The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PPchal chaiyasing, 2019-12-16 00:54:35

3unit

3unit

DEVELOPING AN INNOVATIVE LEADERSHIP PROGRAM
FOR PRIMARY SCHOOL PRINCIPALS
IN THAI EDUCATION 4.0 ERA

เค้าโครงวทิ ยานิพนธ์

รตั นภรณ์ กญั ญาคา
หลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ
สาขาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด



ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา

 สภาพปัญหาและสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลง
 ยคุ การศกึ ษาไทย 4.0
 ภาวะผูน้ าเชิงนวตั กรรมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
 โปรแกรมการพฒั นาภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรม

ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา



 1. ภาวะผู้นาเชงิ นวตั กรรมผขู้ องบรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรยี น
ประถมศึกษาในยคุ การศึกษาไทย4.0 มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง

 2. ภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรมผ้ขู องบรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรยี น
ประถมศึกษาในยุคการศึกษาไทย4.0 มสี ภาพปจั จุบนั และสภาพทพ่ี งึ
ประสงค์อย่างไร

 3. โปรแกรมการพฒั นาภาวะผู้นาเชิงนวตั กรรมของผบู้ รหิ าร
สถานศกึ ษาในยคุ การศกึ ษาไทย4.0 ควรเป็นอยา่ งไร

 4. โปรแกรมการพฒั นาภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรมของผูบ้ ริหาร
สถานศกึ ษาในยคุ การศกึ ษาไทย4.0 มคี วามเหมาะสม ความเป็นไปได้
และความเป็นประโยชนต์ ามเกณฑ์หรอื ไม่



 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบของภาวะผู้นาเชงิ นวตั กรรมของผู้บรหิ าร
สถานศกึ ษาโรงเรียนประถมศกึ ษาในยุคการศึกษาไทย4.0

 2. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั และสภาพท่พี ึงประสงคภ์ าวะผนู้ าเชิง
นวตั กรรมของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษาในยคุ การศกึ ษา
ไทย4.0

 3. เพอ่ื สร้างโปรแกรมการพฒั นาภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรมของ
ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรยี นประถมศึกษาในยุคการศึกษาไทย4.0

 4. เพ่ือประเมนิ โปรแกรมการพฒั นาภาวะผนู้ าเชิงนวตั กรรมของ
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรยี นประถมศึกษาในยุคการศกึ ษาไทย4.0



 การวิจยั ระยะที่ 1
ศึกษาองค์ประกอบของภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรมของผู้บริหาร

สถานศึกษาโรงเรียนประถมศกึ ษาในยุคการศกึ ษาไทย4.0 โดยใช้
การศึกษาเอกสารและการสมั ภาษณผ์ ้ทู รงคุณวุฒิจานวน 7 คน

 การวจิ ยั ระยะท่ี 2
ศกึ ษาสภาพปัจจุบัน และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ภาวะผู้นาเชงิ

นวตั กรรมของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรียนประถมศกึ ษาในยคุ
การศึกษาไทย4.0 จากการใชแ้ บบสอบถาม



 ประชากร ไดแ้ ก่
ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษาในภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั
พื้นฐาน จานวน 12,389 คน

 กลมุ่ ตัวอย่าง ได้แก่
ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษาในภาค

ตะวันออกเฉยี งเหนือ สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้
พน้ื ฐานจานวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง 375 คน โดยประชากร และกลมุ่
ตวั อย่างไดจ้ ากการสุ่มหลายข้นั ตอน



 การวิจัยระยะท่ี 3
ผู้วิจยั ยกร่างโปรแกรมการพัฒนาภาวะผู้นาเชงิ นวตั กรรมของผ้บู ริหาร

สถานศกึ ษาโรงเรียนประถมศกึ ษาในยุคการศึกษาไทย4.0 ตรวจสอบรปู แบบ
และปรับปรุงโปรแกรมโดยการสนทนากลมุ่ (Focus group ) ร่วมกับ
ผทู้ รงคุณวุฒิจานวน 9 คน เพอ่ื พจิ ารณาโปรแกรม

 การวจิ ยั ระยะที่ 4
ประเมนิ โปรแกรมการพัฒนาภาวะผนู้ าเชงิ นวตั กรรมของผบู้ รหิ าร

สถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษาในยคุ การศกึ ษาไทย4.0 คอื ประเมนิ ความ
เหมาะสม ความเปน็ ไปได้ และความเป็นประโยชน์โดยผู้จานวนผ้เู ชยี่ วชาญ
จานวน 7 คน



 1. แนวคดิ หลกั การจดั การศึกษาไทย4.0
 2. แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกบั การศกึ ษายุคการศึกษาไทย 4.0
 3. แนวคิด ทฤษฎเี ก่ียวกบั ภาวะผูน้ าเชิงนวัตกรรม
 4. การพฒั นาภาวะผนู้ าเชิงนวตั กรรม
 5. โปรแกรมการพฒั นาภาวะผูน้ าเชิงนวตั กรรม
 6. งานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง







การวิจยั แบบผสมผสาน (Mixed methods research) โดยแบง่ วธิ ดี าเนินการ
วิจยั ออกเปน็ 4 ระยะ ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนนิ การดงั นี้

ระยะท่ี 1.ศึกษาองคป์ ระกอบ ภาวะผู้นาเชงิ นวัตกรรมของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
โรงเรยี นประถมศึกษาในยุคการศกึ ษา 4.0

1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ งและทาการสงั เคราะห์
เพ่ือใหไ้ ดอ้ งคป์ ระกอบภาวะผ้นู าเชงิ นวัตกรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาในยุคการศกึ ษา4.0

2. การสัมภาษณ์เชิงลึกผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ จานวน 7 คน เพอ่ื ยันยืนองคป์ ระกอบและ
ตวั ช้ีวัดภาวะผนู้ าเชงิ นวัตกรรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรยี นประถมศึกษาในยคุ
การศึกษา4.0



 ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจบุ นั สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ภาวะผนู้ าเชิง
นวัตกรรมของผู้บริหารสถานศกึ ษาโรงเรียนประถมศึกษาในยุคการศกึ ษา4.0

 1.ประชากร ไดแ้ ก่ ประชากรทใี่ นการวจิ ัยครง้ั นี้ คือ ผู้อานวยการ
สถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
จานวน 12,389 คน

 2.กลุ่มตัวอย่าง ไดแ้ ก่ กล่มุ ตวั อยา่ ง ได้แก่ ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดม้ าโดยการสมุ่ ตัวอย่างแบบ
หลายขัน้ ตอน (Multi-stage Random Sampling) ไดจ้ านวนกล่มุ ตวั อยา่ ง
375 คน



 3. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

 3.1 เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในขั้นตอนนีใ้ ช้แบบสอบถาม
ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั สภาพปจั จบุ นั สภาพท่พี ึงประสงค์ ภาวะผนู้ าเชงิ
นวัตกรรมของผู้บรหิ ารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศกึ ษา สงั กัดสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โดยการนาขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากระยะท่ี 1
มาใชเ้ พือ่ สร้างแบบสอบถามความคิดเหน็



ระยะท่ี 3 สรา้ งโปรแกรมการพัฒนาภาวะผู้นาเชิงนวัตกรรมของ
ผ้บู ริหารสถานศึกษาโรงเรยี นประถมศกึ ษาในยคุ การศกึ ษาไทย4.0

1. นาผลการวิจยั ระยะท่ี2 มาวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ข้อมลู ระดับความคดิ เหน็
ท่มี ีตอ่ สภาพปัจจบุ นั และสภาพท่พี ึงประสงค์เพ่อื ยกร่างโปรแกรมพัฒนาภาวะผู้นาเชงิ
นวตั กรรมของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศึกษาในยคุ การศึกษาไทย4.0

2. การยกรา่ งโปรแกรมพัฒนาภาวะผนู้ าเชงิ นวัตกรรมของผู้บรหิ าร
สถานศึกษาโรงเรียนประถมศกึ ษาในยคุ การศกึ ษาไทย4.0 ประกอบด้วย วัตถปุ ระสงค์
เนือ้ หา กระบวนการพัฒนา และการวัดและประเมนิ ผลโปรแกรม และจดั ทาคูม่ อื การ
ใชง้ านโปรแกรม

3. การสนทนากลมุ่ ( Focus group) โดยผทู้ รงคุณวุฒิ จานวน 9 คน เพอื่
ยนั ยืนโปรแกรมพัฒนาภาวะผูน้ าเชงิ นวตั กรรมของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรยี น
ประถมศกึ ษาในยคุ การศึกษาไทย4.0



ระยะท่ี 4 ประเมนิ โปรแกรมการพัฒนาภาวะผูน้ าเชงิ นวัตกรรมของผู้บริหาร
สถานศกึ ษา โรงเรยี นประถมศกึ ษาในยุคการศกึ ษาไทย4.0 มคี วามเหมาะสม
ความเปน็ ไปได้ และความเปน็ ประโยชนต์ ามเกณฑห์ รอื ไม่

1. ศกึ ษาความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ในทางปฏิบัติ และความเปน็
ประโยชนโ์ ดยการประเมนิ โปรแกรมการพฒั นาภาวะผูน้ าเชงิ นวัตกรรมของผู้บริหาร
สถานศกึ ษาโรงเรยี นประถมศึกษา ในยุคการศกึ ษาไทย4.0 โดยใชแ้ บบประเมินโปรแกรม
ตามความคิดเห็นของ ผ้เู ชย่ี วชาญจานวน 7 คน

2. กลุม่ ผเู้ ช่ียวชาญเพ่ือประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมพัฒนาภาวะผูน้ า
เชงิ นวตั กรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรยี นประถมศึกษาในยุคการศกึ ษาไทย 4.0 มี
คณุ สมบัติตามเกณฑ์



ขอบคณุ และสวสั ดีค่ะ

รตั นภรณ์ กัญญาคา
หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด


Click to View FlipBook Version