The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาไทย ภาษาถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-02-03 23:49:07

ภาษาไทย ภาษาถิ่น

ภาษาไทย ภาษาถิ่น

ภาษาถิ่น

ภาษาถิ่น

ผู้จัดทำ

๑. นางสาวเบญจวรรณ สาครรัตน์ เลขที่ ๒
เลขที่ ๓
๒. นางสาวกันติชา เดชมนต์ เลขที่ ๖
เลขที่ ๗
๓. นางสาวกุลธิดา ใหญ่วงค์ เลขที่ ๑๕
เลขที่ ๒๔
๔. เด็กหญิงชนิศา ลือชา เลขที่ ๒๗

๕. นายศุภวิชญ์ เพชระบูรณิน

๖. นางสาวณัฏฐ์วารี สุรินทร์

๗. เด็กหญิงศรัณรัตน์ พรพิพัฒน์ศิริ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓.๗

เสนอ
คุณครูปรารถนา ศิริกัน



โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัดเชียงราย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย

คำนำ ก

รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา ท๒๓๑o๒ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ มีจุด

ประสงค์เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง ภาษาถิ่นทั้ง ๔ ภาคและได้ศึกษาเกี่ยว

กับภาษาถิ่นของแต่ละภาคอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์กับการเรียน

คณะผู้จัดทำหวังว่า รายงายเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ให้กับผู้อ่านทุกคน

หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และ

ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ ข

เรื่อง หน้ า

คำนำ ก

สารบัญ ข

หมวดผลไม้ ๖

หมวดเสื้ อผ้า ๑๒

หมวดเครือญาติ ๑๘

หมวดกริยา ๒๔

หมวดสั ตว์ ๓o

หมวดอาหาร ๓๖

หมวดสถานที่ ๔๒

บรรณานุกรม ค

หมายถึง ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะ ๑

ภาษาถิ่น เฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น

สาเหตุของการเกิดภาษาถิ่น

๑. ภูมิศาสตร์อยู่คนละท้องถิ่น ขาดการไปมา ๒. กาลเวลาที่ผ่านไปจากสมัยหนึ่งไปสู่อีกสมัยหนึ่ง ทำให้
หาสู่ซึ่งกันและกันเป็นเวลานาน หลายชั่วอายุคน ภาษาเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและตามเทคโนโลยีต่าง ๆ
ถ้าต่างถิ่นต่างไม่ไปมาหาสู่กันเป็นเวลานาน ๆ ที่เปลี่ยนไป กล่าวคือ มีการเปลี่ยนแปลง คำศัพท์ที่เรียกยาก
ทำให้กลุ่มชนชาติไทย รวมทั้งภาษาของกลุ่มเขา กว่าไปเรียกคำศัพท์ที่เรียกง่ายกว่ากะทัดรัดกว่า
เปลี่ยนแปลงไปกลายเป็นภาษาถิ่นอื่น ๆ ซึ่งไม่ ๓. อิทธิพลของภาษาอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นชนหมู่มากมี
เหมือนกันกับภาษาดั้งเดิมในที่สุด อิทธิพลกว่ามีการยืม คำศัพท์จากภาษาที่มีอิทธิพลกว่า

ลักษณะภาษาถิ่น ๔ ภาค ๒

ภาคเหนือ

จะมีลักษณะที่เนิบช้า มีการลากเสียงเป็นบางคำ มีคำเมืองที่ใช้ใน
ภาคเหนือตอนบนบริเวณอาณาจักรล้านนาเดิม ซึ่งจะมีการแบ่ง
ย่อยเป็นภาษาล้านนาตะวันตกและภาษาล้านนาตะวันออก ซึ่งแต่ละ

จังหวัดก็จะมีคำศัพท์หรือสำเนียงในบางคำต่างกัน

ภาคอีสาน ๓

จะมีเสียงที่ห้วนพูดเร็ว มีความหลากหลาย
ค่อนข้างมาก ในบางจังหวัดมีสำเนี ยงคล้าย
ภาษาลาว เพราะอยู่ใกล้กับประเทศลาว
ในขณะที่บางจังหวัดจะมีผสมกับภาษาเขมร
เนื่ องจากใกล้ประเทศกัมพูชา บางครั้งใน
หมู่บ้านติดกันก็อาจจะใช้คนละสำเนี ยง

ภาคกลาง ๔

ในส่วนของกรุงเทพและ

ปริมณฑลบางจังหวัดจะใช้ภาษา
ไทยมาตรฐาน แต่ในหลายๆ
จังหวัด จะมีคำศัพท์มีสำเนียง
เหน่อแต่ละจังหวัดจะต่างกัน
ทำให้เสียงเหน่อกลายเป็น
เอกลักษณ์ประจำจังหวัด

ภาคใต้ ๕

มีลักษณะเด่นคือจะเร็ว อักขระ ร เรือชัดเจน มีการรวบ
คำในบางคำ ภาษาใต้จะมีการแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน

หลักๆคือ ฝั่ งตะวันออก ฝั่ งตะวันตก และฝั่ ง ๓ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ซึ่งจะมีสำเนียงที่แตกต่างกันค่อนข้าง
ชัดเจน และจะมีสำเนียงเฉพาะย่อยไปในแต่ละจังหวัด



หมวดผลไม้

สับปะรด ๗

ภาคเหนือ : บะนัด, บะขะนัด, บ่อนัด
ภาคอีสาน : บักนัด, หมากนัด
ภาคกลาง : สับปะรด
ภาคใต้ : ย่านัด, หย่านัด, ย่านนัด, ขนุนทอง

น้อยหน่า ๘

ภาคเหนือ : ม่ะหน้อแหน้ / น้อยแหน้
ภาคอีสาน : หมากเขียบ
ภาคกลาง : น้อยหน่า
ภาคใต้ : ยาร่วง, เล็ดล่อ, หัวครก

มะละกอ ๙

ภาคเหนื อ : บะก้วยเต๊ด
ภาคอีสาน : บักหุ่ง
ภาคกลาง : มะละกอ
ภาคใต้ : ลอกอ

แตงโม ๑o

ภาคเหนือ : บ่าเต้า
ภาคอีสาน : บักแตงโม
ภาคกลาง : แตงโม
ภาคใต้ : แตงจีน

มะม่วง ๑๑

ภาคเหนื อ : บะม่วง,บ่าม่วง

ภาคอีสาน : บักม่วง

ภาคกลาง : มะม่วง

ภาคใต้ : ลูกม่วง

หมวดเสื้อผ้า ๑๒

กางเกง ๑๓

- ภาษาเหนื อ เต่ว หรือ เตี่ยว
- ภาษากลาง กางเกง
- ภาษาอีสาน ส่ง,ส้ง,โล้ง
- ภาษาใต้ กางเก๋ง

๑๔

รองเท้า

ภาษาเหนือ เกิบ,เกือก
ภาษากลาง รองเท้า
ภาษาอีสาน เกิบ
ภาษาใต้ เกือก

ผ้าขาวม้า ๑๕

ภาษาเหนื อ - ผ้าต่อง ผ้าหัว
ภาษากลาง - ผ้าขาวม้า
ภาษาอีสาน - ผ้าอีโป้ ผ้าด้าม

ผ้าแพรด้าม
ภาษาใต้ - ผ้าชุบ ผ้าชักอาบ

๑๖

สร้อยคอ

ภาษาเหนือ - สายคอ
ภาษากลาง - สร้อยคอ
ภาษาอีสาน - สายสร้อย

ภาษาใต้ - สายคอ

กำไล ๑๗

ภาษาเหนื อ - ขอแขน ว้องแขน ขะแป่ ง
ภาษากลาง - กำไล

ภาษาอีสาน - ก้องแขน
ภาษาใต้ - ไหมมือ

๑๘

หมวดเครือญาติ

๑๙

พ่


ภาษาเหนื อ : ป่ อ
ภาษากลาง : พ่อ
ภาษาอีสาน : อีพ่อ

ภาษาใต้ : ป๊ ะ,ผ้อ

๒o

แม่

ภาษาเหนื อ : อิแม่
ภาษากลาง : แม่
ภาษาอีสาน : อีแม่
ภาษาใต้ : ม๊ะ

๒๑

พี่ชาย

ภาษาเหนื อ : อ้าย,ปี่
ภาษากลาง : พี่ชาย
ภาษาอีสาน : อ้าย
ภาษาใต้ : พี่บ่าว

๒๒

น้ องสาว

ภาษาเหนื อ : อี่น้ อง, อี่หน้ อย
ภาษากลาง : น้ องสาว
ภาษาอีสาน : อีหล่า, บักหล้า
ภาษาใต้ : สาวนุ้ ย

๒๓

ลุง

ภาษาเหนื อ : ลุง
ภาษากลาง : ลุง
ภาษาอีสาน : อา (อาผู้หญิง)
, อาว (อาผู้ชาย)
ภาษาใต้ : หวา

LET’S PLAY ๒๔

หมวดกริยา

Digital Game Presentation

คิดถึง ๒๕

ภาคเหนือ : กึ๊ดเติงหา
ภาคอีสาน : คึดฮอด
ภาคกลาง : คิดถึง
ภาคใต้ : หวังเหวิด

รัก ๒๖

ภาคเหนือ : ฮัก
ภาคอีสาน : ฮัก
ภาคกลาง : รัก
ภาคใต้ : รัก

ดู ๒๗

ภาคเหนื อ : ผ่อ
ภาคอีสาน : เบิ่ง
ภาคกลาง : ดู
ภาคใต้ : แล

พูด ๒๘

ภาคเหนื อ : อู้
ภาคอีสาน : เว่า
ภาคกลาง : พูด
ภาคใต้ : แหลง

โกรธ ๒๙

ภาคเหนือ : โขด
ภาคอีสาน : สูน
ภาคกลาง : โกรธ
ภาคใต้ : หวิบ

๓o

หมวดสั ตว์

๓๑

สุนัข

ภาคเหนือ : หมา
ภาคอีสาน : หมา
ภาคกลาง : สุนัข
ภาคใต้ : หมา

๓๒

ควาย

ภาคเหนือ : ควาย
ภาคอีสาน : ควย
ภาคกลาง : กระบือ
ภาคใต้ : ควาย

๓๓

แมว

ภาษาเหนือ : แมวเผิ้ง
ภาษากลาง : แมว
ภาษาอีสาน : แมว
ภาษาใต้ : แมว

ช้าง ๓๔

ภาษาเหนือ : จ๊าง
ภาษากลาง : ช้าง
ภาษาอีสาน : ซ่าง
ภาษาใต้ : ฉ่าง

๓๕

เสื อ

ภาษาเหนือ : เสือ

ภาษากลาง : เสือ

ภาษาอีสาน : เสีย

ภาษาใต้ : เสือ

๓๖

หมวด
อาหาร

ส้มตำ ๓๗

ภาษาเหนื อ : ต๋ำส้ม

ภาษากลาง : ส้มตำ

ภาษาอีสาน : ตำบักหุ่ง

ภาษาใต้ : โซมต๋ำ

๓๘

ต้มยำกุ้ง

ภาษาเหนือ : ต้มยำกุ้ง
ภาษากลาง : ต้มยำกุ้ง
ภาษาอีสาน : ต้มยำกุ้ง
ภาษาใต้ : ต้มยำกุ้ง

๓๙

แกงไตปลา

ภาษาเหนือ : เเกงไตปลา
ภาษากลาง : เเกงไตปลา
ภาษาอีสาน : เเกงไตปลา
ภาษาใต้ : เเกงขี้ปลา

ข้าวผัด ๔o

ภาษาเหนือ : ข้าวผัด
ภาษากลาง : ข้าวผัด
ภาษาอีสาน : ข้าวผัด
ภาษาใต้ : ข้าวผัด(คาวพัด)

๔๑

ก๋วยเตี๋ยว

ภาษาเหนื อ : ก๋วยเตี๋ยว
ภาษากลาง : ก๋วยเตี๋ยว
ภาษาอีสาน : ก๋วยเตี๋ยว
ภาษาใต้ : ก๋วยเตี๋ยว(กวยเตียว)

หมวดสถานที่ ๔๒

โรงเรียน โรงพยาบาล

๔๓

ตลาดเย็น

ภาษาเหนื อ : กาดแลง
ภาษากลาง : ตลาดเย็น
ภาษาอีสาน : กาดแลง
ภาษาใต้ : หลาดเย็น

ทุ่งนา ๔๔

ภาษาเหนื อ : ก๋างโต้ง
ภาษากลาง : ทุ่งนา
ภาษาอีสาน : ท่งนา
ภาษาใต้ : ท๋อง

โรงเรียน ๔๕

ภาษาเหนือ : โฮงเฮียน
ภาษากลาง :โรงเรียน
ภาษาอีสาน : โรงเรียน
ภาษาใต้ : โรงเรียน

๔๖

ตลาดนั ด

ภาษาเหนือ : กาดนัด
ภาษากลาง : ตลาดนัด
ภาษาอีสาน : ตลาดนัด
ภาษาใต้ : หลาดนัด


Click to View FlipBook Version