The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sirirad.dpt, 2021-09-13 05:38:30

รายงานการสำรวจและวิเคราะห์ปัญหาของนักศึกษาในสถานะการณ์โควิด-19

Q&A สถานะการณ์โควิด-19 from Students MULA

Q&A

ของกลมุ่ นักศกึ ษากับการเรยี นออนไลน์

ในช่วงสถานะการณค์ วบคมุ โรคโควิด-19

Questions Questions Answer

“ด้านสุขภาพและการดาเนนิ ชวี ติ “ด้านการจดั กจิ กรรมเพือ่ การ รวบรวมคาตอบ
ในชว่ งสถานะการณโ์ รคโควดิ -19” พฒั นาตนเองใหก้ บั นกั ศกึ ษา
ในชว่ งสถานะการณโ์ รคโควดิ -19”

รวบรวมคำถำม-คำตอบ
ของนักศึกษำจำกระบบออนไลน์
และจัดกลุ่มข้อมลู โดยแบ่งเปน็ 2 ด้ำน ดงั นี้

1. ด้ำนสุขภำพและกำรดำเนินชวี ิตในช่วงสถำนะกำรณ์ควบคุมโรคโควดิ -19

ทางผจู้ ดั ทาได้รวบรวมขอ้ มลู คาถามและคาตอบเหลา่ นีซ้ ึง่ พัฒนาโดยองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) องคก์ ารเพอื่
การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) กองทนุ ประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) และ
องคก์ ารทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) เราขอขอบคณุ วัยรุ่นและเยาวชนจากกลมุ่ Adolescents and Youth
Constituency (AYC) ภายใตเ้ ครือข่ายความรว่ มมอื ดา้ นอนามยั แมแ่ ละเด็ก และทารกแรกเกดิ (The Partnership for
Maternal, Newborn and Child Health – PMNCH) ที่มีสว่ นช่วยในการพัฒนาคาถามและคาตอบเหล่าน้ี เพอ่ื ใ ช้เป็น
ขอ้ มลู เบอื้ งต้นในการใหค้ าปรึกษาหรอื ตอบปญั หาด้านสขุ ภาพ การดาเนินชวี ิต และความเปน็ อยใู่ นชว่ งสถานะการณ์ควบคมุ
โรคโควดิ -19 ให้กบั นกั ศกึ ษาตอ่ ไป

จดั ทำโดย: นำงสำวสิรริ ตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

Q. วยั รุน่ ตดิ เชอ้ื โควดิ -19 ไดห้ รอื ไม?่
A. คนทุกกลุ่มอายสุ ามารถติดเชอ้ื โควดิ -19 ได้ ในขณะท่ีเรายังคงศกึ ษาถึงผลกระทบของโควดิ -19 ที่มีตอ่ ประชากร เรา
พบว่าผ้สู งู อายุ (ผู้ท่ีมีอายมุ ากกว่า 60 ปีขนึ้ ไป) และผูท้ ี่มโี รคประจาตวั เชน่ ความดันโลหติ สงู โรคหวั ใจ โรคปอด มะเรง็
หรอื เบาหวาน มกั มอี าการปว่ ยรนุ แรงกว่าคนอ่นื ๆ และเน่ืองจากโควดิ -19 เป็นเชอ้ื ไวรสั ท่ีเพ่ิงคน้ พบใหม่ เราจึงยังคงอยู่
ในระหว่างการศึกษาถึงผลกระทบของโรคที่มตี ่อเด็กและวยั รนุ่ ขอ้ มูลเชงิ ประจักษ์เท่าทีม่ ใี นปจั จบุ นั ชีใ้ หเ้ ห็นวา่ เด็กและ
วยั รุน่ มกั ไมม่ อี าการรุนแรง แตก่ รณีเจบ็ ปว่ ยรุนแรงและเสยี ชีวิตกส็ ามารถเกดิ ขึ้นกบั กลุม่ วยั นไี้ ด้

Q.วยั ุรน่ ทม่ี อี าการไมร่ นุ แรงหรอื ไมม่ อี าการเลย สามารถแพรเ่ ชอื้ โควดิ -19 ใหแ้ กผ่ อู้ นื่ ไดห้ รอื ไม่?
A.ผู้ตดิ เชือ้ ในทุกกลุ่มอายุรวมถึงวัยรนุ่ สามารถแพร่เช้อื ไวรสั ไปสผู่ อู้ ่ืนได้ แมใ้ นขณะท่ีมอี าการไม่รนุ แรงหรือไมร่ สู้ ึกว่า
ตนเองปว่ ย เช้ือไวรสั แพร่กระจายจากคนสคู่ นผา่ นฝอยละอองขนาดใหญจ่ ากจมกู หรอื ปาก ซ่ึงแพรก่ ระจายเมอ่ื ผทู้ ม่ี เี ชอ้ื
โควดิ -19 ไอ จาม หรือพดู ฝอยละอองขนาดใหญเ่ หลา่ นอ้ี าจตกลงบนวัตถหุ รอื พื้นผวิ เมอื่ ผทู้ ม่ี อื ไปสมั ผสั วตั ถหุ รอื พนื้ ผวิ
เหลา่ น้แี ลว้ ไปสัมผสั ดวงตา จมูก หรอื ปากของตน ก็อาจติดเชื้อได้

Q.มผี ู้ติดเชอ้ื วยั รนุ่ ไมก่ รี่ ายทปี่ ว่ ยรนุ แรงจากโรคโควดิ -19 ฉนั ยงั ควรไปสถานพยาบาลหรอื ไมห่ ากมีอาการของโรคน?้ี
A.หากคุณมีอาการไมร่ นุ แรง เช่น ไอเลก็ นอ้ ย หรอื มไี ขต้ ่า อาจไมจ่ าเปน็ ต้องไปพบแพทย์ แตค่ วรอยบู่ า้ น แยกกกั ตนเอง
จากผู้อืน่ และสงั เกตอาการของตนเอง โดยปฏิบตั ิตามแนวทางของรฐั เกี่ยวกับการแยกกกั ตนเอง
การหลีกเล่ยี งการพบปะผอู้ ่นื และไมไ่ ปสถานพยาบาลเมอื่ มอี าการไมร่ นุ แรง จะชว่ ยให้สถานพยาบาลสามารถดาเนนิ การ
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ ทั้งยังเปน็ การปกปอ้ งตัวคณุ เองและผู้อ่ืนจากเชอ้ื โควิด-19 และไวรสั ชนดิ อ่ืน ๆ อกี ด้วย
คุณควรพบแพทยห์ ากอาการรุนแรงข้นึ หรอื ไมม่ คี นในครอบครัวทส่ี ามารถดูแลคณุ ไดท้ บ่ี ้าน โดยจาเปน็ ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม
ขน้ั ตอนท่ีรัฐกาหนด คณุ ควรสอบถามสมาชิกในครอบครวั หรอื ผ้ใู หญท่ ค่ี ุณไว้วางใจเกย่ี วกบั ขน้ั ตอนดงั กลา่ ว

Q.ฉนั ควรทาอยา่ งไร หากมคี นในครอบครวั ปว่ ยเปน็ โรคโควดิ -19?
A.สมาชกิ ในครอบครวั ควรรับการรกั ษาพยาบาลจากแพทยห์ ากมอี าการปว่ ยรนุ แรง หากเป็นไปไดค้ ณุ หรือผใู้ หญ่ใ น
ครอบครวั ควรโทรศัพทไ์ ปยังหมายเลขฉกุ เฉนิ สาหรับโรคโควดิ -19 ในพน้ื ท่ีหรือส่วนกลางเพ่อื ขอคาแนะนาเก่ียวกับ
สถานท่ีและข้นั ตอนในการขอรับการรกั ษา หากสมาชิกในครอบครวั เปน็ ผปู้ ว่ ยยนื ยนั โรคโควดิ -19 ทง้ั คณุ และผูส้ มั ผสั กบั
ผู้ป่วยจะต้องสังเกตอาการตนเองและกกั ตวั เปน็ เวลา 14 วนั แม้จะยังรสู้ กึ แขง็ แรงดกี ็ตาม

จดั ทำโดย: นำงสำวสิริรตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

Q.ฉันรบั ประทานยารกั ษาโรคประจาตวั อยู่ ฉนั ควรปรบั เปลยี่ นสงิ่ ใดหรอื ไม่?
A.คณุ จาเป็นต้องรับประทานยาทใี่ ชร้ ักษาอาการป่วยเร้อื รงั และอาการป่วยอ่นื ๆ ของคณุ อย่างตอ่ เนอ่ื ง เช่น โรคหอบหดื
เบาหวาน เอชไอวี และวณั โรค รวมทงั้ รบั การตรวจสุขภาพตามคาแนะนาของแพทย์ คุณควรตรวจสอบกับหน่วยงานดา้ น
สาธารณสขุ และผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพวา่ การเขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพมขี ้นั ตอนตา่ งจากเดมิ หรอื ไม่ในช่วงที่มกี ารแพร่
ระบาดของโรคโควิด-19 บริการบางอยา่ ง เชน่ การให้คาปรกึ ษา อาจให้บรกิ ารทางไกลได้ สาหรับวัยรนุ่ ทเี่ ป็นผู้ติดเชอ้ื
เอชไอวแี ละมอี าการทางคลินกิ คงท่ี วัยรุ่นที่เปน็ ผู้ปว่ ยวัณโรคและ/หรอื มภี าวะเรื้อรงั อนื่ ๆ ผู้ให้บริการด้านสุขภาพควร
พิจารณาสั่งจ่ายยาให้ใชไ้ ดห้ ลายเดือน เพือ่ ลดความถใ่ี นการมายังสถานพยาบาลและเพอื่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ผูป้ ่วยไดร้ บั การ
รกั ษาอย่างต่อเนอื่ งหากการเดนิ ทางเคลอื่ นยา้ ยหยดุ ชะงักในชว่ งทมี่ กี ารแพรร่ ะบาด การรกั ษาอยา่ งต่อเนอ่ื งยงั คงเป็นสงิ่
สาคญั ในช่วงแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19

Q.หากถงึ กาหนดฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั มะเรง็ ปากมดลูก (HPV) เยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบ หรือบาดทะยกั แ ตก่ ารใหบ้ ริการ
วัคซนี หยดุ ชะงกั ฉนั ควรเปน็ กงั วลหรอื ไม?่
A. WHO แนะนาวา่ ควรเลื่อนการใหบ้ รกิ ารวัคซนี ทกุ ชนดิ ในโรงเรยี นและการรณรงคฉ์ ดี วคั ซีนใหก้ บั ประชาชนออกไปกอ่ น
ในช่วงทีม่ ีการระบาดใหญข่ องโรคโควิด-19 ตารางการใหว้ คั ซนี สาหรับวัยรุน่ นั้นมคี วามยืดหยุน่ เพียงพอที่คุณจะยัง
สามารถได้รบั วัคซนี ทนั เวลาเมอ่ื หนว่ ยงานด้านวัคซนี กลบั มาให้บรกิ ารอกี คร้ัง ตวั อยา่ งเช่น วัคซีน HPV ท่ีต้องฉดี 2 เขม็
น้นั สามารถเรมิ่ เมอื่ ใดกไ็ ด้ในช่วงอายุ 9-14 ปี โดยระยะห่างระหว่างเขม็ ท่ี 1 และ 2 อาจยาวนานขึน้ โดยระยะหา่ งอย่าง
นอ้ ยของแต่ละเขม็ คือ 6 เดอื น แตอ่ าจเวน้ ระยะ 12 หรอื 15 เดือน หรืออาจนานกว่านี้ไดถ้ ้าจาเป็น สงิ่ ท่สี าคัญท่ีสุดคือ
การทคี่ ุณได้รับวคั ซีนเข็มท่ี 2 ในเวลาต่อมาเพ่อื ใหส้ ามารถป้องกันโรคได้อย่างเต็มที่ การตัดสนิ ใจว่าจะยังคงให้บรกิ าร
วคั ซนี ตามกาหนดปกติหรอื ไม่นนั้ ขึ้นกับแต่ละประเทศ คณุ ควรสอบถามสมาชิกในครอบครวั หรือผใู้ หญ่ที่คุณไ ว้ใ จว่า
สามารถค้นหาข้อมูลเก่ียวกบั บริการวคั ซนี ต่าง ๆ ในพ้นื ทไี่ ดจ้ ากทีใ่ ด ส่งิ สาคญั คือคณุ จะต้องไดร้ บั วคั ซนี ทจ่ี าเป็น แม้
จะตอ้ งล่าชา้ ไปบ้างเนอ่ื งจากมกี ารระบาดใหญข่ องโรคโควดิ -19

Q.ฉนั เบ่อื การอยบู่ า้ น แ ละแมว้ า่ ฉนั จะไดร้ บั เชอื้ โควดิ -19 กไ็ มน่ า่ จะป่วยหนกั สาคญั ด้วยหรอื ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ัตติ าม
แ นวทางปอ้ งกนั การแพรเ่ ชอื้ เชน่ การเวน้ ระยะหา่ งทางกายจากผอู้ น่ื ?
A.การอยกู่ ับบ้านเปน็ เร่ืองยากและอาจน่าเบอ่ื แตก่ ็เปน็ โอกาสทจ่ี ะไดท้ าสง่ิ ทค่ี ุณเพลดิ เพลนิ เชน่ อ่านหนังสอื เล่นเกม
หรือฟงั เพลง คุณควรติดตอ่ กับเพือ่ น ๆ และครอบครวั เป็นประจาทุกวนั ทางโทรศพั ท์หรอื อินเทอรเ์ น็ต หรือพูดคุยพบ
หนา้ กนั โดยรักษาระยะหา่ งทางกาย หากอาศัยอยใู่ กลแ้ ละกฎระเบยี บในพนื้ ท่ีอนุญาตให้ทาได้
ในขณะเดยี วกัน ยงั คงเปน็ สิ่งสาคญั ทค่ี ุณจะต้องลดโอกาสในการตดิ เชอ้ื หรอื แพร่เชือ้ โควดิ -19 ดว้ ยการลา้ งมอื ด้วยนา้ และ
สบู่ หรอื ใช้แอลกอฮอลถ์ มู อื ใหบ้ ่อยทส่ี ุดเทา่ ท่จี ะทาได้ รกั ษาระยะหา่ งจากผ้อู ่ืนอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร (3 ฟุต) และหลีกเลยี่ ง

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ริ ัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

สถานท่แี ออดั เพราะคณุ อาจเปน็ หนงึ่ ในวยั รนุ่ ทโี่ ชครา้ ยมอี าการหนกั หากได้รบั เช้อื โควิด-19 หรือคุณอาจเป็นผู้แพรเ่ ชือ้
จนเปน็ เหตุใหผ้ อู้ นื่ ปว่ ยหนกั หรือเสยี ชวี ิต คุณเลอื กไดท้ ี่จะปกปอ้ งชวี ิตของผอู้ ื่น วัยรนุ่ และเยาวชนทกุ คนล้วนมบี ทบาท
สาคัญอยา่ งยิง่ ในการต่อสกู้ ับโรคโควิด-19

Q.เพ่ือนบางคนไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎการเว้นระยะหา่ งทางกาย ฉนั ควรทาอยา่ งไร?
A.อธิบายให้เพ่อื นเขา้ ใจถึงความสาคญั ของการปกป้องตนเองและผอู้ ่ืนดว้ ยการล้างมอื หลกี เลย่ี งการสัมผัสใบหนา้ ของ
ตนเอง ไอหรอื จามลงบนขอ้ พับแขน แขนเสอื้ หรอื กระดาษชาระทกุ ครั้ง และใหค้ วามรว่ มมอื ตอ่ การปฏิบัตติ ามมาตรการ
ตา่ ง ๆ ที่รัฐร้องขอ เช่น การเว้นระยะหา่ งทางกาย และข้อหา้ มเกย่ี วกบั การเดนิ ทาง คุณอาจลองคิดกจิ กรรมออนไลน์
สนุก ๆ ที่เพอื่ น ๆ สามารถเข้าร่วมดว้ ยได้ การทาเช่นน้ีเปน็ การใหท้ างเลือกแกเ่ พ่อื น ๆ แทนการบอกแต่เพียงใหพ้ วกเขา
อยู่บ้าน อย่าลมื ว่าคณุ ไม่สามารถบังคบั การกระทาของผอู้ ื่นได้ ดงั น้ัน อยา่ โต้เถยี งหรอื ต่อสเู้ พ่ือพยายามเปล่ยี นความคดิ
ของพวกเขา

Q.ฉนั กงั วลใจมากเรอื่ งโรคโควิด-19 แ ละผลกระทบกบั ชวี ติ ของตวั เอง ฉนั ควรทาอยา่ งไร?
A.ในสถานการณข์ องการระบาดใหญเ่ ชน่ นี้ เปน็ เร่อื งปกตทิ ่ีคณุ จะกงั วลและรสู้ กึ อ่อนแอ นเ่ี ปน็ ข้อเสนอแนะในการจดั การ
กับความวติ กกงั วลของคณุ

 ทบทวนความรู้สกึ ของตวั เอง อยา่ เพกิ เฉยตอ่ ความรสู้ ึกท่ีเกดิ ข้ึนโดยเฉพาะเมอื่ คุณร้สู กึ ไมด่ ี เพราะเมอื่ ชวี ติ สะดุด
ลง เป็นเรอื่ งปกตทิ ่จี ะมคี วามรสู้ กึ สบั สนปนเป ทัง้ กลมุ้ ใจ หงุดหงิด เศรา้ เครียด โกรธ และวิตกกังวล
 ขอใหน้ าเอาทกั ษะและวิธที ค่ี ณุ เคยใช้ในอดตี ทช่ี ่วยให้คณุ สามารถจดั การกบั ปญั หาในชวี ติ และทักษะทชี่ ว่ ยใหค้ ณุ
จดั การกับอารมณ์ได้มาใช้ ตวั อย่างเชน่ เขยี นไดอาร่แี สดงความร้สู กึ ผา่ นงานศิลปะ เช่น แต่งกลอน วาดรูป เต้นรา
หรือเล่นดนตรี
 ระบายความรู้สึกและความกงั วลใหใ้ ครสักคนทค่ี ุณไว้ใจฟัง
 ฝกึ การหายใจ โดยอาจทาตามวิธที มี่ ผี ู้แนะนาไว้ทางออนไลน์ (หากคณุ มอี นิ เทอรเ์ น็ต)
 ออกกาลงั กายทกุ วัน การออกกาลังกายทกุ ชนดิ ช่วยได้ เพราะการออกกาลงั กายจะช่วยลดร ะดับ ฮอร์โ มน
ความเครียดในรา่ งกาย ช่วยใหร้ า่ งกายและจติ ใจผอ่ นคลาย การออกกาลงั กายยงั ชว่ ยผลติ ‘ฮอร์โมนที่ทาให้รสู้ ึกดี’
หรือ เอน็ ดอรฟ์ นิ ซึ่งจะช่วยปรับอารมณ์ใหด้ ขี นึ้ คณุ อาจเดนิ วิ่ง หรอื ออกกาลังกายกลางแจง้ โดยเวน้ ระยะห่างจาก
ผอู้ นื่ หรอื หากไมส่ ามารถออกจากบา้ นได้ คุณอาจเปดิ หน้าต่างเพ่อื รับอากาศบรสิ ทุ ธ์แิ ละออกกาลังกายใ นบ้าน
เพ่ือให้ร่างกายกระปร้กี ระเปรา่

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ิรตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

 ไมใ่ ชก้ ารสบู บหุ ร่ี การกนิ อาหาร การด่มื เครื่องด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์ หรอื การใชย้ าเสพติด เพอื่ จดั การกบั อารมณ์
ของตวั เอง ตดิ ตอ่ กบั เพ่อื น ๆ และครอบครัว ทางโทรศัพทห์ รืออนิ เทอรเ์ นต็ หรือพูดคยุ พบหน้ากันโ ดยรักษา
ระยะห่างทางกาย หากอาศยั อยใู่ กลแ้ ละกฎระเบียบในพืน้ ที่อนญุ าตให้ทาได้ ทากิจวัตรประจาวันอย่างต่อเน่ือง
พยายามเขา้ นอนและตื่นนอนเวลาเดมิ ทกุ วนั นอนหลบั พกั ผอ่ นอย่างเพียงพอ วางแผนและแบ่งเวลาใ นการทา
กจิ กรรมตา่ ง ๆ อยา่ งสมดลุ เชน่ ทาการบา้ น ออกกาลังกาย ติดตอ่ กับเพ่อื น ๆ และครอบครวั ทางานอดเิ รก และ
รบั ประทานอาหารตรงตามมอ้ื
 พูดคุยกบั เจา้ หน้าที่สาธารณสุข หรอื ผูใ้ หค้ าปรึกษาดา้ นสุขภาพ หากคุณหรอื คนทค่ี ุณหว่ งใยรูส้ กึ ดังนี้
จมอยู่กบั ความรสู้ กึ เศร้า หวาดกลวั วติ กกังวล เครียดจนบัน่ ทอนการทากจิ วัตรประจาวัน
อยากทาร้ายตัวเองหรือผูอ้ ่ืน ใ นเวลาเชน่ นี้ คุณอาจสะดวกที่จะพดู คุยกับผูใ้ ห้คาปรึกษามากกว่าเจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ เนื่องจากอาจมีข้อหา้ มเรื่องการเดินทาง และสถานพยาบาลอาจมภี ารกิจลน้ มอื ในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคโค
วิด-19

Q.การระบาดใหญน่ จี้ ะจบลงเมอ่ื ใด? ฉันจะไดไ้ ปโรงเรยี นและพบเจอเพอ่ื น ๆ
A.เราไมร่ วู้ า่ การระบาดใหญ่ครั้งนจี้ ะจบลงเมอื่ ใด แต่เรารู้วา่ ความรว่ มแรงรว่ มใจของทกุ คนจะสามารถหยดุ ยงั้ การแพรเ่ ชอื้
ได้ การท่คี ุณเสียสละดว้ ยการไมไ่ ปเจอเพอ่ื น ๆ ไมไ่ ปโรงเรียน และงดกิจกรรมอน่ื ๆ เปน็ การช่วยต่อสู้กบั การแพรร่ ะบาด
ของโรค การหยุดพักกจิ กรรมทางสงั คมและเศรษฐกจิ ไวช้ ว่ั คราวช่วยหยุดการแพรก่ ระจายของเชื้อไวรสั มาสู่ชมุ ชนของเรา
ซง่ึ มาตรการป้องกนั เหล่าน้ลี ว้ นมสี ่วนช่วยลดผลกระทบจากไวรสั ในระยะสนั้ ทง้ั ยังเปน็ การซ้ือเวลาให้เราสามารถนาสิ่งที่
ได้เรียนรเู้ กย่ี วกับไวรัสชนิดนไี้ ปพฒั นาแนวทางแก้ไข เพอื่ ทเี่ ราจะกลับไปดาเนนิ ชวี ติ ในรปู แบบทค่ี นุ้ เคยได้มากขน้ึ จึงเปน็
สิ่งสาคญั ทีค่ ณุ ควรปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเหล่านี้ตอ่ ไปและสง่ เสรมิ ให้เพอ่ื นปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกนั

Q.สถานศกึ ษาในบางพนื้ ทข่ี องประเทศกาลงั จะเปดิ อกี ครง้ั ถา้ ฉนั กลบั ไปเรยี นจะปลอดภยั หรอื ไม่?
A. การตดั สินใจเปิดโรงเรยี นอีกคร้ังในแต่ละประเทศและพนื้ ท่นี นั้ อาศยั การประเมนิ สถานการณอ์ ย่างระมดั ระวงั ประกอบ
กบั ความเหน็ พ้องของทกุ ฝา่ ยท่ีเก่ียวขอ้ ง รวมทั้งผกู้ าหนดนโยบายดา้ นสาธารณสขุ และการศึกษา ครแู ละเจา้ หน้าที่ของ
โรงเรียน ผู้ปกครอง เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ และเจ้าหน้าท่ีในชุมชน นอกจากน้ี การที่โรงเรียนกลับมาเปิดอีกครั้งจะต้องมี
การวางแผนและเตรยี มการอยา่ งรอบคอบ ตลอดจนบังคับใชม้ าตรการทจี่ าเปน็ ท้งั หมดเพื่อปกปอ้ งความปลอดภัยและ
สขุ ภาพของทกุ คนในชุมชนสถานศึกษา ดังนัน้ หากโรงเรยี นที่คุณศกึ ษาอยกู่ ลับมาเปิดอีกครง้ั คุณควรม่ันใ จไ ด้ว่า
ปลอดภัยท่ีจะกลับไปเรยี นหนงั สือ ทงั้ นี้ คณุ จะตอ้ งปฏิบัติตามแนวทางและกฎระเบียบทโี่ รงเรยี นกาหนดไว้อยา่ งเคร่งครดั
และหากมขี อ้ กังวลใด ๆ อยา่ ลงั เลทจ่ี ะคยุ กบั ครู พอ่ แม่ หรือผปู้ กครอง

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ิรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

Q.ฉันรวู้ า่ ยงั มคี วามเสยี่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื โควดิ -19 ในเวลาน้ี แ ตฉ่ นั รสู้ กึ สบายดี ฉนั ยงั เลน่ กฬี าไดห้ รอื ไม?่

A.คณุ สามารถเล่นกีฬาได้ แตต่ อ้ งปฏบิ ตั ิตามมาตรการเวน้ ระยะหา่ งทางกายและข้อหา้ มดา้ นการเดินทางท่ีรฐั กาหนด การ
ออกกาลังกายนัน้ ดตี ่อสขุ ภาพท้งั กายและใจ คุณควรจดั สรรเวลาทุกวนั เปน็ เวลา 1 ชัว่ โมงเพื่อทากจิ กรรมหรือเลน่ กฬี าท่ี
ไม่ต้องมีการสมั ผสั หรอื ใกลช้ ิดกบั ผ้อู ื่น เช่น กฬี าที่เลน่ คนเดยี วได้ ซึง่ มใี ห้เลือกมากมาย เช่น ว่งิ เหยาะ ๆ เดิน เตน้ รา หรือ
โยคะ คุณอาจเล่นเกมในรม่ เช่น กระโดดเชอื กและกระโดดขาเดียว เล่นกบั พ่ี ๆ น้อง ๆ หรอื ฝกึ ความแข็งแกรง่ โดยใช้
น้าหนกั ทีท่ าขน้ึ เอง เช่น ขวดเปล่าบรรจุน้าหรอื ทราย และหากมอี ินเทอรเ์ นต็ กอ็ าจเขา้ รว่ มเกมออนไลนท์ ีต่ อ้ งขยบั รา่ งกาย
หรอื เขา้ คลาสฟติ เนสออนไลน์ หรอื จัดใหม้ กี ารออกกาลงั กายออนไลนข์ องตวั เองกับเพอื่ น ๆ ลองมองหากจิ กรรมสนกุ ๆ
ทส่ี ามารถทาไดภ้ ายใตข้ ้อจากัดในสถานการณโ์ รคโควดิ -19 ทจ่ี ะทาใหค้ ณุ รสู้ ึกดี

Q.ฉันเสยี โอกาสทางการเรยี นเพราะการระบาดของโรคโควิด-19 ฉนั ควรทาอยา่ งไร?
A.สถานศกึ ษาจะจัดการให้คณุ ได้เรียนเพมิ่ เตมิ หรอื สอบในเวลาอนื่ คณุ ควรปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนท่ีโรงเรยี นกาหนดเพอ่ื ลด
ผลกระทบจากการปิดโรงเรียนและเพ่ือการศึกษาที่ต่อเน่ือง หากเข้าถงึ อนิ เทอร์เนต็ คณุ อาจขอคาปรึกษ าจากครูหรือ
ผ้ใู หญ่ที่คุณไวใ้ จใหช้ ว่ ยช้ีแนะเกี่ยวกับการเรียนร้อู อนไลน์และแหล่งขอ้ มลู ข่าวสารทเ่ี ช่ือถอื ได้ โดยรวมถึงข้อมูลใ น
ทางออกโดยการเรียนรู้ทางไกล แนะนาโดย UNESCO ซ่ึงเป็นหน่วยงานขององคก์ ารสหประชาชาติที่ส่งเสริมใหน้ านา
ประเทศพัฒนาระบบการศึกษาของตน ขณะน้ี UNESCO กาลังรวบรวมเรอื่ งราวจากนักเรยี น ครู และผู้ปกครอง เก่ียวกบั
วธิ ีการรบั มือและการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื งในชว่ งทีโ่ รงเรยี นปดิ ลองอ่านเรือ่ งราวเหล่าน้เี พ่ือสรา้ งแรงบันดาลใ จ คุณ
สามารถติดต่อ UNESCO และบอกเลา่ ประสบการณข์ องตัวคุณได้ท่ี ร่วมแบง่ ปนั เรอ่ื งราวใน พ้นื ทีท่ มี่ ีปญั หาเรื่องการ
เชือ่ มต่ออินเทอรเ์ นต็ รฐั บาลไดเ้ รมิ่ เผยแพรร่ ายการโทรทัศนห์ รอื วทิ ยเุ พ่ือการศึกษาในระหว่างทโ่ี รงเรยี นปิด หากคณุ อยู่
ในพื้นทีท่ ่มี ปี ญั หาดงั กล่าว ขอใหค้ น้ หารายการเพอ่ื การศกึ ษาทางส่ือโทรทศั นแ์ ละวทิ ยใุ นประเทศ

Q.ข่าวเกยี่ วกบั โควดิ -19 มีมากมายจนไมร่ วู้ า่ ขา่ วไหนจรงิ หรอื เทจ็ ฉนั ควรทาอยา่ งไร?
A. มีกระแสขา่ วเกยี่ วกับโรคโควดิ -19 อยา่ งแทบไมห่ ยดุ หยอ่ น บ้างกข็ ดั แย้งกนั เอง ทาให้ผู้เกาะตดิ ขา่ วบางคนสับสนและ
เปน็ ทกุ ข์ เราจึงควรเลอื กรบั ขา่ วสารจากแหลง่ ท่ีน่าเชือ่ ถอื เช่น เว็บไซตข์ อง UNICEF และ WHO พร้อมทัง้ ตรวจสอบ
ข้อมูลจากชอ่ งทางทีไ่ ม่น่าเชื่อถือด้วย หากคุณมโี ทรศัพท์ สามารถใช้บริการข้อความ WHO Health Alert บน
WhatsApp เพือ่ ดูขา่ วสารล่าสุดเก่ยี วกบั การแพร่ระบาด ซ่ึงเป็นบริการใหม่ ไมเ่ สียค่าใชจ้ ่าย ออกแบบมาเพอ่ื นาเสนอ
ข้อมูลอย่างเป็นทางการทีเ่ ชือ่ ถอื ได้และรวดเร็วตลอด 24 ช่วั โมงทวั่ โลก เรมิ่ ดว้ ยการกด WHO Health Alert สง่ คาว่า
‘Hi’ ในข้อความ WhatsApp เพอื่ เรมิ่ ต้น

จดั ทำโดย: นำงสำวสิรริ ตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

อย่างไรกด็ ี การรบั รูข้ า่ วสารเกีย่ วกับการระบาดใหญข่ องโรคโควิด-19 มากเกนิ ไปอาจทาใหเ้ ครียดได้ คณุ จงึ ควรใช้เวลา
เพยี งชว่ งใดชว่ งหน่ึงระหวา่ งวนั เพือ่ ค้นหาขอ้ มลู ล่าสุดและแนวทางในการปฏบิ ตั ิ รวมทงั้ หลกี เลยี่ งการฟงั หรอื ตดิ ตามขา่ ว
ลือท่ที าให้ไมส่ บายใจ

Q.การมเี พศสมั พนั ธใ์ นเวลาน้ีปลอดภยั หรอื ไม?่
A. ไม่มขี อ้ มลู เชงิ ประจักษ์วา่ เชอ้ื โควดิ -19 ถา่ ยทอดผา่ นนา้ อสจุ หิ รอื สารคัดหลงั่ ในช่องคลอด อย่างไรกด็ ี การมเี พศสมั พนั ธ์
หมายถึงการทีค่ ุณใกล้ชดิ กบั บุคคลอน่ื ซง่ึ ย่อมมคี วามเสี่ยงหากฝ่ายใดฝ่ายหนง่ึ ตดิ เชือ้ โควดิ -19 การสาเรจ็ ความใครด่ ว้ ย
ตนเองนน้ั ไม่เก่ียวข้องกบั บคุ คลอื่นและไม่มคี วามเส่ียงตอ่ การตดิ เชอ้ื โควดิ -19 นอกจากน้ี การมเี พศสมั พันธข์ องคูค่ รองที่
อาศัยอยดู่ ้วยกันจะไม่มคี วามเส่ยี งหากทัง้ ค่ไู ดป้ ฏบิ ตั เิ พื่อป้องกนั ตนเองจากเชอ้ื ไวรสั อยา่ ลมื ใชถ้ งุ ยางอนามยั และวธิ กี าร
คมุ กาเนิดเพอื่ หลีกเลย่ี งการติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธแ์ ละการตั้งครรภท์ ่ีไมไ่ ด้ตงั้ ใจ

Q.ในชว่ งลอ็ กดาวนฉ์ นั ใชเ้ วลาออนไลนน์ านขน้ึ ทั้งเลน่ เกม ติดตอ่ กบั เพอื่ นทางออนไลน์ แ ละเรยี นหนงั สอื ฉันควร
กงั วลหรอื ไม?่
A.โรคโควดิ -19 ทาให้ชวี ิตประจาวันของผู้คนจานวนมากเข้าสโู่ ลกออนไลนอ์ ยา่ งกะทนั หัน และคณุ อาจใชเ้ วลาออนไลน์
นานข้ึนกวา่ เดมิ หลายชั่วโมง แม้วา่ การออนไลนจ์ ะทาใหค้ ุณได้มโี อกาสได้เรยี นรู้ เล่น และติดต่อเพ่ือนฝงู อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แต่
กค็ วรจากดั เวลาทอ่ี ยู่หน้าจอท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ งกับการเรียนหรอื การออกกาลงั กาย เพราะคุณควรขยบั เขยื้อนร่างกายเพ่ือ
สุขภาพท่ีดแี ละเพ่ือใหค้ ดิ บวกอยเู่ สมอ การอย่หู น้าจอนานเกนิ ไปอาจทาใหเ้ กดิ อาการไวตอ่ แสงกระพรบิ ปวดศีรษะ
คล่นื ไส้ และวงิ เวียน หรือมีอาการชัก คุณจงึ ควรแทนท่ีเวลาสันทนาการหนา้ จอดว้ ยกจิ กรรมนอกจอ เช่น การฟงั เพลง
อา่ นหนงั สอื เลน่ บอรด์ เกม หรือทากิจกรรมทไ่ี ดเ้ คลอื่ นไหวร่างกาย เช่น ออกไปเดนิ หรอื ว่งิ เหยาะ ๆ การเลน่ เกมมาก
เกินไปอาจทาให้เป็น “โรคตดิ เกม” นาไปสู่การอดนอน การสลบั เวลากลางวนั กับกลางคนื เบอื่ อาหาร มพี ฤติกรรม
ก้าวร้าวรนุ แรง ปวดศรี ษะ และขาดสมาธิ หากคณุ มีอาการเหลา่ นี้ ใหข้ อความชว่ ยเหลอื จากผปู้ กครองหรอื ผใู้ หญท่ ่ีคุณ
ไวใ้ จ

Q.ฉนั ทราบมาวา่ เราอาจไดร้ บั อนั ตรายจากการตดิ ตอ่ ทางออนไลน์ ความเสย่ี งออนไลนม์ อี ะไรบา้ ง และปกปอ้ งตวั เอง
อย่างไร?
A.เน่ืองจากคณุ อาจใช้เวลาออนไลนม์ ากขึ้นกวา่ เดิมจึงควรระมดั ระวงั ภัยตา่ ง ๆ ที่มาจากช่องทางออนไลน์

 ขอ้ แรก ระวังการแชรเ์ นือ้ หาออนไลน์ พฤตกิ รรมเส่ยี งต่าง ๆ เชน่ การสง่ ข้อความเร่ืองเพศ (Sexting) หรอื การ
แชรเ์ นอ้ื หาทเี่ กย่ี วกบั เพศ อาจทาให้คุณมคี วามเสีย่ งตอ่ การถกู ขู่แบล็คเมล ถูกคุกคาม และทาใหอ้ ับอาย
 ข้อสอง การออนไลนน์ านขนึ้ เปน็ การเพม่ิ ความเสยี่ งของการพบกับนกั ลา่ เหยอ่ื ทคี่ อยแสวงหาประโยชนท์ างเพศ
จากเยาวชน คณุ ควรแตง่ กายใหเ้ หมาะสมขณะอยู่หนา้ เว็บแคม และไมพ่ ดู คยุ กบั ครหู รือเพ่อื นรว่ มช้นั เรยี นออนไลน์

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ิรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

จากห้องนอน นอกจากนี้ วยั ร่นุ บางคน (เช่น ผูท้ ่ีมคี วามพกิ าร ผูท้ ่ีมคี วามต้องการพิเศษ หรอื ผทู้ ม่ี คี วามเส่ียงสงู ต่อการ
ได้รับหรอื แพร่เชอ้ื โควิด 19) อาจมคี วามเสย่ี งต่อการถกู ระรานทางไซเบอร์หรอื การเลือกปฏิบัติ การติดต่อทาง
ออนไลนท์ ี่สร้างความเจบ็ ปวด เลอื กปฏบิ ัติ หรือไมเ่ หมาะสม เป็นส่งิ ท่ียอมรับไมไ่ ด้ หากคุณมขี อ้ สงสยั ไมส่ บายใจ
หรอื ทุกข์ใจเกี่ยวกบั การมปี ฏิสมั พนั ธใ์ ด ๆ ทางออนไลน์ แจง้ ให้ผปู้ กครองหรอื ผูใ้ หญ่ทค่ี ุณไวใ้ จทราบทนั ที

Q.ตง้ั แ ตพ่ อ่ แมข่ องฉนั ไมไ่ ดอ้ อกไปทางาน พวกเขาทะเลาะกนั บอ่ ยขนึ้ บางครง้ั กด็ า่ ทอหรอื ทารา้ ยรา่ งกายกนั อยบู่ า้ น
แ ลว้ รสู้ กึ ไมป่ ลอดภยั เลย ฉนั ควรทาอยา่ งไร?
A.น่เี ป็นชว่ งเวลาที่ยากลาบาก ผู้คนมากมาย ซึ่งอาจรวมถงึ พอ่ แมข่ องคุณ ตา่ งกงั วลเรอ่ื งสวสั ดิภาพ สขุ ภาพ และการเงนิ
และเม่อื ต้องอยูใ่ นสภาพความเป็นอยทู่ ไ่ี ปไหนไมไ่ ด้และมพี ้ืนทจี่ ากดั ในชว่ งลอ็ กดาวน์ พวกเขาก็ยิง่ รู้สกึ กดดนั และเครียด
จงึ มคี วามเห็นขดั แย้งกันบ้างเปน็ ธรรมดา อยา่ งไรก็ตาม หากความขดั แย้งบานปลายไปเปน็ การทาร้ายกันทางรา่ งกายหรอื
วาจา คุณอาจตอ้ งลงมอื ทาสิง่ ท่ถี กู ต้องบางอยา่ ง หากคณุ กังวลเกีย่ วกับสถานการณท์ บี่ ้าน หรือรสู้ ึกไมป่ ลอดภัย ให้ขอ
คาปรึกษาจากผูใ้ หญ่ทีค่ ุณไวใ้ จ และพยายามอยา่ ดงึ ความสนใจมาท่ีตวั คุณในระหวา่ งการทะเลาะวิวาทนัน้
ทง้ั นี้ เพื่อไมใ่ หต้ วั คุณเองถูกทาร้าย นอกจากนี้ ควรเตรียมแผนความปลอดภยั หากความรนุ แรงเพมิ่ มากขนึ้ โดยจดั กระเปา๋
หรอื ถุงใส่ส่ิงของจาเปน็ เชน่ เส้อื ผ้า เอกสารสาคัญ และอุปกรณ์ชาร์จไฟ พรอ้ มท้ังเตรยี มรายช่อื เพ่อื น เพ่ือนบ้าน ญาติ
หรือศูนยพ์ กั พิงไวใ้ ห้พร้อมหากตอ้ งออกจากบ้านอยา่ งเรง่ ดว่ นเพอื่ ความปลอดภัย ซกั ซ้อมกับผใู้ หญท่ ่ีไวใ้ จได้ใหช้ ่วยแจง้
หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งท่จี ะช่วยดแู ลคณุ ใหป้ ลอดภยั ได้ เช่น ตารวจ บริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ และบริการด้านสังคม หลาย
ประเทศท่ีไดร้ ับผลกระทบรนุ แรงจากโรคโควิด-19 ยงั คงใหบ้ รกิ ารทีจ่ าเปน็ แกป่ ระชาชน เช่น ศูนยพ์ กั พิง หรือศูนย์ให้
ความคุ้มครอง หากไมม่ ผี ู้ใหญ่ท่คี ุณไวใ้ จและพูดคยุ เกยี่ วกับความวิตกกังวลของคณุ ดว้ ยได้ ในประเทศของคณุ อาจมสี าย
ดว่ นหรือบริการทางขอ้ ความทค่ี ุณสามารถสอื่ สารกบั ผทู้ พ่ี รอ้ มใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรอื ใหค้ าปรกึ ษา

Q.ฉันไมช่ อบทมี่ ใี ครบางคนในบา้ นแตะเนอื้ ต้องตวั ฉนั แ ละฉนั กบั คนนกี้ อ็ ยบู่ า้ นดว้ ยกนั ตลอดเวลาเพราะการระบาด
ใหญ่ ฉันควรทาอยา่ งไร?
A.การทใ่ี ครก็ตามทาเชน่ นก้ี ับคุณเป็นสงิ่ ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง และไมใ่ ชค่ วามผดิ ของคุณแต่อยา่ งใด หากคุณพกั อาศัยอยใู่ นบา้ นหลงั
เดียวกันและ/หรืออยูใ่ นความอปุ การะของบุคคลดงั กลา่ ว (ซึ่งมกั เป็นผู้ชาย) คุณกย็ ิ่งตกอยูใ่ นสถานการณ์ลาบาก
โดยเฉพาะเมอ่ื มขี ้อจากดั เร่อื งการอยู่บ้านเนื่องจากโรคโควิด-19 ลองพิจารณาทาสิ่งเหลา่ นีเ้ พื่อความปลอดภยั ของคุณ
ขณะอยู่บ้าน

 บอกเขาอยา่ งสภุ าพแตห่ นกั แน่นว่าคุณไมต่ ้องการใหเ้ ขาจับต้องตัวคณุ และขอให้เขาหยุด
 แจ้งใหผ้ ู้ปกครอง ผดู้ ูแล หรอื ผใู้ หญ่คนอนื่ ๆ ในบ้านทคี่ ณุ ไวใ้ จทราบถงึ สิง่ ทเ่ี กิดข้นึ
 แจ้งให้ผู้ใหญ่นอกบา้ นทค่ี ุณไวใ้ จทราบ เช่น เพ่ือนบา้ น ครู คนที่เปน็ เพ่อื นกบั ครอบครวั คณุ หรอื ญาติ
 โทรศพั ท์หรือส่งขอ้ ความเพอ่ื ขอความช่วยเหลอื เชน่ ตดิ ต่อสายด่วน หรอื สายชว่ ยเหลือเดก็ และผหู้ ญิงทีต่ ้องการ
ความช่วยเหลอื มคี วามทกุ ข์ หรอื ถกู ทาร้าย หรือโทรศพั ทไ์ ปยงั ศูนยค์ ุ้มครองเด็กในพน้ื ท่ี ระวังอยา่ ใหบ้ คุ คลนนั้ เปดิ ดูเบอร์
โทรศัพทท์ ่คี ณุ โทรหรอื ขอ้ ความทค่ี ุณส่งทางโทรศพั ทไ์ ด้

จดั ทำโดย: นำงสำวสิรริ ตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

 คดิ หาวิธีและเตรยี มการล่วงหนา้ กับเพื่อนบา้ น ญาติทีค่ ณุ ไวใ้ จ หรือคนทเ่ี ป็นเพอื่ นกับครอบครัว (โดยไมใ่ หบ้ คุ คล
นน้ั ล่วงรู้) หากจาเป็นตอ้ งออกจากบา้ นทันทีเพราะคุณถกู ทารา้ ยร่างกายหรอื บาดเจบ็ เพ่ือให้ชว่ ยพาคณุ ออกจากบา้ นและ
อยกู่ บั พวกเขาจนกวา่ คุณจะสามารถกลับไปอยบู่ ้านได้อย่างปลอดภยั

 หากคณุ ถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศหรอื ถกู ข่มขืนและต้องการความช่วยเหลอื หรอื การดแู ลทางการแพทยอ์ ยา่ งเร่งดว่ น
ใหร้ ีบไปทโ่ี รงพยาบาลหรอื คลินกิ ทใี่ กลท้ ส่ี ุดเพ่อื ขอรบั การดูแลรกั ษา
แ หลง่ ทม่ี าของข้อมลู
อ ้า งอ ิง: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question-and-answers-
hub/q-a-detail/q-a-for-adolescents-and-youth-related-to-covid-19

จดั ทำโดย: นำงสำวสริ ิรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

ข้อมูลท่ีพบจำกกำรสำรวจนกั ศกึ ษำคณะศลิ ปศำสตร์ ระดบั ปรญิ ญำตรี
เรอ่ื ง “ขอ้ กังวลใจ หรือ ปญั หาทีพ่ บในช่วงสถานะการณ์ควบคุมโรคระบาดโควดิ -ต (รอบท่ี2)
ด้ำนสุขภำพ กำรดำเนนิ ชวี ติ และควำมเป็นอยู่ในช่วงสถำนะกำรณ์ควบคุมโรคโควดิ -19

สารวจ ณ เดอื นมกราคม 2564

ลาดบั รายละเอยี ดขอ้ กงั วลใจ /ปัญหาทพ่ี บ
1 ความเครยี ด ความกดดัน คา่ ไฟฟ้า ค่าใช้จา่ ยหากตอ้ งเรียนออนไลนต์ อ่ ไปอกี

2 อาการปวดตา ปวดหลัง ไม่มกี าลงั ใจในการเรยี น น่งั มองจอนานๆ เกิดความทอ้ แทแ้ ละเบอ่ื หน่าย

3 กังวลใจตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ covid-19

4 เรื่องหอพกั ทไี่ ด้ทาการจองเอาไว้แต่ตอ้ งเลอ่ื นแลว้ เลือ่ นอกี เพราะทางมหาวทิ ยาลัยเปลี่ยนกาหนดการ
บ่อย จนเป็นกงั วลวา่ ถา้ หากต้องเลอ่ื นตอ่ ไปอกี จะมปี ัญหาด้านค่าใชจ้ ่ายในการทาสญั ญาเช่าพัก

5 จากประสบการณ์การเรยี นออนไลนใ์ นเทอมทผี่ า่ นมา การนั่งฟังอาจารย์สอนผา่ นคอมพิวเตอร์เป็นเวลา
ประมาณ 3 ช่ัวโมง จะเสียสมาธงิ า่ ยมาก และอาจทาใหเ้ สียสขุ ภาพจิตเพราะอยคู่ นเดียว เป็นระยะ
เวลานาน จึงไมอ่ ยากกลบั ไปเรยี นออนไลน์ 100% แบบเทอมท่ีแล้ว

6 คดิ ว่าการไปเรียนทมี่ หาลัยเปน็ ความเสย่ี งต่อการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 เพราะนกั ศึกษาในคณะ
มาจากหลายที่ และไม่ทราบแน่ชดั วา่ ไปทใ่ี ดมาบ้าง อาจจะไปพื้นทีเ่ สยี งหรอื ไมก่ ็อาจสัมผสั ผตู้ ดิ เชื้อมา
โดยไมร่ ตู้ วั การใหไ้ ปเรยี นด้วยกนั ถือวา่ เป็นความเสีย่ งมากๆ ควรใหเ้ รยี นออนไลนด์ ที ่สี ดุ

7 กลัววา่ ถ้านกั ศึกษากลับไปเรียนในมหาวทิ ยาลยั จะตดิ เชื้อกนั อยากให้ออนไลนไ์ ปก่อนตลอดเทอม

8 ด้านการเงนิ

9 อยแู่ ตท่ ีห่ ้องค่ะ เบ่อื สภาพแวดล้อมเดมิ ไมม่ สี มาธคิ ะ่

10 ด้านสังคมคะ่ ไม่ได้เจอเจอเพอื่ นแบบตวั เปน็ ๆคะ่ สื่อสารกนั ผ่านแชทอาจมีการทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผิด
กันไดง้ า่ ยค่ะ และไมร่ จู้ ะเข้าหาเพ่อื นดว้ ยวธิ ไี หนค่ะเนื่องจากไมเ่ คยเจอกันและไมร่ ู้จักกันมากอ่ น

จดั ทำโดย: นำงสำวสิรริ ัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

ลาดบั รายละเอยี ดขอ้ กงั วลใจ /ปญั หาทพี่ บ
11 กังวลว่าถา้ กลบั ไปเรยี นปกตจิ ะมโี อกาสตดิ โควิดสงู อีกทั้งพอกาหนดการเรยี นออนไลนย์ ังไมแ่ นช่ ดั ทาให้

ไมส่ ามารถจัดการเรือ่ งหอได้เตม็ ที่ บางคนต้องเสยี ค่าหอไปฟรๆี หรือบางคนไมร่ ู้ว่าจะทาเรอื่ งขอคืนคา่
หอดมี ้ัย เพราะไมร่ ู้วา่ อนาคตจะได้กลับมาเรยี นทม่ี อหรอื เปล่า ทาใหอ้ าจเสียสทิ ธแ์ิ ละเสยี เงินโดยใชเ่ หตุ
ยง่ิ สถานการณ์แบบน้ี สภาพการเงินของแต่ละครอบครวั ไมเ่ สถยี ร หลายครอบครวั ไมไ่ ด้เงินซัพพอรท์ มาก
เพยี งพอ ดงั น้นั ฝากทางคณะพจิ ารณาด้วยนะคะ

12 ในการเดินทางไปมอ กังวลวา่ จะติดเช้ือระหว่างการเดินทาง ในเรอื่ งการเรยี นการสอน กงั วลว่าระบบจะ
รวน ซึง่ เคยเกดิ ขึน้ แลว้ นักศกึ ษาเขา้ เรยี นครบทุกคาบ แต่ไฟล์การเขา้ เรยี นในซมู ที่ผูส้ อนไดบ้ นั ทึกไวไ้ มม่ ี
รายชือ่ นกั ศึกษาบางคนเลยสกั ครงั้ ควรพิจารณาเพ่มิ ชอ่ งทางการเช็คชอื่ อ่นื เพอื่ เป็นการเชค็ อกี ครง้ั

13 ตอนนมี้ ีอาการตาแหง้ และมา่ นตาอักเสบค่ะ

14 เนอ่ื งด้วยความไมแ่ น่นอนของรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนส่งผลต่อการตัดสนิ ใจเร่อื งที่อยอู่ าศยั ของ
เด็กตา่ งจังหวัด เนอื่ งจากทางหอพกั ก็กาหนดระยะเวลาที่ให้ตดั สินใจวา่ จะเชา่ อยตู่ ่อหรือยกเลิกสญั ญา
ก่อนที่จะรูข้ อ้ สรุปของการเรียนการสอนที่แนช่ ดั ซึ่งความไมแ่ นน่ อนน้ีส่งผลถงึ เรอื่ งคา่ ใชจ้ ่ายหรอื การ
พลาดโอกาสต่างๆท่ีจะเปลย่ี นแปลงไปตามรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน เชน่ ถ้าเป็นการเรยี นการ
สอนแบบออนไลนก์ ็อาจจะต้องเสยี คา่ เชา่ ตอ่ ไปทง้ั ท่ีไมม่ คี วามจาเป็นต้องพกั อาศัย และการเรยี นออนไลน์
ส่งผลต่อสุขภาพท่ีชดั ท่สี ดุ คือความเครยี ดและสายตา

15 รู้สกึ วา่ การเรยี นออนไลนม์ คี วามเครยี ดและกงั วลมากกวา่ การเรยี นเเบบทมี่ หาลยั เนอื่ งจากจะต้องอยกู่ บั
ตัวเองมากเวลาทเี่ ครยี ดหรอื กังวลใจหรอื มปี ญั หาอะไรกป็ รกึ ษาอาจารย์ไดเ้ พียงเเค่ผา่ นไลนเ์ ทา่ น้นั อกี ทง้ั
ไมม่ กี จิ กรรมอะไรทท่ี าให้ผอ่ นคลายความเครยี ดด

16 อยากขอเงนิ ค่าหอคืนแตเ่ กรงว่าคณะจะประกาศเรียนที่คณะอยา่ งกะทันหันทาให้ไมม่ ที ี่อยู่อาศยั จาก
สถานการณต์ อนนไี้ มอ่ ยากไปเรยี นทค่ี ณะเพราะกลัวโควดิ

17 กงั วลเร่ืองรูปแบบการเรียนเนอื่ งจากหากสามารถเรยี นออนไลนไ์ ดเ้ ต็มรปู แบบ อยากทราบว่าจะสามารถ
ขอคนื เงินค่าหอพักเพือ่ ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยไดเ้ ต็มจานวนหรอื ไม่ และกงั วลวา่ หากปรับกลับไปเรยี นปกติ
ท้ังทยี่ กเลิกหอพักจะไมม่ ที อ่ี ยู่อาศยั เน่อื งจากมงี บจากดั สาหรบั หอพกั ภายในมหาวทิ ยาลยั เท่านั้น

จดั ทำโดย: นำงสำวสิริรตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

ลาดบั รายละเอยี ดขอ้ กงั วลใจ /ปญั หาทพี่ บ
18 สุขภาพจิตเปน็ สิ่งทีส่ าคญั ทสี่ ุดในการใช้ชวี ิต ตอนนีก้ าลงั จบปกี ารศกึ ษาไปโดยทยี่ ังไมไ่ ดใ้ ช้ชีวิตในร้ัว

มหาวิทยาลยั โดยเฉพาะนักศกึ ษาปีท1่ี
19 ด้านการเงิน
20 บา้ นเปน็ เซฟโซน แตค่ นที่บา้ นไมใ่ ชเ่ ซฟโซนคะ่ อยบู่ ้าน24 ชั่วโมงนไ่ี มไ่ ดด้ ีเลย ความมแี กป๊ อายุ ระหว่าง

เรากบั พ่อแมก่ ับคนในบา้ น พอมเี ร่ืองไมส่ บาย มันไม่โอเคทีจ่ ะพูดกับเขาเลย พูดไปเขาก็ไ ม่เข้าใ จ
ทะเลาะกนั เปลา่ ๆ พอไมไ่ ด้เจอเพอ่ื นกไ็ มร่ จู้ ะหันไปปรกึ ษาใคร ไมใ่ ชว่ ่าไมม่ เี พื่อนในคณะ แต่เราก็เพ่ิงเจอ
เพิ่งสนทิ ปญั หาเล่าน้นั มันไมค่ วรเอาไปใสค่ นทเ่ี ราเพ่ิงรจู้ ัก ยิ่งเจอกันในออนไลน์ เราไมร่ ูห้ รอกว่าพอเจอ
จรงิ ๆ เรากับเขาจะโอเคกันในเรอื่ งทง้ั หมดไหม เพ่ือนเกา่ ก็ไปมชี ีวติ ของเขา เราไมร่ จู้ ะหนั ไปคุยกบั ใคร ได้
แตเ่ ก็บไว้ บางทกี ็รอ้ งไห้บา้ งถ้ารู้สึกวา่ มนั หนกั ไป ได้แต่ปลอบตวั เองว่าโอเค แต่จริงๆก็ไ ม่นั้นแหละ
สดุ ท้ายวิธีท่ดี ีท่ีสดุ คือเราเฟดตัวเองออกมาจากคนอื่น อยแู่ ตใ่ นห้องตวั เอง พยายามหาอะไรทา ไมใ่ หม้ นั
ว่างจนฟงุ้ ซา่ น ไมใ่ หเ้ บื่อ
21 มกี จิ กรรม มแี พลนไวห้ ลายอยา่ งท่อี ยากทา แตอ่ ยบู่ า้ นไมไ่ ดท้ าอะไรเลยด้วยสถานท่ีและความเหมาะสม
พอจะทานูน้ นี้ แมก่ ็ไมเ่ หน็ ดว้ ย จะออกจากบ้านทกี ย็ าก 2020 ท่ีผ่านมา ทาอะไรเปน็ ชิ้นเปน็ อันไดไ้ ม่กี่
อยา่ งเอง
22 ปวดหลงั ปวดตาคา่ สายตาเพมิ่

หน่วยกจิ กำรนักศกึ ษำ

จดั ทำโดย: นำงสำวสิริรตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

ขอ้ มลู ที่พบจำกกำรสำรวจนกั ศึกษำคณะศิลปศำสตร์ ระดับปรญิ ญำตรี
เร่ือง “ข้อกังวลใจ หรือ ปัญหาท่พี บในช่วงสถานะการณค์ วบคุมโรคระบาดโควดิ -ต (รอบท่ี2)

ด้ำนกจิ กรรมทจ่ี ดั เพื่อพฒั นำนกั ศึกษำคณะศลิ ปศำสตร์
สารวจ ณ เดอื นมกราคม 2564

ลาดบั รายละเอยี ดขอ้ กงั วลใจ /ปัญหาทพ่ี บ
1 อยปู่ ี 4 แลว้ แตย่ ังเกบ็ activity transcript ไมค่ รบ แตไ่ ม่มกี ิจกรรมที่สะดวกหรือเหมาะสมกับสถานการณ์
เลย ส่วนใหญม่ แี ตต่ ้องออกนอกสถานท่ี เชน่ ตา่ งจังหวดั และกจิ กรรมทเ่ี ปิดเต็มแล้วเปน็ สว่ นใหญ่
2 เนอ่ื งจากมีการยกเลกิ กจิ กรรมหลายอยา่ งทาใหข้ าดการรูจ้ กั กบั เพือ่ นต่างคณะ
3 2. เนอ่ื งจากสถานการณ์โควดิ -19 ทาใหก้ จิ กรรมทุกอยา่ งต้องหยดุ ชะงัก อยากให้คณะและมหาวทิ ยาลยั ชว่ ย
พิจารณาเร่อื งคะแนนและชัว่ โมงการทากิจกรรม Activities Transcript ทก่ี าหนดเงื่อนไขต้องเข้ารว่ มทง้ั หมด
16 กิจกรรม รวมเวลาทั้งหมด 100 ชม. และด้วยสถานการณ์เช่นนี้ทาให้เกิดผลกระทบคือ ไม่สามารถ
ดาเนินการและเขา้ ร่วมกิจกรรมใดๆได้ อยากฝากใหพ้ ิจารณาและแกไ้ ขดว้ ยค่ะ
4 อยปู่ ี 4 แล้วแตย่ ังเกบ็ activity transcript ไมค่ รบ แตไ่ มม่ ีกิจกรรมทีส่ ะดวกหรอื เหมาะสมกับสถานการณ์
เลย สว่ นใหญ่มแี ตต่ ้องออกนอกสถานที่ เชน่ ต่างจังหวดั และกจิ กรรมทเี่ ปดิ เต็มแล้วเปน็ สว่ นใหญ่
5 ดฉิ ันเปน็ หนงึ่ คนทีค่ อ้ งก้กู ยศ.เพอ่ื จา่ ยค่าเทอมและในข้อกาหนดของกยศ. หากตอ้ งการเป็นผูก้ ใู้ นปตี ่อๆไป
จะต้องมชี ่วั โมงกิจกรรมไมต่ ่ากว่า 36 ช่วั โมง แต่ในกรณที ี่ทางมหาวทิ ยาลัยไมส่ ามารถจดั กิจกรรมจิตอาสาให้
นกั ศึกษาได้เขา้ ร่วมได้ จึงทาใหด้ ฉิ นั และเพ่อื นๆอกี หลายคนประสบปญั หาในการเก็บชั่วโมงกิจกรรมดงั กลา่ ว
ดิฉนั จงึ อยากใหท้ างมหาวิทยาลัยจดั การลดชว่ั โมงกจิ กรรมทจ่ี ะต้องใชย้ นื่ กยศ. หรอื หากเปน็ ไปไดด้ ิฉนั อยาก
ให้ทางมหาวิทยาลยั งดเวน้ การยืน่ ชว่ั โมงกิจกรรมเพอ่ื ก้ยู ืมไปก่อนสักหนงึ่ ปี เพอื่ ความสบายใจของนกั ศกึ ษาที่
ไมส่ ามารถทากจิ กรรมจิตอาสาได้ ขอบคุณค่ะ

6 อยปู่ ี 4 แลว้ แต่ยงั เกบ็ activity transcript ไม่ครบ แตไ่ ม่มีกิจกรรมท่ีสะดวกหรือเหมาะสมกับสถานการณ์
เลย สว่ นใหญ่มแี ตต่ ้องออกนอกสถานท่ี เชน่ ตา่ งจังหวดั และกจิ กรรมทเี่ ปดิ เตม็ แลว้ เป็นสว่ นใหญ่

หนว่ ยกจิ กำรนกั ศกึ ษำ

จดั ทำโดย: นำงสำวสิริรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

สรปุ ข้อมูลผลกำรสำรวจจำกนกั ศกึ ษำคณะศลิ ปศำสตร์ ระดบั ปริญญำตรี
เรื่อง “ขอ้ กงั วลใจ หรอื ปญั หาที่พบในชว่ งสถานะการณ์ควบคมุ โรคระบาดโควิด-ต (รอบท่ี2)

สารวจ ณ เดือนมกราคม 2564

กรำฟแสดงผลข้อมูล สถติ คิ ำถำมหรอื ปัญหำท่นี ักศกึ ษำ ต้องกำรทรำบ
ในชว่ งสถำนะกำรณค์ วบคมุ โรคระบำดโควดิ -19 (รอบที่2)

1. ด้านสขุ ภาพ การดาเนนิ ชวี ติ และความเปน็ อยขู่ องนกั ศกึ ษาในชว่ งสถานะการณค์ วบคมุ โรคโควดิ -19

สรุป ปัญหาแ ละความ กังวลใจ
ด้าน สุข ภาพของนักศึกษา

80.0 71%
70.0

60.0

50.0

40.0 29%
30.0

20.0

10.0

0.0

สขุ ภาพดา้ นรา่ งกาย สขุ ภาพด้านจิตใจ อารมณ์ ความเครยี ด

ปัญหาสขุ ภาพทส่ี ารวจพบ คอื

ด้านรา่ งกาย เชน่ ปวดตา ตาแหง้ มา่ นตาอักเสบ ปวดหลงั

ดา้ นจติ ใจ เชน่ เกดิ ความเครยี ด รสู้ กึ กงั วล เหงา เบื่อหนา่ ย ท้อแท้ และขาดสมาธิ
ในการเรยี นออนไลน์

จดั ทำโดย: นำงสำวสริ ิรตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

สรปุ ปญั หาและความกงั วลใจ
ดา้ นการดาเนนิ ชวี ิต และความเปน็ อยขู่ องนกั ศกึ ษา

เรือ่ งขาดกจิ กรรมเพอื่ ผ่อนคลายเมอื่ เรยี นออนไลน์ 12% 32%
เรื่องขาดการเขา้ สงั คม และขาดทป่ี รกึ ษา 12% 28%

เรื่องความเสยี่ งในการติดโรคโควดิ เมื่อกลับมาเรยี นท…ี่ 16%
เร ่ืองทอ่ี ยอู่ าศยั /การเชา่ หอพกั
5% 10% 15% 20% 25% 30% 35%
เร่ืองการเงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเรยี นหรอื ดาเนนิ ชวี ติ

0%

สรปุ ปญั หาดา้ นการดาเนนิ ชวี ิตและความเปน็ อยทู่ สี่ ารวจพบ คอื
1.เรอ่ื งความเสยี่ งในการตดิ โรคโควดิ เมอ่ื ตอ้ งกลบั มาเรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั (ร้อยละ 32)
เชน่ นักศกึ ษาเกดิ ความกงั วัลใจเมอื่ ตอ้ งเดนิ ทางมาเรยี นทมี่ หาวิทยาลยั เนอื่ งจากนักศึกษามาจากหลายจังหวัด มีทั้ง
พืน้ ท่เี ส่ยี งดว้ ย จงึ เกิดความกงั วลใจเมอื่ ตอ้ งกลบั มาเรยี นท่คี ณะฯ ในขณะทส่ี ถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ -19
ยังไมเ่ ข้าส่ภู าวะปกติ

2.เรอ่ื งการเงนิ แ ละคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั (ร้อยละ 28)
เชน่ ค่าใช้จา่ ยเรือ่ งการใชง้ าน Internet คา่ ใช้จา่ ยในการจา่ ยค่าไฟฟ้าทเี่ พิม่ มากขนึ้ ปัญหาเรอ่ื งคา่ ใชจ้ า่ ยใน
ชีวิตประจาวนั เชน่ คา่ อุปโภค บรโิ ภค เนอื่ งจากครอบครวั ขาดรายไดใ้ นชว่ งโรคโควิดส่งผลตอ่ รายรบั ของครอบครวั

3.เรอื่ งทอี่ ยอู่ าศยั และการเชา่ หอพกั (รอ้ ยละ 16)
เช่น การเชา่ หอพกั เนอ่ื งจากนักศกึ ษายงั ไมแ่ นใ่ จวา่ จะกลบั บา้ นดี หรือเชา่ หอเพ่อื รอมาเรียนทมี่ หาวทิ ยาลัยดี การ
จา่ ยค่าเช่าหอไปแลว้ แตไ่ มไ่ ดอ้ ยู่หรอื เชา่ ท้ิงไว้เพ่ือหวังว่าจะมีทพี่ ักเมอื่ ตอ้ งกลบั มาเรยี นทมี่ หาวทิ ยาลยั

4.เรอื่ งการขาดกจิ กรรมเพื่อการผอ่ นคลายเมอ่ื เรยี นออนไลนเ์ สรจ็ (รอ้ ยละ 12)
เชน่ นกั ศกึ ษาเสรจ็ สน้ิ การเรยี นออนไลน์ ต้องทาการบ้านหรอื งานกลมุ่ ที่ไดร้ บั จานวนมากจากหลาย ๆ วชิ า ส่งผลให้
ไม่มีเวลาในการเลือกทากิจกรรมทไี่ ดร้ ับการผอ่ นคลายเทา่ ทคี่ วร และในช่วงสถานการณ์ควบคมุ โรคฯ ส่งผลใหไ้ ม่
สามารถออกไปทากิจกรรมนอกบ้านได้ เช่น ไปออกกาลงั กาย ไปห้างสรรพสนิ คา้ ไปชมภาพยนตร์ ฯลฯ

5.เร่อื งการขาดการเข้าสมั คม แ ละขาดทปี่ รกึ ษา (รอ้ ยละ 12)
เชน่ นักศกึ ษาขาดการเขา้ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะฯ หรอื มหาวทิ ยาลัย ส่งผลใหข้ าดการเข้าสงั คม การ มี
ปฏสิ มั พนั ธก์ บั เพอ่ื น ๆ ในคณะและต่างคณะ สง่ ผลใหบ้ างครัง้ นักศกึ ษาเกิดความกงั วล หรือเกรงใจ หากจะขอ
คาปรกึ ษาจากเพ่ือนทต่ี นเองสนทิ เพราะยงั ไมเ่ คยพบเจอกนั เลย

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ริ ัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

สรปุ ขอ้ มูลผลกำรสำรวจจำกนักศึกษำคณะศลิ ปศำสตร์ ระดับปรญิ ญำตรี
เรอื่ ง “ขอ้ กังวลใจ หรอื ปญั หาทีพ่ บในช่วงสถานะการณค์ วบคมุ โรคระบาดโควิด-ต (รอบที่2)

สารวจ ณ เดอื นมกราคม 2564

กรำฟแสดงผลข้อมลู สถิติคำถำมหรอื ปญั หำทนี่ กั ศกึ ษำ ตอ้ งกำรทรำบ
ในชว่ งสถำนะกำรณค์ วบคมุ โรคระบำดโควดิ -19 (รอบที่2)

2. ด้านกจิ กรรมทจี่ ดั เพอ่ื พฒั นานกั ศกึ ษาคณะศลิ ปศาสตร์ ในชว่ งสถานะการณค์ วบคมุ โรคโควิด-19

สรปุ ปญั หาและความกงั วลใจ
ด้านการรว่ มกจิ กรรมพฒั นานกั ศกึ ษา (ปญั หาทพ่ี บ)

16% 50% 50% เร่อื งการเก็บช่วั โมงการทากิจกรรมของนักศกึ ษา A.T.
34% ไม่ครบตามท่ีมหาวิทยากาหนด

34%
เรือ่ งกิจกรรมดา้ นการสรา้ งเครอื ข่ายไม่สามารถจัดได้
ทาใหข้ าดปฏิสมั พันธก์ ับเพ่ือนในคณะและต่างคณะ

16% เรอ่ื งจานวนชั่วโมงกิจกรรมดา้ นจติ อาสามีผลกระทบ
ต่อการย่นื กู้ กยศ.

ปญั หาดา้ นกจิ กรรมพัฒนานกั ศกึ ษาทส่ี ารวจพบ คอื
ความกงั วลใจในเร่ืองการเกบ็ จานวนช่ัวโมงกิจกรรมไม่ครบตามมหาวทิ ลยั กาหนด หรือ Activity Transcript
(A.T.) เน่ืองจากสถานะการณ์ควบคมุ โรคโควดิ จึงมีขอ้ จากดั การจัดกิจกรรม และขอ้ จากัดดา้ นการเข้าร่วม
กจิ กรรมบางกจิ กรรมทตี่ ้องทารว่ มกนั เช่นด้านจติ อาสา อีกท้งั ในนักศึกษาทกี่ ู้ยมื เงนิ เพ่อื การศกึ ษา (ก ยศ.) มี
ความจาเป็นจะต้องเกบ็ ช่ัวโมงกจิ กรรมดา้ นจติ อาสาเพอ่ื ใช้ในการสมคั รขอทนุ กยศ. กับทางมหาวิทยาลยั ในภาค
การศึกษา 2564 และการจดั กิจกรรมออนไลนม์ ขี อ้ จากดั ดา้ นการสอ่ื สารอีกด้วย
หมายเหตุ ระบบใบรับรองการเข้ารว่ มกจิ กรรม (Activity Transcript System) ไมม่ ผี ลต่อการจบการศกึ ษาแต่
มหาวทิ ยาลัยจะออกใบรบั รองการผา่ นกจิ กรรมใหเ้ มอื่ นกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมกจิ กรรมครบตามที่มหาวทิ ยาลยั กาหนด

จดั ทำโดย: นำงสำวสริ ิรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

รวบรวมคำถำม-คำตอบ
เรื่อง Activity Transcript (AT)

“ใบรับรองกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรของนกั ศกึ ษำมหำวิทยำลยั มหิดล”

AT คอื อะไร ?

AT ย่อมาจาก Activity Transcript คือ ใบรบั รองการเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร โดยระบบ AT จะเกบ็ ข้อมลู การเขา้
ร่วมกจิ กรรมของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยมหิดลตลอดหลกั สูตร ซงึ่ นักศึกษาสามารถดปู ระวัติการเขา้ ร่วมกจิ กรรมของตนได้
จากเว็บไซต์ www.activity.mahidol.ac.th และเม่อื สาเรจ็ การศกึ ษาก็จะได้รบั ใบรบั รองดงั กล่าว เพือ่ นไปใชป้ ระโยชน์
ตา่ งๆ เชน่ เป็นหลักฐานประกอบการสมคั รเขา้ ทางาน หรอื อ่นื ๆ เปน็ ตน้

ทาไมตอ้ งมรี ะบบ AT?

• เพราะ AT มีการรวบรวมขอ้ มูลการเข้าร่วมกจิ กรรมของนักศึกษาอย่างเป็นระบบและ จัดเก็บไว้ทีส่ ่วนกลางของ
มหาวิทยาลยั ดงั นน้ั นกั ศกึ ษาสามารถดูประวตั ิการเขา้ ร่วมกิจกรรมของตนเองออนไลนไ์ ด้
• เนือ่ งจากองค์กร และ บริษัทหลายๆแหง่ ใหค้ วามสาคญั กบั ประสบการณ์ภายนอกหอ้ งเรียนของนกั ศึกษามากยิ่งขึ้น
ดังนนั้ AT สามารถใชเ้ ป็นเอกสารประกอบการสมคั รงานหลงั จากนกั ศึกษาสาเรจ็ การศึกษาได้
• มหาวทิ ยาลัยมหดิ ลจะนาขอ้ มูลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนกั ศกึ ษามาวเิ คราะห์ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ งๆของนักศกึ ษา
เพอื่ ที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนานักศกึ ษาใหเ้ ปน็ บณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค์ของมหาวิทยาลยั มหิดลตอ่ ไป

ทาอย่างไรจงึ จะไดร้ บั ใบรบั รอง AT ?

1. สมัครในระบบ AT หรือยนื ยันตนเอง (กรณีทมี่ ชี ่ืออยใู่ นระบบ) ที่เว็บไซต์ http://www.activity.mahidol.ac.th
2. ค้นหากิจกรรมทตี่ นเองสนใจและสมคั รเขา้ รว่ มผา่ นในเวบ็ ไซต์ AT หรอื จะสมัครโดยตรงกับผดู้ ูแลโครงการ
3. เข้ารว่ มกจิ กรรมตามกาหนดการ
4. ตรวจเชค็ ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมและหน่วยชวั่ โมงกิจกรรมในเวบ็ ไซต์ AT ถา้ หากพบข้อผดิ พลาดของข้อมูลโปรดแจ้ง
ผู้ดูแลโครงการหรอื แจง้ ศูนย์ประสานงาน Activity Transcript
5. เมอ่ื ใกลจ้ บหลกั สตู รการศกึ ษา ใหน้ กั ศึกษาตรวจเชค็ วา่ ตนผา่ นเกณฑต์ ามท่มี หาวิทยาลัยกาหนดหรือไม่ กรณีผ่านตาม
เกณฑ์ นักศึกษาสามารถยน่ื ในคารองขอใหม้ หาวิทยาลัยออกใบรบั รองการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาได้

จดั ทำโดย: นำงสำวสิริรัตน์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564

2. แผนข้อมูลด้ำนกิจกรรมทีจ่ ะจัดเพอ่ื กำรพัฒนำตนเองให้กบั นักศึกษำ ในภำคกำรศึกษำที่ 2/2563
ท่จี ัดโดยหน่วยกิจกำรนกั ศึกษำ งำนกำรศึกษำและนวตั กรรมกำรเรียนรู้ คณะศลิ ปศำสตร์

หมายเหตุ : กาหนดการจดั กจิ กรรมอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงตามสถานะการณ์การควบคุมโรคโควิด-19 และตาม
ประกาศเรื่องการจัดกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

1. โ ครงการLA Communication Styles Part1 : “สื่อ สารอย่างไร... เ พื่อ ผลลัพธ์สัมพันธภาพ แ ละ
ภาพลกั ษณแ์ บบมอื อาชพี ” (รูปแบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM)
จดั วันพฤหสั บดีที่ 18 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 18.30 – 20.30 น. (รบั AT. 2 ชั่วโมง)

2. โครงการLA Communication Styles Part 2 : “ต่างคน ต่างวยั ส่ือสารอยา่ งไร...ใหเ้ ขา้ ใจความสมั พนั ธ”์
(รปู แบบออนไลน์ โปรแกรม ZOOM)
จัดวนั อังคารท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 18.30 – 20.30 น. (รับ AT. 2 ช่ัวโมง)

3. โครงการLA Wealth Me Up "ลงทนุ เปน็ ..เหน็ อนาคต"
จดั เดอื น 10 มีนาคม 2564 (รับ AT. 2 ช่วั โมง)

4. โครงการLA YouTuber "ปัน้ ฝนั ...ปันคอนเทนส"์
จัดเดอื นเมษายน 2564 (รับ AT. 3 ชั่วโมง)

5. โครงการLA Blogger Build Course "สรา้ งรายไดย้ คุ 5G นอ้ ย... แ ตม่ าก"
จัดเดือน เมษายน 2564 (รบั AT. 3 ชั่วโมง)

6. โครงการLA สานรกั ษ์ สานใจ เรยี นรวู้ ิถไี ทย ใสใ่ จสงิ่ แวดลอ้ ม
ตอน "ขเ่ี จ้าทยุ ลุยทงุ่ นา ชมท้องฟา้ ทีบ่ ้านครูธานี"
*กาหนดการดตู ามความเหมาะสมเนอ่ื งจากเป็นกิจกรรมกล่มุ สมั พันธ์ (รับ AT. 6 ช่วั โมง)

7. โครงการ Transformative Learning (นักศกึ ษารหสั 63): กระบวนการเรยี นรู้สูก่ ารเปลยี่ นแปลง
จัดเดอื นพฤษภาคม / มถิ นุ ายน 2564 (แบง่ เปน็ 3 รอบ ๆ ละ 50 คน) (รับAT. 3-5 ชัว่ โมง)

8. โครงการ The Last Lecture "รับขวัญบณั ฑติ รนุ่ ที่ 14
จดั เดือนตุลาคม 2564 (รบั AT. 2 ชั่วโมง)

9. โครงการทนุ ส่งเสรมิ ศกั ยภาพและเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ตามคณุ ลักษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ ประจาปี
งบประมาณ2564 (นกั ศกึ ษาสามารถแจ้งความประสงคข์ อรบั ทนุ ฯ ไดใ้ นกรณที ่ีไปร่วมกจิ กรรม ประกวด แขง่ ขนั
หรือนาเสนอผลงานวิชาการ ฯลฯ โดยมงี บประมาณสนบั สนุนตามประกาศท่คี ณะฯกาหนด)
ดาเนินการขอทนุ สนบั สนนุ ฯ ระหวา่ งเดือนตุลาคม 2563 – กันยายน 2564

จัดทำโดย: นำงสำวสริ ริ ตั น์ เดชเพชร | Work from home มกรำคม 2564


Click to View FlipBook Version