The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับผ้ามัดย้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Fon Wiomlsiri, 2022-01-23 09:50:51

ชุดที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับผ้ามัดย้อม

ชุดที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับผ้ามัดย้อม

1

2

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชางานคหกรรม (ง20255) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้
การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อม จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพื่อส่งเสริมความ
คิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่อยู่
บนฐานขององค์ความรู้จากการเรียนรู้มาออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อม ให้มีลักษณะโดดเด่น มี
ความเป็นเอกลกั ษณ์ แนวคิดน้ียงั สะท้อนถึงกระบวนการซ่ึงรวมเอาวฒั นธรรม เศรษฐกจิ และเทคโนโลยีเข้า
ไว้ด้วยกันในการผลิตสินค้า เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ผ่านการลงมือปฏิบัติ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน
และยังอาศยั ความพร้อมของร่างกายผูเ้ รียน โดยนวัตกรรมนจี้ ะช่วยเสริมสร้างและพัฒนาความสามารถด้าน
ความคดิ สรา้ งสรรค์ไดเ้ ปน็ อย่างดี

ชุดกจิ กรรมนี้มีเน้ือหา สสี ันและความยากงา่ ย เหมาะสำหรับชว่ งวยั ของนกั เรยี น และนักเรียน
ยงั สามารถตรวจสอบความเข้าใจและประสทิ ธิภาพทางการเรียนของตนเองจากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ชุดกิจกรรม
การเรยี นรเู้ ล่มนจ้ี ะช่วยให้นกั เรยี นได้ฝึกฝนเรยี นรู้จนเกิดความชำนาญจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยสรา้ ง
นิสัยใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสามารถคิดเปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเปน็ เกดิ ความกระตือรือร้นในการเรยี น

ผู้จดั ทำหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่าชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ผา้ มดั ย้อมตามแนวคดิ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ชดุ นี้
จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอนวิชาเพิม่ เติม สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรแู้ ละมีทกั ษะท่ดี ีขึ้น และ
ขอขอบคุณเจ้าของบทความ บทอ่านทุกท่านทผ่ี จู้ ดั ทำไดน้ ำมาประกอบเนื้อหาในชดุ กจิ กรรมน้ี หากมี
ข้อบกพร่องประการใด ต้องขออภยั มา ณ ท่นี ้ี

วมิ ลสริ ิ กันทาธรรม
ผจู้ ัดทำ

3

สารบญั

เรือ่ ง หนา้
คำช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรม 1
คมู่ ือครู 3
คู่มือนักเรยี น 4
จุดประสงค์การเรียนรู้ 5
เนือ้ หาสาระและส่ือ
6
- บัตรเน้ือหา เรอ่ื ง ความรู้เกี่ยวกบั ผ้ามัดย้อม 10
- บัตรกิจกรรมสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ เรอื่ ง ท้องถิน่ ฉนั มดี ี 11
- บตั รกิจกรรม เรอื่ ง คดิ แล้วคิดอกี 12
- บัตรเนอ้ื หา เร่อื ง การสร้างลวดลายผ้ามดั ย้อม
แบบประเมนิ ผล 36
- แบบทดสอบหลังเรยี น
ภาคผนวก 40
- เฉลยบัตรกิจกรรม เร่อื ง คิดแลว้ คิดอีก 41
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 42
บรรณานกุ รม

1

คำชี้แจง

1) ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ผู ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกจิ สร้างสรรคน์ เ้ี ป็น
นวตั กรรมการเรยี นรูท้ ่ีผจู้ ดั ทำสรา้ งข้นึ เพ่ือประกอบการเรียนร้วู ิชางานคหกรรม รหสั วชิ า
ง20255 มีจุดประสงคห์ ลกั เพ่ือส่งเสริมความคิดสรา้ งสรรค์ ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่
2 โดยชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ มีทัง้ หมด 4 ชดุ ประกอบดว้ ย

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ความรู้พน้ื ฐานการประดิษฐ์
ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง ความรู้เกยี่ วกบั ผ้ามัดย้อม
ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง การออกแบบผลิตภณั ฑ์
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง การประดษิ ฐ์และการจัดจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์

จากผ้ามัดย้อม
2) ชดุ กิจกรรมการเรยี นรนู้ ี้เป็นชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง ความรเู้ กี่ยวกับผา้ มดั ยอ้ ม ใช้
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชางานคหกรรม (ง20255) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2
จำนวน 2 แผน เวลา 4 ชวั่ โมง
3) ส่วนประกอบของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ ที่ 2 ประกอบดว้ ย

3.1 คำชี้แจง
3.2 คำแนะนำสำหรบั ครู
3.3 คำแนะนำสำหรบั นักเรียน
3.4 จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.5 เน้ือหาสาระและสอื่

3.5.1 บัตรเนอ้ื หา
3.5.2 บตั รกิจกรรม
3.6 แบบประเมนิ ผล
3.7 ภาคผนวก
3.8 บรรณานกุ รม
4) ผเู้ รียนท่ใี ชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนร้ชู ดุ นี้ ศึกษาขัน้ ตอนและคำแนะนำในการใช้
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ใหล้ ะเอียดก่อนนำไปใช้

2

5) ขนั้ ตอนในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
ครผู ูใ้ ชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ จะได้ศึกษาขัน้ ตอนในการใช้ชุดกิจกรรมการ

เรยี นรู้ ใหเ้ ข้าใจ ดังน้ี
5.1 ครอู ธิบายวิธกี ารเรียนโดยใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้
5.2 ครชู แี้ จงบทบาทของนกั เรียน ให้นักเรยี นเข้าใจบทบาทของตนเองในการ

ดำเนนิ กจิ กรรมในแต่ละชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.3 ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามเก่ยี วกบั วิธี หรอื ขัน้ ตอน หรอื บทบาทของ

นักเรยี นตลอดจนขอ้ สงสัยอนื่ ๆ
5.4 ครดู ำเนินการจดั กจิ กรรมตามที่กำหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือ

กระตุ้นใหน้ ักเรยี นเกิดความสนใจในเนอื้ หาท่ีกำลงั เรียน
5.5 ครดู ำเนินการจัดกจิ กรรมตามท่ีกำหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้โดย

คำนึงถึงความสามารถในการรบั รขู้ องนักเรยี น และเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ให้นักเรียนได้
ปฏิบัติตามกิจกรรมทีก่ ำหนดไว้

5.6 ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปส่ิงที่ได้เรยี นมา โดยใหน้ กั เรียนอภิปรายหรือ
การเขยี นสรุปเป็นแผนผังความคดิ โดยครูคอยชแ้ี นะ

5.7 นกั เรยี นตอบคำถามในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้

3

คำแนะนำในการใชช้ ดุ กิจกรรมสำหรบั ครู

ครูเตรียมความพรอ้ มกอ่ นสอน
1. ศึกษาคำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อม สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา การวัดและประเมินผล
ตลอดจนแหล่งการเรียนรู้ในแต่ละชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และครูควร
เตรียมชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจนอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ใหค้ รบถว้ น
3. เตรยี มสอ่ื อปุ กรณใ์ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้พร้อมและครบจำนวนนักเรยี นในชั้น
เรยี นแต่ละกลมุ่
4. ครูควรช้แี จงบทบาทและหน้าท่ีของผเู้ รียน และกำหนดข้อตกลงรว่ มกนั และแจ้ง
จุดประสงค์การเรียนรใู้ นแตล่ ะชุดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้นักเรียนทราบ

บทบาทครขู ณะสอน
1. จดั กิจกรรมการเรียนร้ตู รงตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้
2. ขณะที่นกั เรยี นปฏบิ ัติกิจกรรมการเรยี น ครูควรให้ความชว่ ยเหลอื แนะนำ กระตุ้น
เสริมแรงใหน้ กั เรียนทำกิจกรรมอยา่ งกระตือรือร้น และตอบข้อสงสยั ระหวา่ งเรียน พรอ้ มทงั้
สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน
3. สร้างบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ไม่ดุด่า ขู่เข็น บังคับ ให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรม
ไดอ้ ยา่ งอสิ ระตามข้อตกลง
4. ครูคอยให้กำลังใจ ชื่นชม และสง่ เสริมการเรยี นรู้ด้วยตนเองของนกั เรียน

บทบาทครหู ลังสอน
1. บันทึกผลทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตพฤติกรรม
2. การวัดและประเมนิ ผล จากแบบทดสอบหลงั เรยี น ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ตรวจ
บัตรกจิ กรรม ในการประเมินจะต้องคำนึงถงึ ความพร้อม วฒุ ิภาวะ และความแตกตา่ ง
ระหวา่ งบคุ คล
3. ช่นื ชมผลงานนกั เรียน ให้กำลงั ใจ ใหค้ ำแนะนำในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่อไป

4

คำแนะนำในการใช้ชุดกจิ กรรมสำหรับนกั เรียน

1. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดที่ 2 เร่อื ง ความรเู้ กีย่ วกับผา้ มดั ย้อม ใช้เวลา 4 ชว่ั โมง
2. อ่านคำชีแ้ จง คำแนะนำการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ให้เข้าใจก่อนลงมอื ศกึ ษา
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
3. อ่านทำความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้กอ่ นลงมอื ศกึ ษาข้อมลู ตามชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
4. ปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนในชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
5. ศึกษาเนื้อหาด้วยความตั้งใจ ร่วมแสดงความคิดเห็น อธิบาย ซักถามกันภายในกลุ่ม หาก
ไม่เขา้ ใจให้สอบถามครผู ู้สอน
6. ขณะที่ปฏิบัติกิจกรรมต้องทำด้วยความตั้งใจ และฝึกปฏิบัติอย่างเต็มกำลังความสามารถ
ของตนเอง
7. หลังจากเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละเนื้อหาของชุดจบแล้ว ให้ทำกิจกรรม
ประจำเนอื้ หานนั้ ๆ ของชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
8. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ชุดที่ 2 เร่อื ง ความรู้เกยี่ วกับผ้ามดั ย้อม จำนวน 10 ข้อ

คำแนะนำ
1) หากมีข้อสงสัยเกีย่ วกับชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 2 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับผ้ามัดยอ้ ม ให้
สอบถามจากครผู สู้ อน
2) เพือ่ ให้เกิดผลดตี อ่ นกั เรยี น นกั เรยี นตอ้ งมคี วามซอื่ สตั ย์

5

จุดประสงค์การเรยี นรู้

หลังจากนักเรยี นได้ศึกษาเรียนรู้และปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง
ความรูเ้ กีย่ วกบั ผา้ มดั ย้อม เสรจ็ แลว้ นักเรียนมพี ฤติกรรม ดังนี้

ดา้ นความรู้ (K)
1. นักเรียนอธิบายความหมาย หลกั การ และชนดิ ของผ้าที่ใชใ้ นการมดั ย้อมได้
2. นักเรยี นอธิบายวิธีการสรา้ งลวดลายผ้ามัดย้อมได้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
1. นักเรียนนำเสนอสีย้อมจากธรรมชาตทิ ม่ี ีในท้องถิ่นของตนเองได้
2. นกั เรยี นสร้างลวดลายผา้ มัดย้อมได้

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. นกั เรยี นมีความใฝ่เรยี นรู้
2. นักเรยี นม่งุ มนั่ ในการทำงาน

6

บตั รเน้ือหา
เรอื่ ง ความรู้เก่ียวกับผา้ มดั ย้อม

ความหมายของผ้ามดั ย้อม
การมัดย้อม (tie-dye) มีความหมายตรงตามตัวอักษร หมายถึง นำผ้ามามัดด้วย

วัสดุต่าง ๆ แลว้ นำไปย้อมสี โดยใช้วธิ ีการกนั สีด้วยวัสดบุ างอยา่ ง เชน่ ยางรดั เชือก หมุดปัก
ผ้า ตวั หนีบกระดาษ หรือการเย็บ ซงึ่ จะช่วยกันไมใ่ หส้ ีแทรกซึมลงไป การออกแบบการกันสี
ข้นึ อยกู่ ับวสั ดุท่ีใช้ นอกจากนนั้ ผลการออกแบบยังข้ึนอยู่กับปริมาณสีย้อม และการแทรกซึม
ของสีในผืนผ้าท่มี ดั ด้วย
ประวัตคิ วามเป็นมา

การทำผ้ามดั ย้อมอาจเริ่มเกิดขึ้นโดยไมต่ ัง้ ใจ
ของคนสมัยโบราณ โดยนักมานยุ วทิ ยา สนั นษิ ฐานว่า
อาจมีแนวความคิดมาจากการฟอกสีออกดว้ ยแสงอาทติ ย์
โดยบังเอิญ ซึ่งหลักฐาน ความร้ทู ่พี อจะเชือ่ ถือไดแ้ สด
ให้เห็นว่าประเทศในยุคแรก ๆ ท่ีมีการมดั ยอ้ มผ้าคอื
อินเดีย จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และแอฟริกาที่มีความคุ้นเคยกับเทคนิคการใช้สีย้อมที่มีอยู่
อย่างอุดมสมบูรณ์ ในประเทศอินเดียผ้ามัดย้อมจะเป็นที่รู้จักกันในชนบทสมัยก่อน ซึ่งพบ
หลกั ฐานจากเศษผ้าเม่ือ ประมาณ 5,000 ปกี ่อน สะทอ้ นให้เห็นถงึ ความรู้และประสบการณ์
ในการใชส้ ยี ้อม เช่น สาหรี เป็นตน้ หรอื ชนเผา่ ยปิ ซีที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย
กป็ รากฏใหเ้ หน็ ศลิ ปะของการ มดั ย้อมผ่านเครื่องแต่งกายในปัจจุบัน สว่ นในบาหลี ประเทศ
อินโดนีเซียก็มีศิลปะของการมัดย้อม เช่นเดียวกัน โดยจะเรียกการมัดย้อมนี้ว่า เปลังกิ
เป็นต้น การมัดย้อมนั้นจะมีรูปแบบและเทคนิคความสวยงามที่แตกต่างกันไปตามแต่ละ
ประเทศ ซึ่งอาจขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ช่วงเวลาในการค้นพบ หรือ
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ทเี่ ป็นวัตถุดิบในการทำผา้ มัดย้อม แตส่ ง่ิ ที่เหมือนกันของผ้ามัดย้อมใน
ทุกชนชาติและทุก ๆ วัฒนธรรมนั้นก็ คือ การพยายามพัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ
ให้สวยงามและ เจรญิ รุ่งเรืองอยเู่ สมอ เพ่อื เปน็ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมด้ังเดิมใหค้ งอยู่ต่อไปใน
อนาคต

7

หลกั การสำคัญในการทำผา้ มดั ย้อม
หลกั การสำคญั ในการทำมัดย้อม คอื สว่ นที่ถูกมดั สว่ นท่ีไมต่ ้องการให้สีติด ส่วนที่

เหลือหรือส่วนที่ไม่ได้มัดคือส่วนที่ต้องการให้สีติด การมัดเป็นการกันสีไม่ให้สีติดนั่นเอง
ลักษณะทสี่ ำคัญของการมัด มีดังน้ี

1. ความแนน่ ของการมัด
กรณแี รกมัดมากเกินไปจนไม่เหลือพน้ื ท่ีให้สีแทรกซึมเข้าไปได้เลย ผลที่

ได้ก็คือ ได้สีขาวของเนื้อผ้าเดิม อาจมีสีย้อมแทรกซึมเข้ามาได้เล็กนอ้ ย อย่างนี้เกิดลายน้อย
กรณีที่สองมัดน้อยเกินไป เหลือพื้นที่ให้สีย้อมติดเกือบเต็มผืน อย่างน้ี

เกิดลายน้อยเช่นกัน ทั้งผนื มสี ีย้อมแต่แทบไมม่ ีลายเลย
กรณีที่สาม มัดเหมือนกันแต่มัดไม่แน่น อย่างนี้เท่ากับไม่ได้มัดเพราะ

หากมัดไม่แนน่ สีกจ็ ะแทรกซมึ ผ่านเขา้ ไปได้ท่วั ทงั้ ผนื
2. การใช้อปุ กรณ์ช่วยในการหนบี ผ้าแลว้ มัด เพอ่ื ให้เกดิ ความแนน่ และเกิด

ลวดลายตามแม่แบบที่ใช้หนีบ ดังนั้นลายสวยเพียงใดขึ้นอยู่กับการออกแบบแม่แบบที่จะใช้
หนีบดว้ ย

3. ความสม่ำเสมอของสีย้อม สีย้อมที่ติดผ้าจะสม่ำเสมอได้ขึ้นอยู่กับ
อุณหภูมิความร้อนขณะนำผ้าลงย้อม และการกลับผ้าไปมาการขยำผ้าเกือบตลอดเวลาของ
การย้อมหนึ่งถงึ หนงึ่ ชั่วโมงครง่ึ กอ่ นท่จี ะแช่ผ้าไว้

ทีม่ า : https://women.mthai.com/women-variety/315213.html

8

ชนดิ ของผา้
เนือ่ งจากในขัน้ ตอนของการย้อมผ้านัน้ อาจเกิดปัญหาสีไม่ติดผา้ หรือติดได้ไม่ท่ัวถึง

ซึ่งอาจเป็นเพราะเส้นใยผ้าที่ไม่เหมือนกัน จึงทำให้สีที่ออกมานั้นไม่เป็นไปตามที่ต้องการ
ชนดิ ของผา้ น้ัน แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. เสน้ ใยธรรมชาติ คือ เส้นใยท่ไี ด้จากธรรมชาติ
ซงึ่ ได้จากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ไดแ้ ก่ เสน้ ใยจากเมลด็ เช่น
ฝ้าย น่นุ เส้นใยที่ได้จากใบ เชน่ เส้นใยทีไ่ ด้จากเปลอื กไม้
ใยสัปปะรด เช่น ลนิ ิน ผา้ ปอ ใยกัญชา ใยกัญชง เป็นตน้
และได้จากสัตว์ เช่น ผ้าขนสัตว์ ผ้าไหม ซึ่งใยที่ได้จากสัตว์นี้มีคุณสมบัติทั่วไปคล้ายโปรตีน
ดังนั้นเมื่อเปียกน้ำความเหนียวและความแข็งแรงจะลดลง ถ้าถูกแสงแดดเป็นเวลานานจะ
สลายตัวหรอื กรอบ เส้นใยธรรมชาตจิ ะสามารถย้อมสีออกมาไดด้ ีและตรงเกือบทุกสี

2. เส้นใยสังเคราะห์ เป็นเส้นใยประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่เป็นพอลิเมอร์ ไม่ใช่เซลลูโลส
คือ เป็นการผลิตโดยใช้วัตถุดิบที่เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ ซึ่งเป็นผลผลิตจากอุตสาหกรรม-
ปิโตรเลียมท้งั หมด มนษุ ย์ทำเสน้ ใยชนิดนเี้ พ่ือต้องการทดแทนเส้นใยจากธรรมชาติ เนอ่ื งจาก

เสน้ ใยธรรมชาตลิ ดลงเรือ่ ย ๆ โดยพยายามเลยี นแบบให้
ใกล้เคียงกับเส้นใยธรรมชาติมากที่สุด และพัฒนาคุณสมบัติ
เฉพาะดา้ นให้ดยี ่ิงขนึ้ เช่น อะครลี ิก พอลีเอสเตอร์ ชฟี อง
ที่ไม่ใช่ชีฟองไหม ไนลอน ผ้าตาข่าย ผ้าหนังเทียม เป็นต้น
ในด้านของการย้อมสีนั้น ถ้าไม่ใช่สีสำหรับเส้นใยสังเคราะห์
เช่น สีย้อมชนิดดิสเพิร์ส ก็จะไม่สามารถย้อมผ้าติดได้ หรือติดได้เพียงส่วนหนึ่ง การย้อมสี
เดียวกันแต่ผ้าคนละชนิด สีที่ออกมาอาจไม่เหมือนกัน และผ้าแต่ละชนิดจะดูดซึมสีได้ไม่
เท่ากนั ด้วย
3. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่ได้จากการนำสารจากธรรมชาติมาปรับปรุง
โครงสร้างให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น การนำเซลลูโลสจากพืชมาทำปฏิกิริยากับสารเคมี
บางชนิด เส้นใยกึ่งสังเคราะห์นำมาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าเส้นใยธรรมชาติ ตัวอย่าง
เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เช่น วิสคอสเรยอง แบมเบอร์กเรยอง เป็นต้น โครงสร้างทางกายภาพ
องค์ประกอบทางเคมี และการเรียงตัวของโมเลกุลของเส้นใย เป็นสมบัติซึ่งมีผลโดยตรงต่อ
สมบตั ขิ องผา้ ท่ที ำข้ึนจากเส้นใยน้ัน ๆ เสน้ ใยโดยท่วั ไปควรมคี ณุ สมบัตดิ งั นี้
- มคี วามแขง็ แรง และทนทาน (strength and durability)
- สามารถปั่นได้ (can be spun)
- มคี วามสามารถในการดูดซบั ดี (absorbency)

9

ตัวอย่างสที ี่ไดจ้ ากธรรมชาติ

สีมว่ ง = ไดจ้ ากลกู หวา้ อัญชัน

สคี ราม = ได้จากรากและใบของตน้ ครามนำผสมปูนขาวและน้ำ และตน้ ฮ่อม

สชี มพู = ไดจ้ ากต้นฝาง ตน้ มหากาฬ

สีเขยี ว = ไดจ้ ากใบหูกวาง เปลือกตน้ มะรดิ เปลอื กกะหูด

สีเขยี วออ่ น = ได้จากใบหูกวาง เปลือกมะพร้าวอ่อน ใบมะมว่ ง

เปลอื กผลทับทิม ใบสับปะรด ใบแค

สเี หลอื ง = ได้จากแกน่ ขนนุ ขมนิ้ ชนั ใบเสนียด เนอ้ื ไมโ้ อก๊ ดอกอญั ชนั
สเี หลอื งอมส้ม = ไดจ้ ากดอกคำฝอย

สีสม้ = ได้จากเปลือกและรากยอ โดยเปลือกจะให้สแี ดง สว่ นเน้อื ของ รากยอจะใหส้ สี ้ม

สเี หลือง = เม่ือนำเปลอื กและเนือ้ รากมาผสมกันก็จะสีส้ม

สแี ดง = ไดจ้ ากคร่ัง เปลือกยอ แก่นฝาง ลูกคำแสด เปลอื กสมอ

สนี ำ้ ตาล = ไดจ้ ากเปลอื กไมป้ ระดู่ เปลือกหมาก

สนี ำ้ ตาลแก่ = ได้จากเปลือกไม้โกงกาง

สีดำ = ได้จากลกู มะเกลือ ลกู กระจาย ต้นกะเม็ง ผลและ
แกน่ ฝาง เปลอื กของสมอ

วัสดุ-อปุ กรณ์ในการมัดยอ้ มผ้า

1. ผ้าที่ใช้สำหรับมัดย้อม เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ป่าน ผ้ามัสลิน ปอ ลินิน ไนลอน

โพลีเอสเตอร์ ขนสตั ว์ ฯลฯ

2. ยางหรือวัสดุอื่นที่มีความเหนียวและทนทาน ใช้สำหรับมัดหรือยึดผ้ากันมิให้สี

ซึมเข้าเนื้อผ้าในขณะนำไปย้อมสี เช่น หนังยางมัดของ เชือกฟาง เชือกกล้วย เส้นเอ็น

พลาสตกิ ฯลฯ

3. สียอ้ มและสารเคมีที่นำมาผสมในการยอ้ ม

4. ตาชั่งและถว้ ยตวง

5. กาต้มนำ้ เตาไฟฟา้

6. ไมส้ ำหรับคนสี

7. กะละมังสำหรบั แชผ่ า้ ย้อมสแี ละใช้สำหรบั ซักทำความสะอาด

8. ถงุ มอื ยาง สำหรบั จบั ผ้าทย่ี ้อมสี

9. สารซักฟอกหรอื สบู่ ทใี่ ชใ้ นการซักทำความสะอาดผา้

10

บัตรกจิ กรรมสง่ เสริมความคดิ สรา้ งสรรค์ เรือ่ ง ท้องถ่ินฉันมดี ี

ใหน้ กั เรียนบอกวา่ ในท้องถน่ิ ของตนเองมีพชื ชนิดใดบ้างท่ีสามารถทำให้เกดิ สีย้อมได้ และ
พชื ชนิดนน้ั ได้สีอะไร

พชื สที ี่ได้

.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
.................................................................. ..................................................................
................................................................. ..................................................................
................................................................. .................................................................

11

บัตรกิจกรรม เร่ือง คดิ แล้วคิดอกี

ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. ความหมายของผ้ามัดย้อม
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................ ................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
2. ประเทศในยุคแรก ๆ ที่มกี ารมัดยอ้ มผ้า มีกี่ประเทศ อะไรบา้ ง
............................................................................................................................. ...................
............................................................................................................................. ...................
3. จงบอกหลักการสำคัญในการทำผา้ มัดย้อม
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
............................................................................................................................. ...................
.......................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ...................
4. หากนักเรยี นต้องการทำผ้ามดั ย้อมสจี ากธรรมชาติ นกั เรียนจะเลอื กใชผ้ า้ ชนดิ ใด เพราะ
เหตใุ ด
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
5. จงบอกอปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทำผา้ มดั ย้อมวา่ มีอะไรบา้ ง
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................ ................................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................

12

บตั รเน้อื หา
เรอ่ื ง การสร้างลวดลายผา้ มัดย้อม

การออกแบบลวดลายผ้ามดั ยอ้ มโดยเทคนิคตา่ ง ๆ

1. การพับแลว้ มัด
เป็นการพับผ้าเป็นรูปต่าง ๆ แล้วมัดด้วยยางหรือเชือก ผลที่ได้จะได้

ลวดลายที่มีลักษณะลายด้านซ้ายและลายด้านขวาจะมีความใกล้เคียงกัน แต่จะมี
สีอ่อนด้านหนึ่งและสีเข้มด้านหนึ่ง เนื่องจากว่าหากด้านใดโดนพับไว้ด้านในสีก็จะ
ซึมเขา้ ไปน้อย ผลทไ่ี ด้ก็คอื จะมีสีจางกวา่ น่ันเอง
2. การขยำแลว้ มัด

เป็นการขยำผ้าอย่างไม่ตั้งใจแล้วมัดด้วยยางหรือเชือก ผลที่ได้จะได้
ลวดลายแบบอิสระ เรียกว่า ลายสวยแบบบังเอิญ ทำแบบน้ีอีกก็ไม่ไดล้ ายนี้อีกแล้ว
เนื่องจากการขยำแต่ละครั้งเราไม่สามารถควบคุมการทบั ซอ้ นของผา้ ได้ ฉะนั้นลาย
ที่ได้เป็นลายที่เกิดจากความบังเอิญจริง ๆ เปรียบเทียบเหมือนกับการที่เราเห็น
ก้อนเมฆ ก้อนเมฆแต่ละก้อนจะมีลักษณะแตกต่างกัน และเมื่อผ่านสักครู่ลายหรือ
ลักษณะของก้อนเมฆก็จะเปลี่ยนไป เราเรียกว่าลายอิสระ หรือรูปร่างรูปทรงอิสระ
นน่ั เอง

13

3. การหอ่ แลว้ มดั
เป็นการใช้ผ้าห่อวัตถุต่าง ๆ ไว้แล้วมัดด้วยยางหรือเชือก ลายที่เกิดขึ้น

จะเปน็ ลายใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กบั วัตถุทน่ี ำมาใช้ และลักษณะของการมัด เช่น การ
นำผา้ มาหอ่ ก้อนหินรูปทรงแปลก ๆ ที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก แล้วมัดไขว้ไปมา โดยเว้น
จังหวะของการมัดให้มีพื้นที่ว่างให้สีซึมเข้าไปได้ อย่างนี้ก็จะมีลายเกิดขึ้นสวยงาม
แตกตา่ งจากการมดั ลกั ษณะวัตถุอ่ืน ๆ ดว้ ย
4. การมว้ นแลว้ มัด

การม้วน (rolling) คือ การนำผ้ามาม้วนแล้วมัด การม้วนอาจใช้ไม้เป็น
แกนกลาง จะมกี ารพับก่อนแลว้ ม้วนเสร็จแลว้ จึงมดั หรือจะมว้ นแล้วนำมาพับแล้ว
จึงมัดกไ็ ด้ ทงั้ นขี้ ึน้ อย่กู ับแบบตอ้ งการ มแี บบตา่ ง ๆ ดงั นี้

- แบบใช้ไม้เป็นแกนกลางสำหรับม้วน แบบนี้ต้องหาไม้กลม ๆ
อาจจะใช้ไมไ้ ผ่ โดยเหลาให้กลมกส็ ามารถใชไ้ ด้

- แบบม้วนแล้วมัดเป็นเปลาะ เป็นการม้วนผ้าให้กลมทั้งผืน แล้วใช้
เชอื กมัดเปน็ เปลาะ ๆ

- แบบม้วนแล้วมดั ตลอดทัง้ ผืน เป็นการม้วนผ้าให้กลมทั้งผืน แล้วใช้
เชือกมัดตลอดทัง้ ผืน

- แบบพบั ผา้ ครึง่ หนง่ึ แลว้ ม้วน
- แบบม้วนทแยง เปน็ การพบั ผา้ แลว้ มว้ นในแนวทแยง

14

5. การพับและจีบ

การพับและจีบ (folding and pleating) คือ การนำผ้ามาพับ และจับจีบ

แล้วมัด การพับอาจจะพับครึ่ง พับมุม จับจีบตรงกลาง หรือจับจีบเป็นรูปต่าง ๆ มี

แบบต่าง ๆ ดังน้ี

- แบบพับแลว้ มัด - แบบพับมมุ

- แบบจบี ตรงกลาง - แบบจีบผ้าคร่ึงหนงึ่

- แบบพับเป็นรปู สามเหลีย่ ม - แบบพับมดั ที่มุม

- แบบพับสามเหล่ียมเปน็ เปลาะ ๆ - แบบพบั มมุ ทัง้ 4

- แบบพับกลบั ไปกลบั มา - แบบพับและมัดทแยง

- แบบพบั มมุ ตรงกลางและมัด - แบบพับและมัดตามแนวนอน

- แบบพับเป็นรปู ส่ีเหล่ียม

6. การเนาหรือการเยบ็ (stitching)

การนำผ้ามาเนาหรือเยบ็ ตามแบบที่ต้องการจะพับก่อนเนาก็ได้ แล้วนำมา

มดั มีแบบต่าง ๆ ดังนี้

- แบบเยบ็ ทแยง

- แบบพบั แลว้ เย็บ

- แบบเยบ็ วงกลมทแยง

- แบบเย็บทแยง

- แบบพับและเย็บมุม

15

ตัวอย่างการออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมโดยเทคนิคต่าง ๆ
เทคนคิ แบบมว้ นแลว้ มดั ตลอดทัง้ ผืน

หมายเลข 1 นำผ้ามาม้วนทั้งผนื
หมายเลข 2 มดั ดว้ ยเชือกหรอื ด้ายตลอดทง้ั ผนื ผ้า
หมายเลข 3 ผ้าท่ีได้จากการมัดย้อมแบบม้วนแลว้ มดั ตลอดผืนผ้า

ทม่ี า : ยพุ ินศรี สายทอง, 2555

16

ตวั อยา่ งการออกแบบลวดลายผา้ มดั ยอ้ มโดยเทคนิคตา่ ง ๆ
เทคนิคแบบพับกลับไปกลบั มา

หมายเลข 1 พับผ้าแบง่ ครงึ่ เป็นรปู สามเหลย่ี ม พบั กลับเป็นรปู สามเหลี่ยมอีกครั้ง
หมายเลข 2 แบ่งผา้ ออกเป็น 4 สว่ น
หมายเลข 3 พับผ้ากลับไปกลับมา 4 คร้ัง
หมายเลข 4 มดั ด้วยเชือกแบ่งเปน็ 3 ชอ่ ง
หมายเลข 5 มัดเก็บสคี ร้งั ท่ี 1
หมายเลข 6 มดั เกบ็ สีครง้ั ที่ 2 มัดทแยง
หมายเลข 7 ผ้ามดั ย้อมที่ทำเสรจ็ แล้ว

ทม่ี า : ยุพินศรี สายทอง, 2555

17

ตัวอยา่ งการออกแบบลวดลายผ้ามดั ย้อมโดยเทคนิคตา่ ง ๆ
เทคนคิ การมว้ นผา้

หมายเลข 1 มว้ นผ้าใหข้ อบใดขอบหนง่ึ เป็นจดุ หมนุ
หมายเลข 2 ใชเ้ ชอื กผูกตงั้ แต่จดุ หมุนให้เปน็ เปลาะ เว้นระยะหา่ งพอสมควร
หมายเลข 3 ผลจากการย้อมสีจะไดล้ วดลายเปน็ วงคลา้ ยภาพหนา้ ตดั ของวงปีของ
ตน้ ไม้ที่มอี ายุมาก

ทม่ี า : ยุพินศรี สายทอง, 2555

18

ตวั อย่างการออกแบบลวดลายผา้ มัดย้อมโดยเทคนคิ ต่าง ๆ
เทคนคิ การขยมุ้ ผ้าแลว้ ผกู เชอื ก

หมายเลข 1 ขยุ้มผา้ ขน้ึ มาตามตำแหน่งตาม ๆ ทต่ี ้องการให้เป็นดอกแลว้ ใช้เชอื ก
ผกู

หมายเลข 2 ผลจากการย้อมสี ตรงทีข่ ยมุ้ แล้วมัดจะทำใหเ้ กิดดอกกลม

ที่มา : ยุพินศรี สายทอง, 2555

19

ตวั อย่างการออกแบบลวดลายผ้ามัดยอ้ มโดยเทคนิคตา่ ง ๆ
เทคนิคแบบการพับมุม

หมายเลข 1 พับผ้าจากมุมใดมมุ หนง่ึ
หมายเลข 2 พบั เข้าหากนั จนไดพ้ บั เดียว
หมายเลข 3 ใช้ดา้ ยมาพนั รอบ
หมายเลข 4 ผา้ มดั ย้อมท่ีทำเสร็จแล้วโดยวธิ ีการพับ
มมุ
หมายเลข 5 มดั เก็บสีคร้ังที่ 1

ที่มา : ยุพนิ ศรี สายทอง, 2555

20

ตัวอย่างการออกแบบลวดลายผา้ มดั ยอ้ มโดยเทคนคิ ตา่ ง ๆ
เทคนิคการพบั มมุ ตรงกลางและมดั

หมายเลข 1 พับผ้าให้มมุ ท้ัง 4 อยูต่ รงกลาง แลว้ เนาดา้ นตรงกันขา้ ม 2 ข้าง
หมายเลข 2 จับจีบมดั ตรงกลางไขวไ้ ปมาพนั 2-3 รอบ
หมายเลข 3 ผา้ มัดย้อมที่ทำเสร็จแล้ว

ท่มี า : ยพุ ินศรี สายทอง, 2555

21

ตวั อย่างการออกแบบลวดลายผา้ มดั ย้อมโดยเทคนคิ ต่าง ๆ
เทคนคิ แบบเยบ็ ทแยง 3 เส้น

หมายเลข 1 พับผ้าเป็นรูปสามเหลีย่ ม
หมายเลข 2 พบั กลับไปมาและเนา
หมายเลข 3 ดงึ ด้ายให้แนน่ และพนั ให้รอบ
หมายเลข 4 มดั เก็บสคี รงั้ ท่ี 1
หมายเลข 5 ผ้ามัดย้อมท่ีทำเสร็จแลว้

ท่มี า : ยุพนิ ศรี สายทอง, 2555

22

สารท่ชี ่วยในการยอ้ มหรือสารชว่ ยตดิ
สารที่ช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยาในการให้ผ้าดูดซึมสีได้ง่าย สีติดทน ช่วยเพิ่มและ

เปลย่ี นสสี นั ใหไ้ ดส้ ีทห่ี ลากหลายขึ้นจากเดิม ซ่งึ แต่ละตวั จะทำใหผ้ ้าทีย่ ้อมเปลี่ยนเป็นสีตา่ ง ๆ
เชน่ เขม้ ขึน้ จางลง เปลยี่ นเป็นสอี ืน่ ๆ แตก่ ็อยใู่ นโทนสเี ดิม นอกจากนนั้ ยังทำให้ผ้ามีสีสดใส
ย่งิ ขึ้นอกี ดว้ ย การย้อมสธี รรมชาติบางชนิดใชส้ ารช่วยย้อมต่างกันแต่บางชนิดก็ใช้เหมือนกัน
ขึน้ อยูก่ บั คุณสมบตั ิพชื ทีใ่ ช้ และสารท่ใี ช้ตัวอย่างของสารชว่ ยติด ไดแ้ ก่

1. น้ำด่าง ได้จากการนําขี้เถ้าจากเตาไฟที่เผาไหม้แล้วประมาณ 1 - 2 กิโลกรัม
มาผสมให้ ละลายกับน้ำประมาณ 10 - 15 ลิตร ในภาชนะ เช่น ถังน้ำ หรือ
แกลลอน แล้วปลอ่ ยท้ิงไวใ้ หต้ กตะกอน ประมาณ 1 - 2 วัน หลังจากนัน้ คอ่ ย ๆ
เทกรองเอานำ้ ที่ใส ๆ ทไ่ี ดจ้ ากการหมักข้เี ถ้ามาเป็นนำ้ หวั เชือ้ ซ่ึงสามารถใส่ขวด
แล้วเก็บไว้ได้นานเท่าไหร่ก็ได้ น้ำด่างขี้เถ้าที่ดีจะต้องใสและไม่มีกลิ่นเหม็น
ปริมาณทีใ่ ช้ในแตล่ ะครงั้ นำ้ 1 ถัง ใชน้ ้ำดา่ งประมาณคร่งึ ขวดลิตร เป็นตน้

2. น้ำปูนใส ได้จากการนําปูนขาวเคี้ยวหมาก
ขนาดเท่าหัวแม่มือมาละลายกับน้ำ 1 ถัง
(ประมาณ 15 - 20 ลติ ร) ทง้ิ ไวใ้ หต้ กตะกอนริน
เอาเฉพาะน้ำที่ใส ๆ เท่านั้น น้ำปูนใสที่ดี จะใส
และไม่มีกลน่ิ

3. น้ำสารส้ม ได้จากการนําสารส้มที่เป็นก้อน
มาแกว่งให้ละลายกับน้ำแล้วกรองหรือตักเอา
น้ำใช้เลยก็ได้ น้ำสารส้มจะใสและไม่มีกล่ิน

23

4. น้ำสนิม ได้จากการนําเศษเหล็ก ตะปู หรือ
สังกะสีที่เป็นสนิมนําลงไปแช่น้ำทิ้งไว้กลางแดด
เป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน หมั่นตรวจดูและ
เติมน้ำให้เต็มเสมอ เพราะเมื่อเรานำน้ำไปตั้ง
กลางแดดน้ำจะระเหยกลายเป็นไอ เราจึงต้อง
เติมน้ำอยเู่ สมอ เมอ่ื จะใช้ให้กรองเอาเฉพาะน้ำที่
แช่เหล็ก ระวังเศษเหล็กจะผสมมากับน้ำ เพราะ
อาจจะเกิดอันตรายได้ น้ำสนิมมีสีขุ่นดำ มีกล่ิน
ค่อนข้างเหม็น ปริมาณใช้น้ำสนิมครึ่งขวดลิตร
ตอ่ นำ้ 1 ถัง (ประมาณ 15 - 20 ลิตร)

5. น้ำซาวข้าว ใช้ข้าวสารเหนียวที่ขัด
สะอาดที่ใช้นึ่งรับประทาน แช่ข้าวสาร
เหนียวค้างคืน นำน้ำที่ได้จากการซาวข้าว
เหนียวไปหมักต่อไปจนเปรี้ยว (ประมาณ
3-4 วัน) ใช้เป็นส่วนผสมของสีย้อมได้ เช่น
การย้อมห้อม เปน็ ตน้

6. น้ำมะขามเปียก วิธีการทำให้นำ
น้ำมะขามเปียกมาผสมกับน้ำเปล่าใน
อตั ราสว่ น 1 : 1 แล้วคนั้ เอาแตน่ ้ำไปใช้

24

25

ลายนพรัตน์

1. ดงึ ผ้าใหต้ ึงพับผา้ ทแยงตามแนวจุดไข่ปลา (หมายเลข 1)
2. พับผา้ มมุ ซา้ ยและขวามือข้ึนไปพบกันที่กึ่งกลางผา้ ตามแนวจดุ ไข่ปลา (หมายเลข
2)
3. พบั ผ้าตามแนวจดุ ไขป่ ลา ใหม้ มุ ผา้ ข้างซ้ายและขวามอื พบกนั ทีจ่ ุดกึ่งกลาง
(หมายเลข 3)
4. พบั ผา้ ตามแนวจุดไขป่ ลา จับผา้ มุมลา่ งให้ทบั มุมบนพอดี (หมายเลข 4)
5. พับผ้าตามแนวจุดไข่ปลา ใหร้ ิมผ้าดา้ นล่างมาพบกนั ท่ีจดุ ก่งึ กลาง (หมายเลข 5)
6. พับผ้าตามแนวจุดไขป่ ลา ใหผ้ า้ มมุ ลา่ งทบั มุมบนพอดี (หมายเลข 6)
7. พับผา้ ตามแนวจดุ ไขป่ ลาใหผ้ ้าซ้อนทบั เท่ากนั ใชเ้ ชอื กมัดตามรอยให้แนน่ ตามรอย
เสน้ ทบึ (หมายเลข 7,8)

ทีม่ า : คะนงึ จันทรศ์ ิริ, 2544

26

ลายกัลยาณี

1. พบั มุมผา้ ทง้ั 4 มมุ ตามรอยจดุ ไข่ปลา ให้มุมทงั้ 4 ไปพบกันท่จี ดุ ศนู ย์กลาง (หมายเลข
1,2)
2. พับผา้ ทแยงมุมใหม้ ุม 1 ทับมมุ 2 มุม 4 ทับมมุ 3 และพับมมุ ผา้ ด้านซ้ายทบั ดา้ นขวา
อกี คร้ัง (หมายเลข 3)
3. รวมมมุ ผา้ ท้ัง 3 มมุ มัดให้แน่น (หมายเลข 4,5) นำไปยอ้ มในนำ้ ย้อม

ท่มี า : คะนงึ จนั ทรศ์ ิริ, 2544

27

ลายชงิ ดวง

1. เอาก้อนหินขนาดตา่ ง ๆ วางตามตำแหนง่ ทตี่ ้องการบนผ้า (หมายเลข 1) เอา
ก้อนหินออกและจดุ ตำแหนง่ ทว่ี างหินไว้
2. เอาผา้ ห่อก้อนหนิ ทีละก้อนแล้วมัดด้วยเชอื กใหแ้ นน่ (หมายเลข 2) ลายทจี่ ะ
เกดิ ขึ้นจะมขี นาดเล็กใหญ่ตามขนาดก้อนหิน

ท่มี า : คะนงึ จนั ทร์ศิริ, 2544

28

ลายจนั ทร์เตม็ ดวง

1. คลผ่ี า้ ออกเต็มผืน (หมายเลข 1)
2. ตรึงจุดศูนย์กลางของผา้ ให้ตงึ พบั ผ้าด้านทั้งสองข้างให้เป็นมมุ ประชิดกนั ตามแนว
ศนู ย์กลาง (หมายเลข 2)
3. พบั ผา้ ด้านหน้าตลบเขา้ หากนั และมาพบกันทเี่ สน้ ก่ึงกลาง (หมายเลข 3) พับผา้ ช้นิ
หลังเช่นเดียวกับผา้ ชิน้ หน้า
4. รวบชายผา้ ใชเ้ ชือกฟางมัดใหแ้ น่น ความกว้างประมาณ 2 ซม. และมดั ผ้าดว้ ยเชอื ก
อกี สว่ นหนึ่งใกล้กบั ศนู ย์กลางพอประมาณตามรอยเสน้ ทบึ (หมายเลข 4)

ทมี่ า : คะนงึ จนั ทรศ์ ิริ, 2544

29

ลายชลลดั ดา

1. ตั้งสันผ้าแนวเฉลยี ง (หมายเลข 1)
2. พบั รมิ ผา้ เขา้ หาเสน้ กลางท้ัง 2 ข้าง (หมายเลข 2)
3. จากข้อ 2 พับหางผ้าข้ึนทบให้ยาวเท่ากัน (หมายเลข 3)
4. จากข้อ 3 พบั ผ้าตามรอยจุดไขป่ ลา (หมายเลข 4)
5. พบั ผ้าตามจุดไขป่ ลาตามแนวขวางคร้งั หนง่ึ และพับผา้ ตามแนวนอนอีกครั้งหนึง่
มัดเชือกฟางให้แนน่ ตามรอยเส้นทบึ (หมายเลข 4,5,6,7) นำไปยอ้ มน้ำสีจะไดล้ ายที่
สวยงามแปลกตา

ทม่ี า : คะนงึ จนั ทรศ์ ิริ, 2544

30

ลายคลนื่ สวาท

1. พับผา้ ตามแนวจดุ ไข่ปลาท้ังมุมบนและมุมล่าง ใหร้ ิมผา้ ทั้งสองพบกนั ที่เสน้ ทแยงมุม
กลางผา้ (หมายเลข 1,2)
2. จบั ผ้ามมุ ล่างไปทบั มุมบน โดยใหม้ ุมทั้งสองซ้อนทบั เทา่ กัน (หมายเลข 3,4)
3. จบั ผา้ ทบไปมาตามแนวจดุ ไข่ปลา (หมายเลข 5)
4. ใชเ้ ชือกมดั ตามรอยเส้นทึบ นำไปยอ้ มสจี ะได้ลวดลายผา้ ท่สี วยงาม (หมายเลข 6,7)

ทีม่ า : คะนึง จนั ทรศ์ ริ ิ, 2544

31

ลายจตุรัสโสภี

1. พับผ้าตามแนวจุดไขป่ ลาเพื่อแบง่ ผา้ เปน็ 2 สว่ นเท่ากัน (หมายเลข 1)
2. แบง่ ผ้าเป็น 2 สว่ นตามแนวจดุ ไขป่ ลา ให้พับไปข้างหลังและใหซ้ ้อนเท่ากนั (หมายเลข 2)
3. ใหท้ บผ้าไปขา้ งหลังตามแนวจดุ ไขป่ ลา (หมายเลข 3)
4. พับผ้าทบไปมาตามรอยจุดไขป่ ลาทง้ั ผา้ แผ่นหนา้ และหลัง (หมายเลข 4) ซ่ึงหมายเลข 5
เปน็ ภาพแสดงใหเ้ หน็ การพบั ดา้ นขา้ ง
5. ใชเ้ ชอื กมดั ให้แน่นมาก ๆ ตามรอยขดี เสน้ ทึบ ลายผา้ จะสวยเดน่ ชดั ขนึ้ (หมายเลข 6)

ทมี่ า : คะนึง จนั ทร์ศริ ิ, 2544

32

ลายเมฆฝน

1. นำผา้ มาขย้มุ เปน็ ก้อนกลม
2. ใช้เชือกพนั และมดั ให้แนน่ เป็นกอ้ นกลม นำไปย้อมน้ำสี จะได้ลวดลายท่ี
สวยงามแปลกตากวา่ การมัดแบบอนื่ ๆ

ท่ีมา : คะนึง จนั ทร์ศริ ิ, 2544

33

ลายจนั ทร์ทรงกลด

ท่มี า : คะนงึ จันทรศ์ ิริ, 2544 1. แบ่งครึ่งผา้ ตามรอยจุดไข่ปลาตามเสน้
ทแยงมุม (หมายเลข 1)
2. พับมุม ก. และมุม ข. ใหไ้ ปพบกันท่ี
มมุ ค. (หมายเลข 2)
3. พับผ้าส่วนทแ่ี ลเงาไปข้างหลังให้มมุ
แหลมเทา่ กัน (หมายเลข 3)
4. พบั มุมแหลมเข้าหาสนั กลางทัง้ 2 ชิ้น
(หมายเลข 4)
5. ใชเ้ ชอื กมดั ให้แน่นมาก ๆ เพ่อื ไม่ใหน้ ้ำ
สีซึมเขา้ รอยมดั จะไดล้ ายเดน่ ชัด
(หมายเลข 5)

34

ลายเบญจรัตน์

1. พับผา้ ตามเส้นทแยงมมุ ให้ผา้ ช้ินบนและชน้ิ ล่างซ้อนเท่ากนั (หมายเลข 1)
2. พบั ผา้ เอามุมยอดลงตามรอยจดไข่ปลา (หมายเลข 2)
3. กลับผ้าด้านหลังออกแล้วพับตามแนวลูกศร (หมายเลข 3)
4. จากหมายเลข 3 พับมมุ ผา้ ทางด้านขวามือลงใหเ้ หมอื นกับทางซา้ ยมือ (หมายเลข 4,5)
5. ให้พับผ้าตามจุดไข่ปลา ให้ทบซ้อนกันพอดี (หมายเลข 6)
6. ดา้ นขา้ งของภาพใหพ้ บั ผ้าตามรอยจดุ ไข่ปลาทีละครั้งจนครบ 3 คร้ังพอดี (หมายเลข
6,7)
7. ใชเ้ ชือกฟางมดั ริมผา้ ทั้ง 2 ขา้ งใหห้ า่ งจากมุมยอดให้มีระยะเทา่ กนั เมื่อนำไปย้อมนำ้ สีจะ
ไดล้ ายท่สี วยงาม (หมายเลข 8,9)

ทมี่ า : คะนงึ จันทร์ศิริ, 2544

35

ลายสพุ ตั รา

1. คลผี่ า้ พับมุมขา้ งซา้ ยและขวาตามแนวจดุ ไข่ปลาให้มุมและดา้ นมาพบกันท่ี
กง่ึ กลางผ้า (หมายเลข 1,2)
2. พับผ้าตามแนวจุดไข่ปลา จับผา้ มุมลา่ งขน้ึ ไปทับมุมบน (หมายเลข 3)
3. พับผ้าตามแนวจุดไขป่ ลา ใหด้ า้ นและมุมทง้ั สองมาพบกนั ทีจ่ ดุ กงึ่ กลางผ้า
(หมายเลข 3,4)
4. พับผ้าตามแนวจุดไข่ปลา ใหผ้ า้ พับคร่ึงทบไปด้านหลงั (หมายเลข 4)
5. จากหมายเลข 5 ใชเ้ ชอื กมัดตามรอยเสน้ ทึบทางซ้ายมือให้หา่ งเชอื กพันผา้ ท่ี
เหลอื ให้เปน็ เกลยี วแนน่ มัดปลายผ้าทีเ่ หลอื ตามรอยเส้นทึบด้านขวามือ
(หมายเลข 5,6)

ทม่ี า : คะนึง จนั ทรศ์ ริ ิ, 2544

36

แบบทดสอบหลงั เรียน

คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว

1. ความหมายของผา้ มดั ย้อม คอื ข้อใด

ก. การใหส้ บี นผนื ผา้ เป็นกระบวนการท่ีเราต้องอาศยั การย้อม

ข. การนำเอาผา้ ไปผา่ นกระบวนการตม้ กับสยี อ้ มจากธรรมชาติ หรอื สสี ังเคราะห์

ค. การออกแบบลายบนผืนผา้ ด้วยกรรมวิธีกันสีย้อมโดย การมัดผา้ พับผ้าแล้วมัด เย็บผ้า

ผกู ผ้าเปน็ ปม หนบี หรอื หอ่ วัสดแุ ล้วมดั

ง. การนำเอาวตั ถดุ ิบในธรรมชาตทิ ี่ไดจ้ ากพืช สัตว์ จลุ ินทรีย์ และแรธ่ าตุต่างๆ มาทำการ

ยอ้ มกบั เสน้ ด้าย เพ่ือเพม่ิ สสี นั ใหก้ บั เส้นด้ายใหม้ ีความสวยงาม

2. ประเทศใดตอ่ ไปนี้เป็นประเทศยุคแรก ๆ ทม่ี ีการทำผ้ามัดยอ้ ม.

ก. ไทย ข. อินเดีย ค. อังกฤษ ง. สหรฐั อเมริกา

3. เสน้ ใยธรรมชาตทิ ี่ไดจ้ ากสัตว์ คอื ข้อใด.

ก. ผ้าชฟี อง ข. ผา้ ปอ ค. ผา้ ไหม ง. ผ้าหนังเทยี ม

4. ข้อใดใดกลา่ วถึงหลักการสำคัญในการทำผา้ มัดย้อม.

ก. การมดั ผ้าไม่แนน่ ผลที่ไดค้ ือ ลายออกมาสวย

ข. การมดั ผา้ น้อยเกินไป ผลท่ีไดค้ ือ ไดล้ ายใหญ่

ค. การมัดผ้ามากเกินไป ผลทไ่ี ดค้ ือ ได้พนื้ ท่ีสีขาวน้อย

ง. การมัดผ้ามากเกินไป ผลที่ไดค้ ือ ได้พนื้ ที่สขี าวมาก

5. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้ผา้ จากเส้นใยจากธรรมชาติในการมัดย้อม

ก. ยอ้ มสีออกมาได้ดีและตรงกบั สีทีต่ ้องการ

ข. การดดู ซึมของสีทไ่ี ม่เท่ากนั ทำให้มีสีสันสวยงาม

ค. หาไดย้ าก มีราคาแพง คมุ้ คา่ ต่อการลงทนุ

ง. บง่ บอกถึงรสนยิ มของผ้มู ัดยอ้ ม

6. เดก็ หญิงเมยต์ ้องการยอ้ มผ้าให้ไดส้ แี ดง เด็กหญงิ เมยต์ ้องใช้พชื ชนดิ ใด

ก. ลูกมะเกลอื ข. แก่นฝาง ค. เปลอื กไมโ้ กงกาง ง. ต้นห้อม

37

7. เด็กชายเอกต้องการใช้น้ำปูนใสในการช่วยใหผ้ า้ ดดู ซึมสีได้งา่ ย สตี ิดทน เดก็ ชายเอกต้อง

ทำอย่างไร

ก. การนําข้ีเถ้าจากเตาไฟท่ีเผาไหม้แล้วมาผสมใหล้ ะลายกับนำ้

ข. การนําปูนแดงเคี้ยวหมากขนาดเทา่ หัวแม่มือมาละลายกับน้ำ 1 ถงั

ค. การนาํ ปนู ขาวเค้ียวหมากขนาดเทา่ หวั แม่มือมาละลายกับน้ำ 1 ถงั

ง. การนําเศษเหล็ก ตะปู หรือ สังกะสีท่ีเป็นสนิมนาํ ลงไปแช่น้ำทิง้ ไว้กลางแดดเปน็ เวลา

อย่างน้อย 1 เดอื น

8. หากตอ้ งการย้อมผา้ โดยใช้ตน้ คราม นกั เรียนควรใช้สารใดในการชว่ ยให้ผา้ ดดู ซึมสีไดง้ ่าย

สตี ิดทน ชว่ ยเพม่ิ และเปลี่ยนสีสันใหไ้ ด้สีที่หลากหลายข้ึนจากเดมิ

ก. นำ้ สนมิ ข. นำ้ มะขามเปียก ค. น้ำซาวข้าว ง. นำ้ ปูนใส

9. เทคนิคการออกแบบลวดลายผา้ มัดยอ้ ม ยกเวน้ ขอ้ ใด

ก. แบบมว้ นผ้า ข. แบบพับและจบี

ค. แบบการเนาหรือเย็บ ง. แบบขย้ีผา้

10. การมัดผา้ เพ่ือทำลายเมฆฝน ใช้วสั ดุใดในการกนั สี

ก. เชือก/หนงั ยาง
ข. ท่อพวี ซี ี
ค. ไมไ้ อติม
ง. ก้อนหินและหนังยาง

ตั้งใจทำกันดว้ ยนะคะ
นกั เรยี นท่ีน่ารักทกุ คน

38

กระดาษคำตอบ

ขอ้ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.

ขอให้นักเรียนทกุ คนโชคดี

39

บรรณานกุ รม

คนึง จันทรศ์ ริ .ิ (2544). การมัดยอ้ มผ้า. โอ.เอส พร้นิ ตง้ิ เฮ้าส์.

ศศธร ศรีทองกุล และ สาวิตรี อัครมาส. (2556). มดั ย้อม. พิมพด์ ี จำกดั .

ยุพินศรี สายทอง. (2555). มัดยอ้ ม : เทคนคิ การออกแบบลวดลายบนสง่ิ ทอ. โอ.เอส พร้ินตง้ิ
เฮา้ ส์.

เสาวนติ ย์ กาญจนรัตน.์ (2543). การออกแบบลวดลายผลติ ภัณฑ์หัตถกรรมผา้ มดั ย้อมสีเคมี
และสธี รรมชาติ. มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช.

เสาวนิตย์ กาญจนรัตน.์ (2557). มัดยอ้ ม. บรรณิก.

อารยะ ไทยเทีย่ ง. (2546). การมัดยอ้ มผา้ . โอ.เอส พริ้นต้ิง เฮา้ ส.์

บ้านจอมยุทธ.(2543). เส้นใย. https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-
4/fiber/index.html.


Click to View FlipBook Version