแผลมากวา่ 10% ของพ้ืนผวิ ของร่างกาย

2. ขอ้ วนิ ิจฉยั การพยาบาลและวางแผนการพยาบาล ในท่ีน้ีจะขอกล่าวถึงวดั ถุประสงคข์ องการ
พยาบาลและขอ้ วนิ ิจฉยั การพยาบาลที่พบบ่อย โดยจาแนกตามระยะการรักษา ดงั น้ี

2.1 การพยาบาลผปู้ ่ วยแผลไหมร้ ะยะฉุกเฉิน

วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ป้องกนั แกไ้ ขภาวะช็อคบรรเทาอาการเจบ็ ปวดควบคุมการติดเช้ือและหรือ
คลายความวติ กกงั วลต่อภาวะเจบ็ ป่ วย ซ่ึงขอ้ วนิ ิจฉยั ทางกรพยาบาลที่มกั พบในระยะน้ีไดแ้ ก่มี
การเปล่ียนแปลงการกาชาบเลือดหรือออกชิเจนของเน้ือเยอ่ื ส่วนปลายลดลง เน่ืองจากมีการอุด
ก้นั ทางเดินหายใจสนตนั จากการบวมของหลอดลม หรือมีแผลไหม้ ระดบั 2 - 3

การแลกเปลี่ยนแสบกพร่อง เน่ืองจาก การสูดดมควนั / พษิ ของคาร์บอนมอนออกไซด์

ไม่สุขสบาย : เจบ็ ปวด เน่ืองจาก ผวิ หนงั ถูกทาลายระดบั 2 - 3

เส่ียงต่อปริมาตรเลือดอออกจากหวั ใจลดลงเน่ืองจากมีการซึมผา่ นของสารต่าง ๆออกจากหลอด
เลือดฝอยเพม่ิ ข้ึน

2.2 การพยาบาลผปู้ ่ วยแผลไหมร้ ะยะเฉียบพลนั

วตั ถุประสงคน์ ้นั ป้องกนั การติดเช้ือโดยการทาแผล เพอื่ รองรับการปลูกผวิ หนงั ส่งเสริมภาวะ
โภชนาการ ป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ น บรรเทาปัญหาคน้ จิตสงั คมและจิตวญิ ญาณ ขอ้ วนิ ิจฉยั
ทางการพยาบาลท่ีมกั พบในระยะน้ีไดแ้ ก่ความแขง็ แรงของผวิ หนงั บกพร่อง หรือผวิ หนส้ ูญ
เสีหนท้ ่ี เนื่องจาก ผวิ หนงั ถูกทาลายร้อยละ...

เสี่ยงต่อการติดเช้ือท่ีแผลไหม้ เนื่องจาก ผวิ หนงั ถูกทาลายถึงรอยะละ. ....

เส่ียงต่อการไดร้ ับสารอาหารท่ีนอ้ ยกวา่ ความตอ้ งการของร่างกาย เนื่องจาก.....

2.3 การพยาบาลผปู้ ่ วยแผลไหมร้ ะยะฟ้ื นฟูสภาพ

วตั ถุประสงคเ์ พอื่ พ้ืนฟูสภาพหนท้ ี่ของอวยั วะต่างดว้ ยการจดั ทาการเขา้ เฝื อก การออกกาลงั

การดูแลผวิ หนงั บริเวณแผลไหม้ และการเตรียมผปู้ ่ วยเพอื่ กลบั เขา้ สู่สังคมดว้ ยภาพลกั ษณ์ที่
เปล่ียนแปลงและการดารงบทบาทของตนเองทางสัดม ขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลที่พบในระยะ
น้ีไดแ้ ก่กาย การดูแลผวิ ทนั

วติ กกงั วล กลวั )สิ้นหวงั / ภาพลกั ษณ์เปล่ียนแปลง / แยกตวั จากสงั คมเน่ืองจาก การเปล่ียนแปลง
ของร่างกายภายหลงั ไดร้ ับบาตเจบ็

ㆍ มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางครอบครัว เนื่องจาก......

ผวิ หนงั ถูกทาลายจากกดทบั

แผลกดทบั (pressure sore, pressure ulcers, pressure sore, bed sore หรือdecubitus ulcer)
หมายถึงบริเวณที่เน้ือเยอื่ คการกดทบั เน้ือเชื่อบวเิ วณป่ ุมกระดูกเป็นเลานาน ทาใหห้ ลอดเลือด
บริเวณดงั กล่าวถูกดกจ้ นตีบแคบและเลือดไปล้ียงไม่ได้ ทาใหข้ าดออกจิเจนและสารอาหารมา
เล้ียงเน้ือตาย โตผวิ หนจ้ ะเริ่มบวมแดง (either) มีน้าขงั เป็นแผลพพุ อง (Bister)สุดทา้ ยกลายเป็น
แผลถลอกตรงบริเวณที่ถูกดกบั ผลกระทบมือเกิดแผลกดทบั

คือ เสียค่าใชจ้ ่ายเพิ่ม เพม่ิ วลาที่พยาบาลใชใ้ นกาทาแผลคายา ตอ้ งอยรู่ ักษานานข้ึน และท่ี
ประมาณค่าไม่ไดค้ ือผลกระทบดนั ร่างกาย จิตใจและอารมณ์ ความเจบ็ ปวดความซึมศร้า จนมีผล
ต่อคุณภาพชีวติ ของผปู้ ่ วยและครอบครัว

สาเหตุการเกิดแผลกดทบั

พบวา่ สาเหตุสาคญั อนั ดบั แรก เกิดจากปัจจยั หลกั 2 ประการคือ แรงกดทบั และความทนของ
ผวิ หนงั ซ่ึงมีรายละเอียต ดงั น้ี

1. แรงกดทบั โดยตรง (direct pressure) เป็นสาเหตุจากการมีแรงกดต่อเน้ือเยอ่ื ส่ิงท่ีตอ้ งพจิ ารณา
คือ ความแรงของแรงกดทบั (intensity) และระยะเวลาของการกดทบั ท่ีทาใหเ้ น้ือเยอ่ื ขาดเลือดมา
เล้ียงโดยฉพาะตรงป่ ุมกระดูก ปัจจยั ส่วนใหญ่ที่ทาใหเ้ กิดแรงกดทบั ไดแ้ ก่ ความสามารถในการ
เคลื่อนไหวเพ่อื เปล่ียนทหรือการทรงตวั ลดลง จากพยาธิสภาพของโรคเองหรือแนวทางการ
รักษา หรือประสาทรับความรู้สึกผดิ ปกติหรือบกพร่อง ทาใหไ้ ม่สมารถรับรู้ความเจบ็ ปวด หรือ
ความไม่สุขสบายที่เกิดข้ึนได้

2.ความทนของผวิ หนงั (issue tolerance) เกิดร่วมกบั ปัจจยั อื่น ไดแ้ ก่ ปัจจยั ภายนอกและปัจจยั
ภายใน ปัจจยั ภายนอกไดแ้ ก่ ความปี ยกช้ืน แรงเสียดสีและแรงเฉือน ส่วนปัจจยั ภายใน ไดแ้ ก่
ภาวะโกชนาการไม่ตี อายพุ มิ มากข้ึน ความตนั โลหิตต่า นอกจากน้ียงั มีปัจจยั อ่ืน ๆ เช่นอารมณ์
เครียด การสูบบุหร่ี อุณหภูมิผวิ กาย และการไหลเวยี นน้าระหวา่ งเซลล์ (interstitial fluid flow)
เป็ นตน้

ปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งกบั การเกิดแผลกดทบั

1. ความรุนแรงจากแรงกดทบั (intensity of pressure) เมื่อเน้ือเยอ่ื ถูกกดทบั ระหวา่ งป่ ุมกระดูก
และพ้นื ผวิ วตั ถุที่แขง็ ทาใหม้ ีแรงกดทบั ในหลอดเลือดฝอย ปกติแรงกดทบั ที่ทาใหห้ ลอดเลือด
ตีบ (capillary closing pressure) ประมาณ 12-32 mmHg. ถา้ ไม่ลดแรงกดทบั หรือมีการเพม่ิ แรง
กดทบั มากกวา่ แรงดนั ในหลอดเลือด จะทาใหห้ ลอดเลือดเกิดปริกและฉีกขาดได้ และเน้ือเยอ่ื
ตายจากการขาดเลือดมาเล้ียงบริเวณน้นั มีการทาลายเน้ือเยอื่ ท่ีอยใู่ กลก้ บั กระดูกเป็นรูปกรวย
(cone shaped) ซ่ึงมีฐานกรวยอยใู่ กลป้ ุมกระดูก ยอดกรวยอยตู่ รงผวิ หนงั ที่ถูกกดทบั จนทาให้
มองเห็นผวิ หนงั ท่ีถูกกดทบั เป็นสีแดงช้าไม่จางหายและมองเห็นได้ ในภาวะปกติร่างกายจะ

ตอบสนองต่อแรงกดทบั ดว้ ยการเปลี่ยนท่าเพื่อเป็นการลดแรงกดทบั ท่ีผวิ หนงั บริเวณน้นั ทาให้
รอยแดงท่ีเกิดข้ึนจางหายไดถ้ า้ ไม่ถูกกดทบั อีก

2. ระยะเวลาของแรงกดทบั (duration of pressure) มีความสาคญั ร่วมกบั ความรุนแรงจากแรงกด
ทบั ในทางกลบั กนั แมแ้ รงกดทบั จะมีไม่มากพอท่ีจะทาใหเ้ น้ือยขี่ าดเลือด แต่ถา้ มีการกตทบั นาน
เน้ือเยอื่ กต็ ายไดเ้ ช่นกนั

3. ความทนของเน้ือเยอ่ื (tissue tolerance) ความทนของผวิ หนงั ข้ึนกบั ความแขง็ แรงของผวิ หนงั
และโครงสร้างเน้ือเยอ่ื ที่อยใู่ ตผ้ วิ หนงั ไดแ้ ก่หลอดเลือด น้าในเซลล์ (interstitial fluid) คอลลาเจน
ที่ทางานประสานกนั เพือ่ ตนั แงกดทบั จภายนอกท่ีกดลงตรงเน้ือเยอื่ ท่ีอยตู่ ิดป่ ุมกระดูก

4. แรงเฉือน (shear) เกิดข้นึ ไดใ้ นกรณีที่ผปู้ ่ วยอยใู่ นทานอนหรือนงั่ ศรี ษะสูง และผปู้ ่ วยไม่
สามารถทรงตวั ไดจ้ นล่ืนไถล เกิดจากการกระทาร่วมกนั ระหวา่ งแรงโนม้ ถ่วงโลกและแรงเสียด
สี โดยแรงโนม้ ถ่วงจะพยายามดึงร่างกายเคล่ือนต่าลงในขณะท่ีรางกายจะพยายามตน้ ไวเ้ พ่อื ให้
ร่างกายอยใู่ นสภาพเติมมากสุด จึงเกิดเป็นแรงเสียดสีตรงพ้นื ผวิ ท่ีร่างกายสมั ผสั กบั ตียงหรือเกา้ อ้ี
เช่น เม่ือไขหวั เตียงใหย้ กสูงข้ึน ทาใหห้ ลอดเลือดบริเวณดงั กล่าวถูกดึงร้ังจนเกิดบาดเจบ็ พบมาก
สุดที่บริเวณกน้ กบ

5. แรงเสียดสี (icon) เกิดจากพ้นื ผวิ 2 พ้ืนผวิ เกิดกรเสียดสีกนั มกั เกิดเม่ือผปู้ ่ วยถูกเคลื่อนยา้ ยดว้ ย
การลากถูกมากกวา่ การยกยา้ ยผปู้ ่ วย ทาใหผ้ วิ หนงั กาพรถูกเสียดสีจนถอกและบางคร้ังอาจ
บาดเจบ็ ถึงช้นั หนงั แท้ มกั เกิดร่วมกบั แรงเฉือนแต่บางคร้ังอาจเกิดแรงเสียดสีโดยไม่มีแรงเฉือน

6. ภาวะโภชนาการไม่ดี (nutritional debilitate) มีรายงานที่บ่งช้ีวา่ การมีภาวะโภชนาการไม่ดีจะ
มีนยั สาคญั ต่อการเกิดแลดพบั กรขาดโปรตีนอยา่ งรุนแรงจะทาใหเ้ น้ือเยอ่ื ง่ายต่อการถูกทาลาย
มือถูกกดทบั มีเซลลบ์ วม การขนส่งออกจิเจนและสารอาหารเป็นไปไตไ้ ม่ดีจากการขาดเลือดมา
เล้ียง เซลลบ์ วม ภูมิตา้ นทานลดลงติดเช้ือง่าย นอกจากน้ี วติ ามินเอ วติ ามินซีและวติ ามินอี มีส่วน
ช่วยในการป้องกนั การเกิดแผลกดทบั เช่นกนั

นอกจากน้ี ยงั มีปัจจยั อื่น ๆ ท่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ ง คืออายุ เมื่อสูงอายผุ วิ หนงั จะเปลี่ยนแปลงมีมวล
กลา้ มเน้ือลดลง อลั บูมินในเลือดลดลง

ปฏิกิริยาต่อตา้ นการอกั เสบตามธรรมชาติลดลง เน้ือเยอื่ มีความยดึ หยนุ่ ลดลง ทาใหก้ ารไหลเวยี น
เลือดบกพร่อง

ภาวะสุขภาพจิต (psychosocial status) ในภาวะเครียด ฮอร์โมน cortisol จะถูกปล่อยออกมาและ
มีผลใหส้ ร้างคอลลาเจนลดลง ร่วมท้งั ขาดกลไกการปรับตวั ท่ีเหมาะสม ผวิ หนงั มีความทนต่อ
แรงกดทบั ลดลง

การสูบบุหรี่ พบวา่ มีความสมั พนั ธใ์ นเชิงบวกกบั การเกิดแผลกดทบั ในผทู้ ี่มีการบาดเจบ็ ไขสนั
หลงั และสูบบุหร่ีจดั มีอตั ราการเกิดแผลกดทบั มากกวา่ ผปู้ ่ วยทวั่ ไป

การมีอุณหภูมิร่างกายเพ่มิ (elevated body temperature) สมั พนั ธ์กบั การเกิดแผลกดทบั พบใน
ผปู้ ่ วยสูงอายทุ ี่มีอุณหภูมิสูงปานกลาง จะเพ่มิ ความเส่ียงต่อการเกิดแผลกดทบั

การลดการเคล่ือนไหว (reduce mobility) อาจเกิดจากยา เช่น hypnotics, anxiolytics
antidepressants และ antihistamine หรือใชเ้ วลาผา่ ตดั นานและไดร้ ับยาสลบ ยาแกป้ วด หรือการ
ดามท่อระบาย ระบบประสาทบกพร่อง เช่น อมั พาต เบาหวาน การบาตเจบ็ ไขสนั หลงั และ
สูญเสียความรู้สึกน้าหนกั ร่างกาย ผทู้ ี่ผอมมาก ๆ จนไม่มีไขมนั ท่ีเปรียบเหมือนเบาะนง่ั ตรงป่ ุม
กระดูกและช่วยเป็นเกราะป้องกนั ต่อแรงกดทบั หรือผปู้ ่ วยท่ีอว้ นมีปัญหาลุกนง่ั หรือเคลื่อนยา้ ย
ลาบาก เน้ือเยอ่ื ถูกทาลายไตง้ ่าย ผวิ มกั ข้ึนแฉะจากเหง่ือ โดยเฉพาะตรง

ลอนของไขมนั ทาใหผ้ วิ หนงั เกิดเปื่ อย (maceration)

ปัญหาการควบคุมการขบั ปัสสาวะ (incontinence of urine) ทาใหผ้ วิ หนงั เป่ื อยและเพ่ิมอตั ราเสี่ยง
ต่อแรงเสียดสี พบ 15.5%ในผปู้ ่ วยที่มีแผลกดทบั มีปัญหากล้นั ปัสสาวะไม่ได้ และ 39.7% กล้นั
อุจจาระไม่ได้ และปัจจยั ร่วมกบั การกล้นั ปี สสาวะไม่ไดใ้ นคนแก่คือ การไดย้ าขบั ปัสสาวะ การ
ไดย้ านอนหลบั มีทอ้ งเสีย หรือเคล่ือนไหวไม่ได้

การไหลเวยี นโลหิตไม่ดี (poor blood supply) ทาใหเ้ น้ือเยอ่ื มีภาวะทุโภชนาการอาจมีสาเหตุจาก
โรคหวั ใจ โรคหลอดเลือดส่วนปลาย เบาหวาน หรือจากยา

ตาแหน่งแผลกดทบั ตาแหน่งที่มกั พบการเกิดแผลกดทบั คือ ตามป่ ุมกระดูกต่าง ๆ ซ่ึงมีหลาย
ตาแหน่งดว้ ยกนั เช่น กระดูกกนั กบ หวั ไหล่ สะบกั สันเทา้ ปมกระดูกสะโพก หรือบริเวณกกหู
เป็นตน้ อตั ราการเกิดแต่ละตาแหน่งมีความแตกต่างกนั

ประเภทของผูป้ ่ วยที่เส่ียงต่อการเกิดแผลกดทบั เช่น ผปู้ ่ วยเร้ือรังที่ตอ้ งนอนบนเตียง
ตลอด ภาวะขาดน้า เบาหวาน ความรู้สึกเจบ็ ปวดลดลง กระดูกหกั มีประวตั ิไดร้ ับยา
corticosteroid ยากดภูมิตา้ นทาน (immunosuppression) กล้นั ปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ภาวะทุ

โภชนาการ สมองผดิ ปกติสมั พนั ธก์ บั ระดบั รู้สติเปล่ียน ไดร้ ับยานอนหลบั หรือมีอาการสบั สน
อมั พาต การไหลเวยี นเลือดไม่ดี มีแผลกดทบั อยเู่ ดิม อว้ นหรือผอมมาก เป็นตน้

การประเมินความเส่ียงต่อการเกิดแผลกดทบั

โดยใชแ้ บบประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทบั ซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีใชใ้ นการคดั กรองและ
ช่วยทานายความเสี่ยงของผปู้ ่ วยต่อการเกิดแผลกดทบั ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ดู้ ูแลเตรียมป้องกนั หรือ
ช่วยลดอตั ราการเกิดได้ ตวั อยา่ งแบบประเมินที่ใช้ เช่น

1. แบบประเมินของนอร์ตนั (The Norton risk assessment scale) เป็นแบบประเมินที่ใชง้ ่าย มี 5
ตวั แปรคือภาวะสุขภาพ ภาวะการรับรู้ การทากิจกรรม การเคล่ือนไหว และการควบคุมการ
ขบั ถ่าย แต่ละตวั แปรแบ่งเป็น 4 ระดบั ค่าคะแนนท่ีไดย้ งิ่ ต่ายงิ่ เสี่ยงมาก ค่าท่ีเร่ิมบอกวา่ เสี่ยงคือ
14 เหมาะใชก้ บั ผสู้ ูงอายมุ ากกวา่ ใชก้ บั ผปู้ ่ วยทว่ั ไป

2. แบบประเมินของบราเดน (The Braden scale for predicting pressure sore

risk) นิยมใชใ้ นสหรัฐ มีความแม่นยาในการทานายมากกวา่ แบบอื่น มี 6 ตวั แปรคือ การรับรู้ การ
เปี ยกข้ึนของผวิ หนงั การทากิจกรรม การเคลื่อนไหว ภาวะโภชนาการ แรงเสียดสีและแรงเฉือน
มีคาต้งั แต่ 14 ช่วงคะแนนที่เริ่มบอกวา่ เสี่ยงคือ 16ยงิ่ คะแนนนอ้ ยยง่ิ เสี่ยงมาก

การแบ่งระดบั ความรุนแรงของแผลกดทบั มีดงั น้ี

ระยะที่ 1:มีการทาลายฉพาะในส่วนของช้นั epidermis และช้นั dermis ผวิ หนงั ยงั ไม่มีการฉีกขาต
แต่บริเวณที่ถูกกดทบั จะเปล่ียนเป็นรอยแดง และเม่ือทดสอบโดยใชน้ ิ้วกตตรงบริเวณดงั กล่าว
แลว้ ปล่อยนิ้ว อาการอยดงั น้นั จะไม่จางหายไป (non branching erythema) ผวิ หนงั บวเิ วณท่ีถูก
กดทบั จะอุ่นหรือเยน็ กวา่ ผวิ หนงั บริเวณอื่น อาจเร่ิมมีอาการคนั (chin) ปวดหรือกดเจบ็ ร่วมดว้ ย

ระยะที่ 2: มีการทาลายมากข้ึน เร่ิมเป็นรอยคลอกในช้นั epidermis และบางคร้ังทาลายลึกถึงข้นั
dermisได้ (partial thickness ) มแี ผลต้ืนๆ มีอยลอก มีคุมพองใส หรือมีแอ่งแผลต้ืนๆอาจมีส่ิงขบั
หลงั่ (exudates) ไดแ้ ตไ่ มม่ าก ผวิ อุ่นจดั และมีอาการปวด

ระยะที่ 3:ผวิ หนงั ช้นั นอกถูกทาลายท้งั หมด (full thickness skin ) มีเน้ือตายและทาลายลุกลามถึง
ช้นั เน้ือเยอ่ื ใตผ้ วิ หนงั (subcutaneous) แต่ยงั ไม่ถึงช้นั ผงั ผดื แผลเป็นแอ่งอาจมีการชอนไซเป็น
โพรงรอบ แผล (undermining) แผลมีกล่ิน และส่ิงขบั หลง่ั มีปริมาณนอ้ ยถึงมาก

ระยะที่ 4: ทาลายผวิ หนงั ทุกช้นั อาจลุกลามถึงช้นั กลา้ มเน้ือกระดูก เอน็ หรือขอ้ ต่อได้ มีเน้ือตาย
มาก แผลเป็นโพรงชอนไซไตผ้ วิ หนงั รอบแผล กล่ินเหมน็ และมีสารคดั หลง่ั ปานกลางถึงมาก

การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีมีแผลกดทบั

หลกั ในการดูแลมี 3 ประเดน็ คือ การลดแรงกดทบั การดูแลแผลกดทบั และมีโภชนาการท่ีดี

1. การลดแรงกดทบั (pressure relief) มี 3 วธิ ีการ คอื

1.1 การใชอ้ ุปกรณ์รองรับ (support surfaces) ไดแ้ ก่ เตียง ฟูกหรือที่นอน (mattress) ท่ีรองนอน
เหนือฟูก (mattress overlays) หรือเบาะรองนงั่ (seat cushions) ซ่ึงเพ่ือช่วยลดแรงกดทบั ทาให้
แผลหายและป้องกนั แผลที่จะเกิดใหม่ โดยทดสอบวา่ อุปกรณ์รองรับใดมีคุณสมบตั ิช่วยลดแรง
กดทบั ไดด้ ี โดยใหผ้ ดู้ ูแลหงายฝ่ ามือขา้ งใดขงหน่ึงข้ึนแลว้ สอดมือเขา้ ตรงที่ร่างกายนอนทบั หรือ
นง่ั อยู่ หากมีช่องวา่ งระหวา่ งจุดท่ีมีแรงกดทบั กบั มือท่ีสอดเขา้ ไป <1 นิ้ว แสดงวา่ อุปกรณ์ท่ีช่อง
รองรับมีคุณสมบตั ิรองรับไดไ้ ม่ดี ควรเลือกอุปกรณ์รองรับประเภทอ่ืนแทน

1.2 จดั ใหร้ ่างกายอยใู่ นทาท่ีถูกตอ้ ง (Good body positions) การจดั ท่าที่ถูกตอ้ งจะช่วยลดแรงกด
ทบั ตรงบริเวณแผลกดทบั ได้ และยงั ป้องกนั การเกิดแผลข้ึนใหม่ โดยการเปล่ียนทา โดยปฏิบตั ิ
ดงั น้ี

ท่านอน ทา้ มนอนทบั บริเวณที่มีปมกระดูกหรือมีแผลกดทบั อาจใชแ้ ผน่ โฟมหรือหมอนรองรับ
และเปล่ียนท่าอยา่ งนอ้ ยทุก 2 ชว่ั โมง

ท่านอนตะแคง นอนตะแคงก่ึงหงายทามุม 30 องศาๆ และอาจยกศีรษะสูง(30 องศา)

ㆍ ท่านอนหงาย ควรยกสันเทใหส้ ูงพนั พ้นื เตียง อาจใชแ้ ผน่ โฟมแบบบางรองหรือใชห้ มอน
รอง ไม่ควรใชโ้ ฟมหรือหมอนรองเข่โดยตรงเพราะทาใหเ้ ลือดไหลเวยี นไม่สะดวก ไม่ควร
ใชบ้ าะแบบโดนทั หรือวงแหวน เพราะทาใหเ้ ลือดไหลเวยี นไม่ดี นง่ั บนเกา้ อ้ีหรือนง่ั บนรถเขน็
ดูแลใหผ้ ปู้ ่ วยนงั่ ตวั ตรง ใหต้ น้ ขาอยใู่ นแนวราบและวางเทา้ บนท่ีรองเทา้ ในท่ท่ีสบาย วางขอ้ ศอก
ตนั แขน และขอ้ มือไวบ้ นที่เทา้ แขน โดยใชเ้ บาะรองนงั่ แบบพเิ ศษ มีการเปลี่ยนทาทุก 1 ชวั่ โมง
เพ่อื ลดแรกดทบั หรือการกดทบั บริเวณท่ีมีแผลโดยตรง

1.3 การเปล่ียนทา (changing position) ควรเปล่ียนทาอยา่ งนอ้ ยทุก 1 ชว่ั โมงเม่ือนง่ั บนเกา้ อ้ี และ
อยา่ งนอ้ ยทุก 2 ชว่ั โมงในท่านอนบนเตียง อาจจดั ทาตารางพลิกตวั หรือใชน้ าฬิกาพลิกตวั สิ่งมี

การระบุทาท่ีจะผลิในคร้ังถดั ไปวา่ เป็นทาอะไร วธิ ีกรน้ีช่วยใหท้ ้งั ผปู้ ่ วยและผดู้ ูแลจาท้งั เวลาและ
ที่ควรตอ้ งผลิตวั ถดั ไป ในรายที่เคล่ือนไหวเองไม่ไดค้ วรมีคนช่วยเปล่ียนทาให้ ถา้ ผปู้ ่ วยทาไดเ้ อง
สอนวธิ ีลดแรงกดทบั ให้ ในรายท่ีนงั่ เกา้ อ้ีและเปลี่ยนทาเองไม่ได้ ควรมีผชู้ ่วยยกหรือเคล่ือนยา้ ย
เพ่อื ลดแรงกดทบั

2. การดูแลแผลกดทบั (pressure sore care) เพื่อช่วยใหแ้ ผลหายเร็ว ไดแ้ ก่ การทาความสะอาด
การกาจดั เน้ือตาย (debridement) และการใชว้ สั ดุปิ ดแผลหรือการพนั แผล

2.1 การทาความสะอาดแผล แผลกดทบั จะหายเร็วถา้ เป็นแผลสะอาด แผลทม่ี ีเน้ือตายและมีสิ่ง
ขบั หลงั่ ใแผล ถา้ ปล่อยไวแ้ ผลจะหายชา้ และอาจติดเช้ือได้ วธิ ีทาความสะอาต คือแผลที่สะอาด
การทาแผลท่ีถูกวธิ ีและการใชอ้ ุปกรณ์ที่เหมาะสมเป็นเรื่องจาเป็น ที่จะช่วยปกป้องเน้ือเยอ่ื ใหม่
ไม่ใหบ้ อบช้าจากการทาความสะอาดแผล โดยใชว้ ธิ ีชะลา้ งหนา้ แผลดว้ ยกระบอกฉีดยาที่ไม่สวม
หวั เขม็ บรรจุ Normal saline ฉีดลา้ งรดหนา้ แผลเบาๆแทนการเชด็ ดว้ ยสาลีชุบ ซ่ึงจะทาลาย
granulation tissue และไมค่ วรใชน้ ้ายาฆ่าเช้ือในระยะการงอกขยายเพราะทาใหแ้ ผลหายชา้ แผล
ติดเช้ือ เพื่อกาจดั เน้ือตายและแบคท่ีเรียในแผล ใชก้ ระบอกฉีดยาขนาด 35 มล.และเขม็ เบอร์ 19
เพือ่ ใหไ้ ดแ้ รงดนั น้าขนาด 10-15 ปอนด/์ ต่อตารางนิ้ว แต่ในไทยใชก้ ระบอกฉีดยาขนาด 20 มล.
และเขม็ เบอร์ 18 แทน ซ่ึงแรงดนั ขนาดน้ีจะไม่เป็นอนั ตรายต่อแผลและช่วยชะลา้ งแผลไดด้ ี

2.2 การกาจดั เน้ือตาย เน้ือตายในแผลทาใหแ้ ผลหายซ้าและอาจติดเช้ือแต่การกาจดั ออกทาให้
เจบ็ ปวดได้ ดงั น้นั ควรใหย้ าลดปวดก่อนทาแผล 30-60 นาที และหลงั ทาแผลควรใชว้ สั ดุปิ ดแผล
ท่ีมีลกั ษณะซุ่มใส่ในแผล (wet to dry dressing) เพ่อื ช่วยใหเ้ น้ือตายลอกหลุดไดง้ ่าย วธิ ีน้ีเหมาะ
กบั แผลที่มีเน้ือตาย แต่ไม่ควรทาในแผลที่สะอาด บางคร้ังอาจตอ้ งใส่ยาหรือวสั ดุปิ ดแผลท่ีมีฤทธ์ิ
ในการยอ่ ยสลาย (enzyme medications) เพื่อช่วยยอ่ ยสลายเน้ือตาย โดยทิ้งไว้ 2:3 วนั ใหย้ าช่วย
ยอ่ ยสลายเน้ือตายอยา่ งๆ ซ่ึงเหมาะกบั แผลติดเช้ือ สนแผลที่มีท้งั เน้ือตายและติดเช้ือควรใชว้ ธิ ี
กาจดั เน้ือตายออก ซ่ึงใหผ้ ลรวดเร็วกวา่ หรืออาจตอ้ งใชก้ ารผา่ ตดั ช่วยดว้ ยเพ่อื ตดั เน้ือตายออก

2.3 การใชว้ สั ดุปิ ดแผลหรือการพนั แผลการเลือกใชว้ สั ดุปิ ดแผลท่ีเหมาะสมเป็นเรื่องสาคญั ต่อ
การดูแลแผลกดทบั โดยพิจารณาจากตาแหน่งแผลและสภาพแผล ซ่ึงจะกล่าวในรายละเอียด
ต่อไป

3. มีโภชนการที่ดี (Good nutrition) การมีโภชนาการที่ตีเป็นสิ่งสาคญั ที่จะช่วยใหแ้ ผลทายเร็ว กา
รับประทานอาหารท่ีมีความสมดุลท้งั เชิงปริมาณและคุณภาพช่วยใหแ้ ผลหายเร็ว และช่วย

ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดแผลใหม่ข้ึน โดยตรวจสอบภาวะสุขภาพผปู้ ่ วยดว้ ยการชงั่ น้าหนกั ผปู้ ่ วยทุก
สปั ดาห์ ถา้ พบวา่ ผปู้ ่ วยมีน้าหนกั ลดลงอยา่ งรวดเร็ว ควรใหอ้ าหารและเสริมวติ ามิน หรือใหไ้ ต้
รับพลงั งานเพิม่ โดยเสริมจากม้ือวา่ งเพ่อื ใหไ้ ดอ้ าหารเพยี งพอ

ผลิตภณั ฑเ์ ก่ียวกบั วสั ดุปิ ดแผล (wound care product)

หลกั การเลือกใชว้ สั ดุปิ ดแผลที่ดีคือ ปกป้องแผลไม่ใหต้ ิดเช้ือข้ึนใหม่ ไม่รบกวนการหายของ
แผลสร้างส่ิงแวดลอ้ มใหแ้ ผลชุ่มช้ืน รักษาอุณหภูมิในแผลใกลเ้ คียงกบั อุณหภูมิร่างกาย เป็น
ฉนวนกนั ความร้อนให้

แผล ช่วยขจดั สิ่งแปลกปลอมในแผลโดยไม่ทาใหแ้ ผลบาดเจบ็ ช่วยขจดั คราบและของเหลวใน
แผลไม่ใหเ้ หลือตกคา้ ง เป็นผลิตภณั ฑท์ ี่ปลอดภยั ไม่แพง้ ่าย ไม่มีสารพิษ ปรบั รูปร่างเขา้ กบั แผล
ไดง้ ่าย และไม่ตอ้ งเปล่ียนบ่อย

ประเภทผลิตภณั ฑข์ องวสั ดุปิ ดแผล

Gauze dressing ใชท้ วั่ ไปเป็นผา้ ฝ้ายซ่ึงทอเป็นสน้ ใย ดงั น้นั อาจมีเศษตกคา้ งทาใหแ้ ผลหายชา้ มี
คุณสมบตั ิเป็นตวั ปิ ดแผล แต่ดูดซึมไดน้ อ้ ยและอาจทาใหผ้ วิ หนงั รอบแผลเบ่ือยยยุ่ จากผา้ ปิ ดแผล
ท่ีเปี ยกซุ่ม การปิ ดแผลดว้ ยผา้ กอ๊ สชุบน้าเกลือควรเปล่ียนอยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2คร้ัง เพ่ือไม่ใหผ้ า้ ก๊อส
แหง้ เกิดผลเสียคือ เวลาแกะออกอาจทาใหเ้ น้ือเยอื่ ข้ึนใหม่หลุดออกบางส่วนไปดว้ ย

ㆍ โฟม (foams) ไม่เกาะติดผวิ ง่ายในการใชแ้ ละกาจดั ออก มีคุณสมบตั ิช่วยรักษาความซุ่มช้ืน

ในแผล ดูดชบั ของเหลวที่ไหลซึมในแผลท้งั ปริมาณนอ้ ยถึงมาก อาจทาใหผ้ วิ หนงั รอบแผล

เปื่ อย (macerate) ถา้ โฟมเริ่มอิ่มตวั จากการอุม้ ของเหลวท่ีไหลจากแผลมาก ตวั อยา่ งเช่น

alley

transparent films สามารถมองทะลุเห็นแผลได้ ทาจาก Polyurethane ลกั ษณะเป็นฟิ ลม์ ใส
คุณสมบตั ิมีรูพรุนยอมใหก้ อ๊ ชซึมผา่ นไดแ้ ต่แบคทีเรียซึมเขา้ ไม่ได้ สามารถระเหยความช้ืนใน
แผลไดแ้ ตไ่ ม่ช่วยดูดขบั ของเหลวในแผล เหมาะใชก้ บั แผล partial thickness แผลผา่ ตดั ใช้
ป้องกนั การเสียดสีได้ ตวั อยา่ งเช่น Opsite, Tegaderm, Bioclusive

การเกิดภาวะแทรกซอ้ น ภาวะแทรกซอ้ นท่ีสาคญั ไดแ้ ก่

1. ความเจบ็ ปวด เป็นปัญหาที่พบเสมอ ความเจบ็ ปวดจะทาใหล้ ุกนงั่ หรือเคล่ือนไหวลาบาก
รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมลดลง ถา้ ผูป้ ่ วยรู้สึกปวดในขณะทาความสะอาดแผล
หรือเปล่ียนผา้ ปิ ดแผล อาจใหย้ ช่วยลดปิ ดก่อนทาแผล 30 60 นาที และหลงั การไดร้ ับยาถา้ ผยู้ งั
รู้สึกปวดควรแจง้ ไหแ้ พทยแ์ ละพยาบาลทราบ

2 การติดเช้ือ (infection) จะทาใหแ้ ผลหายชา้ และอาจมีการแพร่กระจายออกรอบ ๆ แผลทาให้
เน้ือเยอ่ื รอบแผลเกิดการอกั สบ หรือลุกลามลงลึกจนทาใหก้ ระดูกอกั เสบ (osteomyelitis) หรือติด
เช้ือเขา้ กระแสลือด และถา้ เกิดติดเช้ือข้ึนตอ้ งรีบรักษาทนั ที โดยอธิบายใหผ้ ปู้ ่ วยหรือญาติทราบ
ลกั ษณะการติตเช้ือ เพอื่ สามารถใหแ้ พทยห์ รือพยาบาลทราบและเมื่อพบส่ิงผดิ ปกติ เช่น แผลกด
ทบั มีขนาดใหญ่ข้ึนและลึกมากข้ึน มีสารของเหลวไหลออกจากแผลเพิ่มมากข้ึน แผลไม่มีอาการ
บ่งบอกวา่ จะหายภายใน 2 4 สปั ดาหห์ รือตรวจพบอาการแสดงของการติดเช้ือ ลกั ษณะของการ
ติดเช้ือคือมีสารของเหลวสีเขียวหรือเหลืองข้นั มีกลิ่นเหมน็ (foul order)แผลเป็นวงแดงหรือ
ผวิ หนงั รอบแผลอุ่น เมื่อกดรอบแผลจะนุ่ม มีการบวมของแผลเป็นตน้ อาการรุนแรงท่ีอาจพบคือ
อ่อนแรง มีใชห้ รืออาการหนาวสัน่ มีอาการสบั สน หรือกระสบั กระส่าย หรืออตั ราการเตน้ หวั ใจ
เร็วข้ึน เป็นตนั

ระบบต่อมไร้ท่อ

โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่

1. โรคเบาหวานชนิดพ่ึงอินซูลิน (Insulin dependent diabetes) หรือโรคเบาหวานในเดก็
ผปู้ ่ วยท่ีเป็นโรคเบาหวานชนิดน้ีเป็นผทู้ ่ีร่างกายขาดอินซูลินโดยสิ้นเชิง เนื่องจากตบั อ่อนไม่
สามารถสร้างอินซูลินได้ อาจเน่ืองมาจากเบตา้ เซลลใ์ นตบั อ่อนมีนอ้ ยหรือไม่มีเลย พบในผปู้ ่ วย
อายไุ ม่เกิน 30 ปี ท้งั ชายและหญิง อาการของโรคมกั เป็นรุนแรง ส่วนใหญ่มีรูปร่างผอม น้าหนกั
ตวั ลดลงอยา่ งรวดเร็ว (บุญทิพย์ สิริธรังศรี, 2539)

2. โรคเบาหวานชนิดไม่พ่งึ อินซูลิน (Non - insulin dependent diabetes) มกั พบในคนอายุ
มากกวา่ 40 ปี ข้ึนไป เพศหญิงเป็นมากกวา่ เพศชาย มกั พบในคนที่อว้ นมาก นอกจากน้ีกรรมพนั ธุ์
ยงั มีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การเกิดโรคอยา่ งมาก ผทู้ ี่มีประวตั ิสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะญาติสาย
ตรงเป็นเบาหวาน มีแนวโนม้ ท่ีจะเป็นเบาหวานชนิดน้ีไดม้ าก อาการที่เกิดข้ึนมีไดต้ ้งั แต่ไม่
แสดงอาการ แต่ตรวจพบโดยบงั เอิญหรือมีอาการแบบค่อยเป็นค่อยไปจนถึงข้นั แสดงอาการ
รุนแรง ตบั อ่อนของผปู้ ่ วยเบาหวานประเภทน้ียงั สามารถผลิตอินซูลินไดต้ ามปกติหรืออาจจะ
นอ้ ยหรืออาจจะมากกวา่ ปกติได้ แต่อินซูลินท่ีมีอยอู่ อกฤทธ์ิไดไ้ ม่ดีจึงไม่ถึงกบั ขาดอินซูลินไป
โดยสิ้นเชิงเหมือนคนท่ีเป็นเบาหวานประเภทที่ 1 ผปู้ ่ วยจึงไม่เกิดภาวะกรดคงั่ ในเลือดจากสารคี
โตน (เทพ หิมะทองคา และคณะ, 2544) ซ่ึงความแตกต่างของเบาหวานท้งั 2 ประเภท

พยาธสิ ภาพของเบาหวาน

การเป็นเบาหวานทาใหเ้ กิดความผดิ ปกติ โดยมีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนที่หลอดเลือดทวั่
ร่างกายเนื่องจากระดบั น้าตาลในเลือดสูงทาใหม้ ีน้าตาลไปเกาะที่เมด็ เลือดแดง ส่งผลใหม้ ีการ
ปลดปล่อยออกซิเจนจากเมด็ เลือดแดงสู่เน้ือเยอ่ื ลดลง เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดง
ตามมาท้งั หลอดเลือดขนาดใหญ่และหลอดเลือดขนาดเลก็ โดยทาใหเ้ ยอ่ื บุหลอดเลือดช้นั ใน
ไดร้ ับอนั ตราย ต่อจากน้นั จะมีการซ่อมแซมเกิดข้ึน คือมีการรวมตวั ของเกลด็ เลือดเพื่ออุดรอยท่ี

ไดร้ ับอนั ตรายน้นั ทาใหห้ ลอดเลือดเกิดการอุดตนั โป่ งพองหรือสร้างหลอดเลือดที่ไม่แขง็ แรง
ข้ึนมาใหม่ (จินทนา สดแสงจนั ทร์, 2548. หนา้ 5 อา้ งอิงจาก Lemone & Burke, 1996)

การวนิ ิจฉัยโรคเบาหวาน

องคก์ ารอนามยั โลกไดป้ ระกาศเกณฑข์ องการวนิ ิจฉยั เบาหวานในปี พ.ศ.2541 โดยมี
รายละเอียดดงั น้ี

1. มีอาการแสดงของเบาหวาน ร่วมกบั ค่าของน้าตาลในเลือดเวลาใดกไ็ ด้ มากกวา่ หรือ
เท่ากบั 200 mg/dl

2. มีน้าตาลในเลือดหลงั งดอาหารและน้าทางปาก (Fasting blood sugar) เป็นเวลา 8 ช.
ม. โดยมีค่าน้าตาลในเลือดมากกวา่ หรือเท่ากบั 126 mg/dl

3. การตรวจ Glucose tolerance test มีระดบั น้าตาลในชว่ั โมงที่ 2 มากกวา่ หรือเท่ากบั
200 mg/dl

ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน ทาใหเ้ กิดภาวะแทรกซอ้ นท่ีก่อใหเ้ กิดการตายไดส้ ูง และยงั ทาใหเ้ กิดภาวะ
ต่าง ๆ ท่ีสาคญั คือ (จินทนา สดแสงจนั ทร์, 2548. หนา้ 6 อา้ งอิงจาก Black& Matassarin-
Jacob,1993 ; Lemone & Burke,1996)

1. ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลนั ไดแ้ ก่

1.1 ภาวะน้าตาลในเลือดต่า (Hypoglycemia) โดยจะพบวา่ น้าตาลในเลือดมกั ต่ากวา่
60 mg/dl มกั พบในผทู้ ี่กาลงั รักษาโดยใชอ้ ินซูลินหรือยาเมด็ ในขณะที่ไดร้ ับยาตามปกติ แต่ใน
ผปู้ ่ วยที่ออกกาลงั กายมากผดิ ปกติหรือรับประทานอาหารไม่ไดห้ รือไดร้ ับยาบางชนิด ดื่มสุรา
มาก ผปู้ ่ วยจะมีอาการตวั เยน็ ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย เหง่ือออก ใจสน่ั เป็นลม วงิ เวยี น มึน
งง ตาพร่ามวั ถา้ ไม่ไดร้ ับน้าตาลทดแทนจะมีระดบั ความรู้สึกตวั ลดลงและหมดสติในที่สุด

1.2 ภาวะน้าตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) โดยจะพบใน 2 ลกั ษณะ คือ

1.2.1 ภาวะกรดในเลือดสูง (Diabetic ketoacidosis : DKA) มกั พบในผปู้ ่ วย
เบาหวานชนิดพ่ึงอินซูลิน หรือในรายที่มีอินซูลินนอ้ ยมาก มีการด้ือต่ออินซูลิน ภาวะเครียด มี
ไข้ ติดเช้ือ โดยจะมีอินซูลินนอ้ ยมาก และมีการหลง่ั ฮอร์โมนกลูคากอน คอร์ติซอล แคทีโคลา
มีน ซ่ึงออกฤทธ์ิตา้ นการทางานของอินซูลินทาใหร้ ่างกายไม่สามารถใชก้ ลูโคสเป็นพลงั งานได้
ตามปกติ ร่างกายจึงมีการสลายไขมนั ออกมาใชเ้ ป็นพลงั งานทดแทน จึงเกิดสารคีโตนมากข้ึน
ทาใหม้ ีภาวะเป็นกรดในเลือดสูงข้ึน ผปู้ ่ วยมีอาการหายใจหอบลึก มีกลิ่นอะซิโตน ระดบั
น้าตาลในเลือดจะสูงมากกวา่ 250 mg/dl มีโซเดียมไบคาร์บอเนตต่ากวา่ 15 mEq/L และมีสารคี
โตนในปัสสาวะ มีคล่ืนไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย ปัสสาวะมาก กระหายน้า ผวิ หนงั แหง้ ปัสสาวะ
มากข้ึนเกิดการขาดน้าถา้ ไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขผปู้ ่ วยจะ ซึม สบั สน หมดสติลงและอาจจะเสียชีวติ
ได้

1.2.2 ภาวะน้าตาลในเลือดสูงโดยไม่มีกรด (Hyperglycemic Hyperosmolar Non-Ketotic
Coma:HHNC) มกั พบในผปู้ ่ วยชนิดไม่พ่ึงอินซูลิน ร่างกายยงั คงมีอินซูลินพอ ไม่เกิดการสลาย
ของไขมนั จนถึงข้นั ภาวะกรดในเลือดสูง แต่มีอินซูลินไม่เพียงพอในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
ทาใหม้ ีน้าตาลในเลือดสูงมาก มีอาการซึม สบั สน ไม่รู้สึกตวั และมีอาการขาดน้าอยา่ งมาก เช่น
ผวิ หนงั แหง้ ตาลึก ไม่มีอาการคลื่นไสอ้ าเจียนเหมือนภาวะกรดในเลือดสูง แต่อาจพบน้าตาลใน
เลือดสูงกวา่ 400 mg/dl และมีออสโมลาลิตีในพลาสมาสูงกวา่ 315 มิลลิออสโม

2. ภาวะแทรกซ้อนแบบเรื้อรัง ไดแ้ ก่

2.1 ระบบประสาท (Diabetic neuropathy) จะพบวา่ มีการเส่ือมของเส้นประสาทรับ
ความรู้สึก เนื่องจากการทาลาย Axon ของเยอื่ หุม้ เส้นประสาทและมีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
ประสาท ทาใหม้ ีการคง่ั ของซอร์บิทอล (Sorbital) และฟรุกโตส เกิดเซลลป์ ระสาทเส่ือมสภาพ
เกิดการอุดตนั ของหลอดเลือดเลก็ ๆ ทาใหข้ าดออกซิเจนและมีการส่งสัญญาณเขา้ ออกชา้ ไดแ้ ก่
เส้นประสาทท่ีไปเล้ียงกลา้ มเน้ือเทา้ เส้นประสาทอตั โนมตั ิที่ไปเล้ียงต่อมเหง่ือและหลอดเลือด
บริเวณเทา้ อาการที่พบคือ การชาท่ีปลายเทา้ ท้งั สองขา้ ง ปวดแสบปวดร้อน กลา้ มเน้ืออ่อนแรง
การสูญเสียการควบคุมการทางานของกลา้ มเน้ือที่ตอ้ งใชใ้ นการทางานอยา่ งละเอียด นอกจากน้ี
จะพบพยาธิสภาพท่ีเสน้ ประสาทในส่วนของการควบคุมภายในร่างกาย โดยจะพบวา่ มีอาการ

ทอ้ งเดิน การควบคุมการทางานของต่อมเหง่ือผดิ ปกติ ทอ้ งผกู ปัสสาวะคา้ งในกระเพาะปัสสาวะ
หลงั การถ่ายปัสสาวะ และมีความผดิ ปกติของระบบสืบพนั ธุ์

2.2 ภาวะแทรกซอ้ นทางตา (Diabetic retinopathy) จะพบวา่ มีหลอดเลือดที่จอตาเส่ือม
เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดที่จอตา ชกั นาใหเ้ กิดตาบอดในผปู้ ่ วยผใู้ หญ่
นอกจากน้ียงั มีเลนส์ตาขุ่นเป็นตอ้ กระจก ในบางรายอาจเป็นตอ้ หิน ตาพร่ามวั มองไม่เห็น

2.3 ระบบหวั ใจและหลอดเลือด จากความผดิ ปกติของหลอดเลือดใหญ่และขนาดเลก็ ที่
ทาใหห้ ลอดเลือดเกิดการอุดตนั โป่ งพองหรือสร้างหลอดเลือดที่ไม่แขง็ แรงข้ึนมาใหม่ จึงมี
ส่วนสาคญั ในการทาใหเ้ กิดโรคของหลอดเลือดไดแ้ ก่ ความดนั โลหิตสูงข้ึน หลอดเลือดหวั ใจ
ตีบตนั หลอดเลือดท่ีไตผดิ ปกติและหลอดเลือดสมองผดิ ปกติโดยผปู้ ่ วยเบาหวานมีโอกาสเกิด
โรคหลอดเลือดหวั ใจมากกวา่ คนปกติถึง 2 เท่า และเกิดโรคหลอดเลือดสมองมากกวา่ คนปกติ
ถึง 3 เท่า นอกจากน้ียงั พบวา่ ความหนืดของเลือดเพิม่ ข้ึน มีการทางานของเกลด็ เลือดผดิ ปกติ
รวมท้งั มีภาวะเป็นลมเม่ือเปลี่ยนท่าเร็วๆ ไดง้ ่าย (Orthostatic hypotension)

2.4 ภาวะแทรกซอ้ นทางไต (Diabetic nephropathy) พบวา่ มีหลอดเลือดท่ีไตเส่ือมลง มี
เลือดไปเล้ียงไตลดลง การกรองลดลง มีการรั่วของโปรตีนในปัสสาวะ ผปู้ ่ วยมกั มีอาการบวม
ถา้ มีอาการท่ีรุนแรงจะเกิดการคงั่ ของของเสีย ชกั นาใหเ้ กิดภาวะไตวายในท่ีสุด และมีผลตามมา
คือ มีความดนั โลหิตสูงข้ึนจากไตวาย

การควบคุมโรคเบาหวาน

เป้าหมายของการควบคุมโรคเบาหวาน คือ การรักษาระดบั น้าตาลในเลือดของผปู้ ่ วยให้
ใกลเ้ คียงกบั ระดบั คนทวั่ ไป ซ่ึงสามารถทาได้ 3 วธิ ี (ชูจิตร เปล่งวทิ ยา, 2531.) ดงั ต่อไปน้ี

1. การควบคุมอาหาร เป็นเรื่องท่ีสาคญั มากท่ีสุด เนื่องจากโรคเบาหวานเป็นโรคที่มีความ
ผดิ ปกติของการเผาผลาญอาหารคาร์โบไฮเดรต ส่งผลใหร้ ่างกายมีระดบั น้าตาลในเลือดสูงข้ึน
ดงั น้นั จึงเป็นเร่ืองจาเป็นสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวานทุกคน ท้งั เบาหวานชนิดพ่ึงอินซูลินและชนิดไม่
พ่ึงอินซูลิน ที่จะตอ้ งจดั การหรือควบคุมอาหารดว้ ยตนเองซ่ึงจะช่วยใหก้ ารควบคุมระดบั น้าตาล
และช่วยใหก้ ารทาหนา้ ที่ของร่างกายเกี่ยวกบั การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตกลบั คืนสู่ภาวะปกติ

หรือใกลเ้ คียงกบั ปกติมากท่ีสุด ผปู้ ่ วยตอ้ งควบคุมอาหารโดยรับประทานอาหารตรงตามเวลา
ควบคุมน้าหนกั ใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติ อาหารที่ผปู้ ่ วยตอ้ งไดร้ ับคือ คาร์โบไฮเดรต ร้อยละ 50-60
โปรตีนร้อยละ 20 และไขมนั ร้อยละ 30 ตอ้ งจากดั น้าตาลหรืออาหารประเภท แป้ง ผลไมห้ วาน
หรือผลไมแ้ หง้ และควรแบ่งอาหารออกเป็นม้ือๆ ตามเวลาหรืออาจแบ่งอาหารออกเป็น อาหาร
หลกั วนั ละ 3 คร้ัง คือ เชา้ กลางวนั และเยน็ ร่วมกบั อาหารเสริมม้ือเลก็ ๆ ก่อนนอน เพอ่ื ป้องกนั
ภาวะน้าตาลในเลือดต่าในกรณีที่ไดร้ ับยาลดน้าตาลในเลือด นอกจากน้ีการรับประทานอาหาร
ม้ือใหญ่ๆ จานวนคร้ังละมากๆ จะทาใหน้ ้าตาลในเลือดเพิ่มมากกวา่ รับประทานอาหารม้ือเลก็ ๆ
ควรมีการแนะนาใหผ้ ปู้ ่ วยรับประทานอาหารที่มีเส้นใย ซ่ึงสามารถรับประทานไดไ้ ม่จากดั
จานวน ไดแ้ ก่ ผกั ใบเขียวทุกชนิด อาหารพวกน้ีจะทาใหก้ ารดูดซึมน้าตาลชา้ ลงและลดระดบั
น้าตาลในเลือดหลงั อาหารได้ ซ่ึงมีการแนะนาใหผ้ ปู้ ่ วยเบาหวานรับประทานอาหารเส้นใย
จานวน 20-40 กรัม/วนั การควบคุมเบาหวานดว้ ยอาหารน้นั มกั จะใชเ้ กณฑข์ องการควบคุมให้
ระดบั น้าตาลในเลือดไม่สูงกวา่ 140 mg/dl

2. การออกกาลงั กาย เป็นสิ่งท่ีตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งเหมาะสมและสม่าเสมอ โดยสามารถทา
ใหร้ ะดบั น้าตาลลดต่าลงได้ เนื่องจากขณะออกกาลงั กายจะตอ้ งใชพ้ ลงั งานและแหล่งพลงั งานท่ี
สาคญั ท่ีสุดของร่างกายคือ น้าตาล หากออกกาลงั กายเพียงพอร่างกายจะใชน้ ้าตาลในเลือดเพ่อื
เปลี่ยนไปเป็นพลงั งานมากพอท่ีจะลดระดบั น้าตาลในเลือดได้ นอกจากน้ีการออกกาลงั กายทา
ใหเ้ น้ือเยอ่ื ของร่างกายไวต่ออินซูลินมากข้ึน กล่าวคือ อินซูลินปริมาณเท่าเดิมแต่ร่างกายจะ
สามารถใชน้ ้าตาลไดม้ ากข้ึนกวา่ เดิม ทาใหร้ ะดบั น้าตาลในเลือดลดลง การออกกาลงั กายใน
ผปู้ ่ วยเบาหวานควรเป็นการออกกาลงั กายท่ีทาใหก้ ลา้ มเน้ือหลายๆ ส่วนไดเ้ คลื่อนไหวออกแรง
พร้อมๆ กนั และไม่ตอ้ งใชแ้ รงมาก เช่น การเดินเร็ว การวง่ิ เหยาะๆ และการวา่ ยน้า เป็นตน้ การ
ออกกาลงั กายแต่ละคร้ังควรเป็นคร้ังละประมาณ 20-45 นาที อยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 คร้ัง (เทพ
หิมะทองคาและคณะ, 2544)

3. การใชย้ า ซ่ึงอาจใหเ้ ป็นยารับประทานหรือยาฉีด แลว้ แต่อาการของผปู้ ่ วย โดยยา
รับประทาน จะออกฤทธ์ิกระตุน้ ใหม้ ีการหลง่ั อินซูลินมากข้ึน ทาใหม้ ีการใชก้ ลูโคสมากข้ึนหรือ
มีฤทธ์ิยบั ย้งั การสร้างน้าตาลจากขบวนการ Gluconeogenesis ลดการดูดซึมของน้าตาล ในขณะที่
ยาฉีดเป็นการใหเ้ พอ่ื ทดแทนอินซูลินท่ีขาดไป เน่ืองจากตบั อ่อนผลิตอินซูลินไม่ได้ (วทิ ยา ศรีดา

มา, 2541) เน่ืองจากโรคเบาหวานที่กล่าวมาท้งั สองชนิดมีความแตกต่างกนั ดงั น้นั การรักษาจะ
แตกต่างกนั ในเบาหวานชนิดพ่ึงอินซูลิน การใชย้ ารับประทานจะไม่ไดผ้ ลเนื่องจากตบั อ่อนไม่
สามารถสร้างอินซูลินไดจ้ ึงตอ้ งใชย้ าฉีด ในขณะที่เบาหวานชนิดไม่พ่ึงอินซูลินถา้ เป็นใน
ระยะแรก การควบคุมดว้ ยอาหารอยา่ งเดียวอาจไดผ้ ลในการรักษา

หลกั การพยาบาลผู้ป่ วยโรคเบาหวาน

การจดั กิจกรรมสาหรับส่งเสริมการดูแลตนเองในผปู้ ่ วยเบาหวาน พยาบาลควรใชว้ ธิ ีการ
พยาบาลหลายวธิ ีผสมผสานกนั ตามความเหมาะสม จากการศึกษาของภาวนา กีรติยตุ วงศ์
(2544) ในการส่งเสริมการดูแลผปู้ ่ วยเบาหวาน พบวธิ ีการช่วยเหลือ 10 วธิ ี ประกอบดว้ ย

1. การใหข้ อ้ มูลและความรู้เก่ียวกบั โรคเบาหวานอยา่ งต่อเน่ืองและสม่าเสมอ ซ่ึงเป็นส่ิง
สาคญั สาหรับผปู้ ่ วยเบาหวาน เพื่อใชใ้ นการคิดและวางแผนการปฏิบตั ิกิจกรรมการดูแลตนเอง
พยาบาลควรประเมินผปู้ ่ วยก่อนวา่ มีขอ้ มูลและความรู้เก่ียวกบั โรคเบาหวานมากนอ้ ยเพยี งใด มี
เร่ืองใดท่ีผปู้ ่ วยทราบเป็นอยา่ งดีแลว้ มีเร่ืองใดที่ผูป้ ่ วยทราบแต่ยงั ไม่สมบูรณ์ มีเร่ืองใดท่ีผปู้ ่ วย
เขา้ ใจผดิ และมีเรื่องใดที่ผปู้ ่ วยไม่ทราบ เพอ่ื นามาวางแผนและหาวธิ ีการที่เหมาะสมในการให้
ขอ้ มูลและความรู้แก่ผปู้ ่ วยในแต่ละเรื่องต่อไป

2. สร้างส่ิงแวดลอ้ มที่เอ้ืออานวยใหผ้ ปู้ ่ วยเกิดการเรียนรู้เก่ียวกบั การดูแลตนเองเรื่อง
โรคเบาหวาน ซ่ึงประกอบดว้ ย

2.1 ส่ิงแวดลอ้ มในการใหบ้ ริการ พยาบาลควรจดั บริการใหล้ กั ษณะท่ีส่งเสริมให้
ผปู้ ่ วยมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผปู้ ่ วย เคารพในสิทธิความเป็น
บุคคลของผปู้ ่ วยและยอมรับความคิดเห็นของผปู้ ่ วยซ่ึงบางคร้ังอาจมีความแตกต่างกบั พยาบาล
สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ร่วมกนั มีความเป็นกนั เอง พยาบาลควรมีท่าทีที่เป็นมิตร ยนิ ดีรับฟัง
ประสบการณ์ความเจบ็ ป่ วยของผปู้ ่ วยเพือ่ ช่วยใหเ้ กิดการเรียนรู้และสามารถนาไปใชใ้ นการวาง
แผนการพยาบาลโดยจดั ใหผ้ ปู้ ่ วยที่มีประสบการณ์ต่างกนั ไดม้ ีโอกาส

มาแลกเปล่ียนความรู้และความคิดเห็นร่วมกนั

2.2 สิ่งแวดลอ้ มในดา้ นส่ือ ช่วยใหผ้ ปู้ ่ วยเกิดการเรียนรู้ในการดูแลตนเองเร่ือง
โรคเบาหวานได้ ไดแ้ ก่ แผน่ พบั เอกสารเก่ียวกบั โรคเบาหวาน เป็นตน้ โดยมีพยาบาลเป็นผู้
อานวยความสะดวกและอธิบายเพม่ิ เติมในสิ่งท่ีผปู้ ่ วยสงสยั

3. เป็นท่ีปรึกษาและใหค้ วามมน่ั ใจกบั ผปู้ ่ วยอยา่ งต่อเน่ือง พยาบาลควรใหค้ วามสนใจ
และติดตามการปฏิบตั ิกิจกรรมการดูแลตนเองของผปู้ ่ วยในระยะที่เริ่มปฏิบตั ิเพ่ือช่วยเป็นท่ี
ปรึกษาใหแ้ รงสนบั สนุนหรือช่วยปรับแกก้ ิจกรรมการดูแลตนเองใหม้ ีความเหมาะสมมากข้ึน

4. ใหก้ าลงั ใจอยา่ งสม่าเสมอ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเร่ืองอาหาร การออกกาลงั
กาย การดูแลเทา้ และการใชย้ า ผปู้ ่ วยตอ้ งใชท้ ้งั พลงั กายและพลงั ใจท่ีจะทาใหพ้ ฤติกรรมการดูแล
ตนเองน้นั ประสบผลสาเร็จอยา่ งต่อเนื่อง พยาบาลควรพดู ใหก้ าลงั ใจ ให้

ต่อมไทรอยด์ทางานเกนิ (Hyperthyroidism)

พิษจากไทรอยด/์ คอพอกเป็นพษิ (Thyrotoxicosis/Toxic goiter)

เป็นการหลง่ั ฮอร์โมนไทรอยดม์ ากเกินปกติของต่อมไทรอยด์ ทาใหเ้ กิดอาการเจบ็ ป่ วยข้ึนจาก
การเผาผลาญสูงเกินกวา่ ปกติของอวยั วะต่าง ๆ ทว่ั ร่างกาย ภาวะดงั กล่าวเรียกวา่ ภาวะพิษจาก
ไทรอยด(์ thyrotoxicosis) ซ่ึงอาจเกิดจากภาวะอ่ืน ๆ นอกเหนือจากภาวะต่อมไทยรอดยท์ างาน
เกินกไ็ ดต้ ่อมไทรอยดท์ างานเกิน

ผทู้ ่ีมีอาการ คอพอกเป็นพษิ (toxic goiter) จากการหลงั่ ฮอร์โมนไทรอยดม์ ากเกินและเกิดภาวะ
พษิ จากไทรอยด์ ซ่ึงเป็นความผดิ ปกติท่ีพบไดบ้ ่อย พบไดใ้ นผหู้ ญิงมากกวา่ ผชู้ าย

สาเหตุภาวะพษิ จากไทรอยด์ทพ่ี บได้บ่อย คือ

1. โรคเกรฟส์(Graves’ disease) พบในคนอายุ 20-40 ปี พบในผหู้ ญิงมากกวา่ ผชู้ าย และเป็น
สาเหตุท่ีพบไดบ้ ่อยที่สุด โรคน้ีจดั เป็นโรคภูมิตา้ นตนเองชนิดหน่ึง มกั มีต่อมไทรอยดโ์ ตแบบ
กระจายและมีอาการตาโปนร่วมดว้ ย การสร้างสารภูมิตา้ นทานต่อไทรอยดจ์ ะมีอยหู่ ลายชนิด ท่ี
สาคญั คือ thyroid stimulating immunoglobulin(TSI) ซ่ึงจะไปจบั กบั ตวั รับฮอร์โมนกระตุน้
ไทรอยด(์ TSH) ท่ีต่อมไทรอยดแ์ ละกระตุน้ ใหห้ ลงั่ ฮอร์โมนออกมาซ่ึงอยนู่ อกเหนือการควบคุม
ของต่อมใตส้ มองจนทาใหม้ ีฮอร์โมนไทรอยดม์ ากเกินไป จึงเกิดภาวะพษิ จากไทรอยด์ ยงั ไม่

ทราบแน่ชดั ของสาเหตุการเกิดโรคน้ี แต่มกั พบวา่ มีความสมั พนั ธ์กบั ปัจจยั ทางเพศและ
กรรมพนั ธุ์ และยงั พบวา่ ส่ิงที่กระตุน้ ใหโ้ รคกาเริบไดเ้ ช่นกนั กค็ ือ ความเครียด โรคน้ีมกั มีอาการ
แบบเร้ือรัง อาจกาเริบข้ึนใหม่ไดแ้ มจ้ ะมีระยะสงบหรือหายจากอาการป่ วยไปแลว้ กต็ าม พบวา่ มี
ความเส่ียงต่อการเกิดโรคภูมิตา้ นตนเองอื่นๆ ไดใ้ นผทู้ ่ีเป็นโรคเกรฟส์ เช่น ไมแอสทีเนียเกรวสิ
เบาหวานชนิดท่ี 1 โรคแอดดิสนั ผมร่วงเป็นหยอ่ ม ภาวะอมั พาตคร้ังคราวจากโพแทสเซียมใน
เลือดต่า เป็นตน้

2. คอพอกเป็นพษิ ชนิดหลายป่ ุม(toxic multinodular goiter) เรียกวา่ โรคพลมั เมอร์(Plummer’s
disease) มีอาการคอพอกลกั ษณะโตเป็นป่ ุมหลายป่ ุม การหลง่ั ฮอร์โมนไทรอยดอ์ ยนู่ อกเหนือ
การควบคุมของต่อมใตส้ มอง มกั พบไดใ้ นคนอายมุ ากกวา่ 40 ปี

3. เน้ืองอกไทรอยดช์ นิดเป็นพษิ (toxic thyroid adenoma) ต่อมไทรอยมีลกั ษณะโตเป็นกอ้ นเน้ือ
งอกเดี่ยว ขนาด 2.5 ซม.ข้นึ ไป การหลงั่ ฮอร์โมนไทรอยดอ์ ยนู่ อกเหนือการควบคุมของต่อมใต้
สมอง ซ่ึงภาวะน้ีมกั พบไดน้ อ้ ยกวา่ 2 ชนิดขา้ งตน้

4. ต่อมไทรอยดอ์ กั เสบ เน้ือเยอ่ื ที่อกั เสบจะปล่อยฮอร์โมนไทรอยดท์ ่ีสะสมอยใู่ นต่อมไทรอยด์
ออกมาในกระแสเลือดมากกวา่ ปกติในระยะแรก ทาใหเ้ กิดไทรอยดเ์ ป็นพษิ มกั จะมีอาการอยชู่ วั่
ระยะหน่ึง และอาจมีภาวะขาดไทรอยดอ์ ยา่ งถาวรตามมาในระยะหลงั

5. สาเหตุท่ีพบไดน้ อ้ ยอื่นๆ เช่น

-เน้ืองอกต่อมใตส้ มอง ทาใหม้ ีการหลงั่ ฮอร์โมนกระตุน้ ไทรอยดม์ ากเกิน

-เน้ืองอกรังไข่ชนิด dermis cyst ทาใหเ้ กิดภาวะพิษจากไทรอยดจ์ ากการท่ีมีเน้ือเยอื่ ไทรอยดห์ ลงั่
ฮอร์โมนไทรอยดอ์ อกมาในกระแสเลือด

-ครรภไ์ ข่ปลาอุก สามารถกระตุน้ ใหต้ ่อมไทรอยดท์ างานเกินไดจ้ ากการหลงั่ ฮอร์โมนเอชซีจี
(HCG) ออกมาจานวนมาก

-การใชฮ้ อร์โมนไทรอยด(์ ไทร็อกซีน) ในการบาบดั โรคในขนาดสูง เช่น ภาวะขาดไทรอยด์ ป่ ุม
ไทรอยด์ เป็นตน้

-ผลขา้ งเคียงจากยา ยาตา้ นหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ ไดแ้ ก่ อะมิโอดาโรน(amiodarone) ซ่ึงมีส่วนผสม
ของไอโอดีน อาจกระตุน้ ใหต้ ่อมไทรอยดท์ างานมากข้ึนถา้ ใชใ้ นขนาดสูง และอาจทาใหเ้ กิดการ
อกั เสบของต่อมไทรอยดจ์ นทาใหเ้ กิดภาวะพิษจากไทรอยดไ์ ด้

-การไดร้ ับสารไอโอดีนมากเกินไป ซ่ึงอาจมีอยใู่ นยาหรืออาหารที่บริโภค ซ่ึงจะเป็นตวั กระตุน้
ใหต้ ่อมไทรอยดท์ างานเกินได้

Hypothyroidism

ต่อมไทรอยดจ์ ะสร้างฮอร์โมนสาคญั 3 ชนิด คือ ไทรอกซีน (Thyroxine), ไตรไอโอโด
ไทโรนีน (Triiodothyronine) และแคลซิโทนิน (Calcitonin) ซ่ึงเป็นฮอร์โมนที่มีความสาคญั นอ้ ย
กวา่ ฮอร์โมนไทรอกซีนและฮอร์โมนไตรไอโอโดไทโรนีน ดงั น้นั โดยทว่ั ไปเมื่อกล่าวถึง
ไทรอยดฮ์ อร์โมนจึงมกั หมายถึงเฉพาะฮอร์โมน 2 ชนิดน้ี เพราะฮอร์โมนท้งั 2 ชนิดน้ีจะมีหนา้ ที่
สาคญั มาก คือ ควบคุมดูแลการใชพ้ ลงั งานท้งั หมดจากอาหารและจากออกซิเจน หรือท่ีเรียกวา่ เม
ตาบอลิซึม (Metabolism) ของเซลลต์ ่าง ๆ เพ่อื การเจริญเติบโต เพื่อการทางาน และเพอื่ การ
ซ่อมแซมที่บาดเจบ็ สึกหรอ และยงั ช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกายดว้ ย ส่วนฮอร์โมนแคลซิ
โทนินน้นั จะมีหนา้ ท่ีแค่ช่วยควบคุมการทางานของเกลือแร่แคลเซียมในร่างกายใหส้ มดุล

สาเหตุของไฮโปไทรอยด์

หากต่อมไทรอยดผ์ ลิตฮอร์โมนไทรอยดอ์ อกมาไดไ้ ม่เพียงพอจะก่อใหเ้ กิดภาวะขาด
ไทรอยดไ์ ด้ โดยอาจเกิดไดจ้ ากหลายสาเหตุดงั ต่อไปน้ี

โรคภูมิคุม้ ตา้ นตนเอง (Autoimmune disease) เป็นโรคที่ระบบภูมิคุม้ กนั ในร่างกายผลิต
แอนติบอด้ีข้ึนมาทาลายเน้ือเยอื่ ภายในร่างกายตวั เอง ที่พบไดบ้ ่อยท่ีสุดคือ “โรคต่อมไทรอยด์
อกั เสบฮาชิโมโต” (Hashimoto's thyroiditis) เมื่อต่อมไทรอยดอ์ กั เสบและผลิตแอนติบอด้ีมา
ทาลายเน้ือเยอื่ ตวั เอง ยอ่ มส่งผลต่อการทางานของต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยดจ์ ึงผลิตฮอร์โมน
ฮอร์โมนไทรอยดอ์ อกมาไดไ้ ม่เพยี งพอและเกิดภาวะขาดไทรอยดต์ ามมา

การผา่ ตดั ต่อมไทรอยด์ การผา่ ตดั ส่วนต่าง ๆ เกือบทุกส่วนของต่อมไทรอยดอ์ อกไปจะ
ทาใหร้ ่างกายหยดุ การผลิตฮอร์โมนหรือผลิตไดน้ อ้ ยลง ผปู้ ่ วยจึงจาเป็นตอ้ งไดร้ ับฮอร์โมน
ไทรอยดไ์ ปตลอดชีวติ

การฉายรังสีท่ีบริเวณลาคอ ผปู้ ่ วยโรคมะเร็งบางชนิด (เช่น มะเร็งต่อมน้าเหลือง) อาจ
จาเป็นตอ้ งเขา้ รับการรักษาดว้ ยการฉายรังสีที่บริเวณลาคอหรือศรี ษะ แลว้ รังสีที่ฉายน้นั ไป
ทาลายเซลลภ์ ายในต่อมไทรอยด์ จึงทาใหไ้ ม่สามารถผลิตฮอร์โมนออกมาไดเ้ พียงพอ

การรักษาภาวะต่อมไทรอยดท์ างานเกิน (Hyperthyroidism) ซ่ึงเป็นภาวะท่ีร่างกายผลิต
ฮอร์โมนไทรอยดม์ ากเกินไป ทาใหผ้ ปู้ ่ วยตอ้ งกินยาตา้ นไทรอยด์ (Anti-thyroid drug) เพ่ือลด
และปรับระดบั ฮอร์โมนดงั กล่าวใหเ้ ป็นปกติ และอาจไดร้ ับการรักษาดว้ ยการกินน้าแร่รังสี
ไอโอดีน/สารไอโอดีนกมั มนั ตรังสี (Radioactive iodine) ในรายท่ีไม่ตอบสนองต่อยาตา้ น
ไทรอยด์ มีอาการกาเริบบ่อย ไม่สะดวกในการใชย้ าอยา่ งต่อเนื่องหรือมีอาการแพย้ า ซ่ึงเหล่าน้ีก็
จะนาไปสู่ภาวะขาดไทรอยดไ์ ด้

ผลขา้ งเคียงจากยาบางชนิด ยาบางตวั ที่ใชใ้ นการรักษาโรคเก่ียวกบั หวั ใจ ภาวะทางจิต
โรคมะเร็ง หรือโรคต่อมไทรอยดเ์ ป็นพษิ เช่น อะมิโอดาโรน (Amiodarone), ลิเทียม (Lithium),
อินเตอร์ลูคีน 2 (Interleukin-2), อินเตอร์เฟอรอน (Interferon), โพแทสเซียมเปอร์คลอเรท
(Potassium perchlorate), ยาหรือสีที่ใชฉ้ ีดเขา้ หลอดเลือดดาในการตรวจวนิ ิจฉยั โรคดว้ ยเอกซเรย์
คอมพิวเตอร์ เป็นตน้ บางคร้ังยาเหล่าน้ีอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์
ได้

ไฮโปไทรอยดท์ ี่เกิดจากความผดิ ปกติของต่อมใตส้ มอง (Pituitary gland) และสมอง
ส่วนไฮโปทาลามสั (Hypothalamus) ที่เรียกวา่ “ภาวะขาดไทรอยดฮ์ อร์โมนทุติยภูมิ” (Secondary
hypothyroidism) กม็ ีสาเหตุการเกิดไดห้ ลากหลายสาเหตุเช่นกนั เช่น โรคชีแฮน (Sheehan's
syndrome), เน้ืองอกสมอง, เน้ืองอกต่อมใตส้ มอง, การผา่ ตดั ต่อมใตส้ มอง (เช่น การผา่ ตดั เพ่อื
รักษาโรคเน้ืองอกต่อมใตส้ มอง), การฉายรังสีรักษาโรคเน้ืองอกต่อมใตส้ มอง, การมีเลือดออก
ในต่อมใตส้ มองจากต่อมใตส้ มองไดร้ ับอุบตั ิเหตุ (อุบตั ิเหตุท่ีเกิดในส่วนของศีรษะ), โรคหรือ

อุบตั ิเหตุของสมองที่ส่งผลถึงการทางานของสมองส่วนไฮโปทาลามสั (เช่น โรคเน้ืองอกและ
มะเร็งสมอง) เป็นตน้

อาการของไฮโปไทรอยด์

อาการท่ีพบไดบ้ ่อย ไดแ้ ก่ อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เฉ่ือยชา ทางานเชื่องชา้ คิดชา้
ขาดสมาธิ ซึมเศร้า ผมร่วง ผวิ หนงั หยาบแหง้ เลบ็ ดา้ น เปราะ ฉีก แตก ง่าย ขนคิ้วบางโดยเฉพาะ
ตรงส่วนปลาย ๆ ของคิ้ว กลา้ มเน้ือเป็นตะคริว ปวดเม่ือยกลา้ มเน้ือ ลาไส้มกั จะเคล่ือนไหวชา้ ทา
ใหม้ ีอาการทอ้ งผกู เป็นประจา และเน่ืองจากร่างกายทางานเช่ืองชา้ จึงมีการใชพ้ ลงั งานนอ้ ย ผปู้ ่ วย
จึงมกั มีรูปร่างอว้ นข้ึน น้าหนกั ตวั ข้ึน ท้งั ๆ ที่กินไม่มาก และจะรู้สึกหนาวง่ายกวา่ คนปกติ (จึง
ชอบอยใู่ นอากาศร้อนมากกวา่ อากาศเยน็ ) บางรายอาจมีอาการคอพอก (คอโต) ร่วมดว้ ย

อาการที่พบไดน้ อ้ ย ไดแ้ ก่ ประจาเดือนมามากและนานหรือประจาเดือนไม่มา, เสียงแหบ, หูตึง,
ความตอ้ งการทางเพศลดลงหรือไม่มีความรู้สึกทางเพศ, มีบุตรยาก, เป็นโรคเส้นประสาทถูกกด
ทบั ท่ีขอ้ มือ (ทาใหร้ ู้สึกเจบ็ หรือชาท่ีมือ), หลงลืมหรือความคิดสบั สน (ในผปู้ ่ วยสูงอาย)ุ

Hyperparathyroidism

อาการของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

ผปู้ ่ วย Hyperparathyroidism บางคนอาจไม่มีอาการใด ๆ เกิดข้ึน หรืออาจมีอาการเพียง
เลก็ นอ้ ย เช่น เม่ือยลา้ อ่อนเพลีย ไม่มีสมาธิ กระหายน้าและปัสสาวะบ่อย ความอยากอาหาร
ลดลง กลา้ มเน้ืออ่อนแรง ทอ้ งผกู หรือมีภาวะซึมเศร้า เป็นตน้

สาเหตุของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

ต่อมพาราไทรอยดม์ ีหนา้ ท่ีผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยดอ์ อกมาเพอื่ รักษาสมดุลของ
แคลเซียมในร่างกาย เม่ือมีระดบั แคลเซียมในเลือดต่า ร่างกายจะหลง่ั ฮอร์โมนพาราไทรอยด์
ออกมามากข้ึน เพื่อช่วยเพ่ิมการปล่อยแคลเซียมออกดว้ ยการสลายกระดูกและเพมิ่ ปริมาณการดูด
ซึมแคลเซียมท่ีไตและลาไส้ จึงส่งผลใหม้ ีระดบั แคลเซียมในเลือดสูงข้ึน แต่หากมีระดบั
แคลเซียมในเลือดต่ากวา่ ปกติ ร่างกายกจ็ ะลดการหลงั่ ฮอร์โมนพาราไทรอยดล์ ง เมื่อปริมาณ
แคลเซียมอยใู่ นระดบั สมดุลแลว้ ฮอร์โมนพาราไทรอยดก์ จ็ ะกลบั มามีระดบั ปกติ

การวนิ ิจฉัยฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

โดยปกติแพทยจ์ ะวนิ ิจฉยั ภาวะ Hyperparathyroidism ไดจ้ ากการตรวจเลือด โดยจะ
ตรวจหาปริมาณฮอร์โมนพาราไทรอยด์ ระดบั แคลเซียม และระดบั ฟอสเฟต หากพบวา่ มี
แคลเซียมสูง แพทยอ์ าจส่งตรวจเพ่ิมเติมเพื่อใหท้ ราบวา่ เกิดจากภาวะน้ีจริงหรือไม่ ดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ
เช่น

การตรวจความหนาแน่นของกระดูก

โดยนิยมใชเ้ ครื่องตรวจความหนาแน่นมวลกระดูกแบบ DXA Scan เพือ่ วดั ปริมาณแคลเซียม
และแร่ธาตุอื่น ๆ ในกระดูก

การตรวจปัสสาวะ

เป็นการเกบ็ ตวั อยา่ งปัสสาวะตลอด 24 ชวั่ โมง เพอื่ ช่วยใหท้ ราบประสิทธิภาพการทางานของไต
และปริมาณแคลเซียมที่ถูกขบั ออกมาทางปัสสาวะ ซ่ึงจะช่วยใหแ้ พทยร์ ะบุความรุนแรงของ
อาการ Hyperparathyroidism แต่หากผลช้ีวา่ มีปริมาณแคลเซียมในปัสสาวะต่า ผปู้ ่ วยกอ็ าจไม่
จาเป็นตอ้ งเขา้ รับการรักษา

การตรวจภาพถ่าย

แพทยอ์ าจตรวจร่างกายดว้ ยภาพถ่าย เช่น การเอกซ์เรย์ การอลั ตราซาวด์ หรือการทาซีทีสแกน
เป็นตน้ เพื่อตรวจสอบช่องทอ้ ง กระดูกสันหลงั และตรวจหาความผดิ ปกติของไต ท้งั ยงั ช่วย
ตรวจหากอ้ นน่ิวในไตอีกดว้ ย

การรักษาฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

ผปู้ ่ วยอาจไม่จาเป็นตอ้ งเขา้ รับการรักษา หากไม่มีอาการรุนแรง มีปริมาณแคลเซียม
สูงข้ึนเพยี งเลก็ นอ้ ย ไตยงั ทางานเป็นปกติ ไม่เกิดกอ้ นน่ิวในไต และความหนาแน่นของกระดูก
ยงั อยใู่ นระดบั ปกติ แต่แพทยอ์ าจนดั ตรวจติดตามอาการเพือ่ วดั ปริมาณแคลเซียมในเลือดและ
ตรวจความหนาแน่นของกระดูกเป็นระยะ ท้งั น้ี ผปู้ ่ วยควรดูแลตวั เองควบคู่ไปดว้ ย เพ่ือป้องกนั

อาการแยล่ งกวา่ เดิม เช่น ดื่มน้าใหม้ าก ออกกาลงั อยา่ งสม่าเสมอ งดสูบบุหร่ี หมน่ั หาขอ้ มูล
ปริมาณแคลเซียมและวติ ามินดีในอาหารที่ควรรับประทาน เป็นตน้

ยากลุ่มแคลซิมิเมติคส์ อยา่ งยาซินาแคลเซต ซ่ึงจะช่วยยบั ย้งั การผลิตและการหลงั่
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ แต่ยาน้ีอาจมีผลขา้ งเคียงเป็นอาการปวดขอ้ และปวดกลา้ มเน้ือ ทอ้ งเสีย
คลื่นไส้ และติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ

ยากลุ่มบิสฟอสโฟเนตส์ ช่วยป้องกนั การสูญเสียแคลเซียมในกระดูกและช่วยลดความ
เส่ียงในการเกิดโรคกระดูกพรุนจากภาวะ Hyperparathyroidism แต่ยาน้ีอาจทาใหเ้ กิดผลขา้ งเคียง
อยา่ งความดนั โลหิตต่า มีไข้ และอาเจียน

ฮอร์โมนทดแทน จะช่วยรักษาภาวะขาดแคลเซียมในกระดูกของผหู้ ญิงวยั หมด
ประจาเดือนที่มีอาการของโรคกระดูกพรุน แต่วธิ ีน้ีไม่อาจรักษาภาวะหรือโรคอื่น ๆ ท่ีเก่ียวกบั
ต่อมพาราไทรอยดไ์ ด้ และหากใชใ้ นระยะยาวกอ็ าจเส่ียงเกิดโรคมะเร็งและล่ิมเลือด อีกท้งั อาจมี
ผลขา้ งเคียงอยา่ งอาการปวดเตา้ นม วงิ เวยี น และปวดศีรษะดว้ ย

วติ ามินดีและแคลเซียมเสริม สาหรับผปู้ ่ วยที่ขาดแคลเซียมและวติ ามินดี อยา่ งผปู้ ่ วยโรค
ไตวายเร้ือรัง แพทยอ์ าจแนะนาใหใ้ ชว้ ติ ามินดีและแคลเซียมเสริมร่วมกบั การใชย้ าและการฟอก
ไต

การผา่ ตดั

ภาวะแทรกซ้อนของฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

จากการมีระดบั แคลเซียมในเลือดสูงแต่มีระดบั แคลเซียมในกระดูกต่า อาจทาใหผ้ ปู้ ่ วยภาวะน้ี
เกิดโรคกระดูกพรุน ซ่ึงส่งผลใหก้ ระดูกเปราะบางและแตกหกั ไดง้ ่าย ท้งั ยงั อาจส่งผลใหม้ ีระดบั
แคลเซียมในปัสสาวะเพ่ิมมากข้ึนและก่อตวั เป็นกอ้ นนิ่วภายในไต ซ่ึงจะทาใหผ้ ปู้ ่ วยมีอาการปวด
ที่ทางเดินปัสสาวะได้

การป้องกนั ฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง

ภาวะ Hyperparathyroidism เป็นการเจบ็ ป่ วยที่ไม่สามารถป้องกนั ได้ แต่อาจลดความ
เสี่ยงไดด้ ว้ ยการทาตามคาแนะนาต่อไปน้ีสตรีวยั หมดประจาเดือนควรเขา้ รับการตรวจเลือด เพอ่ื
วดั ปริมาณแคลเซียมในเลือดวา่ อยใู่ นเกณฑป์ กติหรือไม่ ผทู้ ่ีมีประวตั ิคนในครอบครัวเป็นโรค
ทางพนั ธุกรรมท่ีส่งผลต่อต่อมพาราไทรอยด์ ควรไปปรึกษาแพทยเ์ พื่อเขา้ รับการตรวจวนิ ิจฉยั
ก่อนตดั สินใจมีบุตร เพอ่ื ลดความเส่ียงในการเกิดภาวะน้ีต่อไป

Hypoparathyroidism

เป็นโรคของต่อม พาราไทรอยด์ เป็นหน่ึงในโรคของระบบต่อมไร้ท่อมนั อยตู่ รง
ดา้ นหนา้ ของคอ (...อยดู่ า้ นหลงั ของต่อมไทรอยด)์ ทาหนา้ ท่ีผลิตฮอร์โมน ท่ีมีชื่อเรียก
parathyroid hormone (PTH) เม่ือต่อม "พาราไทรอยด"์ ไม่สามารถผลิต PTH ไดเ้ พยี งพอกบั
ความตอ้ งการ จะก่อใหเ้ กิดโรค ซ่ึงมีช่ือวา่ Hypoparathyroidism

Causes: ต่อมพาราไทรอยด์ จะช่วยควบคุมการใช้ calcium และกาจดั ออกจากร่างกายไปโดย
อาศยั ฮอร์โมน ช่ือ พาราไทรอยด์ ฮอร์โมน หรือ PTH PTH จะทาหนา้ ที่ช่วยควบคุมระดบั
calcium, phosphorous และVitamin D ที่อยใู่ นกระแสเลือด และในกระดูก ใหอ้ ยใู่ นระดบั สมดุล
ในกรณีท่ีเกิดโรค hypoparathyroidism ต่อมพาราไทรอยไ์ ม่สามารผลิตฮอร์โมน PTH ได้
เพยี งพอ- ผลิตไดน้ อ้ ยไป จะทาใหร้ ะดบั ของ calcium ในกระแสเลือดลดต่าลง ทาใหร้ ะดบั ของ
phosphorous สูงข้ึน

สาเหตุทที่ าให้เกดิ hypoparathyroidism

ส่วนใหญ่จะเกิดจากต่อมพาราไทรอยดถ์ ูกทลาย ซ่ึงมกั จะเกิดในระหวา่ งทาการผา่ ตดั ในบริเวณ
คอ และศีรษะ

มีเพียงส่วนนอ้ ยที่เกิดจากการรักษาโรคต่อมไทรอยดเ์ ป็นพิษ (hyperthyroidism)ดว้ ยการใชท้ ่ีมี
กมั มนั ตภาพรังสี เช่น radioactive iodine

Symptoms

ปวดทอ้ ง (Abdominal pain) เลก็ เปราะ (Brittle nails) ตอ้ กระจก ผมแหง้ (dry hair) ผวิ หนงั แหง้
(dry,scaly skin) กลา้ มเน้ือป้ัน (muscle cramps) กลา้ มเน้ือกระตุก ( muscle spasm called tetany

หากเกิดกบั กลา้ มเน้ือกล่องเสี่ยง จะทาใหเ้ กิดอาการหายใจลาบาก ปวดกลา้ มเน้ือ ขา เทา้ กระตุก
ลมชกั มีอาการเสียวท่ีบริเวณริมฝี ปาก ขา และเทา้ ฟันไม่ค่อยแขง็ แรง

Exams and Tests:

การตรวจเลือด ดูระดบั calcium และ phosphorous,magnesium และ PTH

ตรวจดูคลื่นหวั ใจจาก EKG จะพบคลื่นผดิ ปกติได้

การตรวจปัสสาวะ ดูระดบั calcium ท่ีถูกขบั ออกไป

Treatment: เป้าหมายของการรักษาอยทู่ ่ี ทาใหร้ ะดบั ของ calciumและสาร minerals อ่ืน ๆ ให้
กลบั สู่ความสดุลเช่น การใหส้ าร calcium carbonate และ vitamin Dซ่ึงสามารถไดจ้ ากอาหาร
เสริมหลงั การรักษา จะตอ้ งมีการตรวจเลือดระดบั calcium เป็นระยะ ๆเพื่อตรวจสอบวา่ วา่ ยาท่ี
ใหน้ ้นั เพยี งพอหรือไม่ นอกจากยาที่ไดจ้ ากแพทย์ ยงั สามารถไดจ้ ากอาหารเสริมไดอ้ ีกดว้ ยนน่ั คือ
อาหารทีมีสาร calcium สูง และมีสาร phosphorous ต่า ในกรณีท่ีมี calcium ในกระแสเลือดต่า
จะมีผลกระทบต่อร่างกาย ทาใหก้ ลา้ มเน้ือมีการหดตวั เช่น การหดตวั ของกลา้ มเน้ือบริเวรกล่อง
เสียงซ่ึงอาจเป็นอุปสรรคต่อการหายใจได้ และเป็นอนั ตราจต่อชีวติ ได้ การชดเชยสาร calcium ท่ี
ขาด ควรใหทางเสน้ เลือด หลงั จากน้นั ควรตรวจ EKG ดูการเตน้ ของหวั ใจ จนกวา่ จเป็นปกติ
เมื่อควบคุมไดแ้ ลว้ การชดเชยสารท่ีขาดสามารถใหต้ ่อเนื่องทางปากได้

ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง (adrenal insufficiency)

หมายถึงภาวะท่ีต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) ทางานลดลงผดิ ปกติ มีผลทาให้
ปริมาณฮอร์โมนท่ีสร้างจากต่อมน้ี เช่น คอร์ติโซล (cortisol) และ อลั โดสเตอโรน (aldosterone)
มีระดบั ต่าผดิ ปกติ จนทาใหเ้ กิดอาการแสดงทางคลินิกข้ึนมาได้ เน่ืองจากคอร์ติโซลมีบทบาท
สาคญั ในการกระตุน้ การสร้างกลูโคส โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในภาวะเครียด ยบั ย้งั การทางานของ
อินซูลิน และมีฤทธ์ิตา้ นการอกั เสบ สาหรับอลั โดสเตอโรน มีบทบาทสาคญั ในการควบคุม
สมดุลเกลือแร่ โดยไปออกฤทธ์ิท่ีไตและทาใหม้ ีการดูดกลบั โซเดียมและขบั โปแตสเซียม ดงั น้นั
เม่ือระดบั ฮอร์โมนเหล่าน้ีลดลง อาจก่อใหเ้ กิดความผดิ ปกติต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระดบั น้าตาล
และโซเดียมในเลือดต่า ระดบั โปแตสเซียมในเลือดสูง เป็นตน้

ประเภทของภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง

การควบคุมการทางานของต่อมหมวกไตส่วนนอกมีลกั ษณะเป็น hypothalamus-pituitary-
adrenal cortex axis (HPA) ที่ทางานโดยอาศยั negative feedback loop ภาวะต่อมหมวกไต
บกพร่องสามารถแบ่งออกไดต้ ามตาแหน่งของการเกิดพยาธิสภาพเป็น 2 ประเภทคือ primary
adrenal insufficiency หรือ Addison’s disease และ secondary adrenal insufficiency โดยท่ี
primary adrenal insufficiency เป็นความผดิ ปกติที่เกิดจากพยาธิสภาพของต่อมหมวกไตส่วน
นอกเอง ในขณะที่ secondary adrenal insufficiency เป็นความผดิ ปกติที่เกิดจากพยาธิสภาพใน
ระดบั hypothalamus หรือต่อมใตส้ มอง (pituitary gland) ซ่ึงมีหนา้ ที่ควบคุมการทางานของต่อม
หมวกไตส่วนนอก เมื่อมีพยาธิสภาพเกิดข้ึนท่ี hypothalamus อาจทาใหม้ ีการสร้าง
corticotrophin-releasing hormone (CRH) ลดลง ส่งผลใหก้ ารหลง่ั adrenocorticotropic hormone
(ACTH) จากต่อมใตส้ มองส่วนหนา้ (anterior pituitary gland) ลดลง ทาใหต้ ่อมหมวกไตส่วน
หนา้ หลง่ั ฮอร์โมนสู่กระแสเลือดลดลง นอกจากน้ี พยาธิสภาพอาจเกิดข้ึนในต่อมใตส้ มองส่วน
หนา้ เอง และทาใหม้ ีการหลงั่ ACTH ลดลง ส่งผลใหต้ ่อมหมวกไตทางานนอ้ ยลง

อาการแสดงทางคลนิ ิก

อาการและอาการแสดงในผปู้ ่ วยแต่ละรายจะแตกต่างกนั ออกไป ข้ึนกบั อตั ราเร็วและปริมาณของ
การสูญเสียการทางานของต่อมหมวกไตส่วนนอก เมื่อแบ่งตามลกั ษณะของอาการ และอาการ
แสดง อาจแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่องชนิดเฉียบพลนั และชนิด
เร้ือรัง (acute and chronic adrenal insufficiency)

1. ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่องชนิดเฉียบพลนั หรือ adrenal crisis เป็นความผดิ ปกติที่ตอ้ งการ
การแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน เน่ืองจากผปู้ ่ วยจะมีภาวะความดนั โลหิตต่าท่ีไม่ตอบสนองต่อ
vasopressor ซ่ึงอาจทาใหผ้ ปู้ ่ วยเสียชีวติ ได้ อาการอื่น ๆ ท่ีพบไดเ้ ช่น อาการปวดกลา้ มเน้ือ รู้สึก
ไม่สบาย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้าหนกั ตวั ลดลง คล่ืนไสอ้ าเจียน และมีไขเ้ ป็นตน้ นอกจากน้ี
อาจมีระดบั น้าตาลต่า หรือระดบั โซเดียมในเลือดต่าร่วมดว้ ย ผปู้ ่ วยส่วนใหญ่จะมีภาวะต่อม
หมวกไตบกพร่องชนิดเร้ือรังอยแู่ ลว้ แต่ไม่มีอาการผดิ ปกติ เมื่อมีความเจบ็ ป่ วยเช่น การติดเช้ือท่ี
รุนแรง หรือมีภาวะเครียด (stress) กจ็ ะส่งผลใหอ้ าการกาเริบข้ึนได้


Click to View FlipBook Version