The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kik.kj24, 2021-04-06 12:34:01

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์สู่การสร้างนวัตกรรม

การนิเทศเยี่ยมชั้นเรียนและติดตามการขับเคลื่อนพัฒนา


คุณภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้



ภาษาไทยตามโครงการพัฒนาการเรียนการสอน




“การออกแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์สู่การสร้างนวัตกรรม”

ของโรงเรียนในสังกัดสพม.9






กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา

















http://online.anyflip.com/nsnqh/ibba/














สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม


กระทรวงศึกษาธิการ

การติดตามและประเมินผลการนิเทศภายใน รายวิชา ท 22101 ภาษาไทย เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครผู้สอน นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง
จาก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

การการติดตามและประเมินผลการนิเทศภายใน รายวิชา ท 33101 ภาษาไทย

เรื่อง บทเสภาขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ครูผู้สอน นางสาวพิมลณัฎฐ์ ภคหิรัญวิรุฬห์

จาก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

ภาคผนวก








- แผนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ผังความคิดพินิจคุณค่า
โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

วิชา ท 22101 รายวชา ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ี่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง


ี้
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ท 1.1 ม. 2/3 เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆ ที่อ่าน

ท 5.1 ม. 2/1 สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น
ท 5.1 ม. 2/4 สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายรูปแบบและการใช้แผนภาพโครงเรื่องได้ (K)

ื่
2. เขียนผังความคิดเพอสรุปเนื้อหาจากการอ่านบทเสภาสามัคคีเสวกได้ (P)
3. เห็นความสำคัญของการเขียนผังความคิดเพอสรุปความเรื่องที่อ่านได้ (A)
ื่

3. สาระสำคัญ
การเขียนผังความคิด เรื่องบทเสภาสามัคคีเสวกคือจัดลำดับความคิดทำให้จดจำได้ง่ายและเข้าใจดีขึ้น โดยที่

สรุปเนื้อหาของเรื่องและจินตนาการลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด
ๆ ทำให้เกิดทักษะการวางแผนและถ่ายทอดของเนื้อหา ได้เป็นระบบที่ชัดเจนขึ้น

4. สาระการเรียนรู้

4.1.ความรู้ (K)
1) ความหมายของการเขียนแผนผังความคด

2) หลักการเขียนแผนผังความคิด
3) รูปแบบของการเขียนแผนผังความคิด
4.2.ทักษะ/กระบวนการ(P)

1) ทักษะการเปรียบเทียบ/วิเคราะห์
2) ทักษะการจำแนกประเภท
3) ทักษะการนำความรู้ไปใช้

4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย

2) รักความเป็นไทย

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการสื่อสาร

- มีทักษะในการอ่านร้อยแก้ว
ความสามารถในการคิด
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

- กระบวนการปฏิบัติ

6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนววิธีพุทธ (ศีล สมาธิ ปัญญา) โดยการใช้หลักธรรม อทธิบาทสี่ เข้ามาสอดแทรก

ในเนื้อหาเพื่อเป็นคติธรรมในเรื่องของความพึงพอใจและความสามัคคีของหมู่คณะ

7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำ (ศีล)

1. นักเรียนทำสมาธิพร้อมเข้าสู่บทเรียน (3 นาที)
2. นักเรียนกราบไหว้เบญจางคประดิษฐ์ โดยแบ่งการกราบไหว้เป็นสามครั้ง

• กราบครั้งที่ 1 กราบ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ที่เป็นที่พึ่งของคุณงามความดี ให้มีสติมีปัญญา
• กราบครั้งที่ 2 กราบ คุณบิดา คุณมารดา ที่เป็นผู้ให้ชีวิตให้วิญญาณ คอยเลี้ยงดูจนเติบใหญ่
• กราบครั้งที่ 3 กราบ คุณครูบาอาจารย์ ที่อบรมสั่งสอนให้มีวิชาความรู้

3.นักเรียนท่องบทอาขยาน บทเสภาสามัคคีเสวก พร้อมกัน
ขั้นสอน (สมาธิ)
4. ครูเปิดสื่อ Power Point ทบทวนเนื้อหา เรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก สนทนากับนักเรียนเนื้อเรื่องแสดงถึงงาน

ศิลปะใดบ้าง แล้วครูเปิดรูปภาพงานศิลปะและงานช่าง ว่านักเรียนรู้จักงานช่างประเภทของงานศิลปะแขนงต่างๆ และความ
สามัคคีของหมู่คณะส่งผลอย่างไรบ้าง
5. ให้นักเรียนนำชิ้นงานกลุ่มที่ครูมอบหมายในชั่วโมงที่แล้วออกมานำเสนอ การเขียนผังความคิดสรุปเนื้อหาจากบ
เสภาสามัคคีเสวก พร้อมทั้งเล่าเรื่องประกอบ กลุ่มละ 5 นาที แล้วร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูประเมินผลงาน

ของนักเรียนเป็นรายกลุ่ม โดยเรียงลำดับกลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 แผนภาพบทเสภาสามัคคีเสวกตอนวิศวกรรมา
กลุ่มที่ 2 ช่างสิบหมู่

กลุ่มที่ 3 บทเสภาสามัคคีเสวกตอนสามัคคเสวก

6. ครูอธิบายเพิ่มเติมความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ถ้าหากนักเรียนต้องการให้เกิดความรักความพอใจสามัคคีใน
ประเทศชาตินั้นเราต้องใช้หลักธรรมแห่งความสำเร็จในการทำงาน คือ อริยสัจสี่ คือ



➢ ฉันทะ ได้แก่ ความพึงพอใจในสิ่งที่ทำอยู่บุคคลควรรักงานรักเพื่อนร่วมงาน รักหมู่คณะและ

สถาบัน เมื่อบุคคลมีความพอใจ มีความรักในสิ่งที่ตนทำ สิ่งต่างๆที่ตนแสดงพฤติกรรมออกมาก็จะดีด้วย
➢ วิริยะ ได้แก่ ความเพียรพยายามการมีความขยัน อดทน บากบั่นจนประสบผลสำเร็จ ดังสุภาษิตที่ว่า
มีความพยายามที่ไหนที่นั่นย่อมประสบความสำเร็จ เช่น ต้องการเรียนเก่ง นักเรียนก็ต้องหมั่นท่องอ่านทำ

รายงาน ทำแบบฝึกหัด รับผิดชอบต่อการเรียนมีวินัย ความพยายามจะสอบได้ดี
➢ จิตตะ ได้แก่ ความตั้งใจ การฝักใฝ่อย่างจริงจัง ไม่ว่าจะเป็นการเรียนหรือการทำงานเอาใจใส่ต่องาน

ที่ทำ มีความตั้งใจว่าจะทำทุกอย่างให้ดี
➢ วิมังสา ได้แก่ ความสุขุม รอบคอบพินิจพิจารณาสิ่งที่ทำด้วย การทำการใดๆ ให้รอบคอบมีความ


ละเอียดลออในงานที่เราได้กระทำ

7. นักเรียนร่วมกันเล่นเกมออนไลน์ Nearpod เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก โดยให้คะแนนตามตัวเลขข้างหน้าที่เล่น
ได้
ขั้นสรุป (ปัญญา)

8. ครูช่วยและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนช่วยกันประเมินคุณค่าของบทเสภาสามัคคีเสวกในด้านเนื้อหาและด้าน
วรรณศิลป์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ

8. การจัดบรรยากาศเชิงบวก

ให้นักเรียนได้ค้นคว้าความรู้ตามที่สนใจ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลร่วมกัน
ทำงาน เชื่อมโยงความรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เกิดการเรียนรู้ที่กระตือรือร้นตลอดเวลา


9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
- Power Point เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก
- เกมออนไลน์ Nearpod เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก
- แผนผังความคิด เรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก


10. การวัดและการประเมินผล

10.1 วิธีการวัดและประเมินผล

1) สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียน
2) ประเมินการเขียนแผนผังความคิด
3) ประเมินการทำงานกลุ่ม

10.2 เครื่องมอ
1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2) แบบประเมินการเขียนแผนผังความคิด
3) แบบประเมินการทำงานกลุ่ม

10.3 เกณฑ์การประเมิน

1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
2) เกณฑ์การประเมินคะแนนการเขียนแผนผังความคด

16 - 20 หมายถึง ดีมาก
11 - 15 หมายถึง ดี
6 - 10 หมายถึง พอใช้
0 - 5 หมายถึง ปรับปรุง
3) เกณฑ์การประเมินการทำงานกลุ่ม

11 – 12 ระดับ ดีมาก
8 – 10 ระดับ ดี
5 – 7 ระดับ พอใช้

0 – 4 ระดับ ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินการเขียนแผนผังความคิด

แนวทางการประเมินองค์ความรู้ระบบความคิดรวบยอดจากแผนผังความคิด

ระดับ หัวข้อการพิจารณา
คะแนน การเชื่อมโยง
ความคิดรวบยอด ความคิดรอง ความคิดย่อย ความสวยงาม
ความคิด

4 เขียนแผนที่ความคิด ขยายความคิด ขยายความคิด เชื่อมโยงความคดรวบ มีสีสวยงาม
ที่แสดงความคิด รองได้ถูกต้อง ย่อยได้ถูกต้อง ยอดหลัก ความคิด ประณีต

รวบยอดหลัก ครบทุก ครบทุกประเด็น รองความคิดย่อยได้ แยกประเด็นหลัก
ถูกต้อง ประเด็น ชัดเจน ประเด็นรอง
ตรงประเด็น ประเด็นย่อยได้
ชัดเจน

3 เขียนแผนที่ ขยายความคิด ขยายความคิด เชื่อมโยงความคดรวบ มีสีสวยงาม

ี่
ความคิดทแสดง รองได้ถูกต้อง ย่อยได้ถูกต้อง ยอดหลัก ความคิด แยกประเด็นหลัก
ความคิดรวบยอด แต่ไม่ครบทุก แต่ไม่ครบทุก รองความคิดย่อยได้ ประเด็นรอง
หลักถูกต้อง ประเด็น ประเด็น ประเด็นย่อยได้

มีจำนวนมาก มีจำนวนมาก
ประเด็น ประเด็น
2 เขียนแผนที่ ขยายความคิด ขยายความคิด เชื่อมโยงความคดรวบ มีสีสวยงาม

ี่
ความคิดทแสดง รองได้ถูกต้อง ย่อยได้ถูกต้อง ยอดหลัก ความคิด ไม่สามารถแยก
ความคิดรวบยอด มีจำนวนน้อย มีจำนวนน้อย รองความคิดย่อย ประเด็นหลัก
หลักถูกต้อง ประเด็น ประเด็น ประเด็นรอง
ประเด็นย่อย

1 เขียนแผนที่ ขยายความคิด ขยายความคิด ไม่เชื่อมโยงความคิด มีสีไม่สวยงาม
ความคิดทแสดง รองได้ไม่ ย่อยได้ไม่ถูกต้อง รวบยอดหลัก ไม่สามารถแยก
ี่
ความคิดรวบยอด ถูกต้อง ความคิดรองความคิด ประเด็นหลัก

หลักไม่ตรง ย่อย ประเด็นรอง
ประเด็น ประเด็นย่อย

แบบประเมินการเขียนแผนผังความคิด

ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 หอง..........

ี่
ประเด็น ความคิดรวบ ความคิดรอง ความคิดย่อย การเชื่อมโยง ความสวยงาม รวม
ยอด ความคิด
เลขที่ 4 4 4 4 4 20

1.
2.
3.

4.
5.
6.

7.
8.
9.

10.
11.
12.

13.
14.
15.

16.
17.
18.

19.
20.
21.
22.

23.
24.

25.
26.
27.
28.

29.

แบบประเมินการเขียนแผนผังความคิด

ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 หอง..........
ี่

ประเด็น ความคิด ความคิดรอง ความคิดย่อย การเชื่อมโยง ความสวยงาม รวม
รวบยอด ความคิด
เลขที่ 4 4 4 4 4 20

30.
31.
32.

33.
34.
35.

36.
37.
38.

39.
40.
41.

42.
43.
44.

45.

เกณฑ์การประเมิน 16-20 หมายถึง ดีมาก
11-15 หมายถึง ดี

6-10 หมายถึง พอใช้
0-5 หมายถึง ปรับปรุง




ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน
(นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง )

เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการทำงานกลุ่ม


เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับ
ประเด็นการประเมิน
3 2 1
1. การกำหนด – สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม สมาชิกส่วนใหญ่มี สมาชิกส่วนน้อยมี

เป้าหมายร่วมกัน ในการกำหนดเป้าหมาย ส่วนร่วมในการกำหนด ส่วนร่วมในการกำหนด
การทำงานอย่างชัดเจน เป้าหมายในการทำงาน เป้าหมายในการทำงาน
2. การแบ่งหน้าที่ กระจายงานได้อย่าง กระจายงานได้ทั่วถึง กระจายงานไม่ทั่วถึง
รับผิดชอบ ทั่วถึงและตรงตาม แต่ไม่ตรงตาม

ความสามารถของ ความสามารถของ
สมาชิกทุกคน สมาชิก
3. การปฏิบัติหน้าที่ ทำงานได้สำเร็จตาม ทำงานได้สำเร็จตาม ทำงานไม่สำเร็จตาม

ที่ได้รับมอบหมาย เป้าหมายที่ได้รับ เป้าหมายแต่ช้ากว่า เป้าหมาย
มอบหมาย ตาม เวลาที่กำหนด
ระยะเวลาที่กำหนด
4. การประเมินและ สมาชิกทุกคนร่วม สมาชิกบางส่วนมีส่วน สมาชิกบางส่วนไม่มี

ปรับปรุงผลงาน ปรึกษาหารือ ติดตาม ร่วมปรึกษาหารือแต่ไม่ ส่วนร่วมปรึกษาหารือ
ตรวจสอบและปรับ – ช่วยปรับปรุงผลงาน และไม่ช่วยปรับปรุง
ปรุงผลงานเป็นระยะ ผลงาน

แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มท…...........….....
ี่

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1. การกำหนดเป้าหมายร่วมกัน
2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

3. การปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน


รวม


เกณฑ์การประเมิน
11 – 12 = ดีมาก
8 – 10 = ดี
5 – 7 = พอใช้

0 – 4 = ปรับปรุง
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
รหัสวิชา ท33101 รายวิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ี่
ชั้นมัธยมศึกษาปีท 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พินิจวรรณกรรมและวรรณคดี เวลา 1 ชวโมง
ั่
ครูผู้สอน นางสาวพิมลณัฎฐ ภคหิรัญวิรุฬห์

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวัด
ี้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคาและนำมา

ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ท 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของ

สังคมไทยในอดีต
ท 5.1 ม.4-6/4 สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพอนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ื่
2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. บอกถึงลักษณะเด่นของวรรณคดี เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา ที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของสังคม

ในอดีตได้ (K)
2. แสดงบทบาทสมมุติ เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาได้ (P)
3. สังเคราะห์ขอคิดจากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ (A)

3. สาระสำคัญ
วรรณคดีเรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เป็นวรรณคดีที่สะท้อนความเป็นไทยอย่างเด่นชัดทั้งสภาพ
สังคม วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเชื่อ อีกทั้งยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาในเรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกและบอกถึงคณค่าในด้านต่างๆ แล้วนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

4. สาระการเรียนรู้

4.1 ความรู้ (K)
1) การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของ
สังคมในอดีต

4.2 ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด (P)
1) ทักษะการวิเคราะห์
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) รักความเป็นไทย
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ความสามารถในการสื่อสาร
- มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
ความสามารถในการคิด

- มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์

ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- สามารถทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้

6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธพระราชทาน (ศีล สมาธิ ปัญญา)


7. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำ (ศีล)
ื่
1. นักเรียนทำสมาธิเพอเตรียมพร้อมเข้าสู่การเรียน (3 นาที)
2. ครูผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
ขั้นสอน (สมาธิ)
3. ครูเปิดเทปบันทึกเสียงบทขับเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
4. นักเรียนรวมกลุ่มเดิมจากชั่วโมงที่แล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 10-15 นาที โดยมี 3 กลุ่มดังนี้

กลุ่มที่ 1 กลุ่มสาธิต
กลุ่มที่ 2 กลุ่มวิเคราะห์
กลุ่มที่ 3 กลุ่มสรุป
5. นักเรียนกลุ่มสาธิตออกมาแสดงละครพูด เรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา

6. เมื่อกลุ่มสาธิตแสดงบทบาทสมสุติจบ กลุ่มวิเคราะห์ส่งตัวแทนออกนำเสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อทำการวิเคราะห์คุณ
ค่าที่ได้รับในด้านต่างๆ จากวรรณคดีเรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
7. จากนั้นกลุ่มสรุป ออกมาสรุปข้อคิด และคุณค่าได้รับของเรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
ขั้นสรุป (ปัญญา)

8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความคิด เรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
9. ครูตั้งประเด็นคำถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในเรื่องเสภาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
(หากนักเรียนเป็นตัวละครดังกล่าว นักเรียนจะแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใด (โดยใช้หลักธรรม อริยสัจ 4)


อริยสัจ 4

1. ทุกข์ : คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตายล้วนเป็นทุกข์ ความเศร้าโศก ความโกรธ ความอิจฉาริษยา

ความวิตกกังวล ความกลัวและความผิดหวังล้วนเป็น ทุกข์ การพลัดพรากจากของที่รักก็เป็นทุกข์ ความเกลียดก็เป็นทุกข์
ความอยาก ความยึดมั่นถือมั่น ความยึดติดในขันธ์ทั้ง 5 ล้วนเป็นทุกข์

2. สมุทัย : คือ เหตุแห่งทุกข์ เพราะอวิชา ผู้คนจึงไม่สามารถเห็นความจริงของชีวิต พวกเขาตกอยู่ในเปลวเพลิงแห่ง

ตัณหา ความโกรธ ความอิจฉาริษยา ความเศร้าโศก ความวิตกกังวล ความกลัว และความผิดหวัง
3. นิโรธ : คือ ความดับทุกข์ การเข้าใจความจริงของชีวิตนำไปสู่การดับความเศร้า โศกทงมวล อันยังให้เกิดความสงบ
ั้
และความเบิกบาน


4. มรรค : คือ หนทางนำไปสู่ความดับทุกข์ อันได้แก่ อริยมรรค 8 ซึ่งได้รับการหล่อ เลี้ยงด้วยการดำรงชีวิตอย่างมีสติ
ความมีสตินำไปสู่สมาธิและปัญญาซึ่งจะปลดปล่อย ให้พ้นจากความทุกข์และความโศกเศร้าทั้งมวลอันจะนำไปสู่
ความศานติและ ความเบิกบาน พระพุทธองค์ได้ทรงเมตตานำทางพวกเราไปตามหนทางแห่งความรู้แจ้งนี้

ตัวอย่างการวิเคราะห์
อริยสัจ 4
1. ทุกข์ : • ขุนช้างโกรธขุนแผนและพลายงาม

• ขุนแผนแค้นขุนช้าง
• พลายงามอยากอยู่กับแม่
2. สมุทัย : • ขุนช้างโกรธขุนแผนและพลายงามที่ลักพาตัวนางวันทองไปจากเรือนตน

• พลายงามเศร้าโศกที่ต้องพลัดพรากจากแม่จึงเป็นเหตุให้ขึ้นเรือนขุนช้างเพื่อรักพาตัวแม่มาอยู่ด้วย
3. นิโรธ : • พลายงามควรเห็นถึงความเป็นจริงของชีวิตที่นางวันทองได้เลือกขุนช้างเป็นสามีแล้ว
4. มรรค : • ตัวละครทุกตัวควรมีสติในการดำเนินชีวิต รู้จักยับยั้งชั่งใจตนเอง



10. นักเรียนจดบันทึกสรุปความรู้ในหัวข้อต่าง ๆ ลงสมุด เพื่อส่งท้ายชั่วโมง
8. การจัดบรรยากาศเชิงบวก
นักเรียนได้แสดงบทบาทสมมุติของเนื้อเรื่องเสภาขุนข้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา เป็นการกระตุ้นให้นักเรียน

มีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามความความเข้าใจของนักเรียน
9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. เทปบันทึกเสียง บทเสภาขุนข้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา
2. กระดาษปรู๊ฟ

10. การวัดและประเมินผล
วิธีวัดและประเมินผล
- การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนของนักเรียนรายบุคคล

เครื่องมือวัดและประเมินผล
- แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนรายบุคคล

แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนรายบุคคล


คำชี้แจง : แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนรายบุคคล สร้างขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมนักเรียนเป็น
รายบุคคล โดยทำเครื่องหมาย  ในช่องให้คะแนนที่เห็นสมควรตามความเป็นจริง


ที่ พฤติกรรม/ระดับคะแนน รวม

ความตรงต่อ ความสนใจ การแสดง ความ มีวินัยและม ี
เวลาและ และความ ความคิดเห็น รับผิดชอบและ มารยาทในชั้น
ความพร้อมใน กระตือรือร้น และการตอบ มุ่งมั่นในการ เรียน

การเรียน ในการเรียน คำถาม ใน ทำงาน
ชั้นเรียน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20

1

2
3

4

5

6

7
8

9

10

11

12

13

14
15

16

17

18

19
20

21

22

23

24

25

26
27

28

29

30

31

32

33
34

25

36

37

38
39

40

41

42

43
44

45

ระดับคะแนน
4 หมายถึง ดีมาก ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ 18-20 คะแนน หรือปฏิบัติบ่อยครั้ง

3 หมายถึง ดี ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ 14-17 คะแนน หรือปฏิบัติบางครั้ง
2 หมายถึง พอใช้ ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ 10-13 คะแนน หรือปฏิบัติ 1-2 ครั้ง
1 หมายถึง ปรับปรุง ประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์คะแนน 10 คะแนน หรือไม่ปฏิบัติเลย

ลงชื่อ…......…………………………ผู้สังเกต

(นางสาวพิมลณัฎฐ์ ภคหิรัญวิรุฬห์)
วันที่………./……………/………

เกณฑ์การประเมินผลแบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนรายบุคคล


คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินผลแบบสังเกตการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินนักเรียน
เป็นรายบุคคล โดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนว่าตรงเกณฑ์ในช่องใดตามความเป็นจริง


เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)
1. ความตรงต่อเวลา เข้าเรียนตรงเวลา และม ี เข้าเรียนช้ากว่าที่กำหนด เข้าเรียนช้ากว่าที่กำหนด เข้าเรียนช้ากว่าที่


และความพร้อมใน อุปกรณ์การเรียนตามที่ครู 1-5 นาที และมอุปกรณ์ 6-10 นาที และมี กำหนดมากกว่า 10


การเรียน กำหนด เช่น หนังสือ สมุด การเรียนไมครบตามที่ครู อุปกรณ์การเรียนไม่ครบ นาที และไม่มอุปกรณ์
กำหนด ตามที่กำหนด การเรียน
2. ความสนใจและ ปฏิบัติงานตามที่ครูสั่ง ปฏิบัติงานตามที่ครูสั่ง ปฏิบัติงานตามที่ครูสั่ง ไม่ปฏิบัติงานตามที่ครู

ความกระตือรือร้นใน ทันที จดบันทึกครบตามที่ จดบันทึกขาดไป๑-๓ ครั้ง จดบันทึกขาด 4 ครั้งขึ้น สั่ง ไม่จดบันทึก
การเรียน กำหนด ไป
3. การแสดงความ มีวินัยและมารยาท มีวินัยและมารยาท มีวินัยและมารยาท ไม่มีวินัย ไม่มีมารยาท

คิดเห็นและการตอบ ในชั้นเรียนและปฏิบัติ ในชั้นเรียนแต่ปฏิบัติ ในชั้นเรียนแต่ไม่ค่อย ในชั้นเรียนและไม่




คำถามในชั้นเรียน ตามขอตกลงอย่าง ตามขอตกลงไม่ครบ ปฏิบัติตามขอตกลง ปฏิบัติตามขอตกลง

เคร่งครัด ขาดขอใดขอหนึ่ง ละเมิดขอตกลง


ทุกข้อ 2-3 ข้อ

4. ความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อ มีความผิดชอบต่องานและ ไม่คอยมีความรับผิดชอบ ไม่มความรับผิดชอบต่อ

และมุ่งมั่นในการ หน้าที่และงานที่ได้รับ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ งานและต่อหน้าที่
ทำงาน มอบหมายทุกงาน บางงาน มอบหมายมีความล่าช้า ที่ได้รับมอบหมายเลย
5. มีวินัยและม ี ไม่ลุกจากที่โดยที่ไม่ได้รับ ไม่ลุกจากที่โดยไม่ได้รับ ลุกจากที่โดยไม่ได้รับ ลุกจากที่โดยไม่ได้รับ
มารยาทในชั้นเรียน อนุญาต และไม่พูดคุย อนุญาต 1-3 ครั้ง พูดคุย อนุญาต 4-6 ครั้ง พูดคุย อนุญาตมากกว่า 6 ครั้ง
ขณะครูสอน ขณะครูสอน 1-3 ครั้ง ขณะที่ครูสอน 4-6 ครั้ง พูดคุยขณะที่ครูสอน
มากกว่า 6 ครั้ง




เกณฑ์การตัดสิน

คะแนน ระดับคุณภาพ
18 - 20 ดีมาก
14- 17 ดี

10- 13 ปานกลาง
1-9 พอใช้

11. บันทึกผลหลังการสอน
11.1 สรุปผลการเรียนการสอน

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
11.2 ปัญหา/อุปสรรค (ผลการประเมินที่ไม่เป็นไปตามจุดประสงค์ตัวชี้วัดคุณลักษณะหรือสมรรถนะ

ของผู้เรียน)
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา (แนวทางการแกปัญหา/พัฒนานักเรียนให้ได้ตามตัวชี้วัด
คุณลักษณะหรือสมรรถนะของผู้เรียน)
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................................

(นางสาวพิมลณัฎฐ์ ภคหิรัญวิรุฬห์)

ภาคผนวก









- สื่อ/ นวัตกรรมการสอน

พาวเวอร์พ้อยท์ เรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ครูผู้สอน นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง






















การสร้างสื่อเกม ออนไลน์ nearpod เรื่อง บทเสภาสามคคีเสวก



จัดทำโดย




นางสาวจิราวรรณ เทพตาแสง ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย


นางสาวพิมลณัฐฎ์ ภคหิรัญวิรุฬห ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

กลุ่มสาระการเรียนรุ้ภาษาไทย โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา


นิเทศโดย




นายจิรวัฒน์ บุญครอง ศน.สพม.9


นางสาวกุลธิดา สิทธิมงคล ศน.สพม.9

นายวิโรจน์ วรัตรุจิวงศ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนปรีดารามพิทยาคม


นางอัจฉรา จินดาพงษ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


Click to View FlipBook Version