ี
เอกสารวิธปฏิบัติ
WORK INSTRUCTION
โรงพยาบาลธนบุรี-ชุมพร
เรื่อง : การจัดการศพผูปวยโรคติดเชออุบัติใหม่
่
ื
้
้
รหัสเอกสาร : WI-IC-001
ี่
ฉบับท : 1
้
วันทประกาศใช : 1 เมษายน 2563
ี่
้
จ านวนหนา : 8
ผูจัดท า/แกไข ผูทบทวน ผูอนมัติ
้
้
้
ุ
้
ลงชื่อ ลงชื่อ ลงชื่อ
(พว.สุวีณา หลิมวัฒนา) (พว.ประภา อักษรเวช) (พว.ชนนิกานต์ อุตรมาตร)
หัวหนาแผนก W2B ผู้จัดการฝายการพยาบาล ผู้จัดการฝายพัฒนาคุณภาพ
้
่
่
28 มีนาคม 2563 31 มีนาคม 2563 1 เมษายน 2563
่
้
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 1 จาก 8
้
้
ประวัติการแกไข/ทบทวนเอกสาร
ฉบับที ่ วันที่แก้ไข/ทบทวน รายละเอียดการแก้ไข/ทบทวน ผู้ด าเนินการ
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
้
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 2 จาก 8
่
้
1. วัตถุประสงค์
้
้
่
เพื่อปองกันการแพร่กระจายเชือจากศพไปสูบุคคลหรือสิ่งแวดล้อม
2. นิยามศัพท์
ี
การเสยชวิตโดยยังไม่ปรากฏสาเหตุ หมายถึง การเสียชีวิตกะทันหันและไม่คาดคิด โดยไม่มีอาการเจ็บปวยของโรค
ี
่
ุ
เรือรังทีสามารถเปนสาเหตการตายได้มาก่อนหนา รวมทั้งการเสียชีวิตทีไม่มีผู้ทราบเหตการณและอาการของผู้ตายก่อน
ุ
้
็
้
่
่
์
้
่
เสียชีวิต ทั้งนีไม่รวมถึงการเสียชีวิตกะทันหันทีมีประวัติชัดเจนว่าเกิดจากการฆ่าตัวตาย ถูกผู้อืนท าให้ตาย ถูกสัตว์ท าร้าย
่
หรืออุบัติเหต ุ
เกณฑ์การสอบสวนโรคกรณเสยชวิต
ี
ี
ี
่
1. การเสียชีวิตโดยยังไม่ปรากฏสาเหต ทีก่อนเสียชีวิตมีประวัติไข้ ร่วมกับอาการทางระบบทางเดินหายใจอย่างใด
ุ
้
่
อย่างหนึง (ไอ นามูก เจ็บคอ หายใจเหนือย หรือหายใจล าบาก) ร่วมกับการมีประวัติในช่วงเวลา 14 วัน ก่อนวันเริ่มปวย
่
่
อย่างใดอย่างหนึงตอไปนี ้
่
่
่
่
่
้
่
้
1.1 มีประวัติเดินทางไปยัง หรือมาจาก หรืออาศัยอยู่ในพืนทีทีประกาศเขตติดโรคฯ หรือพืนทีทีมีระบาดตอเนือง
่
่
้
ของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019
่
1.2 เปนผู้ทีประกอบอาชีพทีสัมผัสใกล้ชิดกับนักท่องเทียวตางชาติ
่
่
่
็
้
1.3 มีประวัติใกล้ชิดหรือสัมผัสกับผู้ปวยยืนยันโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019
่
่
1.4 เปนบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุขทีสัมผัสกับผู้ป ่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019
็
้
้
ุ
1.5 มีประวัติไปในสถานทีชุมนมชนและมีผู้ป ่วยโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วงเวลาเดียวกันกับผู้ป ่วย**
่
2. ก่อนเสียชีวิตได้รับการวินิจฉัยว่าเปนโรคปอดอักเสบ ร่วมกับการมีประวัติข้อใดข้อหนึงตอไปนี ้
็
่
่
็
(1) เปนบุคลากรทางการแพทย์หรือสาธารณสุข
(2) เสียชีวิตภายใน 48 ชั่วโมงหลังได้รับการวินิจฉัย
3. ตรวจพบลักษณะพยาธิสภาพของปอดอักเสบรุนแรงทั้งสองข้างจากการผ่าตรวจศพ
4. การเสียชีวิตโดยยังไม่ปรากฏสาเหต ทีมีประวัติเสียงในช่วงเวลา 30 วัน ก่อนเสียชีวิต ตามข้อ (1) – (5) ในข้อ 1.
่
ุ
่
่
และไม่สามารถสืบทราบประวัติการเจ็บปวยก่อนจะมีการเสียชีวิตได
* ตามประกาศของกรมควบคุมโรค
** ตามประกาศของคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด/คณะกรรมการโรคติดตอกรุงเทพมหานคร
่
่
์
้
2. วัตถุดิบ/วัสดุอุปกรณ/เครื่องมือเครื่องใช
้
2.1 การเตรียมเครื่องปองกันร่างกายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment : PPE)
้
2.1.1 หนากาอนามัย (Surgical mask) กรณีอยู่ห้องเก็บศพ
2.1.2 หนากาก 95 กรณีไปรับศพ
้
2.1.3 หนากากกันกระเด็น (Face shield)
้
2.1.4 หมวกคลุมศีรษะ
์
้
้
2.1.5 ชุดคลุมทั้งตัวหรือเสือกาวนกันนาแขนยาว
ื
2.1.6 พลาสติกกันเปอน
้
2.1.7 ถงมือยางแบบหนา
ุ
ุ
2.1.8 รองเท้าบู๊ทยางและถงคลุมรองเท้าบู๊ท
2.2 การเตรียมอุปกรณและนายาท าลายเชือ
์
้
้
้
่
่
ุ
้
ุ
2.2.1 ถงซิปเก็บศพทีท าจากวัสดุกันนาหนาอย่างนอย 150 ไมครอนและเชื่อมรอยตอขอบถงด้วยความร้อน
จ านวน 2 ใบ
2.2.2 สายรัดซิป (Zip site)
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
้
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 3 จาก 8
่
้
ุ
2.2.3 ปายแสดงวัตถอันตรายชีวภาพ
้
้
้
2.2.4 นายาท าลายเชือ 0.5% sodium hypochlorite
2.2.5 ถงใส่ขยะติดเชือ
้
ุ
3. ขั้นตอนวิธปฏิบัติงานและรายละเอยด
ี
ี
่
่
3.1 การเตรียมร่างกายผู้เสียชีวิตทีแผนกผู้ปวยใน
3.1.1 ให้ถอด tube, drain, catheter ตางๆออกจากศพ ในกรณีทีไม่ถอด endotracheal tube และ
่
่
Oropharyngeal airway ควรใช้ส าลีอุดปลายท่อเอาไว้
้
้
่
3.1.2 ให้ท าความสะอาด แผลหรือรอยฉีกขาดตางๆ ด้วยนายาท าลายเชือ 0.5% hypochlorite และปดด้วย
ิ
ิ
ผ้าปดแผลกันนา
้
้
3.1.3 ให้อุดช่องปาก ช่องจมูกด้วยส าลีเพื่อปองกันการรั่วซึมของสารคัดหลั่ง
3.1.4 เช็ดท าความสะอาดร่างและทิงให้แห้ง
้
3.2 การจัดการศพ
3.2.1 สวมชุด PPE พร้อมหนากาก N95 ก่อนเข้าท าการบรรจุศพ
้
ุ
3.2.2 กางถงศพทั้ง 2 ใบบนรถเข็นศพ
3.2.3 ห่อศพด้วยผ้าปูเตียง มัดปมบริเวณศีรษะและเท้า
ุ
้
3.2.4 นาถงศพใบแรกมาสอดใต้ศพ โดยยกศพลอยขึนจากเตียงเล็กนอย
้
ิ
3.2.5 คลุมปดถงเก็บศพแล้วรูดซิป ระวังอย่าให้มีลมค้างในถงศพ
ุ
ุ
3.2.6 ยกถงทีบรรจุศพใบแรกวางบนถงเก็บศพใบทีสองบนรถเข็นศพ
่
่
ุ
ุ
ิ
3.2.7 คลุมปดถงศพใบทีสองแล้วรูดซิป
่
ุ
้
ุ
3.2.8 ผูกคล้องซิปด้วยสายรัดซิป ติดปายชื่อศพและปายแสดงวัตถอันตรายทางชีวภาพ
้
้
3.2.9 เช็ดนายาท าลายเชือด้านนอกถงศพใบที 2 ด้านล่างของถงศพ พืนเตียงรถเข็นศพทั้งสองฝ่ง
้
ั
่
ุ
้
ุ
้
3.2.10 เช็ดนายาท าลายเชือทีรถเข็นศพตั้งแตบริเวณมือจับจนถึงล้อ
้
่
่
3.2.11 เจ้าหนาทีเช็ดนายาเข็นรถออกนอกห้อง
้
่
้
่
ุ
้
3.2.12 เจ้าหนาทีทุกคนถอด PPE ใส่ในถงขยะสีแดงและนาไปท าลาย
่
้
ุ
3.2.13 เจ้าหนาทีสวมหนากากอนามัย (Surgical mask) และถงมือยางเข็นศพมายังห้องรักษาศพและเก็บไว้
้
่
่
ในตู้เย็นเก็บศพทีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสและพร้อมจ าหนายศพให้ญาติ
3.3 การให้ค าแนะนาญาติของผู้เสียชีวิต
่
ุ
้
3.3.1 ศพทีบรรจุในถงเก็บศพมีความปลอดภัย ไม่แพร่เชือโรคให้กับญาติ
้
3.3.2 ห้ามเปดถงเก็บศพโดยเด็ดขาด จึงไม่สามารถรดนาศพและยารักษาศพได้
ุ
ิ
ุ
3.3.3 ให้บรรจุศพพร้อมถงลงในโล่งศพ
3.3.4 แนะนาให้เผาศพโดยความร้อนจากเตาเผา (ประมาณ 400 – 700 องศาเซลเซียส) จึงจะฆ่าเชือโรคจน
้
้
่
หมด ควันเตาเผาไม่ท าให้เกิดการแพร่กระจายเชือแตอย่างใด
่
ั
่
3.3.5 หากไม่สามารถเผาศพก็สามารถนาไปฝ่งได้ เมือเนือเยือของศพเนาเปอย เชือโรคก็จะสลายไปพร้อม
ื
้
่
้
่
กันด้วย
้
4. ผูรับผิดชอบ
พยาบาล,ผู้ช่วยพยาบาล
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
้
้
่
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 4 จาก 8
้
5. เอกสารอางอิง
้
้
สถาบันบ าราศนราดรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2556). คู่มือปฏิบัติการปองกันและควบคุมการติดเชือ
์
ในโรงพยาบาล. โรงพิมพ์ชุมนมสหกรณการเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด.
ุ
้
แนวทางการจัดการศพทีติดเชือหรือว่าสงสัยว่าติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 กองบริหารการสาธารณสุข ส านักงาน
่
้
่
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที 24 มีนาคม 2563
Precaution for handling and disposal of dead bodies. Department of health, Hong kong
(http://www.chp.gov.hk/files/pdf/grp-guideline-hp-ic-precautions_for_handling_and_disposal_of_dead_bodies_en.pdf)
Guidelines for handling dead bodies of suspected/probable/confirmedCOvid-19 death, National Institute of
forensic medicine, Malasi(http://www.moh.gov.my/moh/resources/Penerbitan/Garis%20Pengurusan%20KEsihatan
%20&%20kawalan%20pykit/2019-nCov/Bil%204%20%202020/Annex%2020%20Guidelines%20Managing
%20Dead%20Bodies_26022020.pdf)
้
6. เอกสารแนบทาย
ตารางท 1 : การเตรยมบุคลากรส าหรับการจัดการศพติดเชอไวรัสโคโรนา 2019
ี
้
ี่
ื
ี
ทมจัดการศพติดเชอ จ านวน หนาท ี่ การสวมใส่อุปกรณปองกันส่วนบุคล (PPE)
ื
้
้
้
์
อันตราย (คน)
็
้
หัวหนาทีม 1 ควบคุมขั้นตอนการเก็บศพให้ เปนไป Face shield + Surgical mask + Shoe cover
ตามแนวทาง ตรวจสอบการใส่และ
ถอดชุด PPE ของสมาชิกในทีม
ุ
่
เจ้าหนาทีเก็บบรรจุศพ 2-3 ยกศพและบรรจุศพใส่ถงศพ Surgical cap + Face shield + Surgical mask
้
+ Coverall or Long-sleeve impermeable gown
+ Double gloves + Boot + Boot cover
เจ้าหนาทีฆ่าเชือ เช็ดนายาฆ่าเชือภายนอกถงบรรจุศพ Surgical cap + Face shield + Surgical mask
้
้
ุ
้
่
้
และรถเข็นศพ กด/บีบแอลกอฮอล์ล้าง + Coverall or Long-sleeve impermeable gown
มือให้เจ้าหนาทีคนอื่น + Double gloves + Boot + Boot cover
่
้
้
เจ้าหนาทีเก็บสิ่งส่ง เก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจเพื่อยืนยันเชือ Surgical cap + Face shield + Surgical mask*
่
้
ตรวจ + Coverall or Long-sleeve impermeable gown
่
+ Double gloves + Shoe cover *เปลียนเปน
็
N95 mask กรณีเก็บ Tracheal suction หรือท า
Lung necropsy
่
ี
้
หมายเหตุ: กรณหัวหนาทมเปนแพทย์และจะเปนผูเก็บสิงส่งตรวจเอง ใหสวมใส่อุปกรณป้องกันส่วนบุคคลเหมือน
้
้
็
ี
็
์
้
ี่
เจ้าหนาทเก็บสิง ส่งตรวจ
่
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
่
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 5 จาก 8
้
้
้
ื
์
ี่
ตารางท 2 : การเตรียมวัสดุอุปกรณส าหรับการจัดการศพติดเชอไวรัสโคโรนา 2019
์
อุปกรณป้องกันร่างกายส่วนบุคคล (PPE)
้
ชุดคลุมทั้งตัวหรือชุดกาวน ์ หนากากอนามัย (Surgical
ยาวคลุมแขน (Coverall or mask) หนากาก N95
้
Long-sleeve (N95 particulate mask)
impermeable gown)
หมวกคลุมผม ถงมือยางธรรมชาติ
ุ
(Surgical cap) (Disposable rubber
gloves)
้
กระบังหนาแบบใส ถงมือยางสังเคราะห์แบบ
ุ
(Face shield) ยาวคลุมแขน
(Long-sleeve synthetic
rubber gloves)
๊
ุ
รองเท้าบูทยาง ถงคลุมรองเท้าบูท
๊
(Rubber boot) (Boot cover)
ุ
ถงคลุมรองเท้า
(Shoe cover)
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 6 จาก 8
้
้
่
ี่
ถุงบรรจุศพ (Body bag) และวัสดุทใชในการบรรจุศพ
้
กรณีใช้ถงบรรจุศพตามท้องตลาด - ถงมีซิปตัวยูด้านบนหรือด้านข้าง
ุ
ุ
ทั่วไป (Commercial body bag) - หนาอย่างนอย 150 ไมครอน
้
จ านวน 2 ถงตอศพ - เชื่อมรอยตอขอบถงด้วย ความร้อน
ุ
่
่
ุ
ุ
ุ
กรณีใช้ถงบรรจุศพแบบมาตรฐาน - ถงมีซิปตัวยูด้านบน
(OSHA-standard body bag) - หนาอย่างนอย 400 ไมครอน
้
จ านวน 1 ถงตอศพ - มีหูจับยกอย่างนอย 4 หู
่
ุ
้
- เชื่อมรอยตอขอบถงด้วยความร้อน
ุ
่
สายเคเบิลคล้องซิป (Zip tie)
้
์
ปายสัญลักษณแสดงวัตถอันตราย
ุ
้
ทางชีวภาพ (Biohazard tag)
ชุดเก็บสิงส่งตรวจ
่
Synthetic fiber swab
่
้
จ านวนอย่างนอย 3 ชินตอศพ
้
Vital transport media (VTM)
จ านวนอย่างนอย 2 ชุดต่อศพ
้
ื
้
ื
นายาท าลายเช้อและวัสดุส าหรับการท าลายเชอ
้
0.5% Hypochlorite solution
Alcohol based hand rub
ผ้าก๊อซหุ้มส าลีและส าลีก้อน
ุ
ถงขยะติดเชือ
้
\
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
่
้
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 7 จาก 8
้
ื
้
ค าแนะนาส าหรับผูปฏิบัติงานในการจัดการศพติดเชออันตราย
้
้
1. ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมชุด PPE ขณะท างานตลอดเวลา และถอดชุดออกทันทีหลังเสร็จสินการจัดการศพ
้
2. ผู้ปฏิบัติงานควรเคยผ่านการอบรมการใส่และถอดชุด PPE และการจัดการศพติดเชือมาก่อน
่
้
้
3. เจ้าหนาทีเข็นรถเข็นศพ เจ้าหนาทีเคลื่อนย้ายศพ ผู้ปฏิบัติงานอื่น ๆ และญาติผู้ตายสามารถสัมผัสถงศพ ภายนอก
่
ุ
ุ
่
ทีผ่านการ decontamination มาแล้ว โดยใส่ถงมือแบบใช้แล้วทิงและไม่ต้องสวมชุด PPE
้
ุ
4. ก่อนท าการบรรจุศพใส่ถงควรใช้ส าลีชุบ 0.5% Hypochlorite solution อุดในรูจมูก ช่องปาก และปลายท่อของ
Endotracheal tube และ Oropharyngeal airway รวมทั้งผูกมัดสาย Nasogastric tube เพื่อปองกันการไหลของสารคัดหลั่ง
้
ออกมาเปรอะเปอนในขณะท าการยกศพใส่ถงศพ
ุ
้
ื
5. ศพทีได้รับการยืนยันทางห้องปฏิบัติการแล้วว่าไม่พบการติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 สามารถนาศพออกจากถง ได้
่
ุ
้
และสามารถอาบนาท าความสะอาดศพ ฉีดนายารักษาสภาพศพ รวมทั้งประกอบพิธีทางศาสนาได้ตามปกติ
้
้
่
้
้
6. แนะนาให้ใช้วิธีการเผาศพส าหรับผู้เสียชีวิตทีตรวจพบการติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ถ้าสามารถท าได้ทั้งนีให้
ค านึงถึงความเชื่อและประเพณีตามศาสนาของผู้เสียชีวิต
่
์
7. ไม่ควรถอดอุปกรณทางการแพทย์ทีสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจออกจากศพ เช่น Endotracheal tube,
้
ื
่
Nasogastric tube, Oropharyngeal airway ยกเว้นในกรณทีมีความจ าเปนต้องเก็บสารคัดหลั่งที ปนเปอนอุปกรณทาง
่
็
ี
์
่
การแพทย์นั้น ๆ เพือส่งตรวจยืนยันเชือสามารถถอดอุปกรณดังกลาวได้และนาส่งตามแนวทางการเก็บสิ่งส่งตรวจของ
่
้
์
ห้องปฏิบัติการ
8. ไม่ควรใช้อุปกรณฉีดพ่นนาหรือนายาท าลายเชื้อกับศพ ถงศพ รถเข็นศพ หรืออุปกรณอืน ๆ ในการจัดการศพ
่
้
้
ุ
์
์
รวมทั้งการท าความสะอาดพืนทีทีพบศพเพื่อลดการฟงกระจายของเชือโรคให้ใช้วิธีการเช็ด ซับ หรือล้างแทน
้
้
่
ุ
่
้
้
ิ
่
9. ไม่ควรเปดถงบรรจุศพอีกหลังการเก็บศพ เพือปองกันการแพร่กระจายของเชือโรคจากการสัมผัสสารคัดหลั่งจาก
้
ุ
ทางเดินหายใจของผู้ตาย
10. ไม่ควรอาบนาท าความสะอาดศพ
้
้
11. ไม่ควรฉีดนายารักษาสภาพศพ
แนวทางการเก็บสิงส่งตรวจจากศพเพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมของเชอไวรัสโคโรนา 2019
้
ื
่
1. กรณีผู้ปวยเสียชีวิตในโรงพยาบาลและมีการเก็บสิ่งส่งตรวจไปแล้ว แตยังไม่ทราบผลการตรวจให้ท าการเก็บศพ ใส่
่
่
ถงศพตามแนวทาง โดยไม่ต้องท าการเก็บสิ่งส่งตรวจอีก
ุ
2. กรณีผู้ป ่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล และยังไม่เคยท าการเก็บสิ่งส่งตรวจ
่
- หากผู้ปวยได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจก่อนเสียชีวิต ให้ท าการเก็บสิ่งส่งตรวจจาก Tracheal suction ใส่
ภาชนะปลอดเชือ โดยไม่ต้องใส่ในหลอด VTM (แนะนาให้ท าใน Airborne Infection Isolation Rooms; AIIRs และผู้เก็บต้อง
้
้
่
ใส่หนากาก N95) หรือตัดปลายท่อช่วยหายใจทีสัมผัสกับสารคัดหลั่งใส่ในหลอด VTM
- หากผู้ป ่วยไม่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจให้ท าการเก็บสิ่งส่งตรวจจากทางเดินหายใจส่วนบนด้วยวิธี
Nasopharyngeal swab ร่วมกับ Oropharyngeal swab (Throat swab)
3. กรณีพบศพเสียชีวิตนอกโรงพยาบาล ให้ท าการเก็บสิ่งส่งตรวจจากทางเดินหายใจส่วนบนด้วยวิธี Nasopharyngeal
่
ิ
swab หากศพยังไม่แข็งตัวและสามารถเปดปากพอทีจะสอด swab เข้าไปในช่องปากได้ให้ท า Oropharyngeal swab
ร่วมด้วย
4. การเก็บ Nasopharyngeal swab และ Oropharyngeal swab
็
่
- ให้ใช้ Synthetic fiber swab (Dacron หรือ Rayon swab) ทีมีก้านเปนพลาสติก ห้ามใช้ Calcium alginate
ื
่
swab หรือ swab ทีมีก้านเปนไม้ เนองจาก swab ประเภทดังกล่าวอาจมีหรือปนเปอนสารที ยับยั้งไวรัสและกระบวนการ
็
้
่
ื
่
PCR
- วิธีการเก็บ Nasopharyngeal swab ให้สอด swab เข้าไปในรูจมูกในแนวขนานกับเพดานปากให้ลึกทีสุด
่
้
ทิง swab ไว้2-3 วินาที เพื่อให้ดูดซึมสารคัดหลั่ง และท าอีกข้างด้วย swab อันเดิม
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ
้
่
เรื่อง : การจัดการศพผู้ปวยโรคติดเชืออุบัติใหม่ WI-IC-001 (01/04/2563) หนา 8 จาก 8
้
่
- วิธีการเก็บ Oropharyngeal swab ให้ใช้ swab เช็ดปายบริเวณ Posterior pharynx พยายามหลีกเลียงการ
้
้
สัมผัสบริเวณลิน
่
- ใส่ swabs ลงไปในหลอดปลอดเชือทีมี viral transport media (VTM) 2-3 ml ทันทีหลังการเก็บ โดยใส่ทั้ง
้
้
Nasopharyngeal swab และ Oropharyngeal swab ลงไปในหลอด VTM เดียวกัน เพื่อเพิ่มปริมาณ เชือ
็
5. การท า Lung necropsy พิจารณาใช้เปนทางเลือกส าหรับการเก็บสิ่งส่งตรวจ ควรท าใน Airborne Infection
Isolation Rooms (AIIRs) และผู้เก็บต้องใส่หนากาก N95 ขั้นตอนการท าให้เปนไปตามแนวทางของราชวิทยาลัย
็
้
พยาธิแพทย์แห่งประเทศไทย
6. การเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจ เมื่อเก็บตัวอย่างแล้วต้องแช่ในกระติกนาแข็งทันทีหรือเก็บในตู้เย็นอุณหภูมิ 4-8
้
่
องศาเซลเซียส แล้วนาส่งห้องปฏิบัติการภายใน 24 ชั่วโมง กรณีทีไม่สามารถนาส่งได้ภายใน 24 ชั่วโมง ให้เก็บในตู้แช่แข็ง
-70 องศาเซลเซียส
7. การบรรจุและขนส่งสิ่งส่งตรวจให้ปฏิบัติตามขั้นตอนของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เอกสารควบคุม : ไม่ให้คัดลอกส าเนา เปลี่ยนแปลงหรือแจกจ่าย โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้รับผิดชอบ