The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี
จัดทำโดย
นางสาวหทัยทิพย์ กองมะณี เลขที่ 17
นางสาวอภิชญา แสงสำราญ เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา มุ่งหมาย เลขที่ 19
นายอภิรักษ์ อ่วมคำ เลขที่ 20
นางสาวอังคณา สุนทรวิภาต เลขที่ 24
นางสาวอารีวรรณ คล้ายนาค เลขที่ 28

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เคิร์ก อภิรักษ์, 2022-06-11 11:46:29

รายงานเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี

รายงานเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี
จัดทำโดย
นางสาวหทัยทิพย์ กองมะณี เลขที่ 17
นางสาวอภิชญา แสงสำราญ เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา มุ่งหมาย เลขที่ 19
นายอภิรักษ์ อ่วมคำ เลขที่ 20
นางสาวอังคณา สุนทรวิภาต เลขที่ 24
นางสาวอารีวรรณ คล้ายนาค เลขที่ 28

รายงาน

เรอ่ื ง ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรมการศกึ ษา

นางสาวหทัยทพิ ย์ จดั ทำโดย เลขท่ี 17
นางสาวอภชิ ญา กองมะณี เลขที่ 18
นางสาวอภิญญา แสงสำราญ เลขที่ 19
นายอภริ ักษ์ มุ่งหมาย เลขที่ 20
นางสาวองั คณา อ่วมคำ เลขที่ 24
นางสาวอารีวรรณ สนุ ทรวภิ าต เลขที่ 28
คล้ายนาค

เสนอ
ผศ.ดร.กฤตยต์ นัย ธารารตั นสุวรรณ
รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการเรยี นวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Innovation and information Technology in Education รหสั วชิ า 137-12-07
คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ



คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Innovation and information Technology in Education รหัสวิชา 137-12-07 จัดทำเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่าง ๆ
อาทิเช่น หนังสือ วารสาร และแหล่งความรู้จากเว็บไซด์ต่าง ๆ โดยรายงานเล่มนี้ต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมาย ประเภท องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ความสำคัญของเทคโนโลยี
การศึกษา นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และการปฏบิ ตั กิ ารใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี
สารสนเทศและนวัตกรรมการศึกษา หากมีข้อผิดพลาดประการใด กรุณาเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อจะได้เป็น
แนวทางให้คณะผจู้ ดั ทำปรบั ปรุงต่อไป

คณะผจู้ ดั ทำ

สารบัญ ข
เรื่อง ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการศกึ ษา
คำนำ หน้า
สารบญั ก
ความหมาย ประเภท องค์ประกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ข
ลกั ษณะของสารสนเทศท่ดี ี 1
ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2
การจดั การสารสนเทศ 3
ระดบั ของสารสนเทศ 4
ความหมายนวตั กรรม 5
ประเภทนวตั กรรม 7
องคป์ ระกอบของนวัตกรรม 9
ความสำคญั ของเทคโนโลยีการศึกษา นวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ 14
ปฏิบตั ิการใชง้ านไลน์ 16
ปฏิบตั ิการใชง้ านเฟสบุ๊ก 21
เอกสารอา้ งองิ 26
40

1

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวตั กรรมการศกึ ษา

ความหมาย ประเภท องค์ประกอบของ เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
ตั้งแต่การประมวลผลข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูล และการแสดงผลข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึง
เทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้และการดูแลรักษาข้อมูลด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบดว้ ยเทคโนโลยที ่สี ำคัญ 2 สาขา คือ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี อื่ สารโทรคมนาคม

1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสำหรับการจัดการ
สารสนเทศ ได้แก่การรวบรวมและการตรวจสอบข้อมูล การประมวลผล การดูแลรักษาข้อมูล เพื่อให้ได้
สารสนเทศตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการสารสนเทศ ต้องอาศัย
เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วรใ์ นการรบั ขอ้ มลู การประมวลผลขอ้ มลู การแสดงผลและการ
จดั เก็บข้อมูล

2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (Communication Technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสำหรับ
การกระจายและเผยแพร่สารสนเทศให้ไปถึงผู้ใช้ ที่อย่หู า่ งไกลได้อยา่ งสะดวก รวดเร็ว ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ทันต่อ
เหตุการณ์ ซึ่งเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ระบบโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์ โทรเลข
วทิ ยกุ ระจายเสียง วทิ ยุโทรทัศน์ รวมถงึ เทคโนโลยีระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับการจัดการสารสนเทศมักมีเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาเกี่ยวข้องร่วมด้วย
เสมอ เราจึงเรียกรวมกันว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Information
and Communication Technology : ICT

2

ลกั ษณะของสารสนเทศที่ดี

1. มีความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความเป็นจริงและเชื่อถือได้
สารสนเทศบางอย่างมีความสำคัญ หากไมต่ รงกบั ความเป็นจรงิ แลว้ อาจกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายได้ สารสนเทศ
ที่ถกู ต้องแม่นยำจะต้องเกิดจากการป้อนข้อมลู รวมถึงโปรแกรมที่ประมวลผลจะต้องถูกตอ้ ง

2. ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนให้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ตัวอย่างเช่น
ข้อมลู หมายเลขโทรศัพท์ของผปู้ กครองนักเรยี นจะต้องมีการปรับปรงุ ให้ทนั สมัย หากหมายเลขโทรศัพท์ล้าสมัย
ก็จะไมส่ ามารถติดต่อกับผูป้ กครองไดห้ ากเกิดกรณีฉุกเฉนิ

3. มีความสมบูรณ์ครบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความครบถ้วนสารสนเทศที่มีความ
ครบถ้วนเกิดจากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน หากเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนก็จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จาก
สารสนเทศได้เต็มประสิทธิภาพ ตวั อยา่ งเช่น ขอ้ มลู นกั เรยี น กจ็ ะตอ้ งมีการเก็บรายละเอียดเกีย่ วกับนักเรียนให้
ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชื่อผู้ปกครอง หมายเลขโทรศัพท์ โรคประจำตัว คะแนนที่ได้รับในแต่ละวิชา
เปน็ ต้น ทง้ั นเ้ี พ่อื ใหค้ รสู ามารถนำข้อมลู ไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างเต็มท่ี หากไม่มีขอ้ มลู ของหมายเลขโทรศัพท์ เม่อื
เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ ก็จะไมส่ มารถติดต่อกบั ผูป้ กครองไดเ้ ชน่ เดยี วกัน

4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้องสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้ใช้ กล่าวคือ การเก็บข้อมูลต้องมกี ารสอบถามการใช้งานของผูใ้ ช้ว่าต้องการในเรือ่ งใดบา้ ง จึงจะ
สามารถสรุปสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หากต้องการเก็บข้อมู ลของ
นักเรียนก็ตอ้ งถามครูวา่ ต้องการเกบ็ ข้อมูลใดบ้างเพ่ือให้ครูสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ

5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้
ตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศได้

3

ลกั ษณะสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติให้เจรญิ กา้ วหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำ
ให้วิถีความเป็นอยู่ของสังคมเปลี่ยนไปอย่างมาก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับโลกครั้ง
ใหญ่ อาจกล่าวได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อทุกสิ่งทุกอย่าง ทั้งการดำเนินชีวิต เศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การศึกษาและอื่นๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการประยุกต์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ส่อื สารในรปู แบบตา่ งๆ เพือ่ ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ เทคโนโลยสี ารสนเทศจะมีลักษณะสำคญั ดังนี้

1. เทคโนโลยสี ารสนเทศช่วยทำให้การทำงานรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และแมน่ ยำ ในระบบการจดั การขององค์กร
ทุกแห่งต้องใช้ข้อมูลเพื่อการดำเนินการและตัดสินใจ จึงต้องใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการ
สื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการดำเนินการ เพื่อให้การทำงานมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ เช่น
สำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information
Systems) เปน็ ตน้

2. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การบริการกว้างขวางครอบคลมุ ท่วั ประเทศจนถึงทวั่ โลก เม่ือมีการพัฒนา
ระบบเก็บและใช้ข้อมูล ทำให้การบริการต่าง ๆ กว้างขวางขึ้น ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อสินค้าจากที่บ้าน สามารถ
สอบถามข้อมูลผ่านทางโทรศัพท์ได้ เช่น การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) การสอบถามตารางการ
บนิ เปน็ ต้น

3. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การดำเนินการในหน่วยงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัจจุบันทุกหน่วยงาน
ต่าง ๆ พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในองค์กร เช่น ระบบทะเบียนราษฎร์ ระบบเวช
ทะเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บขอ้ มลู ภาษี เปน็ ตน้

4. เทคโนโลยสี ารสนเทศชว่ ยอำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวนั พัฒนาการดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำ
ใหช้ ีวติ ความเปน็ อยู่ของคน เกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยมี ากข้ึน เชน่ การพมิ พเ์ อกสารตา่ ง ๆ ดว้ ยคอมพิวเตอร์ การ
ใช้อปุ กรณ์ส่ือสารตา่ ง ๆ เป็นตน้

4

การจดั การสารสนเทศ

การจัดการสารสนเทศ (Information Management) เป็นการดำเนินการหรือกิจกรรมต่างๆ ท่ี
เก่ียวกับการนำสารสนเทศ มาจัดทำเปน็ ฐานข้อมลู เพือ่ ให้สามารถนำข้อมลู ไปใช้ไดห้ ลายๆ คน มุง่ เนน้ ท่ีจะเก็บ
รวบรวม ประมวลผล ดูแลรักษาและเผยแพร่ขอ้ มูล โดยมีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ นโยบายและแนว
ปฏิบัติ บุคลากรหรือผู้ใช้เป็นองค์ประกอบหลักในการจัดการ การจัดการสารสนเทศสามารถดำเนินการได้ 3
ขนั้ ตอน คือ การเกบ็ รวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการดแู ลรกั ษาขอ้ มูล

1. การรวบรวมข้อมลู และการตรวจสอบขึน้ มูล
1.1 การรวบรวมข้อมูล คือ การเสาะหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นมารวมกันซึ่งการรวบรวม

ข้อมูลสามารถทำได้โดยการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง
คอมพิวเตอรเ์ ป็นตน้

1.2 การตรวจสอบข้อมูล คือ การพิสูจน์ความถูกต้องของข้อมูล หากพบว่าข้อมูลผิดก็จะต้องทำการ
แก้ไข การตรวจสอบข้อมลู ท่ีป้อนเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ อาจทำได้โดยการใหผ้ ู้ป้อนข้อมูล 2 คน ปอ้ นข้อมูลชุด
เดียวกัน แลว้ นำมาเปรียบเทียบกัน

2. การประมวลผลข้อมูล เป็นการกระทำของเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูล ได้แก่ การรวบรวมเป็น
แฟม้ ข้อมลู การคำนวณ การเปรยี บเทียบ การเรียงลำดับ การจดั กล่มุ ข้อมลู และการจัดทำรายงาน

3. การดแู ลรักษาข้อมูล
3.1 การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การป้อนข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์รวม ถึงการบันทึกข้อมูลไว้ใน

หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู สำรอง เชน่ ฮาร์ดดิสก์ แฟลชไดร์ฟ เปน็ ต้น
3.2 การทำสำเนาข้อมูล หมายถึง การคัดลอกข้อมูลจากแฟม้ ต้นฉบับและบันทึกไว้ในหน่วยเก็บข้อมูล

สำรอง เช่น ซดี ีรอม เพือ่ ใชใ้ นกรณที ี่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์เสยี หาย อาจทำใหม้ ีขอ้ มลู สูญหายไปได้ ส่วนใหญข่ ้อมูล
ที่สำคัญก็จะมีการสำรองข้อมูลไว้ทุกวันหรือทุกสัปดาห์ ซึ่งแฟ้มข้อมูลที่คัดลอกมาไว้ใช้เรียกว่า แฟ้มข้อมูล
(backup file)

3.3 การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลและสารสนเทศมาเผยแพร่หรือส่งต่อให้กับผู้ใช้งานที่อยู่
ห่างไกล ปัจจุบันนิยมใช้ส่งหรือเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศผ่านอินเตอร์เน็ตเนื่องจากเป็นเครือข่าย
คอมพิวเตอรท์ ี่ครอบคลมุ ทว่ั โลก

3.4 การปรับปรุงข้อมูล หมายถึง การแก้ไขข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ไม่ล้าสมัย เพื่อให้ข้อมูลมีความ
เหมาะสมกับการทำงาน

5

ระดบั ของสารสนเทศ

ปัจจุบันข้อมูลและสารสนเทศมีความสำคัญอย่างยิ่ง เน่ืองจากสังคมในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นสังคม
ฐานความรู้ (Knowledge-based Society) กล่าวคือ คนในสังคมใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการตัดสินใจ มี
การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตสูงขึ้น ทั้งน่ีเพราะสารสนเทศเป็นส่ิงที่ช่วย
ให้การตัดสินใจของผู้ใช้มีความแม่นยำ ให้นักเรียนลองจินตนาการดูว่า หากนักเรียนต้องการซื้อเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ โดยการเดนิ เข้าไปที่ร้านและเลือกพิจารณาคอมพวิ เตอร์ทลี ะยี่ห้อเพ่ือเปรียบเทียบด้วยตนเองน้ัน
นักเรียนคงต้องใช้เวลาเป็นวันในการเทียบเคียงข้อมูล แต่ปัจจุบันหากนักเรียนต้องการข้อมูลเพื่อตัดสินใจซื้อ
เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เพียงแค่เข้าอินเทอร์เน็ต นักเรยี นจะพบว่ามหี ลายเว็บไซต์ท่ีใหน้ ักเรียนกรอกความต้องการ
การใชง้ านเครอ่ื ง แล้วเวบ็ ไซตจ์ ะประมวลผลและนำเสนอเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ท่ีมคี ุณลกั ษณะและรุน่ ใกลเ้ คียงกับ
ความต้องการได้เพียงเสี้ยววินาที ซึ่งนี่เป็นแค่ตัวอย่างของการใช้งานสารสนเทศของผู้ใช้เป็นรายบุคคลเท่านน้ั
ปัจจุบันหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆได้นำสารสนเทศมาใช้ในการตัดสินใจมากขึ้นซึ่งระดับของสารสนเทศเป็น
ระดบั ของการเกย่ี วขอ้ งกับสารสนเทศ มีอยูด่ ว้ ยกนั 3 ระดบั ดงั น้ี
1.ระดับบุคคล

ระดบั ของการเกย่ี วข้องกับสารสนเทศในระดับบคุ คลนัน้ จะเป็นการทแี่ ตล่ ะบุคคลในองค์กรจะสร้างและ
ใช้สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานสว่ นตัวเท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิรด์ ในการ
พิมพ์เอกสาร การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ในงานนำเสนอสำหรับการสอนหรือบรรยาย โดย
สามารถกรอกข้อความ ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ช่วยดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้
โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอกข้อมูลคำนวณ สร้างกราฟ และทำนายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เป็นต้น
2. ระดบั กลุม่

ระดบั ของการเก่ียวข้องกับสารสนเทศในระดับกลมุ่ นั้น จะเปน็ การท่ีกลุ่มของคนในองค์กรท่ีต้องทำงาน
ร่วมกันจะสร้างและใช้สารสนเทศร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน
หลกั การ คือ นำเคร่อื งคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเปน็ เครือข่ายระยะใกล้หรือระยะไกล ทำให้มีการ
ใชท้ รพั ยากร ได้แก่ ขอ้ มลู และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีพื้นฐานรว่ มกนั ตัวอย่างเช่น การประชมุ ทางไกลผ่านเครือข่าย
(Video Conference System) เป็นการนัดหมายการประชุมของผู้ที่อยู่ห่างไกล โดยระบบจะทำให้สามารถ
ประชุมปรกึ ษาหารือกนั ไดโ้ ดยอยตู่ า่ งสถานทกี่ ัน ระบบสามารถสง่ ภาพ เสยี ง และขอ้ มลู บนหน้าจอคอมพวิ เตอร์
โดยถ้าผู้ประชมุ คนใดคนหนง่ึ มีการแก้ขอ้ มลู บนหน้าจอคอมพวิ เตอร์ผู้ใชค้ นอ่นื ท่ีใช้อยู่บนเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
นี้ก็จะได้รับข้อมูลที่ผ่านการแก้ไขแล้วนั้นทันทีเสมือนอยู่ในห้องประชุมเดียวกัน ทำให้ลดต้นทุนการเดินทาง
ค่าท่ีพกั และเวลาจากการเดนิ ทางได้เป็นอยา่ งดี
3. ระดบั องคก์ ร

ระดบั ของการเกี่ยวข้องกบั สารสนเทศในระดับองค์กรน้ัน จะเปน็ การทแี่ ผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนก
การขายและการตลาด แผนกการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและบัญชี เป็นต้น มีการสร้าง
และส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศในรูปแบบรายงาน หรือกราฟ
เพื่อให้ผูบ้ ริหารนำไปประกอบการการตดั สนิ ใจได้

หลักการ คือ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ของแผนกต่าง ๆมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดการใช้ข้อมลู
ร่วมกัน ตัวอย่างเช่น แผนการขายและการตลาด ทำหน้าที่ขายสินค้า และจัดกิจกรรมทีส่งเสริมให้มีการส่ังซือ้
สินคา้ ของลูกค้ามากขึน้ แผนกคลงั สินค้า ทำหน้าท่ี จดั เกบ็ สนิ ค้าและดูสินค้า เพ่อื ให้ทราบปริมาณสินค้าท่ีมีอยู่
ในคลังสินค้าแผนกการเงินและการบัญชี ทำหน้าที่ จัดทำรายการทางการเงิน และการทำผลสรุปรายงาน

6

ทางการเงินเมื่อลูกค้ามีการสั่งซื้อสินค้ากับแผนกขายและแผนกการขายป้อนข้อมูลการขายสินค้าในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู การขายสนิ ค้าจะส่งไปให้แผนกคลังสินค้า จัดเตรยี มสนิ ค้าและกรอกข้อมูลการเบิกสินค้าใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ แผนกการเงินและบัญชีจะตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการขายและจัดทำใบแจ้งหน้ี
เพอื่ เรยี กเก็บเงินจากลกู คา้

สิ่งที่สำคัญของระบบสารสนเทศระดับกลุ่มและระดับองค์กร คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย
ท้ังภายในองค์กรและการเชื่อมโยงภายนอกองค์กร เพื่อใหม้ กี ารส่ือสารและส่งขอ้ มูลถงึ กนั ไดอ้ ย่างรวดเร็วและมี
ประสทิ ธภิ าพ

7

ความหมาย ประเภท องคป์ ระกอบของ นวตั กรรม
ความหมายของนวตั กรรม

มีนักวิชาการกล่าวถึงความหมายของนวัตกรรม ไว้ดังนี้ สมหมาย ทองมี (2552, หน้า 14) สรุปไว้ว่า
นวัตกรรม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่กระบวนการใหม่การจัดการแบบใหม่ หรือส่ิงใหม่ ๆที่เกิดจากความคิด
สร้างสรรค์หรือการต่อยอดจากความรู้เดิม ซึ่งนำมาใช้ในการแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน และก่อให้เกิดมูลค่า
ทางเศรษฐกจิ ช่วยสร้างใหอ้ งค์กรมคี วามแตกต่างเพอื่ ความได้ เปรียบทางการแขง่ ขัน

ณัฐยา สินตระการผล (2553, หน้า 36) ได้ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรม หมายถึงการรวบรวมการ
ผสมผสาน หรือการสร้างสรรค์ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน ท่ีมีความเก่ียวข้องและเพ่ิมมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์
กระบวนการ หรือบริการใหม่

จาตุรนต์ ชุติธรพงษ์ (2553, หน้า 54)ได้ให้ความหมายไว้ว่านวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้
ความรูแ้ ละความคิดสร้างสรรค์ที่มปี ระโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง พฒั นางานพัฒนาองค์กรเกิดประโยชน์ในเชิง
เศรษฐกจิ และสังคม

สมนึก เออื้ จิระพงษ์พันธ์และคณะ (2553, หนา้ 52)ไดส้ รปุ ความหมายของ นวัตกรรมไวว้ ่าการให้คำนิยาม
ของคำวา่ “นวัตกรรม” พบว่า มกี ารให้คำนิยามในหลายลักษณะและหลายแง่มมุ ท่ีแตกต่างกนั ออกไป ตามพ้ืน
ฐานความรู้และวิชาชีพของนักวิชาการที่ให้คำนิยาม แต่อย่างไรก็ตาม หากได้พิจารณาในประเด็นท่ีเป็นแก่น
หลักสำคัญของคํานิยามต่าง ๆ แลว้ พบว่ามอี ยู่ 3 ประเดน็ ทเี่ ปน็ มิตสิ ำคัญของนวัตกรรม กค็ ือ
1. ความใหม่ (Newness) ส่ิงทีjจะได้รับการยอมรบั ว่ามีคุณลักษณะเป็นนวัตกรรมได้นั้นมิติแรกที่จะต้องมีกค็ อื
ความใหม่ หมายถึง เป็นส่ิงใหม่ท่ีถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจจะมีลักษณะเป็นตัวผลิตภัณฑ์บริการ หรือกระบวนการ
โดยจะเปน็ การปรับปรงุ จากของเดมิ หรอื พัฒนาขึ้นใหม่เลยกไ็ ด้
2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic benefits) ในมิติประการที่สองท่ีถูกกล่าวถึงเสมอในลักษณะของ
การเป็นนวัตกรรม ก็คือ การให้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ หรือการสร้างความสำเร็จในเชิงพาณิชย์กล่าวคือ
นวัตกรรม จะต้องสามารถทําให้เกิดมูลค่าเพ่ิมขึ้นได้จากการพัฒนาสิ่งใหม่น้ันๆ ซึ่งผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น
อาจจะสามารถวัดได้เปน็ ตวั เงินโดยตรงหรอื ไมเ่ ป็นตวั เงนิ โดยตรงกไ็ ด้
3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Knowledge and creativity idea) ์ ในมิติที่สำคัญประการสุดท้าย
ของการเป็นนวัตกรรม ที่สามารถสรปุ ได้จากวรรณกรรมที เก่ยี วข้องกค็ ือการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์
หมายความว่าสิ่งที่จะถือเป็นนวตั กรรมได้นั้นจะต้องเกิดจากการใช้ความรูแ้ ละความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานของ
การพฒั นาให้เกดิ ข้ึนใหม่ไมใ่ ช่เกดิ จากการลอกเลยี นแบบการทำซำ้ เปน็ ตน้

จรี พรรณ์ จนทั รว์ เิ ชียร(2559, หนา้ 6)ได้ใหค้ วามหมายไว้วา่ นวัตกรรม หมายถงึ การทำสิ่งตา่ ง ๆ ดว้ ยวธิ ีการ
ใหม่ ๆ และยังอาจหมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิตกระบวนการ หรือองค์กรไม่ว่าการเปลี่ยน
นั้นจะเกิดข้ึนจากการพัฒนาต่อยอดการเปล่ียนแปลง การประยุกต์หรือกระบวนการ และในหลายสาขา เชื่อ
ตรงกันวา่ การที่ส่งิ ใดสงิ่ หน่ึงเป็นนวัตกรรมได้นั้นจะต้องมีความใหมอ่ ย่างเหน็ ได้ชัดและในความใหมน่ ั้น จะต้อง
เพิ่มมูลค่าส่ิงต่าง ๆ ได้อีกด้วยโดยเป้าหมายของนวัตกรรม คือ การเปล่ียนแปลงในเชิงบวก เพื่อทําให้ส่ิงต่าง ๆ
เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดขี ึ้น นวัตกรรมกอ่ ให้เกิดผลผลิตเพิ่มขึ้น และเปน็ ทมี่ าสำคัญ ของความม่ันคงทาง
เศรษฐกิจและสังคมของชาติ

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์(2560, หน้า 7) ให้ความหมายไว้ว่า นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ทั้งที่เป็นผลิตภัณฑ์
บริการ หรอื กระบวนการท่ีเกดิ จากการใช้ความรู้ประสบการณ์และความคดิ สร้างสรรค์พฒั นาข้ึน และก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมศูนย์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาระบบข้าราชการไทย (2561, เว็บไซต์) กล่าวว่า
นวัตกรรมหมายถึง การเปลี่ยนแปลงแนวคิดอย่างถ้วนถี่ การเปลี่ยนแปลงให้ใหม่ข้ึนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้

8

เป้าหมายของระบบบรรลุผล นวัตกรรมเป็นแนวความคิดการปฏิบัติหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มา
ก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทัน สมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้นเมื่อนำนวัตกรรมมาใช้
จะชว่ ยให้กาทำงานน้ันไดผ้ ลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงกวา่ เดิม ทั้งทีย่ งั ช่วยประหยดั เวลาและแรงงาน
ไดด้ ้วย นอกจากนนีค้ ำวา่ นวตั กรรมยงั สามารถถูกนยิ ามในความหมายที่แตกต่างกนั ออกไปตามบริบทตา่ ง ๆ ท่ี
เฉพาะเจาะจงลงไป เช่น นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการแพทย์รวมท้ัง
นวัตกรรมการบริหารจัดการภาครัฐเป็นต้น

สรุปได้ว่า นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ทักษะประสบการณ์และความคิด
สรา้ งสรรคใ์ นการพฒั นาขึ้นซึ่งอาจจะมลี ักษณะเปน็ ผลติ ภัณฑใ์ หม่บริการใหม่ หรอื กระบวนการใหม่ท่ีก่อให้เกิด
ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกจิ และสงั คม

ความสำคัญของนวัตกรรม
มนี กั วิชาการกล่าวถงึ ความสำคญั ของนวัตกรรมไวด้ ังนี้

ปริญ พิมพ์กลดั (2557, หน้า 22) กล่าวถึง ความสำคัญ ของนวัตกรรม ไว้ว่า นวัตกรรมเป็นสิ่งที่เกิดในสังคม
เป็นฐานความรู้เป็นการสร้างสรรค์ของความรู้ใหม่ เพื่อความสำเร็จขององค์กรการมีความคิดใหม่วิธีการใหม่
โครงสร้างใหม่และผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นสิ่งสำคัญในการขับเคลื่อนสำหรับองค์กรและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
องค์กรในปัจจุบันเน้นการสร้างการส่งมอบสินค้าและการบริ การที่มีคุณภาพสูงให้กับลูกค้า นวัตกรรมจึงมี
ความจําเป็นในการแข่งขันนวัตกรรมเป็นการเพิ่มความรู้และเป็นความสามารถในการเรียนรู้นวัตกรรมจึงเป็น
ปจั จัยสำคญั ในความสำเรจ็ ขององคก์ ร

ปิยะ ตันติเวชยานนท์ (2560, หน้า 102) กล่าวถึง ความสำคัญของนวัตกรรม ไว้ว่าการเป็นองค์การแห่ง
นวัตกรรมมคี วามสำคัญคอื เปน็ ความสามารถในการแขง่ ขนั องคก์ ารจะสามารถนำ เสนอสนิ คา้ และบริการใหม่
ๆ ใหแ้ ก่ผู้บิริโภคอย่างต่อเนื่อง และตรงเปา้ หมาย องค์การแห่งนวตั กรรมสามารถผลิตสินค้าได้เร็วขึ้น คุณภาพ
สินค้าสูง ต้นทุ่นการผลิตต่ำ การสั่งซื้อต่อหน่วยต่ำ การนำเสนอความหลากหลายให้แก่ผู้บริโภคองค์กรที่เป็น
ผู้นำ ทางธุรกิจมักมีความสำเร็จจากนวัตกรรมไม่ทางใดก็ทางหน่ึงไม่ว่าเป็นนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ ด้าน
บริการ ด้านกระบวนการด้านการจัดการ และด้านการตลาดและองค์การท่ีมีความสามารถจะสร้างนวัตกรรม
ปัจจบุ นั และสรา้ งความเป็นไปได้ของนวตั กรรมแห่งอนาคต องค์การแห่งนวัตกรรมจะนํามาซง่ึ นวัตกรรมใหม่ๆ
ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์การและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียองค์การแห่งนวัตกรรมมีความสัมพันธก์ ับความสามารถทาง
นวตั กรรม ซ่ึงจะก่อให้เกิดผลดีตอ่ ลูกคา้ หรือผ้มู ารับบริการจะเหน็ ได้จากการสร้างความพึงพอใจการสร้างความ
แตกตา่ งการตอบสนองความตอ้ งงการของลูกค้า และการลดต้นทุนในการบรหิ ารจดั การ

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี(2560, เว็บ ไซต์) กล่าวว่าความสำคัญของนวัตกรรมต่อการพัฒนาองค์กรคือ
การปรับเปล่ียนคณุ ลักษณะขององค์กร หรอื ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมองคก์ รซึง่ เป็นส่ิงที่ไม่เคยปรบั เปลีย่ นมาก่อน
เพ่อื ตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าของบรบิ ทโลกาภิวัตน์ที่มคี วามร้แู ละนวตั กรรมเปน็ ปัจจัยหลักในการเพ่มิ คุณค่า พัฒนา
ผลิตสินค้า และบริการที่ดีมีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการ และความพึงพอใจของลูกค้า ความอยู่รอด
และความสามารถเชิงการแขง่ ขันขององค์กรในตลาดการค้าโลกเสรี

วัฒนชัย ศิริญาณ (2560, หน้า 38) สรุปไว้ว่า นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ทำํให้เกิดมูลค่าและการเติบโตให้กับ
องค์การและหลายองค์การเริ่มให้ความสนใจในการสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นในองค์การ ทั้งที่นวัตกรรมยัง
สามารถสร้างภาพลกั ษณด์ ้านบวกให้กับองคก์ ารดังน้ี
1) ช่วยดึงดูดผู้ถือหุ้นและช่วยเพิ่มมูลค่า ราคาหุ้นขององค์การ เนื่องจากในการทำนายราคาจะพิจารณาจาก
มูลค่าในปัจจุบันและอนาคต

9

2) ช่วยดงึ ดูดพนกั งานใหม่ ซ่งึ เปน็ คนเกง่ หรือคนทีม่ คี วามสามารถ
3) ช่วยธาํ รงรกั ษาพนักงานในองคก์ าร เน่อื งจากพนกั งานตอ้ งการทาํ งานกับองค์กาที่มคี วาม
เจรญิ ก้าวหน้าและยงิ่ รวู้ ่า เปน็ การทำงานทส่ี รา้ งนวตั กรรมก็จะยิ่งทำให้พนกั งานทำงานอยา่ งคณุ ค่า
4) คุณลักษณะขององค์การนวัตกรรมเป็นเสมือนคุณสมบัติหรือสิ่งที่ แสดงให้รู้ว่าองค์กรใดเป็นองค์กร
นวัตกรรม

ทิดด์, เบสเซนท์และพาวทิท์(Tidd, Bessant & Pavitt) (อา้งถึงใน ปริญ พิมพก์ลดั, 2557,หน้า 32) กล่าว
ว่า นวัตกรรมมีความสาํ คัญตอ่ องค์การ เพราะสนบั สนนุ องค์การนําความรู้
เทคโนโลยีและประสบการณ์มาสร้างความแปลกใหม่แก่สินคา้ โดยแบง่ นวัตกรรมเปน็ 4 ประเภท
ไดแ้ ก่
1) นวัตกรรมผลิตภณั ฑ์คือ สนิ ค้าใหม่ท่ีนาํ ออกสตู่ ลาดเป็นรายแรก
2) นวตั กรรม กระบวนการผลติ คอื ขบวนการผลติ ท่ีใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ
3) นวตั กรรมการวางตำแหน่งคอื การสร้างตำแหนง่ ใหมข่ องสนิ ค้าหรือบริการ
4) นวัตกรรมกระบวนทศั น์คือการเปลี่ยนแนวคดิ กระบวนทัศน์ของสินคา้ หรือกระบวนการใหม่

ผู้วิจัยสรุปได้ว่า นวัตกรรมมีความสำคัญ ต่อองค์การ เนื่องจากนวัตกรรมเป็นสิ่งที่เป็นการสร้างสรรค์
ความรู้ใหม่การปรับเปล่ียนคุณลักษณะขององค์กร หรือปรับเปล่ียนพฤติกรรมองค์กร ซ่ึงสามารถเพ่ิม
ประสิทธภิ าพให้องค์กรบรรลุวตั ถุประสงคข์ ององคก์ รได้

ประเภทของนวตั กรรม
มีนกั วิชาการกลา่ วถงึ ประเภทของนวตั กรรมไว้ดงั น้ี

ภาณุ ลมิ มานนท์(อา้ งถงึ ใน สมหมาย ทองมี, 2552, หน้า 20)ไดแ้ บง่ นวตั กรรมออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้
1.นวัตกรรมผลิตภัณฑ์(Product innovation) ต้องมกี ารคิดค้นและพฒั นาผลติ ภัณฑ์อย่าง

ต่อเนื่อง เพื่อนำเสนอคุณค่าให้ลูกค้าอาศัยองค์ประกอบคือการพัฒนาคุณสมบัติลักษณะของผลิตภัณฑ์ การ
ออกแบบ คำนึงถงึ ผลประ โยชน์ท่ีลกู ค้าจะได้รับ โดยใหล้ ูกคา้ มสี ว่ นร่วมในการการตงั้ แต่กระบวนการออกแบบ
และทดสอบ

2.นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation) อาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีซึ่งเป็นความรู้ใน
ส่วนประกอบ ส่วนเชื่อมต่อ ระหว่างส่วนประกอบเหล่านั้น ความรู้ กระบวนการและเทคนิดเข้ามาเกี่ยวข้อง
เช่นเดียวกับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ต้องอาศัยความรู้ทางเทคนิคมาพัฒนาสนิ คา้ นวัดกรรมกระบวนการ ต้องการ
สร้างการเปลี่ยนแปลงการทำงานในเรื่องของขั้นตอน หน้าที่รับผิดชอบลักษณะงาน การส่งต่อข้อมูลเพื่อใช้ใน
การผลิตใหม่ ๆ ใหก้ ับองคก์ ร

3.นวตั กรรมขององค์กร (Organization innovation นวตั กรรมทางดา้ นการจดั การต้อง
ใช้ความรู้ทางด้านการบริหารจัดการ มาปรับปรุงระบบโครงสร้างขององค์กรใหม่ โดยการแบ่งแผนกและ
หน่วยงานให้มีความชัดเจน การให้อิสระในการทำงานและการมีส่วนร่วม ซึ่งทำให้เกิดความคิดเห็นใหม่ ๆ มา
จากทุก ๆ ส่วนขององค์กร สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าสามารถสร้างรายได้และสร้างผลกำไร
ให้กบั องค์กรสำนกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (อ้างถึงใน ปริญ พมิ พ์กลัด, 2557, หนา้ 26 แบง่ ประเภท
นวตั กรรมตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้งานดงั นี้

1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product innovation) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ถูกผลิตขึ้นในเชิงพาณิชย์ที่ได้
ปรับปรุงหรือเป็นสิ่งใหม่ในตลาดการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จำเป็นต้องมีการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์

10

อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสนอคุณค่าให้แก่ลูกค้าซึ่งต้องอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญคือการพัฒนาคุณสมบัติ และ
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ในการออกแบบต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่ลูกค้างะได้รับนวัตกรรมผลิตภัณฑ์แบ่งได้ 2
แบบ คือ 1 ผลิตภัณฑท์ ีส่ ามารถจบั ตอ้ งได้ (Tangible product) หรอื การบริการ (Service)

2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation) เป็นการเปล่ียนแนวทางหรือวิธกี ารผลติ
สนิ ค้าหรอื การให้บริการในรูปที่แตกต่างออกไปจากเดมิ ด้วยการพฒั นาสร้างสรรค์ระบวนการให้มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น ซึ่งต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีตลอดจนความรู้กระบวนการ และเทคนิคต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง
รวมถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดวิธีการหรือกระบวนการใหม่ ๆ ที่ส่งผลให้กระบวนการผลิต และการทำงาน
โดยรวมใหม่ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลสูงขึ้น

3. นวัตกรรมการจัดการ (Management innovation) การสร้างนวัตกรรมทางการจัดการขึ้น
องค์การจะต้องใชค้ วามรู้ทางดา้ นการบรหิ ารจดั การมาปรับปรงุ ระบบโครงสรา้ งเดิมของ
องคก์ าร ซ่งึ รปู แบบการบรหิ ารจะเป็นไปในลกั ษณะการมสี ่วนร่วมของพนักงานซึง่ จะทำใหเ้ กิด
ความคดิ เหน็ ใหมๆ่ เกิดความคิดสร้างสรรค์ ามารถตอบสนองความตอ้ งการของลูกค้าและสามารถ
ประจำกบั สายการบังคับบัญชาทีเ่ ป็นแบบโครงการ

4. นวตั กรรมการบรกิ าร (Service innovation) จะเก่ยี วข้องกับการนำเสนอบริการใหม่ท่เี กิดจากการ
สรา้ งขึน้ ใหมห่ รือปรับปรงุ สงิ่ เดิมเชน่ การปรบั ปรุงลักษณะการทำงานเทคโนโลยีการใชง้ านหรือด้านอืน่ ๆ

5. นวตั กรรมรปู แบบธรุ กจิ (Business model innovation) จะเก่ยี วข้องกบั การเปล่ียนแปลง
แนวทางการคำเนนิ ทำธุรกิจที่สามารถสรา้ งมลู ค่าให้เกดิ ข้นึ

6. นวัตกรรมการตลาด (Marketing innovation) คือ การพัฒนาตลาดใหม่ที่มีการปรบั ปรุงวิธีการใน
การออกแบบผลติ ภัณฑห์ รือบรรจุผลติ ภัณฑ์โปรโมช่นั หรือราคา

7. นวัตกรรมองค์การ (Organizational innovation) คือ การสร้างการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้าง
ธุรกิจการปฏิบัติการตัวแบบ และอาจรวมถึงกระบวนการการตลาดและรูปแบบธุรกิจเป็นนวัตกรรมที่เน้นการ
เพม่ิ ขีดความสามารถในการจดั การและบรหิ ารองคก์ าร ซ่ึงจะตอ้ งใช้ความรูค้ วามสามารถในด้านการบริการการ
จัดการมาปรับปรุงการบริหารภายในองคก์ าร
วัชรา จนั ทาทบั (อ้างถงึ ใน ปวาสนิ ี สุขจริญ, 2552, หนา้ 81) ไดแ้ ยกประเภทของ
นวัตกรรม (Type of Innovation) ไว้ดังน้ี
1. นวตั กรรมผลติ ภณั ฑ์ (Product innovation)
2. นวัตกรรมการบรกิ าร (Service innovation)
3. นวตั กรรมกระบวนการ (Process innovation)
4. นวัตกรรมโมเดลธรุ กจิ (Model innovation)
5. นวตั กรรมการตลาด (Marketing innovation)
6. นวัตกรรมองคก์ ร (Organization innovation)
สามึก เอือ้ จริ ะพงษ์พนั ธ์ และคณะ (2553 หน้า 54 . ร71 กลา่ ววา่ การจำแนกประเภทของ
นวัตกรรม แบง่ ได้หลายประเภทตามลักษณะขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการนําไปใช้ การจำแนกท่ีพบบ่อย
และมีการนําไปใช้ประโยชน์ในเชิงการวิจัย และการจัดการนวัตกรรม ค่อนข้างมากก็จะประกอบด้วย 3
ลักษณะ ดงั นี้

11

1. การจำแนกตามเป้าหมายของนวตั กรรม
1.1 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product innovation) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งชาติได้ให้ความหมายของนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ไว้ว่า นวัตกรรมผลิตภัณฑ์คือการพัฒนาและนําเสนอ
ผลิตภัณฑ์ใหม่ไม่ว่าจะเป็นด้าน เทคโนโลยีหรือวิธีการใช้ก็ดีรวมไปถึงการปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้มี
คณุ ภาพและ
ประสิทธิภาพดียิ่งข้ึนนวัตกรรมผลิตภณั ฑ์ถือเป็นผลิตผล (Output) ขององค์การหรือธุรกิจโดยอาจจะอยู่ในรปู
ของตัวสินค้า (Goods) หรือการบริการ (Services) ก็ได้ และตัวแปรหลักที่สำคัญของการพัฒนานวัตกรรม
ผลิตภัณฑ์มี 2 ตัวแปร คือ

1) โอกาสทางด้านเทคโนโลยี หมายถึงองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครื่องมือ
อปุ กรณ์ และกระบวนการทจ่ี ะทำใหส้ ามารถพัฒนาผลิตภณั ฑ์ใหเ้ กดิ ขึ้นได้

2) ความต้องการของตลาด หมายถึง ความต้องการของผู้ใช้ ที่มีความต้องการในผลิตภัณฑ์ใหม่นั้น
และพร้อมทจ่ี ะซ้ือหรือใช้และส่งผลทำให้ผู้เป็นเจ้าของนวตั กรรมไดร้ ับประโยชนใ์ นเชิงเศรษฐกจิ หรอื สงั คม เช่น
บรษิ ัทแอปเปิ้ล ทไี่ ดม้ กี ารพัฒนานวตั กรรมผลิตภณั ฑด์ ้านการออกแบบและการสอ่ื สารที่เรียกวา่ iPod จนทำให้
สามารถเป็นที่ต้องการและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ภายใต้รูปแบบและวิถีการดำเนินชีวิตในยุด
ปัจจุบัน ซ่งึ สง่ ผลทำให้บริษัทประสบความสำเรจ็ และ ได้รับผลประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ อย่างมากมาย เป็นตน้

1.2 นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แหง่ ชาติ ให้ความหมายของนวัตกรรมกระบวนการ หมายถงึ การประยกุ ต์ใช้แนวคิด วธิ กี าร หรือกระบวนการ
ใหม่ ๆ ที่ส่งผลให้กระบวนการผลิต และการทำงานโดยรวมมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู ขึ้นอย่างเห็น ได้
ชัดการใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ เป็นต้น สะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการ เป็นเรื่อง
ของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ กรรมวิธีการผลิตการจัดจำหน่าย หรือรูปแบบการ
จัดการองค์การ ทงั้ นโี้ ดยมเี ป้าหมายทจี่ ะนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ให้ไปถึงมอื ผู้บริโภคหรือผู้ใช้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อองค์การมากที่สุด แม้ว่านวัดกรรมผลิตภัณฑ์จะถูกมองเห็นได้ชัดเจน
มากกว่า แต่นวตั กรรมกระบวนการก็มีความสำคญั มากเช่นเดียวกัน ในการทจ่ี ะทำให้องค์การหรือธุรกิจมีความ
ได้เปรียบในเชิงการแข่งขันทางธุรกิจ โคขนวัดกรรมกระบวนการส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นไปในเรื่องของการควบคมุ
คุณภาพ (Quality control) และการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพ การผลติ และการคำเนินงานอย่างต่อเน่ือง รวมถึง
กิจกรรมหรือกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในระบบ กล่าวคือ ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ
(Process) และผลิตผล (Outputs) เช่น บริษัทวอลลม์ าร์ท ซึ่งคำเนินธุรกจิ คา้ ปลีก ที่สามารถพัฒนาระบบการ
กระจายสินค้า และการบริหารต้นทุนการขนส่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนทำให้สามารถจำหน่ายสินค้าไว้ใน
ราคาถูกมากกวา่ ย่ีแข่ง และสามารถครองตลาดค้าปลีกในประเทศจีนทม่ี ีกำลงั ซื้อมหาศาล เปน็ ต้น

2. การจำแนกตามระดบั ของการเปล่ยี นแปลง
2.1 นวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลัน (Radical innovation) นวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลันเป็น

นวัตกรรมที่มีระดับความใหม่ ในลักษณะที่มีความตกต่างไปจากกรรมวิธี และแนวคิดเดิมไปอย่างสิ้นเชิง หรือ
เป็นลักษณะของการเปลี่ยนแปลงแบบถอนรากถอนโคน ดังนั้น นวัตกรรมที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบ
เฉียบพลัน จึงมีนัยสำคัญมากกว่าการปรับปรุงส่ิงที่มีอยู่เดิม แต่เป็นการออกแบบและใช้แนวคิดใหม่ทั้งหมดใน
การพัฒนานวัตกรรม นอกจากนี้ นวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลัน จะทำให้เกิดการออกแบบที่เป็นต้นแบบใหม่
ของนวัตกรรม (New dominant design) รวมถงึ แนวคิดของการออกแบบ และรายละเอยี ดขององค์ประกอบ
และโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมด้วย นวัตกรรมที่มีลักษณะเฉียบพลันจะมีเพียงร้อยละ 10 ของนวัตกรรม

12

ทั้งหมด ตัวอย่างนวัตกรรมที่มลี ักษณะเป็นนวัตกรรมในลกั ษณะเฉียบพลัน (Radical innovation) เช่น กล้อง
ถ่ายรูปแบบดิจิตอลที่เปลี่ยนแปลงมาจากกล้องถ่ายรูปที่ใช้ฟิล์ม โทรศัพท์ที่เกิดขึ้นแทนการส่งข้อความด้ วย
จดหมายหรือบนั ทกึ ข้อความ เป็นต้นซง่ึ นวัตกรรมในลักษณะเฉยี บพลนั จะมคี วามสำคญั อย่างย่ิงต่อการเป็นผู้นำ
ตลาดของธุรกิจ รวมทั้งสามารถสร้างมูลค่าทางการตลาดและความอยู่รอดของธุรกิจได้มากกว่านวัตกรรมที่มี
ลกั ษณะค่อยเปน็ ค่อยไป

2.2 นวัตกรรมในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป (Incremental innovation) นวัตกรรมประเภทนี้เป็น
นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจำนวนมาก และมีความถี่ในการเกิดบ่อยมากกว่านวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลัน โดยมี
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่ค่อยเป็นค่อยไปมีการปรับปรุงระบบให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นทีละเด็กละน้อย
จากเทคโนโลยีหรือสิ่งที่มีอยู่เดิมนวัตกรรมในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เป็นนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงจากความ
เช่ยี วชาญขององค์การหรือธุรกิจ ในเร่ืองของเทคโนโลยภี ายใตโ้ ครงสร้างหรือสถาปัตยกรรมเดิม เช่น เคร่ืองซัก
ผ้าที่มีการเปลี่ยนระบบการหมุน และประสิทธิภาพในการซักให้มีคุณภาพมากขึ้น หรือเครื่องปรับอา กาศที่มี
การปรับปรุงระบบการฟอกอากาศ และการทำงานให้มปี ระสทิ ธิภาพดขี ึน้ กน็ ับว่าเปน็ ตัวอยา่ งของนวัตกรรมใน
ลักษณะค่อยเป็นค่อยไปที่เห็นภาพได้อย่างชัดเจน นวัตกรรมที่มีลักษณะของการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็น
ค่อยไป จะพัฒนาจากพื้นฐานแนวคิดหรือการออกแบบจากผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการที่มีอยู่เดิม ทั้งนี้
ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงจะมีมากน้อยเพียงไรก็ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและข้อมูล
ความตอ้ งการของลูกคา้ ท่อี งคก์ ารมีอยู่

3. การจำแนกตามขอบเขตของผลกระทบ
3.1 นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological innovation)นวัตกรรมทางเทคโนโลยเี ปน็ นวัตกรรมที่

มีพื้นฐานหรือขอบเขตของการพัฒนามาจากเทคโนโลยี โดยในปัจจุบันการพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีมี
บทบาทและความสำคัญต่อหลาย ๆ อุตสาหกรรม ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยี ช่วยทำให้การพัฒนานวัตกรรม
สามารถตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้าหรือผบู้ ริโภค และสร้างความไดเ้ ปรยี บในเชิงการแขง่ ขนั ไดเ้ ป็นอย่าง
ดีรวมทั้งเป็นนวัตกรรมที่มีแรงผลักคันที่สำคัญของความก้าวหน้าในด้านต่าง 1 ทั้งทางด้านสังคมเศรษฐกิจ
การเมือง สิ่งแวดล้อม และความเป็นอยู่ของประชากร นวัตกรรมทางเทคโนโลยี จึงเป็นได้ทั้ง นวัตกรรม
ผลติ ภณั ฑ์ นวัตกรรมกระบวนการ นวัตกรรมทม่ี ีลักษณะเฉยี บพลัน และนวัตกรรมที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป
ถ้าการพัฒนานวัตกรรมนั้นอยู่บนพื้นฐานของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้การ
เปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมทางเทคโนโลยียังจะส่งผลต่อรูปแบบ และระดับของการแข่งขันในเชิงธุรกิจได้อีก
ด้วย

3.2 นวัตกรรมทางการบริหาร (Administrative innovation) นวัตกรรมทางการบริหารเปน็ เร่ืองของ
การคิดค้นและเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการตลอดจนกระบวนการจัดการองค์การใหม่ ที่ส่งผลให้ระบบการ
ทำงาน การผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการให้บริการขององค์การมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น เช่น การ
บริหารองค์การในลักษณะ โครงสร้างองค์การแบบเมตริกซ์ การใช้แนวคิด Balanced score card ในการ
วางแผนและประเมินผลงานขององค์การ การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาองค์การ การพัฒนารูปแบบการคำ
เนินธุรกิจในลักษณะที่เป็น Open business model เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดของการพัฒนานวัตกรรม
แบบเปิด (Open innovation)ก็จดั ได้ว่าเป็นลักษณะของนวัตกรรมทางการบริหาร ซ่ึงจะ ส่งผลกระทบต่อการ
เปลี่ยนแปลงรปู แบบการดำเนินงานขององคก์ ารหรือธุรกิจใหม้ ีประสิทธภิ าพ หรอื ประโยชน์ในเชงิ เศรษฐกิจเพ่ิม
มากขึน้ ดังนั้น นวตั กรรมทางการบริหารเป็นเรืองทีÉมีความสมั พันธ์โดยตรงกับนโยบายโครงสร้างองค์กรระบบ
รูปแบบ และกระบวนการจัดการในองค์การ ซึ่งต่างจาก นวัตกรรมทางเทคโนโลยีทีÉมีผลกระทบต่อการ

13

เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในนวตั กรรมผลติ ภัณฑ์ และนวัตกรรมกระบวนการผู้วิจัยจึงสรุปได้ว่า นักวิชาการ
จำแนกนวัตกรรมไว้หลายประเภทแตกต่างกันไป ตามลักษณะขอบเขต และวัตถุประสงคข์ องการนำไปใช้ เช่น
ภาญลิมมานนท์ (อ้างถึงใน สมหมายทองมี, 2552, หน้า 20 ได้แบ่งนวัตกรรมออกเป็น 3 ประเกท ดังนี้
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการ นวัตกรรมขององค์กร สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (อ้างถึงใน
ปริญ พิมพ์กลัด,2557, หน้า 26) แบ่งประเภทนวัตกรรมตามวัตถุประสงค์การใช้งานดังนี้ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์
นวัตกรรมกระบวนการ นวัตกรรมการจัดการ นวัตกรรมการบริการ นวัตกรรมรูปแบบธุรกิจนวัตกรรม
การตลาดนวตั กรรมองคก์ าร
วัชรา นทาทับ (อ้างถึงใน ปวาสินี สุขเจริญ, 2552, หน้า81) ได้แขกประเภทของนวัตกรรม (Type of
Innovation) ไวด้ ังนี้ นวัตกรรมผลติ ภณั ฑ์ นวตั กรรมการบริการ นวตั กรรมกระบวนการ นวัตกรรมโมเดลธุรกิจ
นวัตกรรมการตลาดนวัตกรรมองค์กรส่วนสมนึก เอื้อจิระพงย์พันธ์ และคณะ (2553, หน้า 54 - รา) จำแนก
ประเภทของนวัตกรรม ดงั น้ี

1) การจำแนกตามเปา้ หมายของนวตั กรรม คือ นวตั กรรมผลติ ภณั ฑ์ และนวัตกรรมกระบวนการ
2)การจำแนกตามระดับของการเปลี่ยนแปลง คือ นวัตกรรมในลักษณะเฉียบพลัน และนวัตกรรมใน
ลักษณะคอ่ ยเปน็ ค่อยไป
3) การจำแนกตามขอบเขตของผลกระทบ คอื นวตั กรรมทางเทคโนโลยี และนวตั กรรมทางการบริหาร

ความหมายขององค์กรนวตั กรรม
มนี กั วชิ าการกล่าวถึงความหมายขององค์กรนวตั กรรมไว้ ดงั น้ี กรี ติ เศย่ิงยง (2552, หน้า 56 กล่าวไว้

ว่า องค์กรนวัตกรรมเป็นแนวคิดการบรหิ ารจัดการองค์กรแนวใหม่ ในการปรับเปลี่ยนคุณลกั ษณะองค์กร หรือ
ปรับเปลี่ยนมาก่อน เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าของบริบทโลกาภิวตั น์ ที่มีความรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยหลักใน
การเพิ่มคุณค่า พัฒนาผลิตสินค้าและบรกิ ารที่ดีมคี ุณภาพเพ่ือตอบสนองความต้องการ และความพึงพอใจของ
ลูกค้า ความอยรู่ อดและความสามารถเชงิ การแข่งขันขององค์กร ในตลาดการคา้ โลกเสรี
สมหมาย ทองมี (2552, หน้า 24) สรปู ไวว้ ่า องคก์ รนวัตกรรม หมายถึง องคก์ รทีม่ ีการเปล่ียนแปลงในค้านการ
บรหิ ารจัดการและลกั ษณะขององค์กรเพอ่ื สนับสนุนการ ทำนวตั กรรมของบคุ คลภายในองค์กร เป็นการผลักคัน
ธุรกจิ ให้เตบิ โตอยา่ งย่งิ ขน้ึ ในดา้ นผลิตภัณฑ์ กระบวนการการจดั การ และการสร้างบุคลากรสำนักงานนวัตกรรม
แหง่ ชาติ (2553. หนา้ 2) ให้ความหมายไว้ว่า องคก์ รนวตั กรรม หมายถึง การสร้าง การเปลยี่ นแปลงโครงสร้าง
ธุรกิจ การปฏิบัติการ ตัวแบบ และอาจรวมถึงกระบวนการ การตลาดและรูปแบบธุรกิจ เป็นนวัตกรรมที่เน้น
การเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการและบริหารองค์กรซึ่งจะต้องใช้ความรู้ความสามารถในด้านการบริหาร
จดั การมาปรบั ปรุงภายในองค์กร
ชวน ภารงั กลู (2556, หน้า 8) สรปุ ไวว้ ่า องค์กรนวัตกรรม หมายถงึ องค์การท่ีม่งุ มั่น
มวี ิสยั ทศั น์ และเปา้ หมายทีช่ ดั เจนในอนั ที่จะสรา้ งประโยชนใ์ ห้กบั ผทู้ ่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ งผา่ นการสรา้ ง
นวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ งและมปี ระสิทธภิ าพ
ปริญ พิมพ์กลัด (2557, หน้า 25) สรุปไว้ว่า องค์กรนวัตกรรม หมายถึง การนำแนวความคิดใหม่ ๆ มาพัฒนา
ปรับปรุง เปลยี่ นแปลง โดยการนำแนวคดิ ใหม่ ๆ มาผสมผสานและประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในรูปแบบของ
การพัฒนา และปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการทำงานขององค์กร เพื่อตอบสนองต่อความพึงพอใจของ
ลกู คา้ และกอ่ ให้เกิดความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั ขององค์กร

14

องค์อร ประจันเขตต์ (2557, หน้า 47) ให้ความหมายไว้ว่า องค์กรนวัตกรรม หมาถึงองค์กรที่มีการปรับปรุง
และเปลี่ยนแปลงทางานกระบวนการทางความคิดเพื่อก่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่แตกต่าง และเป็นประโยชน์ขึ้นมา
หรือเปน็ องคก์ รทม่ี กี ารนำความเปลย่ี นแปลงใหม่ ๆ มาประยุกตใ์ ช้
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (2560, หน้า 8 ให้ความหมายไว้ว่า องค์กรนวัดกรรม หมายถึงการนำสิ่งใหม่ทั้งที่เป็น
ผลติ ภณั ฑ์ บรกิ าร และกระบวนการมาปรบั ประยุกต์ใชใ้ นการบริหารการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสมาชิกของสงั คม ให้
มี ความรู้ ความสามารถ บคุ ลกิ ภาพ เจดคติ พฤติกรรมค่านยิ ม และคณุ ธรรม ตามทีส่ ังคมความต้องการ
คิม และดูมาร์ (Kim & Kumat) (อ้างถึงใน กนกวรรณ ภู่ไหม, 2561, หน้า 13) ให้ความหมายไว้ว่า องค์กร
นวตั กรรม หมายถึง การสร้างหรือการขอมรบั ความคดิ ใหม่ ๆ ความรู้ ทกั ษะ และวธิ กี ารท่ีสามารถสร้างคุณค่า
และปรับปรุงการแข่งขันขององค์กร ได้
พาลูชา (Palucha) (อ้างถึงใน ปริญ พิมพ์กถัด, 2557, หน้า 25) ให้ความหมายไว้ว่านวัตกรรมองค์การ
หมายถึง องค์กรต้องกำหนดวิธีการ กลยุทธ์และเทคโนโลยี ที่เหมาะสมเพื่อเสริมสรา้ งพลงั แหง่ การแข่งขันของ
องค์กรอันจะนำไปสู่ศักยภาพของนวัตกรรมองค์กรผู้วิจัยจึงสรุปได้ว่า องค์กรนวัตกรรม หมายถึง องค์กรที่มี
การปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงทางค้านการบริหารจัดการ ลักษณะขององค์กร รวมไปถึงกระบวนการทาง
ความคดิ ที่กอ่ ใหเ้ กิดสงิ่ ใหมท่ แ่ี ตกต่าง และเปน็ ประโยชนข์ น้ึ มา เพอื่ นำไปสผู่ ลสำเร็จ และความสามารถเชงิ การ
แขง่ ขันขององคก์ ร

องค์ประกอบขององคก์ รนวัตกรรม
มนี ักวิชาการกล่าวถึงองค์ประกอบขององค์กรนวัตกรรมไว้ ดงั น้ี ปวาสินี สขุ เจริญ (2552, หน้า 101) ได้สรุปไว้
ว่า องค์กรนวตั กรรมประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่

1) วิสยั ทศั น์ร่วม
2) การปรับปรงุ โครงสร้าง
3 บคุ คลสำคญั ในองคก์ าร
4) ทีมงานท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
5) การพฒั นาบุคลากรอยา่ งตอ่ เนื่อง
6) การสอื่ สารทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
7) การมสี ว่ นรว่ มในการเร่อื งนวตั กรรม
8 มุ่งเนน้ ภายนอก
9) บรรยากาศการสร้างสรรค์
10) องคก์ รแห่งการเรยี นรู้

ไอรนิ โรจนร์ ักษ์ (2558, หน้า 36 ได้สรูปองคป์ ระกอของค์กรนวตั กรรมไว้ 10 องค์ประกอบ คือ
1) วสิ ยั ทศั นร์ ว่ ม
2) โครงสรา้ งองคก์ รท่เี หมาะสม
3) บคุ คลทีพ่ รอ้ มสร้างสรรค์นวดั กรรม
4) ทีมงานทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
5) การฝกึ อบรมและการพฒั นา
6) การส่อื สาร
7) การมสี ว่ นร่วมในนวัตกรรม

15

8) ปัจจัยภายนอก
9) บรรยากาศการสร้างสรรค์
10) องค์กรแหง่ การเรียนรู้

วฒุ พิ งษ์ ภกั ดเี หลา (2554, หนา้ ร6 สรปุ องคป์ ระกอบขององค์การนวตั กรรมไว้ 12องค์ประกอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ และเป้าหมาย
2) โครงสร้างองค์การ
3) วัฒนธรรมค่านิยม และบรรยากาศการทำงาน
4) ผนู้ ำ
5) บคุ ลากร
6) ทรพั ยากร
7) การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรมนุษย์
8) กรให้รางวัลและการยอมรับ
9) การส่อื สาร
10) การจดั การความรู้และขอ้ มลู ขา่ วสาร
11) การประเมนิ และการลำเลียงความคดิ
12) เครือข่าย

อแคร์ (Adair, 1996, PP.195 - 230) กลา่ วถงึ องค์ประกอบขององค์การทม่ี ีการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมไวด้ งั น้ี
1) ผู้บริหารมคี วามมุ่งมนั่ ในการสร้างนวตั กรรม
2) บรรยากาศในการทำงานท่ีสนับสนนุ การสรา้ งนวัตกรรม
3) การยอมรับความผิดพลาดหรือความลม้ เหลว
4) การสือ่ สารในระดบั เดียวกัน
5) โครงสร้างองคก์ ารที่มีความยืดหยุ่น
6) การมมี มุ มองในระยะยาว

คริสเตียนเซน (Christiansen, 2000 pP.40 - 81) ได้ระบุองค์ประกอบขององค์การนวัดกรรมวา่ ประกอบดว้ ย
ปจั จัยดังต่อ ไปนี้

1) วิสัยทัศน์และกลยทุ ธ์
2) ระบบการจัดการความสามารถ
3) เป้าหมาย
4) โครงสร้างองคก์ าร
5) ระบบการส่อื สารและการจัดการขอ้ มูล
6) วธิ กี ารตัดสินใจ
7) สิง่ จงู ใจ
8) ระบบการจดั การบคุ คล
9) วฒั นธรรมองค์การ

16

ทิดค์ เบสเซนท์ และพาวิทท์ (Tidd. Bessant & Pavill, 2001, pp.313 - 340) ได้ใหอ้ งค์ประกอบขององค์การ
นวัตกรรม ดังน้ี

1) มวี ิสยั ทัศน์ร่วม
2) โครงสร้างองค์การทเ่ี หมาะสม
3) บคุ ลากรท่ีมคี วามสำคัญ
4) การฝึกอบรมและพฒั นา
5) การมสี ว่ นร่วมในการสร้างนวัตกรรม
6) ทีมงานท่ีมีประสทิ ธิภาพ
7) บรรยากาศทสี่ ่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์
8) มุมมองจากภายนอกองค์การ
9) การขยายการสอื่ สาร

โฮลเคอร์ และแมทเตอร์ (Holder & Matter) (อ้างถึงใน วฒุ พิ งษ์ ภักดเี หลา, 2554,หน้า 56 เสนอองคป์ ระกอบ
ขององคก์ ารนวัตกรรมไว้ ดงั นี้

1 วสิ ัยทศั นข์ ององคก์ าร
2) วัฒนธรรมองค์การ
3) ระบบข้อมูลขา่ วสาร
4 กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ นวตั กรรม
5) การพฒั นาพลงั งานในทรัพยากรมนุษย์
6) รูปแบบองคก์ าร
7) การประเมนิ ผลการทำงาน
8) ผ้นู ำผู้วจิ ยั จึงสังเคราะหอ์ งคป์ ระกอบขององค์กรนวัตกรรม

ความสำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัตต์โลกมีการ

เปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ การศกึ ษาจงึ จำเปน็ ต้องมีการพฒั นาเปลยี่ นแปลงจากระบบการศึกษาทีม่ ีอยูเ่ ดิม เพื่อให้ทนั สมัยต่อ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกท้ังเพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านศึกษา
บางอย่างที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาจึงจำเป็นต้องมี
การศึกษาเกี่ยว กับนวัตกรรมการศึกษาที่จะนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาท่ี
เก่ยี วเนอื่ งกัน จำนวนผูเ้ รยี นที่มากข้ึน การพัฒนาหลกั สูตรให้ทนั สมยั การผลิตและพัฒนาสื่อใหมๆ่ ขึ้นมาเพื่อ
ตอบสนองการเรียนรู้ของมนษุ ย์ให้เพ่ิมมากขึ้นดว้ ยระยะเวลาท่สี ้นั ลง การใช้นวตั กรรมมาประยุกต์ในระบบการ
บริหารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การ ใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิงภาพ เช่น เกิด
การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
นวัตกรรมการศึกษาเกดิ ขน้ึ ตามสาเหตใุ หมๆ่ ดงั ต่อไปนี้

1. การเพิ่มปริมาณของผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้
นกั เทคโนโลยกี ารศึกษาตอ้ งหานวตั กรรมใหมๆ่ มาใช้ เพือ่ ให้สามารถสอนนกั เรยี นไดม้ ากขึ้น

17

2. การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยเี ป็นไปอย่างรวดเรว็ การเรยี นการสอนจึงต้องตอบสนองการเรียน
การสอนแบบใหม่ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจำกัดนัก
เทคโนโลยกี ารศกึ ษาจงึ ต้องค้นหานวัตกรรมมาประยกุ ต์ใช้เพ่ือวัตถปุ ระสงคน์ ้ี

3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึด
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบสนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตาม
ความสามารถของแตล่ ะคน

4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคมที่ส่วนผลักดันให้มีการใช้
นวตั กรรมการศกึ ษาเพ่มิ มากขน้ึ

การนำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมตา่ ง ๆ มาใชใ้ นกระบวนการศกึ ษาดว้ ยเหตผุ ลสำคญั ดงั ต่อไปนี้
1. ความ เจริญอยา่ งรวดเรว็ ทางด้านวชิ าการตา่ งๆ ของโลก โดยเฉพาะระยะหลงั สงครามโลกคร้ังที่
สองเป็นต้นมา วิทยาการใหม่ ๆ และสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ถูกค้นคิดประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ในสังคม
มากมายเป็นทวีคูณ ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางด้านหลักสูตรการเรียน
การสอน ของสถานศึกษา และส่งผลเป็นลูกโซ่ต่อไปถึงปัญหาการเรียนการสอน การเลือก
โปรแกรมและการทำความเข้าใจกับเนื้อหาสาระใหม่ๆ ของนักเรียน ความรุนแรงและความ
สลับซับซ้อนของปัญหาเหล่านี้มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปริมาณเนื้อหาวิชาการใหม่ๆ มีมากมาย
เกินความสามารถของผเู้ ก่ียวข้อง จะเลอื กบนั ทึกจดจำและนำเสนอในลักษณะเดิมได้ จึงมีความ
จำเป็นต้องใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับ สถานการณ์เข้ามาช่วย
เช่น การเสนอข้อมูลทางวิชาการโดยเทปบันทึกเสียง เทปบันทึกภาพ ไมโครฟอร์ม และแผ่น
เลเซอร์ การแนะแนวการเรียนโดยระบบคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้
2. การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากพัฒนาการทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดังกล่าวมา แล้ว มีผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิต การ
ปรับตัว และพัฒนาการของนักเรียน การแนะแนวส่วนตัวและสังคมแก่นักเรียน จำเป็นต้องใช้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสถานการณ์นั้นๆ จึงจะสามารถให้บริการครอบคลุมถึง
ปญั หาตา่ งๆ ได้
3. ลกั ษณะ สังคมสารสนเทศหรือสงั คมขอ้ มลู ข่าวสาร ซง่ึ เป็นผลมาจากพฒั นาการทางด้าน
อิเลก็ ทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคมทำใหข้ ่าวสารทกุ รปู แบบ คอื
เสยี ง ภาพน่ิง ภาพเคลอื่ นไหว กราฟฟกิ และข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถถ่ายทอดและส่งถงึ กนั
ได้อย่างรวดเร็วทกุ มุมโลก สังคมในปจั จุบนั และอนาคตจะเปน็ สงั คมทที่ ่วมท้นดว้ ยกระแสข้อมูล
และข่าวสาร
ประโยชน์ของนวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การนำนวัตกรรมทางการศึกษาไปใช้

จัดการเรียนการสอนนอกจากจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของรายวิชาแล้วยังมี
ประโยชนด์ ังน้ี

1. ช่วยใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรไู้ ด้เร็วขน้ึ
2. ชว่ ยให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจบทเรยี นเปน็ รูปธรรม
3. ชว่ ยใหบ้ รรยากาศการเรยี นรู้นา่ เรียน
4. ชว่ ยให้บทเรยี นน่าเรียน
5. ช่วยลดเวลาในการสอน

18

6. ช่วยประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย

ประโยชนข์ องเทคโนโลยีการศึกษา
ประโยชน์สำหรับผเู้ รยี น

1. ทำให้ผู้เรยี นมีโอกาสใช้ความสามารถของตนเอง ในการเรยี นร้อู ยา่ งเตม็ ท่ี
2. ผเู้ รียนมโี อกาสตัดสินใจเลอื กเรยี นตามชอ่ งทางทเี่ หมาะกับความสามารถ
3. ทำให้กระบวนการเรียนรู้งา่ ยข้ึน
4. ผู้เรียนมีอิสระในการเลือก
5. ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรใู้ นทุกเวลา ทุกสถานที่
6. ทำใหก้ ารเรียนมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ
7. ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรไู้ ดม้ ากกว่าเดมิ ในเวลาเท่ากนั
8. ทำใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเรียนรไู้ ดท้ ้งั ในแนวกว้างและแนวลกึ
9. ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นรู้จกั เสาะหาแหล่งการเรยี นรู้
10. ฝกึ ให้ผเู้ รยี น คิดเป็นและสามารถแก้ปญั หาด้วยตนเองได้

ประโยชน์สำหรบั ผ้สู อน
1. ทำใหป้ ระสิทธิภาพของการสอนสงู ขึน้
2. ผู้สอนสามารถจัดกจิ กรรมได้หลากหลาย
3. ทำใหผ้ สู้ อนมเี วลามากขน้ึ จึงใช้เวลาทเ่ี หลือในการเตรยี มการสอนได้เตม็ ท่ี
4. ทำให้กระบวนการสอนง่ายขึ้น
5. ลดเวลาในการสอนน้อยลง
6. สามารถเพิม่ เนอ้ื หาและจดุ มุ่งหมายในการสอนมากขนึ้
7. ผ้สู อนลดเวลาสอนในชนั้ เรยี นเพราะบทบาทสว่ นหนงึ่ ผ้เู รยี นทำเอง
8. ผสู้ อนสามารถแก้ปญั หาความไมถ่ นดั ของตนเองได้
9. ผสู้ อนสามารถสอนผเู้ รยี นไดเ้ นอื้ หาทีก่ วา้ งและลกึ ซงึ้ กว่าเดมิ
10. ง่ายในการประเมนิ เพราะการใช้เทคโนโลยี มุ่งใหผ้ เู้ รยี นประเมนิ ตนเองดว้ ย

นวัตกรรมทนี่ ำมาใชท้ ัง้ ท่ีผ่านมาแลว้ และที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึน้ อยกู่ ับการประยกุ ต์ใช้
นวตั กรรมในดา้ นต่าง ๆ ในท่ีน้ีจะขอกล่าวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คอื

1. นวตั กรรมทางด้านหลักสูตร
2. นวัตกรรมการเรยี นการสอน
3. นวตั กรรมสอ่ื การสอน
4. นวตั กรรมการประเมินผล
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ

1. นวตั กรรมทางด้านหลกั สตู ร เปน็ การใชว้ ิธกี ารใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
ในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสั งคมของประเททและของโลก

19

นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจนที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญาทางการจัดการ
สัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดงั กล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ที่เป็น
นวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการนวัตกรรมทางด้านหลักสูตรใน
ประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลักสตู รดังตอ่ ไปน้ี

1. หลักสตู รบูรณาการ เป็นการบรู ณาการส่วนประกอบของหลักสตู รเข้าด้วยกนั ทางดา้ นวิทยาการใน
สาขาต่าง ๆ การศกึ ษาทางด้านจรยิ ธรรมและสงั คม โดยมุง่ ให้ผเู้ รียนเป็นคนดสี ามารถใช้ประโยชน์จากองค์
ความรใู้ นสาขาต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องกับสภาพสงั คมอยา่ งมจี ริยธรรม

2. หลกั สูตรรายบคุ คล เปน็ แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพอ่ื การศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนอง
แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซง่ึ จะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี
ดา้ นตา่ ง ๆ

3. หลักสตู รกิจกรรมและประสบการณ์ เปน็ หลกั สตู รท่ีมงุ่ เน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ
ประสบการณ์ใหก้ บั ผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเรจ็ เชน่ กิจกรรมท่สี ง่ เสริมให้ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในบทเรียน
ประสบการณ์การเรียนรจู้ ากการสบื ค้นดว้ ยตนเอง เปน็ ต้น

4. หลกั สตู รท้องถน่ิ เปน็ การพัฒนาหลกั สตู รทต่ี อ้ งการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถนิ่ เพ่ือให้
สอดคล้องกบั ศลิ ปวัฒนธรรมส่งิ แวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนท่มี ีอยู่ในแต่ละทอ้ งถน่ิ แทนทีห่ ลักสตู ร
ในแบบเดมิ ทีใ่ ชว้ ธิ ีการรวมศนู ย์การพฒั นาอยูใ่ นส่วนกลาง

2. นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ี
สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมสี ่วนร่วมการเรียนรู้
แบบแกป้ ัญหา การพัฒนาวิธสี อนจำเปน็ ต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจดั การและสนับสนุนการ
เรียนการสอน

3. นวัตกรรมส่ือการสอน เน่ืองจากมคี วามกา้ วหน้าของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์เครือข่ายและ
เทคโนโลยีโทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้มี าใชใ้ นการผลติ สอ่ื การ
เรยี นการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้งั การเรยี นดว้ ยตนเองการเรยี นเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน
ตลอดจนสือ่ ที่ใชเ้ พ่ือสนบั สนุนการฝกึ อบรม ผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

ตัวอย่าง นวตั กรรมสื่อการสอน ได้แก่
– คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (CAI)
– มลั ติมเี ดีย (Multimedia)
– การประชมุ ทางไกล (Teleconference)
– ชุดการสอน (Instructional Module)
– วดี ที ัศน์แบบมปี ฏสิ มั พันธ์ (Interactive Video)

4. นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวตั กรรมทใี่ ชเ้ ปน็ เครือ่ งมือเพ่ือการวัดผลและประเมินผลได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพและทำได้อย่างรวดเรว็ รวมไปถงึ การวิจัยทางการศกึ ษา การวจิ ัยสถาบนั ด้วยการประยกุ ต์ใช้
โปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าสนับสนุนการวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์

ตวั อย่าง นวัตกรรมทางดา้ นการประเมินผล ได้แก่
– การพฒั นาคลังขอ้ สอบ

20

– การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอินเตอรเ์ นต็
– การใชบ้ ัตรสมารต์ การ์ด เพื่อการใชบ้ ริการของสถาบนั ศกึ ษา
– การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการตัดเกรด
– ฯลฯ

นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเรื่องที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีเหมือนบาง
สถาบันการศึกษาเทา่ นัน้ ท่สี ามารถใหบ้ ริการได้ เน่อื งจากบางสถาบันยงั ไมม่ ีความพร้อมดา้ นอปุ กรณ์ เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ที่มีความชำนาญด้านการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือข่ายซึ่งตอ้ งอาศัย
ระยะเวลาอกี ชว่ งหนงึ่ ทจ่ี ะพัฒนาระบบใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ านในสถาบัน

5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหาร
จัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
โลก นวตั กรรมการศึกษาท่ีนำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงาน
สถานศกึ ษา เชน่ ฐานขอ้ มลู นักเรยี น นักศึกษา ฐานขอ้ มูล คณะอาจารย์และบุคลากร

21

ปฏบิ ัติการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา

ปฏิบตั ิการใช้งานไลน์
ไลน์เป็นแอพพลเิ คชันยอดนิยมแหง่ ปีท่ีไมว่ า่ วยั รนุ่ จนถึงลุงป้าวยั เกษียณยุคปัจจบุ นั สนใจหา

มาใช้ โดยไลน์ สามารถทใี่ ช้ส่งขอ้ ความภาพและเสียง อีกทัง้ ใช้โทรคุยผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ น็ต แตห่ ากใคร
ยังไม่รจู้ ักและยงั ไม่ร้วู ิธใี ช้ บทความน้ีสามารถชว่ ยคณุ ไม่ให้ตกเทรน

การสมัครใช้งานไลน์
การตดิ ตัง้ โปรแกรม LINE สำหรบั โทรศพั ทม์ ือถอื ดาวนโหลดแอพ LIINE ติดต้งั ใหมจ่ าก App Store หรือ
Play Store

แบบที่ 1. ข้นั ตอนการสมัครไลน์ แบบเชอ่ื มกบั Facebook
เมื่อโหลดเสร็จแล้วเข้าแอปแลว้ กด ปุ่มเริ่ม

22
จากน้นั จะเจอหน้า “ใส่หมายเลขโทรศัพท์ของอุปกรณ์ท่ีคุณใช้อยู่ขณะนี้” ไม่ตอ้ งกรอกเบอรโ์ ทรศัพท์ ให้ คลิก
ปมุ่ เมนู เข้าสู่ระบบดว้ ย Facebook เลย จากนน้ั คลิกปุ่ม เข้าสู่ระบบดว้ ย Facebook อีกครั้ง เพ่ือยนื ยนั

ระบบไลนจ์ ะเชื่อมต่อกับ Facebook ท่เี ราใช้ ให้เรากดป่มุ ดำเนินการต่อในช่ือ… จากนั้นจะเข้ามาส่หู นา้ สรา้ ง
บญั ชใี หม่ของไลน์ ใหต้ ้งั ช่ือตามต้องการ จากนั้นกดป่มุ ลูกศรวงกลมเขยี ว

23

ในหน้าถัดมาจะเจอหนา้ เพิ่มเพ่ือนจากรายช่อื ถ้ายังไม่ต้องการใสเ่ บอร์ ให้กดป่มุ ยกเลิก เปน็ อันเสร็จการ
สมัครไลน์ แบบเชือ่ มต่อกับ Facebook แลว้

แบบท่ี 2 สมัคร LINE แบบเช่อื มกบั เบอร์มือถือ

การสมัครแบบที่สองนี้ เราจะใช้เบอรม์ ือถือของเราท่ีลงแอพพลเิ คชน่ั LINE นี้ในการยืนยันตัวตน ซึง่
จะมีข้อดี คือ เราสามารถเพิ่มเพื่อนจากรายชือ่ หมายเลขโทรศพั ท์ท่ีเรามใี นเครอ่ื ง ซ่งึ ถ้าเบอรเ์ พ่ือนคนไหนมีการ
สมคั รไลนไ์ ว้ ระบบถจะดงึ มาเป็นเพอ่ื นในไลนเ์ ราให้อตั โนมัตเิ ลย โดยมวี ธิ ีการสมัครดังนี้

โหลด และตดิ ตั้งไลนแ์ อพพลเิ คชัน่ จากนนั้ เมือ่ เปิดแอพพลิเคชน่ั ข้นึ มากด ปุ่ม เรม่ิ จากนั้นให้หนา้ “ใส่
หมายเลขโทรศัพทข์ องอุปกรณท์ ี่คุณใช้อยูข่ ณะนี”้ ให้ กดปมุ่ ทำต่อ

24
เลือกประเทศไทย และกรอกเบอรโ์ ทรศพั ท์ จากน้นั กดปุ่มวงกลมมีลูกศร จากนนั้ แอพพลเิ คชั่น จะแจง้ ว่าจะส่ง
รหัสไปท่ี SMS เบอรท์ ีเ่ รากรอกไป ให้กดปุ่ม ตกลง

เขา้ ไปเอารหัสจาก SMS ที่ได้รับจากทางไลน์ส่งมาแล้วนำไปกรอกในหน้า ใส่รหัสยืนยนั ซึ่งบางเครื่องอาจจะ
ไม่ต้องกรอกเพยี ง SMS เข้ามาระบบกรอกใหเ้ อง และขา้ มหนา้ น้ไี ปใหเ้ อง

จากนัน้ จะมายงั หน้า ตอ้ งการโอนย้ายบญั ชหี รือไม่ ให้กดปุ่ม สร้างบัญชีใหม่ ในหน้าสร้างบญั ชีใหมน่ ีใ้ ห้เราใส่
รปู โปรไฟล์ และตงั้ ชื่อไลน์ จากนนั้ กดปุม่ วงกลมเขียว เป็นอนั เสรจ็ สิ้นการสมคั ร LINE ในแบบยืนยนั ตัวตน
ด้วยมอื ถือ

25

หลงั จากนนั้ จึงเขา้ สู่กระบวนการตรวจสอบวา่ มีเพื่อนหรอื คนรจู้ กั เราคนไหนบ้างทใี่ ช้บริการนอ้ี ยู่ก่อนที่
จะนำเข้าส่รู ายการ Friends ของเรา โดยโปรแกรมจะทำการเข้าไปตรวจสอบ Contact ของเราในเคร่ืองก่อน
เพ่ือดูวา่ มผี ู้ใดบา้ งทใี่ ช้งาน Line อยู่ ซ่ึงจะแสดงผลออกมาเพื่อให้เราเลอื ก Add เขา้ ไป นอกจากนน้ั แล้วยงั มี
วิธีการเพิ่มเพ่ือนคือวธิ ี “Shake it!” โดยให้เราทำการเขยา่ โทรศัพท์ Smart Phone ของเรา จากนน้ั โปรแกรม
จะทำการ Detect ว่าใครในละแวกเดียวกนั ทำการ “Shake it!” ด้วย
และจะทำการ Add เพอื่ นเข้าไปเปน็ Friends

อกี วธิ ีหน่งึ ในการเพมิ่ ชื่อเข้าระบบคือใชว้ ิธี Scan QR Code โดยเราสามารถสร้าง QR Code
ของตัวเองแล้วนำไปแจกใหผ้ ู้อน่ื ไดเ้ ปน็ การเพมิ่ ช่ือของเราเขา้ ไปอย่ใู น Friends ของเพ่ือน

ในการส่ือสารระหว่างผูใ้ ช้งานนนั้ จะมที ้ังระบบ Chat ทสี่ ามารถพิมพ์ส่งข้อความสนทนาไป
ยงั เพ่อื น หรือกลมุ่ เพื่อน (Group Chat) ที่สรา้ งข้นึ ได้ ซ่งึ ผ้ใู ช้งานสามารถสง่ มีเดยี ไฟล์เชน่ รูปภาพไปยงั
เพ่ือนได้ และสามารถโพสต์ไอคอนนา่ รักๆ ประกอบการสนทนาได้อีกดว้ ย หรอื ทำการโทรคุยกบั เพื่อน
ผ่านระบบ Voice Call ซงึ่ เป็นการสอ่ื สารดว้ ยเสยี งบนอินเทอรเ์ นต็ ได้ดว้ ยและทำการ Share Location เพือ่
บอกให้เพื่อนทราบว่าเราอยทู่ ่ีไหน

การสร้างกลุ่มเพ่อื นของเราใน LINE
การสรา้ งกลุ่มไลน์ ไม่ใช่เรอ่ื งยาก เพราะนอกจากจะคยุ ไลนเ์ ป็นแบบส่วนตัวแลว้ ยงั สามารถสร้างกลุ่ม

ไลนเ์ พอื่ คยุ กนั ไดห้ ลายๆ คนอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นกลมุ่ ทำงาน กลมุ่ เพ่ือนท่โี รงเรียน หรอื กลมุ่ เฉพาะเจาะจง
1. เข้าไปทีแ่ อพพลิเคช่นั LINE
2. จากน้นั เลือกที่ ไอคอนรูปคนท่ีมีรปู บวก อยูด่ ้านบนขวามือสดุ ของสมาร์ทโฟน
3. จากนั้น เลอื กที่ “สรา้ งกลมุ่ ”
4. จากนัน้ พมิ พช์ ่อื เพ่อื นทเ่ี ราต้องการอยากจะให้อยู่ในไลน์กลมุ่ ที่เราสรา้ งขน้ึ มา
5. เม่อื เลือกเพื่อนเสรจ็ แล้ว จากน้นั เลอื กที่ “ตอ่ ไป”
6. จากนนั้ พมิ พช์ อื่ กล่มุ ไลน์ พรอ้ มเปล่ยี นรูปโปรไฟล์
7. เมือ่ พิมพช์ ือ่ และเปลีย่ นโปรไฟล์เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว เลือกท่ี “สร้างกลุ่ม”
8. จากนั้น เลือกท่ี “แชท” เพียงเทา่ น้ี เรากม็ ีกลุม่ ไลน์ไว้พดู คุย ส่งรปู ภาพ/วดี ีโอ ให้เพื่อนๆ ได้เหน็ แลว้

26

ปฏบิ ัตกิ ารใชง้ านเฟสบ๊กุ
เฟสบุ๊ค คือ บริการบนอินเทอรเ์ นต็ ประเภทหนึ่ง ท่ีช่วยใหเ้ ราสามารถติดต่อสอ่ื สาร ตลอดจนทำ

กิจกรรมร่วมกับเพ่ือนๆ หรอื กลุ่มเพือ่ น หรือบุคคลอ่ืนๆ ได้ ไมว่ า่ จะเป็นการต้ังประเด็นถามตอบในเรื่องทส่ี นใจ
โพสต์รปู ภาพ โพสต์คลปิ วดิ โี อ เขยี นบทความหรือบลอ็ ก แชทออนไลน์ เลน่ เกมแบบเปน็ กล่มุ ตลอดจนสามารถ
ทำกจิ กรรมอ่ืนๆ ผา่ นแอพพลิเคชันเสรมิ (Applications) ทม่ี อี ย่มู ากมาย ซึ่งยังคงมกี ารพัฒนาแอพพลิเคชัน
และเกม เพื่อตอบสนองผ้ใู ชอ้ ยู่อย่างต่อเนื่อง

วัตถุประสงค์ทม่ี ี Facebook กค็ ือ เพ่ือเปิดโอกาสใหเ้ ราสามารถพบปะสังสรรค์กบั เพ่ือนๆ ทง้ั เพื่อนซี้
เพอื่ นเก่า เพ่ือนร่วมชนั้ เรียนในอดีต ไปจนเพอ่ื นของเพ่ือน เพื่อนทที่ ำงานเดยี วกัน เพ่ือนร่วมจังหวดั เพ่อื นรว่ ม
ประเทศ เพอื่ นคอเดียวกนั แล้วพฒั นาความสัมพนั ธ์กนั ต่อไปได้เรื่อย ๆ ตามแตใ่ จปรารถนา
การสมคั รใชเ้ ฟสบุก๊
1.เริม่ ใชง้ าน

1.1.เปิด Facebook. เข้าเว็บไซต์ https://www.facebook.com/ ในเบราว์เซอร์ของคอมพวิ เตอร์
หรือแตะไอคอนแอพ Facebook ถา้ ใช้มอื ถอื หรือแท็บเล็ต แลว้ จะเหน็ หน้าลอ็ กอิน Facebook ถา้ ล็อกอิน
บญั ชตี ัวเองไว้ ถา้ ยังไม่ไดด้ าวนโ์ หลดแอพ Facebook ใน iPhone หรือ Android กด็ าวน์โหลดมาฟรไี ดเ้ ลย

27
1.2.สรา้ งบัญชี Facebook ทำไดท้ ั้งผ่านเวบ็ ไซต์ Facebook ในคอมพวิ เตอร์ และผา่ นแอพพลเิ คชัน่
Facebook ในมอื ถือหรือแท็บเลต็

1.3.ไปทหี่ น้า Facebook ตัวเอง หน้าตาจะต่างกันนิดหน่อย แล้วแต่ว่าใชใ้ นคอมหรือมือถอื /แท็บเลต็
• คอม - คลิก tab ชื่อตวั เอง ท่ีดา้ นขวาบนของหน้าตา่ ง
• มอื ถือ/แท็บเลต็ - แตะ ☰ มุมขวาลา่ ง หรอื มุมขวาบนของหน้าจอ แล้วแตะชื่อตวั เอง
ท่ดี า้ นบนของเมนูท่โี ผล่มา

1.4.ใสร่ ปู โปรไฟล์ คุณใสร่ ปู ตัวเอง (หรอื อืน่ ๆ ตามตอ้ งการ) เป็นรูปโปรไฟล์ ใหค้ นอ่นื เหน็ ได้
• คอม - คลิก Add Photo ทีด่ ้านซา้ ยบนของโปรไฟล์ Facebook คลกิ Upload
Photo เลือกรปู จากในคอม แล้วคลิก Open
• มอื ถือ/แท็บเลต็ - แตะไอคอนรปู โปรไฟลส์ ี่เหล่ยี ม ทางดา้ นบนของหนา้ แลว้ แตะ Select
Profile Picture แตะรูปทีจ่ ะใช้ จากนน้ั แตะ Use
• จะใส่รูปหนา้ ปก ที่ดา้ นบนของโปรไฟล์ Facebook ด้วยก็ได้ โดยคลิกหรือแตะ Add
Cover Photo คลกิ Upload Photo (คอม) หรือแตะ Change Cover Photo (มือถือ/
แทบ็ เล็ต) แล้วเลือกรปู จากในคอมหรือมือถือ/แท็บเลต็

28

1.5.แกไ้ ขขอ้ มลู บญั ชี ถา้ ยงั ไม่ไดใ้ ส่ข้อมลู บางอยา่ งตอนสมัคร Facebook (หรืออยากลบบางข้อมลู ท่ี
เคยใสไ่ ว)้ ก็ทำได้ทีห่ นา้ โปรไฟล์

• คอม - คลิก About ล่างรปู cover คลิกหัวขอ้ ล่าง "About" ทางซ้ายของหนา้
(เชน่ Places You've Lived) เล่ือนเมาสไ์ ปจ่อข้อมลู แลว้ คลิก Edit ตอนโผลม่ า จากนน้ั ก็
แกไ้ ขข้อมลู ได้เลย

• มอื ถือ/แทบ็ เลต็ - เล่อื นลงไปแตะ About ด้านบนของชอ่ ง "What's on your mind?"
แตะไอคอน "Edit" รูปดนิ สอ ทางขวาของข้อมูล แตะตัวเลือก Edit แล้วแก้ไขข้อมูลได้เลย

29

1.6.เซฟคา่ ใหมค่ ลิกหรือแตะ Save ในหน้าที่เปลย่ี นค่าไป เพอื่ เซฟค่าใหม่ให้มผี ลกับโปรไฟล์ พอตัง้ ค่า
Facebook เรยี บรอ้ ยแล้ว ก็ถึงเวลาแอดเพื่อนกนั

2.การเพม่ิ เพ่ือน
2.1.เลือกแถบค้นหา คลกิ หรือแตะแถบคน้ หา ทางด้านบนของหนา้ หรอื หนา้ จอ เพ่ือใหเ้ คอร์เซอรโ์ ผล่

มาในแถบค้นหา รวมถึงคยี ์บอร์ดในหนา้ จอ ถา้ ใชม้ อื ถือหรือแท็บเลต็

2.2.พมิ พช์ ื่อเพื่อน พิมพช์ ื่อคนทจ่ี ะแอดเปน็ เพอ่ื นใน Facebook แลว้ คลิกหรอื แตะชื่อท่เี พิ่งพิมพ์ไป
ตอนโผล่มาล่างชอ่ ง หรือกด ↵ Enter ไมก่ ็แตะ Search หลังพิมพ์เสรจ็

30

2.3.เลือกเพ่ือน พอเจอโปรไฟล์ของเพอื่ นคนท่ีวา่ ให้คลิกรูปโปรไฟล์เขา เพ่ือเปิดหนา้ โปรไฟล์ท่ีเปน็
สาธารณะ ถา้ ใชแ้ อพในมือถือหรอื แทบ็ เลต็ ไมต่ ้องทำข้นั ตอนนี้

2.4.คลกิ หรอื แตะ Add Friend ทางดา้ นบนของหน้า (คอม) หรือทางขวาของช่ือเพื่อน (มือถือหรอื
แทบ็ เลต็ ) เพื่อสง่ คำขอเปน็ เพื่อนไปให้เขา ถ้าเขากดรับ ก็จะเหน็ โปรไฟล์ Facebook และโพสตต์ า่ งๆ ของเขา

2.5.เพม่ิ เพื่อนท่ี Facebook แนะนำ. Facebook จะแนะนำรายช่อื เพ่ือนให้คุณ หลงั เพ่ิมเพ่ือนไปได้
2 - 3 คน โดยเป็นคนทม่ี ีสว่ นเกย่ี วข้องกับคุณไมว่ ่าทางใดทางหนึ่ง หลังจากนจ้ี ะดูรายชื่อเพื่อนที่ Facebook
แนะนำน้เี มื่อไหร่ก็ได้

• คอม - คลิก tab ช่ือตวั เอง คลกิ Friends ลา่ งรปู cover คลกิ + Find Friends แล้ว
คลกิ Add Friend ข้างชื่อเพื่อนท่จี ะแอด

• มอื ถือ/แทบ็ เลต็ - แตะ ☰ แตะ Friends แตะ tab Suggestions แล้วแตะ Add
Friend ข้างชือ่ เพอื่ นทจี่ ะแอด

31

2.6.เพ่มิ เพ่ือนอกี จะเล่น Facebook ใหส้ นกุ ต้องแอดเพื่อนไปหลายๆ คนก่อน เพราะง้นั ใหค้ น้ หา
เพือ่ นทจ่ี ะแอดตามสะดวก พอมีเพอ่ื นพอประมาณแล้ว ก็ไปโพสตเ์ ร่ืองราวกนั ดีกวา่

3.โพสตผ์ า่ นคอม
3.1 กลับไปทห่ี นา้ โปรไฟล์โดย คลิก tab ชอ่ื ตวั เอง มุมขวาบนของหน้าต่าง Facebook

32
3.2. คลิกช่องพิมพ์สถานะ หรือ status ปกติช่องนี้จะเขียนว่า "What's on your mind?" เป็นช่อง
กลางหนา้ ล่างรปู cover และ tab ตา่ งๆ คลิกแล้วชอ่ ง status จะโผลม่ า

3.3. เขยี นโพสตใ์ หม่. คณุ ตัง้ status หรือสถานะได้โดยพิมพ์ข้อความทีต่ ้องการในชอ่ งท่ีมี แต่จะใส่
องค์ประกอบอนื่ ๆ นอกเหนอื จากข้อความในโพสตก์ ็ได้

• ถ้าจะใส่รปู ในโพสต์ ให้คลิก Photo/Video ล่างชอ่ งพิมพ์ แลว้ เลอื กไฟลร์ ปู หรือวดิ ีโอจากใน
คอม

• ถ้าจะแท็กเพอื่ นในโพสต์ ใหพ้ ิมพ์ @ ตามดว้ ยตวั อกั ษร 2 - 3 ตวั แรกของชือ่ เพ่ือน จากน้ัน
คลิกชือ่ เพอ่ื นในเมนูที่โผลม่ า

• คุณเชค็ อนิ ในสถานที่ตา่ งๆ ได้ด้วย โดยคลกิ Check in ล่างชอ่ งพิมพข์ ้อความ แลว้ พิมพท์ ี่
อยู่

33
3.4. เปลี่ยนค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ได้ด้วย ตามค่า default โพสต์จะเห็นเฉพาะเพื่อนใน
Facebook แต่เปลี่ยนได้โดยคลิกช่อง Friends ให้ขยายลงมาทางซ้ายของปุ่ม Post แล้วคลิกเลือก privacy
setting อืน่
3.5 คลกิ Post. ทางดา้ นล่างของหนา้ ต่าง status เพอื่ เผยแพร่โพสต์ในหน้าโปรไฟลข์ องคุณ

3.6.คอมเม้นทใ์ นโพสต์คนอ่นื . คุณไปทโ่ี พสต์ของเพ่อื น คลิก Comment ล่างโพสต์ แล้วพมิ พ์คอม
เม้นท์ ใหโ้ ผลม่ าล่างโพสต์ของเพอื่ นได้

• ใครทีด่ ขู ้อมูลของคุณได้ ก็จะเหน็ โพสต์นใ้ี น News Feed เขาด้วย

34
4.โพสต์ผา่ นมอื ถอื หรอื แท็บเล็ต

4.1. กลับไปที่หนา้ โปรไฟล์ แตะ ☰ มุมขวาลา่ งหรือขวาบนของหน้า แล้วแตะชอ่ื ตัวเองท่ีด้านบนของ
เมนทู ี่โผลม่ า

4.2. เลื่อนลงไปแตะช่อง status ล่างหัวข้อ tab ต่างๆ ล่างรูปโปรไฟล์ เพื่อเปิดช่อง Status และ
คยี บ์ อร์ดในเครอ่ื ง ขนึ้ มาในหน้าจอ

4.3. เขยี นโพสต์ใหม.่ คุณต้งั status หรือสถานะได้โดยพิมพ์ขอ้ ความทีต่ ้องการในช่องที่มี แตจ่ ะใส่
องค์ประกอบอื่นๆ นอกเหนอื จากข้อความในโพสต์ก็ได้

• ถ้าจะใส่รปู ในโพสต์ ใหแ้ ตะ Photo/Video ลา่ งช่องพิมพ์ แลว้ เลอื กไฟลร์ ูปหรือวิดีโอจากใน
คอม

• ถา้ จะแท็กเพื่อนในโพสต์ ใหพ้ ิมพ์ @ ตามด้วยตัวอกั ษร 2 - 3 ตัวแรกของชือ่ เพื่อน จากน้ัน
แตะช่ือเพ่ือนในเมนูทโ่ี ผล่มา

• คุณเชค็ อินในสถานทีต่ ่างๆ ได้ด้วย โดยแตะ Check in ล่างชอ่ งพมิ พข์ ้อความ แล้วพมิ พ์ท่ี
อยู่

35

4.4.เปลี่ยนค่าความเป็นส่วนตัวของโพสต์ได้ด้วย. ตามค่า default โพสต์จะเห็นเฉพาะเพื่อนใน
Facebook แต่เปลี่ยนได้โดยแตะช่อง Friends ให้ขยายลงมาทางซ้ายบนของช่อง จากนั้นแตะเลือก privacy
setting ใหม่ (เชน่ Public หรอื Only me) แลว้ แตะ Done

4.5.แตะ Share มุมขวาบนของหนา้ จอ เพ่ือเผยแพรโ่ พสต์ในหน้าโปรไฟลข์ องคุณ

36

4.6.คอมเม้นทใ์ นโพสต์คนอ่ืน. คณุ ไปท่โี พสต์ของเพอ่ื น แตะ Comment ลา่ งโพสต์ แล้วพมิ พค์ อม
เม้นท์ ให้โผล่มาลา่ งโพสต์ของเพือ่ นได้

• ใครทีด่ ขู ้อมูลของคุณได้ กจ็ ะเห็นโพสต์นีใ้ น News Feed เขาด้วย

5.อัพโหลดรปู กบั วิดโี อผ่านคอม
5.1. ไปที่ News Feed โดยคลิกไอคอน f ทางซ้ายบนของหน้า Facebook คลิก Photo/Video. ท่ี

เปน็ ไอคอนสีขาวเขียว ทางดา้ นบนของ News Feed

5.2. เลอื กรูปหรอื วิดโี อจากในคอม. ในหนา้ ตา่ ง File Explorer (Windows) หรือ Finder (Mac) ท่ี
เปดิ ไว้ ใหไ้ ปยงั ตำแหนง่ ที่มีไฟล์รูปทจ่ี ะอัพโหลด แลว้ คลิก 1 ครัง้

• ถา้ จะเลือกทีละหลายรูปหรอื วิดีโอ ใหก้ ด Ctrl (Windows) หรือ ⌘ Command (Mac)

ค้างไว้ แล้วคลกิ เลือกแต่ละรูป/วดิ ีโอทจี่ ะอัพโหลด

37

5.3. คลกิ Open. มมุ ขวาล่างของหนา้ ต่าง เพ่ืออัพโหลดรปู และ/หรอื วิดโี อเข้า Facebook

5.4. ใส่คำบรรยายไดถ้ ้าต้องการ จริงๆ ไม่จำเปน็ แต่จะใส่ข้อความในโพสต์ดว้ ยก็ได้ โดยคลิกช่องท่ี
เขยี นว่า "Say something about..." ดา้ นบนของรปู /วดิ โี อ แลว้ พิมพ์ข้อความ คลิก Post. ทางดา้ นล่างของ
ช่อง status เพ่ือเผยแพรโ่ พสตใ์ นหน้าโปรไฟลข์ องคณุ

38
6.อพั โหลดรูปกบั วดิ โี อผา่ นมือถอื หรือแท็บเลต็

6.1. ไปที่ News Feed. โดยแตะไอคอน "News Feed" สี่เหลยี่ ม 2 ครั้ง ทม่ี มุ ซา้ ยลา่ ง (iPhone) หรอื
ซ้ายบน (Android) ของหน้าจอ แตะ Photo ทางด้านบนของหนา้ News Feed เพ่ือเปดิ รายช่อื รปู และวิดีโอ
ในมอื ถือ (หรือแท็บเลต็ )

• ถ้าใช้ Android ตวั เลือก Photo จะอยดู่ า้ นขวาบนของหน้า News Feed

6.3. เลอื กรูปหรือวิดีโอ โดยแตะไฟลท์ จี่ ะอัพโหลดเข้า Facebook
• ถ้าจะเลือกทีละหลายรูปหรือวิดโี อ ให้แตะแตล่ ะรปู /วิดโี อที่จะอัพโหลด

6.4. แตะ Done มมุ ขวาบนของหนา้ จอ เพ่อื เรม่ิ อพั โหลดรูป/วิดโี อเข้า Facebook

39
6.5.ใสค่ ำบรรยายได้ถ้าต้องการ จริงๆ ไม่จำเป็น แต่จะใส่ข้อความในโพสต์ดว้ ยก็ได้ โดยแตะช่องพิมพ์
ดา้ นบนของรปู แลว้ พิมพข์ อ้ ความทตี่ อ้ งการลงไป แตะ Share. มุมขวาบนของหนา้ จอ

6.6. แตะช่องต๊ิก "News Feed". ในหนา้ ตา่ ง pop-up ทางดา้ นล่างของหน้าจอ เพอื่ ให้แน่ใจวา่ โพสต์
จะไปโผลใ่ นหนา้ โปรไฟล์ และ News Feed

6.7. แตะ Share Now. ทางด้านลา่ งของหน้าจอ เพ่อื เผยแพรโ่ พสต์ในหนา้ โปรไฟลข์ องคุณ
• ใครท่ดี ขู ้อมูลของคุณได้ กจ็ ะเห็นโพสต์นีใ้ น News Feed เขาด้วย

40

เอกสารอ้างองิ

กาญจนา นุชศิร.ิ (2557).ความหมาย ประเภท องค์ประกอบของ เทคโนโลยสี ารสนเทศ.
สบื คน้ 6 มถิ ุนายน 2565 จาก https://sites.google.com/site/kanjanapopup/phu-cad-tha-sit

ปานชนก ด้วงอดุ ม. (2562).การศกึ ษาสภาพการเปน็ องค์กรนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาสังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 (วิทยานิพนธ์
ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ ).พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา

ทัศนีย์ รุ่งเรอื ง. (2016) .ความสำคญั ของนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา.
สบื คน้ 6 มถิ ุนายน 2565 จาก https://amtasanee.wordpress.com/

การใช้งานไลน์.2563. ที่มา : http://www.goodtipit.com/how-to-register-line-app.
(เขา้ ถึง 7 มิถุนายน 2565)

การสรา้ งกลุม่ เพ่ือนของเราใน LINE.2562 ที่มา : https://tech.mthai.com/tips-technic/114500.html

วธิ กี าร ใช้ Facebook.2562 ท่ีมา :
https://th.wikihow.com/%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89-Facebook


Click to View FlipBook Version