ความสาคญั ของหลกั ฐานทาง
ประวตั ศิ าสตร์ในสมยั อยุธยา
20
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ สมยั อยุธยา
และสมัย ธนบุรี
1.พระราชพงศาวดาร เป็ นบันทกึ เกย่ี วกบั พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริย์ใน
ด้านต่างๆ อาจแบ่งได้เป็ น ประเภท คือ
1.1 พระราชพงศาวดารทย่ี งั ไม่ผ่านกระบวนการชาระให้ข้อมูลตามทผี่ ู้บนั ทกึ เดมิ
เขยี นไว้ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบบั หลวงประเสริฐฯพระราชพงศาวดาร
ความเก่า จ.ศ. 113
1.2 พระราชพงศาวดารทผี่ ่านการกระบวนการชาระ คือ มกี ารตรวจสอบ
แก้ไขในสมยั ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ทาให้เนื้อความและจุดประสงค์แตกต่างไป
จากเดมิ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบบั พนั จนั ทนุมาศ (เจมิ )
พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบบั พระจกั รพรรดพิ งศ์เจ้ากรม (จาด)
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบบั สมเดจ็ พระพนรัตน์
พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากต้นฉบบั ของบริตชิ มวิ เซียม กรุงลอนดอน
พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา
2. จดหมายเหตุโหร เป็ นงานของโหร
ประจาราชสานัก บนั ทกึ พระราชกรณยี
กจิ และเหตุการณ์สาคญั ในบ้านเมือง
ตามลาดบั วนั ท่เี กดิ เหตุการณ์ โดยสรุป
ส้ันๆ
3. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ ส่วนใหญ่
เป็นเอกสารท่ีชาวยโุ รปที่เดินทางเขา้ มา
ในอาณาจกั รอยธุ ยาเขียนข้ึน เช่น
จดหมายเหตุฟานฟลีต ของเยเรเมียส
ฟาน ฟลีต ชาวฮอลนั ดา
4. วรรณกรรม สมยั อยธุ ยามีวรรณกรรมหลายเร่ืองที่ใหข้ อ้ มูล
ทางประวตั ิศาสตร์ เช่น ลิลิตโองการแช่น้า ลิลิตยวนพา่ ย
3. การตรวจสอบและประเมนิ หลกั ฐาน 3.2 การประเมินภายในการ
แบ่งเป็น 2 แบบ ไดแ้ ก่ ประเมินภายใน คือ พิจารณาสาระ
3.1 การประเมินภายนอกพจิ ารณาจาก โดยเปรียบเทียบกบั หลกั ฐานอ่ืน วา่
1. อายขุ องหลกั ฐาน เหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร
2. ผสู้ ร้างหรือผเู้ ขียนหลกั ฐาน
3. จุดมุ่งหมายของหลกั ฐาน
4. รูปเดิมของหลกั ฐาน