บันไดคอนกรตี เสริมเหล็ก
บนั ไดคือพนื้ เอียงทีม่ ีผิวบนเป็นขั้นในแนวด่ิงและแนวราบพาดอยู่ระหว่างจุดรองรับท่ีมีระดับความสูง
ต่างกัน ส่วนของบันไดที่เป็นแผ่นพ้ืนในแนวราบเรียกว่า “ชานพัก (Landing)” และส่วนที่เป็นพื้น
เอยี งทีม่ ีข้ันบันไดเรียกว่า “ขาบันได (Flight)” สว่ นคานที่เป็นจดุ รองรบั เรยี กวา่ “แมบ่ นั ได”
FLIGHT
รปู ท่ี 7.1 องคป์ ระกอบของบันได
บนั ไดอาจแบ่งตามทศิ ทางการของขาบันไดได้เปน็ สามแบบคือ
1) ขาบันไดตรง (Straight Flight) ข้นึ ตรงจากช้ันถึงช้ันในทศิ ทางเดยี วดงั ในรูปท่ี 7.1
2) ขาบันไดมมุ ฉาก (Quarter Turn) ข้ึนจากช้นั ล่างมาทช่ี านพักแล้วเล้ยี วเปน็ มุมฉาก ก่อนข้นึ
ไปชั้นบน ดังในรปู ท่ี 7.2
3) ขาบันไดหักกลบั (Half Turn) ข้นึ จากชน้ั ล่างมาทีช่ านพกั แล้วเล้ียวกลับในทศิ ทางตรงกนั ข้าม
แลว้ ขนึ้ ในทิศทางขนานกบั “ขาบันไดล่าง (Lower Flight)” ไปยังชั้นบน ดังในรปู ที่ 7.3
นอกจากนนั้ ยงั มีบนั ไดแบบเวียนเป็นลกั ษณะเกลยี ววงกลม ดงั ในรปู ท่ี 7.4
CE Drawing 07 : Stair By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 61
รปู ท่ี 7.2 ขาบันไดแบบมมุ ฉาก
รูปที่ 7.3 ขาบันไดแบบหักกลับ
CE Drawing 07 : Stair By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 62
รปู ท่ี 7.4 ขาบันไดแบบเวยี น
แบบบันไดในแปลนสถาปตั ยกรรม
เน่ืองจากบันไดเช่ือมต่อระหว่างชั้น ในแปลนแต่ละช้ันจะแสดงบันไดได้ไม่ท้ังหมด ตัวอย่างเช่นใน
กรณีของบันไดแบบหักกลับในรูปที่ 7.3 ในแปลนพื้นชั้นล่างจะเห็นส่วนท่ีเป็นขาข้ึนมาจากชั้นล่าง
เม่อื เลี้ยวหกั กลับขนึ้ มาจะเห็นเพยี งบางส่วน ดงั ในรปู ท่ี 7.5
CE Drawing 07 : Stair รูปที่ 7.5 แบบบันไดในแปลน 63
By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET
รูปท่ี 7.6 ขาบนั ไดแบบหักกลบั มีชานพักระหว่างชัน้
จากรูปที่ 7.6 จะเห็นว่าขาบันไดแบ่งเป็นสองช่วงคือจากช้ันล่างถึงชานพักที่ระดับความสูง
ระหว่างชน้ั และจากชานพกั ถงึ ชน้ั บน ซง่ึ นอกจากจะตอ้ งมคี านแม่บันไดเป็นจุดรองรับให้บันไดพาดที่
ช้ันล่างและช้ันบนแล้ว จะต้องมีคานแม่บันไดที่ชานพักด้วยเช่นกัน การวิเคราะห์ออกแบบและเขียน
แบบจะแยกออกเปน็ สองชว่ งดงั ในรูปขา้ งล่าง
EL.+3.80
1.75 m EL.+2.05
1.75 mEL.+2.05
EL.+0.30
รปู ที่ 7.7 แบบด้านข้างบันไดแยกเป็นสองชว่ ง
การคานวณขน้ั บนั ได
แตล่ ะขั้นบนั ไดจะประกอบดว้ ยระยะในแนวดงิ่ เรยี กวา่ “ลกู ตัง้ (Riser)” และระยะในแนวราบเรียกว่า
“ลูกนอน (Thread)” ความสูงของลูกต้ังจะอยู่ในช่วง 15-20 ซม. ส่วนความยาวลูกนอนจะอยู่
CE Drawing 07 : Stair By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 64
ระหว่าง 25-30 ซม. ในกรณีที่มีระยะไม่พอหรือต้องการความสวยงามอาจมี “จมูกบันได (Nosing)”
อกี 2.5 ซม. และความลาดชนั ของบนั ได (Pitch) เป็นดงั แสดงในรปู
T T N – NOSING
N P – PITCH
R R – RISER
P R T – TREAD
P t – THICKNESS
t
t
รปู ที่ 7.8 ขนาดต่างๆของขัน้ บนั ได
การคานวณจานวนข้ันบันไดจะข้ึนกับระยะความสูงระหว่างช้ันและระยะห่างระหว่างแม่บันไดโดย
พยายามให้บนั ไดทกุ ขน้ั มีขนาดเท่ากันและมีขนาดที่เหมาะสม ยกตัวอย่างเช่นความสูงระหว่างชั้นคือ
3.5 เมตร ครึ่งความสูงคือ 3.5/2 = 1.75 เมตร จะได้ 10 ขั้น สูงขั้นละ 17.5 ซม. ลูกนอนข้ันละ 25
ซม. จะต้องใช้ระยะในแนวราบ 10x0.25 = 2.5 เมตร และความกว้างชานพัก 1 เมตร ขาบันไดล่าง
จะมลี ักษณะดังในรปู
0.25 m
0.175 m
1.75 m
2.50 m 1.00 m
รูปที่ 7.9 ตวั อยา่ งการคานวณจานวนขัน้ บันได
การเสริมเหล็กบันได
เหล็กเสริมในบันไดจะประกอบด้วยเหล็กยึดขั้นบันได และเหล็กเสริมในพื้นบันไดซ่ึงมีลักษณะคล้าย
ในพ้ืนปกตคิ ือมีลกั ษณะเป็นตะแกรง โดยเหล็กเสริมหลักจะอยู่ในทิศทางขนานกับช่วงการรับน้าหนัก
ระหว่างแม่บันไดท่ีรองรับ ส่วนเหล็กเสริมอีกทิศทางจะใช้เพ่ือป้องกันการแตกร้าวและช่วยยึดเหล็ก
ทางหลักให้อยูใ่ นตาแหนง่ ทต่ี ้องการ
CE Drawing 07 : Stair By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 65
ในกรณีของบันไดพาดทางช่วงยาวระหว่างคานแม่บันไดต่างระดับความสูง เหล็กเสริมหลักจะ
เป็นเส้นอยู่ล่างสุดเพ่ือให้มีความลึกประสิทธิผลในการต้านทานโมเมนต์ดัด ส่วนเหล็กกันร้าวจะเป็น
จุดวงกลมวางบนเหล็กเสริมหลัก เหล็กยึดข้ันประกอบด้วยเหล็กที่มุมบันไดเป็นจุดและเหล็กถักยึด
เหล็กมมุ โดยใช้ระยะห่างเท่ากับเหล็กเสริมกนั ร้าว
RB9 @ 0.20 m t
RB9
DB12 @ 0.15 m
RB9 @ 0.20 m
รูปที่ 7.10 เหลก็ เสรมิ ในบนั ไดพาดทางช่วงยาว
ในกรณีที่มีโมเมนต์ลบจะเสริมเหล็กข้ึนมาด้านบน แต่ข้อควรระวังคือท่ีบริเวณจุดต่อระหว่าง
พ้นื แนวราบและพื้นบันได เน่ืองจากแรงดึงในเหล็กเสริมอาจทาให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวได้ ดังนั้น
ในบางกรณีเราอาจตอ้ งเสริมเหลก็ ไม่ต่อเน่ืองกันดังแสดงในรปู
CE Drawing 07 : Stair รูปที่ 7.11 การเสริมเหล็กที่จุดต่อทางลาดเอียงของบันได 66
By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET